Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอน รายวิชาการเขียนโปรแกรมโดยใช้เครื่องมือกราฟฟิกโหมด

แผนการสอน รายวิชาการเขียนโปรแกรมโดยใช้เครื่องมือกราฟฟิกโหมด

Description: แผนการสอน รายวิชาการเขียนโปรแกรมโดยใช้เครื่องมือกราฟฟิกโหมด

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ ช่ือวิชา การเขียนโปรแกรมโดยใช้เครื่องมอื กราฟิกโหมด รหัสวิชา 2204-2107 ท–ป–น 2–2–3 หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพ พุทธศกั ราช 2556 ประเภทวิชา พานชิ ยกรรม สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธรุ กิจ สาขางาน คอมพวิ เตอร์ธุรกจิ จดั ทาโดย ครูวราภรณ์ ออ่ นทุม แผนกวิชาคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ วิทยาลยั การอาชพี บาเหนจ็ ณรงค์ สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

รายการตรวจสอบและอนุญาตใหใ้ ช้ ชอื่ วิชา การเขียนโปรแกรมโดยใช้เคร่ืองมือกราฟิกโหมด รหัสวิชา 2204-2107  ควรอนญุ าตให้ใชก้ ารสอนได้  ควรปรบั ปรงุ เกีย่ วกับ ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ลงช่ือ..................................................... (นายชัยณรงค์ วงษ์จาปา) หวั หน้าหมวด / แผนกวิชา ............../......................../....................  เห็นควรอนุญาตให้ใชก้ ารสอนได้  ควรปรบั ปรุงดงั เสนอ  อ่นื ๆ ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ลงช่ือ..................................................... (นายอดศิ ร สิทธวิ งษ)์ รองผู้อานวยการฝา่ ยวิชาการ ............../......................../....................  อนุญาตให้ใช้การสอนได้  อื่น ๆ ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ..................................................... (นายประทปี อนิลบล) ผู้อานวยการ ............../......................../....................

คานา แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาการเขียนโปรแกรมโดยใช้เคร่อื งมือกราฟิกโหมด รหัสวิชา 2204-2107 เล่มนี้ไดจ้ ัดทาขึน้ เพ่ือใช้เป็นคู่มือประกอบการสอน หรือเป็นแนวทางการสอนในรายวิชาเพ่ือพัฒนาผู้เรียนเป็นสาคัญ ตามหลักสูตร ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ การจัดทาไดม้ ีการพัฒนาเพอ่ื ใหเ้ หมาะสมกับผู้เรยี น โดยแบ่งเนื้อหาออกเปน็ 10 หน่วย การจดั กิจกรรมการเรียนการ สอนยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ ซ่ึงมีทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ไว้ในหน่วยการเรียนรู้ตามความเหมาะสม สอดคล้องกับเน้ือหา มี แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น มีใบงาน กิจกรรมปฏิบัติ และสอ่ื การเรียนการสอนตา่ ง ๆ เพอ่ื ให้เกิดประสทิ ธิผลแก่ผูเ้ รียน มากยง่ิ ขน้ึ ผู้จัดทาหวังว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มน้ีคงจะเป็นแนวทางและเป็นประโยชน์ต่อครู-อาจารย์และนักเรียน หากมี ข้อเสนอแนะประการใด ผ้จู ดั ทายินดนี ้อมรับไวเ้ พอ่ื ปรบั ปรุงแก้ไขในคร้ังต่อไป นางสาววราภรณ์ ออ่ นทมุ ผจู้ ัดทา

สารบญั หนา้ 1 เรอ่ื ง 2 หลักสูตรรายวิชา 3 ตารางวเิ คราะหร์ ายวิชา 4 ตารางโครงการจัดการเรียนรู้ 6 หน่วยการเรียนรู้ 11 สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ 14 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 เรมิ่ ต้นเขา้ ใจเก่ียวกับการเขียนโปรแกรมแบบ GUI 17 แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 2 การใช้งานโปรแกรม Visual Studio 2012 เบื้องต้น 20 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา Visual Basic เบ้ืองต้น 23 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 การเขยี นโปรแกรมแบบมกี ารตดั สนิ ใจ 26 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 5 การเขียนโปรแกรมแบบมกี ารทาซา้ (Loop) 29 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 การเขยี นโปรแกรมกบั คอนโทรล 32 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 7 ฟอร์ม และเมนโู ปรแกรม 35 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 8 โปรแกรมยอ่ ย และฟงั กช์ ัน่ 38 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 9 การเขยี นโปรแกรมกบั ฐานขอ้ มลู 40 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 10 การพฒั นาโปรแกรมดว้ ย Visual Basic 43 ใบงานหน่วยการเรยี นท่ี 1 เรมิ่ ต้นเขา้ ใจเกยี่ วกบั การเขียนโปรแกรมแบบ GUI 46 ใบงานหน่วยการเรียนท่ี 2 การใชง้ านโปรแกรม Visual Studio 2012 เบื้องตน้ 50 ใบงานหนว่ ยการเรยี นท่ี 3 การเขยี นโปรแกรมภาษา Visual Basic เบ้อื งตน้ 53 ใบงานหนว่ ยการเรียนที่ 4 การเขยี นโปรแกรมแบบมกี ารตดั สินใจ 57 ใบงานหน่วยการเรียนท่ี 5 การเขียนโปรแกรมแบบมีการทาซา้ (Loop) 60 ใบงานหน่วยการเรียนที่ 6 การเขียนโปรแกรมกบั คอนโทรล 63 ใบงานหนว่ ยการเรียนที่ 7 ฟอร์ม และเมนูโปรแกรม 66 ใบงานหน่วยการเรียนท่ี 8 โปรแกรมยอ่ ย และฟังก์ชัน่ 69 ใบงานหนว่ ยการเรยี นท่ี 9 การเขยี นโปรแกรมกบั ฐานขอ้ มลู 72 ใบงานหนว่ ยการเรยี นท่ี 10 การพัฒนาโปรแกรมด้วย Visual Basic 73 ใบงานหนว่ ยการเรยี นที่ 1 เรม่ิ ต้นเขา้ ใจเก่ียวกบั การเขยี นโปรแกรมแบบ GUI 76 ใบงานหน่วยการเรยี นท่ี 2 การใชง้ านโปรแกรม Visual Studio 2012 เบื้องต้น 80 ใบงานหนว่ ยการเรียนที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา Visual Basic เบ้อื งต้น 88 ใบงานหน่วยการเรียนที่ 4 การเขียนโปรแกรมแบบมกี ารตดั สนิ ใจ 93 ใบงานหน่วยการเรียนท่ี 5 การเขยี นโปรแกรมแบบมกี ารทาซ้า (Loop) 97 ใบงานหนว่ ยการเรียนที่ 6 การเขียนโปรแกรมกับคอนโทรล 100 ใบงานหน่วยการเรียนท่ี 7 ฟอรม์ และเมนูโปรแกรม 103 ใบงานหนว่ ยการเรียนที่ 8 โปรแกรมย่อย และฟังกช์ นั่ 105 ใบงานหนว่ ยการเรียนท่ี 9 การเขียนโปรแกรมกบั ฐานข้อมลู ใบงานหนว่ ยการเรียนท่ี 10 การพฒั นาโปรแกรมดว้ ย Visual Basic

1 หลกั สูตรรายวิชา ชือ่ รายวชิ า การเขียนโปรแกรมโดยใช้เครือ่ งมอื กราฟิกโหมด (GUI) รหัส 2204-2107 สาขางานคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ ประเภทวิชาพาณิชยกรรม จานวน 3 หน่วยกติ จานวนชั่วโมงรวม 72 ชัว่ โมง ............................................... จดุ ประสงคร์ ายวิชา เพื่อให้ 1. มีความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกับหลกั การเขยี นโปรแกรมโดยใช้เคร่อื งมอื กราฟิกโหมด 2. ใช้คาสั่งในการควบคุมการทางานของโปรแกรมโดยใช้เครื่องมอื กราฟิกโหมด 3. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มทีด่ ีในการใช้งานคอมพิวเตอร์ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรเู้ กยี่ วกับหลักการพฒั นาโปรแกรม ขัน้ ตอนการแกไ้ ขปัญหา (Algorithm) และกระบวนการ เขยี นโปรแกรม 2. เขียนโปรแกรมโดยใชเ้ ครือ่ งมือกราฟกิ โหมด คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกยี่ วกบั แนวคิดในการพฒั นาโปรแกรม องคป์ ระกอบของโปรแกรม ภาษาคอมพวิ เตอร์ ขั้นตอนการ แกไ้ ขปัญหา (Algorithm) กระบวนการเขยี นโปรแกรม คาสง่ั ควบคมุ การทางานของโปรแกรม การพฒั นาโปรแกรมทางธุรกจิ อยา่ งง่าย โดยใชเ้ ครอื่ งมือกราฟิกโหมดเพ่ือการพฒั นาโปรแกรมไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และสร้างเป็นชิ้นงานจาก โครงงานขนาดเล็ก

2 ตารางวเิ คราะหร์ ายวชิ า ชอื่ วิชา การเขียนโปรแกรมโดยใช้เคร่ืองมอื กราฟกิ โหมด (GUI) รหัส 2204-2107 ระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) สาขาพณิชยกรรม แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ จานวน 3 หน่วยกติ จานวนช่วั โมงรวม 72 ชว่ั โมง ลาดบั ท่ี ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ พฤตกิ รรมท่ีคาดหวงั ตอ่ การเรียนการสอน 1 คร้งั ความรู้ ทกั ษะ จิตพสิ ยั รวม(ชม.) 1 2 เรม่ิ ต้นเข้าใจเกีย่ วกับการเขียนโปรแกรมแบบ GUI 4 3-4 การใชง้ านโปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) 4 5-6 7-8 เบอ้ื งต้น 9-10 11-12 การเขียนโปรแกรมภาษา Visual Basic เบือ้ งต้น 8 13-14 15-16 การเขียนโปรแกรมแบบมีการตดั สนิ ใจ 8 17 18 การเขียนโปรแกรมแบบมีการทาซา้ (Loop) 8 การเขียนโปรแกรมกับคอนโทรล 8 ฟอรม์ และเมนูโปรแกรม 8 โปรแกรมยอ่ ย และฟังกช์ นั่ 8 การเขียนโปรแกรมกบั ฐานขอ้ มลู 8 การพัฒนาโปรแกรมด้วย Visual Basic 4 การประเมินผลการเรยี น 4 รวม 72

3 ตารางโครงการจดั การเรยี นรู้ ช่อื รายวชิ า การเขียนโปรแกรมโดยใชเ้ คร่อื งมือกราฟิกโหมด (GUI) รหัส 2204-2107 จานวน 3 หน่วยกิต จานวนช่ัวโมงรวม 72 ชัว่ โมง 2–2–3 (ท–ป–น) สปั ดาหท์ ี่ เรื่อง ปฏิบัตื จานวนคาบ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 1 เริ่มตน้ เขา้ ใจเกย่ี วกับการเขยี นโปรแกรมแบบ GUI แบบฝึกหัดหนว่ ย 31 ท1่ี 22 2 การใช้งานโปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) ใบงาน 1-2 44 เบ้ืองต้น 44 44 3-4 การเขยี นโปรแกรมภาษา Visual Basic เบื้องตน้ ใบงาน 3-5 44 44 5-6 การเขยี นโปรแกรมแบบมีการตัดสนิ ใจ ใบงาน 6-12 44 44 7-8 การเขยี นโปรแกรมแบบมีการทาซา้ (Loop) ใบงาน 13-16 22 22 9-10 การเขียนโปรแกรมกับคอนโทรล ใบงาน 17-19 37 35 11-12 ฟอรม์ และเมนูโปรแกรม ใบงาน 20-21 72 13-14 โปรแกรมย่อย และฟงั ก์ช่ัน ใบงาน 22-23 15-16 การเขยี นโปรแกรมกบั ฐานข้อมลู ใบงาน 24-25 17 การพฒั นาโปรแกรมด้วย Visual Basic ใบงาน 26 18 วดั ผลและประเมินผลปลายภาค รวม รวม

4 หน่วยการเรยี นรู้ ชอ่ื วชิ า การเขียนโปรแกรมโดยใชเ้ คร่อื งมือกราฟิกโหมด (GUI) รหัส 2204-2107 รวม 4 ชวั่ โมง/สัปดาห์ สปั ดาห์ที่ หน่วยที่ หนว่ ยการเรียนรู้ จานวนช่วั โมง 1 1 เริ่มตน้ เขา้ ใจเก่ยี วกบั การเขียนโปรแกรมแบบ GUI 4  บทนาเก่ยี วกับการเขียนโปรแกรมแบบ GUI  ประเภทของภาษาคอมพวิ เตอร์  ตัวแปลภาษาคอมพวิ เตอร์  รูปแบบการเขยี นโปรแกรมในปจั จบุ นั  การเขียนโปรแกรมในแบบ GUI 2 2 การใชง้ านโปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) 4 เบ้ืองต้น  การเปดิ โปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) และการกาหนดคา่ เบือ้ งต้น  การสร้างโปรเจค็ ใหม่ (New Project)  ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition)  คณุ สมบัติของฟอร์ม  การใช้ Control Object เบ้อื งต้น  วธิ กี ารเขียนโค้ดกบั โปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition)  การส่ังรันโปรแกรม (Run) 8 3-4 3 การเขียนโปรแกรมภาษา Visual Basic เบอื้ งตน้  ความรทู้ ัว่ ไปเกี่ยวกับ Visual Basic  ทาความรจู้ กั กบั ตัวแปรของ VB  ค่าคงท่ี (Constant)  ตัวแปรแบบชุด หรอื ตัวแปรอารเ์ รย์ (Array)  การใช้งานตวั แปร  เครื่องหมายดาเนนิ การทางคณติ ศาสตร์ 5-6 4 การเขียนโปรแกรมแบบมีการตัดสินใจ 8  เขียนโปรแกรมการแบบมกี ารตัดสนิ ใจ  การเขยี นโปรแกรมแบบมกี ารตดั สนิ ใจกบั ฟอรม์ โปรแกรม หน่วยการเรียนรู้ ชื่อวิชา การเขียนโปรแกรมโดยใช้เคร่อื งมือกราฟกิ โหมด (GUI) รหัส 2204-2107 รวม 4 ช่วั โมง/สัปดาห์ สปั ดาห์ท่ี หนว่ ยที่ หนว่ ยการเรยี นรู้ จานวนชว่ั โมง 7-8 5 การเขียนโปรแกรมแบบมีการทาซา้ (Loop) 8

5  เขยี นโปรแกรมแบบมกี ารทาซ้า 8  การเขยี นโปรแกรมแบบมกี ารทาซา้ กบั Visual Studio 8 2012 (Express Edition) 8 9-10 6 การเขียนโปรแกรมกบั คอนโทรล 8 4  รจู้ ักกับคอนโทรล (Control)  โครงสรา้ งการเขยี นโปรแกรมกบั Control  การเขยี นโปรแกรมกบั Common Controls  การเขียนโปรแกรมกบั Control 11-12 7 ฟอร์ม และเมนูโปรแกรม  การสรา้ งฟอร์ม (Form)  การสร้างเมนู (Menu)  การสรา้ งเมนแู บบ Tool Strip 13-14 8 โปรแกรมยอ่ ย และฟังกช์ ั่น  โปรแกรมยอ่ ย (Sub Program)  ฟงั ก์ชัน่ (Function)  การตัง้ ชอื่ โปรแกรมยอ่ ยและฟังกช์ ั่น  ฟังก์ชั่นท่ีมมี าใหแ้ ลว้ กบั Visual Basic 15-16 9 การเขียนโปรแกรมกับฐานขอ้ มลู  รู้จกั กบั ฐานขอ้ มลู เบือ้ งต้น  การเขยี นโปรแกรมดา้ นฐานข้อมลู 17 10 การพัฒนาโปรแกรมด้วย Visual Basic  ขั้นตอนการพฒั นาโปรแกรม  การพัฒนาโปรแกรมโดย Visual Basic

6 สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ ชอ่ื วชิ า การเขยี นโปรแกรมโดยใชเ้ ครอ่ื งมือกราฟิกโหมด รหสั วชิ า 2204-2107 ท–ป–น 2–2–3 จานวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์ ระดบั ชัน้ ปวช. ชือ่ เร่ือง สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏิบัติ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency) หนว่ ยที่ 1 เรม่ิ ตน้ เข้าใจเก่ียวกบั การเขียนโปรแกรม แสดงความรู้พนื้ ฐานและแนวคิดเก่ยี วกบั การเขยี นโปรแกรมใน แบบ GUI แบบ GUI 1.1 บทนาเกยี่ วกับการเขยี นโปรแกรมแบบ GUI จดุ ประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) 1.2 ประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์ 1. บอกความหมายของการเขยี นโปรแกรมในแบบ GUI 1.3 ตวั แปลภาษาคอมพวิ เตอร์ 2. อธบิ ายและจาแนกประเภทของภาษาคอมพวิ เตอรไ์ ด้ 1.4 รูปแบบการเขยี นโปรแกรมในปจั จบุ ัน 3. อธบิ ายถงึ ตวั แปลภาษาคอมพิวเตอร์ได้ 1.5 การเขยี นโปรแกรมในแบบ GUI 4. อธิบายและเขา้ ใจรปู แบบการเขยี นโปรแกรมได้ 5. อธบิ ายและเข้าใจแนวคดิ การใช้โปรแกรมในการเขียน ภาษาในแบบ GUI ได้ หน่วยที่ 2 การใชง้ านโปรแกรม Visual Studio 2012 สมรรถนะย่อย (Element of Competency) (Express Edition) เบ้ืองต้น แสดงความรเู้ กี่ยวกบั การใชง้ านโปรแกรม Visual Studio 2.1 การเปิดโปรแกรม Visual Studio 2012 2012 (Express Edition) ในการเขียนโปรแกรมในแบบ GUI (Express Edition) และการกาหนดค่าเบ้อื งตน้ 2.2 การสร้างโปรเจ็คใหม่ (New Project) จุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ (Performance Objectives) 2.3 สว่ นประกอบของโปรแกรม Visual Studio 2012 1. สามารถสรา้ งโปรเจ็คดว้ ย Visual Studio 2012 (Express Edition) (Express Edition) ได้ 2.4 คุณสมบตั ิของฟอรม์ 2. สามารถบอกถึงสว่ นประกอบของหนา้ จอโปรแกรม 2.5 การใช้ Control Object เบ้ืองต้น Visual Studio 2012 (Express Edition) ได้ 2.6 วิธีการเขยี นโค้ดกับโปรแกรม Visual Studio 3. สามารถกาหนดคณุ สมบัตใิ หก้ ับ Form เบ้อื งต้นได้ 2012 (Express Edition) 4. สามารถเขยี นโคด้ เบ้ืองตน้ กับ Visual Studio 2012 2.7 การส่ังรันโปรแกรม (Run) (Express Edition) ได้ 5. สามารถใชง้ าน Control เบือ้ งตน้ ได้ 6. สามารถส่งั รนั โปรแกรมทีส่ ร้างขน้ึ มาได้

7 สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ ชื่อวชิ า การเขียนโปรแกรมโดยใชเ้ คร่ืองมือกราฟิกโหมด รหัสวิชา 2204-2107 ท–ป–น 2–2–3 จานวนคาบสอน 4 คาบ: สปั ดาห์ ระดับช้นั ปวช. ชื่อเรอ่ื ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏิบัติ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency) หน่วยที่ 3 การเขยี นโปรแกรมภาษา Visual Basic แสดงความร้เู กยี่ วกับการเขียนโปรแกรม Visual Basic เบือ้ งต้นบทนาเกยี่ วกบั การเขียนโปรแกรมแบบ GUI เบ้อื งตน้ เกี่ยวกบั เรื่องของตวั แปร คา่ คงทแ่ี ละตัวแปรประเภท อารเ์ รย์ 3.1 ความรูท้ ัว่ ไปเก่ียวกับ Visual Basic 3.2 ทาความร้จู กั กับตวั แปรของ VB จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) 3.3 คา่ คงที่ (Constant) 1. สามารถอธบิ ายความหมายของตัวแปรได้ 3.4 ตัวแปรแบบชุด หรอื ตวั แปรอารเ์ รย์ (Array) 2. สามารถบอกถงึ วิธีการประกาศตวั แปรได้ 3.5 การใช้งานตัวแปร 3. สามารถบอกถึงความหายของอารเ์ รยไ์ ด้ 3.6 เครอ่ื งหมายดาเนนิ การทางคณิตศาสตร์ 4. สามารถบอกถงึ ความแตกต่างระหว่างตวั แปรปรกติกบั ตวั แปรแบบอารเ์ รยไ์ ด้ 5. สามารถเขียนประกาศตัวแปรกับฟอรม์ โปรแกรมที่พัฒนา ได้ หนว่ ยท่ี 4 การเขยี นโปรแกรมแบบมีการตดั สินใจ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency) 4.1 เขยี นโปรแกรมการแบบมกี ารตดั สนิ ใจ แสดงความรู้เกีย่ วกบั การเขยี นโปรแกรมภาษา Visual Basic 4.2 การเขยี นโปรแกรมแบบมีการตัดสนิ ใจกับฟอรม์ เก่ียวกับการเขียนโปรแกรมในรูปแบบท่มี กี ารเลือกตดั สนิ ใจใน การทางานของโปรแกรม โปรแกรม จดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance Objectives) 1. สามารถอธิบายถึงความหมายของโปรแกรมแบบมีการ ตดั สินใจได้ 2. สามารถบอกถึงความสาคญั ของโปรแกรมแบบมีการ ตดั สนิ ใจได้ 3. สามารถเขยี นโปรแกรมในรปู แบบมกี ารตดั สนิ ใจได้ 4. สามารถบอกถึงความหมายของ Key Word ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง กบั การเขยี นโปรแกรมแบบมีการตดั สินใจได้

8 สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ ช่อื วิชา การเขียนโปรแกรมโดยใช้เครอื่ งมอื กราฟกิ โหมด รหสั วิชา 2204-2107 ท–ป–น 2–2–3 จานวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์ ระดับช้ัน ปวช. ชื่อเรือ่ ง สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency) หน่วยที่ 5 การเขียนโปรแกรมแบบมีการทาซา้ (Loop) แสดงความรเู้ กี่ยวกับการเขียนโปรแกรมภาษา Visual Basic 5.1 เขยี นโปรแกรมแบบมีการทาซ้า เกยี่ วกบั การเขยี นโปรแกรมในรูปแบบของมกี ารทาซ้า 5.2 การเขยี นโปรแกรมแบบมกี ารทาซ้ากบั Visual จุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ (Performance Objectives) Studio 2012 (Express Edition) 1. สามารถอธบิ ายถงึ ความหมายของโปรแกรมแบบมีการ ทาซา้ ได้ 2. สามารถบอกถึงความสาคญั ของโปรแกรมแบบมกี าร ทาซ้าได้ 3. สามารถเขยี นโปรแกรมในรูปแบบมกี ารทาซ้าได้ 4. สามารถนาแนวคิดการเขยี นโปรแกรมแบบมกี ารทาซ้าไป แกไ้ ขปญั หาทางโปรแกรมม่ิงได้ หน่วยท่ี 6 การเขยี นโปรแกรมกับคอนโทรล สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency) 6.1 รูจ้ ักกบั คอนโทรล (Control) แสดงความรเู้ กยี่ วกบั การเขียนโปรแกรมกับคอนโทรล และ 6.2 โครงสรา้ งการเขียนโปรแกรมกบั Control การใช้งานคอนโทรล 6.3 การเขียนโปรแกรมกับ Common Controls 6.4 การเขยี นโปรแกรมกบั Control จุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives) 1. สามารถอธบิ ายถึงความหมายของคอนโทรลได้ 2. สามารถบอกถึงโครงสร้างการเขยี นโปรแกรมกบั คอนโทรลได้ 3. สามารถกาหนดค่าคณุ สมบตั ิให้กบั คอนโทรลได้ 4. สามารถเขียนโปรแกรมทางานร่วมกบั คอนโทรลได้ 5. สามารถนาคอนโทรลไปพฒั นาโปรแกรมได้

9 สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ ชื่อวชิ า การเขยี นโปรแกรมโดยใชเ้ ครือ่ งมอื กราฟิกโหมด รหัสวชิ า 2204-2107 ท–ป–น 2–2–3 จานวนคาบสอน 4 คาบ: สปั ดาห์ ระดบั ช้นั ปวช. ชอื่ เรือ่ ง สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ หน่วยที่ 7 ฟอร์ม และเมนโู ปรแกรม สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency) แสดงความรเู้ กย่ี วกบั การสร้างเมนโู ปรแกรม และการเขยี น 7.1 การสรา้ งฟอรม์ (Form) โปรแกรมให้กับเมนตู า่ งๆ 7.2 การสร้างเมนู (Menu) 7.3 การสรา้ งเมนแู บบ Tool Strip จดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance Objectives) 1. สามารถอธิบายถงึ ความหมายฟอรม์ ได้ หน่วยท่ี 8 โปรแกรมยอ่ ย และฟังกช์ น่ั 2. สามารถบอกความหมายของเมนูได้ 8.1 โปรแกรมยอ่ ย (Sub Program) 3. สามารถกาหนดคา่ คณุ สมบตั ใิ ห้กับฟอร์มและเมนไู ด้ 8.2 ฟังกช์ น่ั (Function) 4. สามารถเขียนโปรแกรมทางานร่วมกับเมนไู ด้ 8.3 การต้งั ชอื่ โปรแกรมยอ่ ยและฟังกช์ ่ัน 5. สามารถนาเมนไู ปออกแบบหน้าจอสาหรับผใู้ ช้งาน 8.4 ฟังก์ชนั่ ท่มี มี าใหแ้ ลว้ กบั Visual Basic โปรแกรมได้ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) แสดงความร้เู ก่ียวกบั โปรแกรมย่อยและฟงั ก์ชนั่ พรอ้ มท้ัง สามารถนาไปพัฒนากับการเขียนโปรแกรมในภาษา Visual Basic ได้ จดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance Objectives) 1. สามารถอธิบายถงึ ความหมายของโปรแกรมย่อยได้ 2. สามารถบอกความหมายของฟงั ก์ช่ันได้ 3. บอกความแตกตา่ งระหว่างโปรแกรมย่อยกับฟงั กช์ นั ได้ 4. สามารถเขียนโปรแกรมทม่ี กี ารแบง่ การทางานเปน็ โปรแกรมยอ่ ยและฟงั ก์ชั่นได้ 5. สามารถใชง้ านฟังกช์ น่ั ที่ Visual Basic มีมาให้อยไู่ ด้

10 สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์การปฏิบัติ ช่ือวชิ า การเขียนโปรแกรมโดยใชเ้ คร่อื งมือกราฟิกโหมด รหัสวชิ า 2204-2107 ท–ป–น 2–2–3 จานวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์ ระดบั ช้นั ปวช. ชื่อเรอื่ ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency) หน่วยที่ 9 การเขียนโปรแกรมกบั ฐานขอ้ มลู แสดงความรู้เกย่ี วกับการใช้งานฐานขอ้ มูล รว่ มกับภาษา 9.1 รู้จักกับฐานข้อมูลเบอื้ งตน้ Visual Basic โดยผ่านเคร่อื งมือของ Visual Studio 9.2 การเขยี นโปรแกรมดา้ นฐานขอ้ มูล จดุ ประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) 1. สามารถอธบิ ายถึงความหมายของฐานข้อมลู ได้ 2. สามารถบอกถงึ องค์ประกอบของฐานขอ้ มูลได้ 3. สามารถสรา้ งโปรแกรมแสดงผลขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากฐานขอ้ มูล ได้ หนว่ ยท่ี 10 การพัฒนาโปรแกรมดว้ ย Visual Basic สมรรถนะย่อย (Element of Competency) 10.1 ขัน้ ตอนการพฒั นาโปรแกรม แสดงความรู้เกย่ี วกบั การพัฒนาโปรแกรม และความสาคญั 10.2 การพัฒนาโปรแกรมโดย Visual Basic ของขัน้ ตอนในการพัฒนาโปรแกรมในขนั้ ตา่ ง ๆ จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives) 1. สามารถอธิบายข้นั ตอนการพัฒนาโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ได้ 2. สามารถนาเอาขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมไปใชก้ ับการ พัฒนาโปรแกรมด้วย Visual Basic ได้ 3. สามารถสรา้ งโปรแกรมโดยใช้หลักข้นั ตอนการพัฒนา โปรแกรมได้

11 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 หน่วยท่ี 1 ชอ่ื วิชา การเขยี นโปรแกรมโดยใชเ้ ครือ่ งมือกราฟกิ โหมด (GUI) เวลาเรยี นรวม 72 คาบ รหสั 2204-2107 ช่ือหนว่ ย เรมิ่ ต้นเขา้ ใจเกยี่ วกบั การเขียนโปรแกรมแบบ GUI สอนครง้ั ท่ี 1/18 จานวน 4 คาบ ชื่อเรื่อง เรม่ิ ต้นเข้าใจเกี่ยวกบั การเขยี นโปรแกรมแบบ GUI หวั ขอ้ เรอ่ื ง 1.1 บทนาเกีย่ วกบั การเขยี นโปรแกรมแบบ GUI 1.2 ประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์ 1.3 ตัวแปลภาษาคอมพวิ เตอร์ 1.4 รปู แบบการเขยี นโปรแกรมในปจั จุบัน 1.5 การเขียนโปรแกรมในแบบ GUI สาระสาคัญ/แนวคิดสาคัญ ศึกษาทาความเขา้ ใจเกีย่ วกบั การเขียนโปรแกรมในแบบ GUI ประเภทของภาษาคอมพวิ เตอร์ ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ รูปแบบการเขียนโปรแกรมในปัจจุบนั และรปู แบบการเขยี นโปรแกรมในแบบ GUI ซง่ึ เป็นพ้ืนฐาน องค์ความรูท้ ่จี ะใช้ศึกษาในหนว่ ยการเรยี นรตู้ ่อ ๆ ไป สมรรถนะยอ่ ย แสดงความรู้พืน้ ฐานและแนวคิดเกย่ี วกับการเขยี นโปรแกรมโดยใช้เคร่ืองมือกราฟกิ โหมด (GUI) จุดประสงค์การปฏิบัติ ด้านความรู้และทักษะ 1. บอกความหมายของการเขียนโปรแกรมในแบบ GUI 2. อธิบายและจาแนกประเภทของภาษาคอมพวิ เตอรไ์ ด้ 3. อธิบายถงึ ตวั แปลภาษาคอมพิวเตอร์ได้ 4. อธบิ ายและเข้าใจรปู แบบการเขยี นโปรแกรมได้ 5. อธิบายและเขา้ ใจแนวคดิ การใชโ้ ปรแกรมในการเขียนภาษาในแบบ GUI ได้ เน้ือหาสาระ 1.1 บทนาเกีย่ วกับการเขียนโปรแกรมแบบ GUI 1.2 ประเภทของภาษาคอมพวิ เตอร์ 1.3 ตัวแปลภาษาคอมพวิ เตอร์ 1.4 รปู แบบการเขยี นโปรแกรมในปัจจบุ ัน 1.5 การเขยี นโปรแกรมในแบบ GUI ส่อื การเรยี นการสอน 1. โปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) 2. การเขียนโปรแกรมโดยใชเ้ ครือ่ งมอื กราฟกิ โหมด รหัสวชิ า 2204-2107 ผเู้ รยี บเรยี ง สทิ ธชิ ัย รักษาสุข บรษิ ทั ศนู ยห์ นังสอื เมืองไทย จากัด กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาหท์ ่ี 1/18)

12 กิจกรรม เวลาโดยประมาณ 1. ครขู านชือ่ นกั เรยี น 10 นาที 2. ครใู หน้ ักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre-test) 15 นาที 3. ขัน้ นา ร่วมสนทนาเก่ียวกบั เรอื่ ง ความรพู้ ื้นฐานเกีย่ วกบั การเขียนโปรแกรม 15 นาที คอมพิวเตอร์ 4. ข้ันสอน บอกจุดประสงค์การเรียน บรรยาย อธิบาย ยกตัวอยา่ ง แสดงวธิ ีการปฏิบัติ 120 นาที ในแต่ละหัวขอ้ การเรยี น และใหน้ กั ศกึ ษาปฏบิ ัติไปพร้อมกนั 5. นักเรยี นอภปิ รายร่วมกนั ในประเดน็ การเขยี นโปรแกรมแบบ GUI 30 นาที 6. ครูใหน้ กั เรยี นทาแบบฝกึ หดั หน่วยที่ 1 หลังนกั เรียนทาเสร็จแล้วเฉลย 50 นาที แบบฝึกหัด และให้ทาแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) หน่วยที่ 1 240 นาที รวม การวัดผลและประเมนิ ผล การวัดผล การประเมนิ ผล (ใชเ้ ครื่องมือ) (นาผลเทียบกับเกณฑ์และแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test) หนว่ ยท่ี 1 (ไวเ้ ปรยี บเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรียน) 2. แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 1 เกณฑผ์ า่ น 50% 3. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หนว่ ยท่ี 1 เกณฑผ์ ่าน 50% 4. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ์ ่าน 50% งานทม่ี อบหมาย ค้นควา้ เรอ่ื ง การเขยี นโปรแกรมแบบ GUI ว่ามีภาษาโปรแกรมมงิ่ ภาษาใดบ้างท่สี ามารถเขียนโปรแกรมในแบบ GUI ได้ ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสาเรจ็ ของผ้เู รียน 1. คะแนนจากแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 1 2. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) หน่วยท่ี 1 3. รายงานท่ไี ดจ้ ากการคน้ ควา้ เอกสารอา้ งอิง 1. การเขยี นโปรแกรมโดยใชเ้ ครอ่ื งมอื กราฟิกโหมด รหสั 2204-2107 ผูเ้ รยี บเรยี ง สิทธชิ ัย รักษาสุข บริษัท ศนู ย์หนงั สอื เมอื งไทย จากดั 2. เว็บไซตท์ ี่เกีย่ วข้อง

13 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 2 หนว่ ยที่ 2 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ชื่อวิชา การเขียนโปรแกรมโดยใชเ้ คร่ืองมอื กราฟิกโหมด (GUI) รหสั 2204-2107 สอนคร้งั ที่ 2/18 จานวน 4 คาบ ชื่อหน่วย การใชง้ านโปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) เบอ้ื งต้น ชอ่ื เรอ่ื ง การใชง้ านโปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) เบ้อื งต้น หวั ข้อเรอ่ื ง 2.1 การเปดิ โปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) และการกาหนดคา่ เบ้อื งตน้ 2.2 การสรา้ งโปรเจ็คใหม่ (New Project) 2.3 ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) 2.4 คณุ สมบตั ิของฟอร์ม 2.5 การใช้ Control Object เบ้ืองตน้ 2.6 วิธกี ารเขียนโคด้ กบั โปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) 2.7 การสงั่ รันโปรแกรม (Run) สาระสาคัญ/แนวคดิ สาคัญ ศกึ ษา ทาความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การใช้งานโปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) เบ้ืองต้น เพื่อให้ผ้เู รยี น เกิดความรคู้ วามเข้าใจในการใช้งานโปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) เพื่อการเขยี นโปรแกรมในