ผังงาน (Flowchart) ความหมายของผังงาน ผังงาน (Flowchart) คอื รูปภาพ (Image) หรอื สญั ลกั ษณ์(Symbol) ทใี่ ช้เขียนแทนขั้นตอน คาอธิบาย ข้อความ หรือคาพูด ท่ใี ชใ้ นอลั กอริทึม (Algorithm) เพราะการนาเสนอขนั้ ตอนของงานให้ เขา้ ใจตรงกนั ระหว่างผู้เก่ียวข้อง ด้วยคาพดู หรือข้อความทาได้ยากกวา่ ผงั งานแบ่งได้ 2 ประเภท 1. ผังงานระบบ (System Flowchart) คอื ผงั งานท่ีแสดงข้ันตอนการทางานในระบบอย่างกว้าง แตไ่ ม่เจาะลงในระบบงานย่อย 2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงถึงขน้ั ตอนในการทางานของโปรแกรม ตั้งแต่รับข้อมลู คานวณ จนถงึ แสดงผลลพั ธ์ ประโยชน์ของผังงาน 1. ทาใหเ้ ขา้ ใจ และแยกแยะปัญหาได้งา่ ย (Problem Define) 2. แสดงลาดับการทางาน (Step Flowing) 3. หาข้อผดิ พลาดไดง้ ่าย (Easy to Debug) 4. ทาความเขา้ ใจโปรแกรมได้ง่าย (Easy to Read) 5. ไม่ขึ้นกบั ภาษาใดภาษาหน่ึง (Flexible Language) วธิ กี ารเขียนผังงานทดี่ ี • ใชส้ ญั ลักษณ์ตามที่กาหนดไว้ • ใช้ลูกศรแสดงทศิ ทางการไหลของข้อมลู จากบนลงล่าง หรือจากซา้ ยไปขวา • คาอธิบายในภาพควรสั้นกระทดั รัด และเข้าใจง่าย • ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทศิ ทางเขา้ – ออก • ไม่ควรโยงเสน้ เชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ควรใช้สัญลักษณ์จดุ เชอื่ มต่อแทน • ผังงานควรมกี ารทดสอบความถูกต้องของการทางานก่อนนาไปเขียนโปรแกรม รูปแบบการเขยี นผงั งาน การเขยี นผังงานมี 3 รปู แบบ คอื 1. การทางานแบบตามลาดับ(Sequence) : รปู แบบการเขียนโปรแกรมที่งา่ ยทส่ี ดุ คือ เขยี นใหท้ างานจากบน ลงลา่ ง เขยี นคาสัง่ เปน็ บรรทัด และทาทีละบรรทดั จากบรรทดั บนสุดลงไปจนถึงบรรทดั ล่างสดุ สมมตใิ ห้มีการ ทางาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมลู คานวณ และพมิ พ์
2. การเลือกกระทาตามเง่ือนไข(Decision or Selection) : การตัดสนิ ใจ หรือเลือกเงอื่ นไขคือ เขยี น โปรแกรมเพื่อนาค่าไปเลือกกระทา โดยปกติจะมเี หตุการณ์ใหท้ า 2 กระบวนการ คอื เง่ือนไขเป็นจริงจะกระทา กระบวนการหน่ึง และเป็นเท็จจะกระทาอีกกระบวนการหน่งึ แต่ถา้ ซับซ้อนมากขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไขหลายชนั้ เชน่ การตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น ตวั อยา่ งผังงานน้ี จะแสดงผลการเลือกอย่างง่าย เพอ่ื กระทากระบวนการ เพียงกระบวนการเดยี ว 3. การทาซา(Repeation or Loop) : การทากระบวนการหน่งึ หลายครง้ั โดยมีเง่ือนไขในการควบคุม หมายถึงการทาซา้ เปน็ หลกั การท่ีทาความเข้าใจไดย้ ากกวา่ 2 รปู แบบแรก เพราะการเขียนโปรแกรมแตล่ ะ ภาษา จะไมแ่ สดงภาพอยา่ งชัดเจนเหมือนการเขยี นผังงาน ผูเ้ ขยี นโปรแกรมต้องจินตนาการดว้ ยตนเอง
การเขยี น Flowchart อยา่ งแรกเลยทเี่ ราต้องร้จู กั คอื Algorithm (และต้องเขียนใหเ้ ปน็ เพราะตอ้ งใช้ตลอด ข้อสอบ Final ของ Intro กป็ ระมาณนี้นะมเี ขยี น Flowchart) Algorithm คอื กระบวนการแก้ปัญหาทส่ี ามารถเข้าใจได้ มีลาดับหรือวิธกี ารในการแก้ไขปญั หาใดปญั หาหนึ่ง อยา่ งเปน็ ขนั้ เปน็ ตอนและ ชัดเจน เมื่อนาเข้าอะไร แลว้ จะต้องได้ผลลัพธเ์ ช่นไร เชน่ เวลาเราจะเดนิ ทางไป โรงเรยี น(เปรยี บเสมือนปัญหา คอื ต้องการไปโรงเรียน) ตอ้ งทาอยา่ งไรบ้าง เพอื่ จะไปถงึ โรงเรยี น(ผลลพั ธ์ ท่ี ตอ้ งการ) ยกตัวอย่าง วิธีที่ 1 1.น่งั รถวินมอเตอรไ์ ซค์ไปปากซอย 2.นงั่ รถสองแถวไปเคหะบางพลี 3.ถึงโรงเรียน วธิ ที ่ี 2 1.เดินจากบ้านไปปากซอย 2.นงั่ รถเมล์ไปโรงเรยี น 3.ถงึ โรงเรยี น วิธีที่ 3 1.น่งั Taxi ไปโรงเรียน 2.ถงึ โรงเรยี น จะสงั เกตได้ว่า ใน 1 ปญั หา มีวิธแี ก้ไขหลายวธิ ี แต่ละคนอาจจะคิดวธิ แี ก้ไขปัญหา(Algorithm) แตกตา่ งกนั ออกไป (จากตวั อย่างบางคนอาจจะอาศยั รถคนอนื่ ไปก็ไดจ้ ริงมัย้ ค่ะ) เมือ่ เรารู้จกั Algorithm แล้ว เราก็เอา Algorithm ท่ีเราคดิ ได้ ไปเขยี นเป็น Flowchart (ตามลาดับขน้ั ตอนของ Algorithm) สญั ลักษณผ์ ังงาน การเขยี นผังงานจะประกอบไปดว้ ยการใชส้ ัญลกั ษณ์มาตรฐานตา่ ง ทเี่ รียกวา่ สัญลักษณ์ ANSI ( American National Standards Institute ) ในการสร้างผงั งาน ดังตัวอยา่ งท่แี สดงในรปู ต่อไปน้ี จดุ เรมิ่ ตน้ / สน้ิ สุดของโปรแกรม ลูกศรแสดงทิศทางการทางานของโปรแกรมและการไหลของข้อมูล ใชแ้ สดงคาสั่งในการประมวลผล หรอื การกาหนดคา่ ข้อมลู ให้กับตัวแปร แสดงการอา่ นข้อมลู จากหน่วยเกบ็ ข้อมูลสารองเข้าสู่หนว่ ยความจาหลักภายใน เครื่อง หรือการแสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลออกมา การตรวจสอบเง่ือนไขเพื่อตดั สินใจ โดยจะมเี สน้ ออกจารรูปเพอ่ื แสดงทศิ ทางการ
ทางานต่อไป เงื่อนไขเป็นจรงิ หรอื เปน็ เทจ็ แสดงผลหรอื รายงานที่ถูกสรา้ งออกมา แสดงจดุ เช่ือมต่อของผงั งานภายใน หรือเปน็ ทบี่ รรจบของเส้นหลายเส้นทม่ี าจากหลาย ทศิ ทางเพ่ือจะไปสู่ การทางานอยา่ งใดอยา่ งหนึง่ ท่เี หมือนกัน การข้ึนหนา้ ใหม่ ในกรณีที่ผงั งานมีความยาวเกนิ กวา่ ท่ีจะแสดงพอในหน่ึงหน้า
Search
Read the Text Version
- 1 - 4
Pages: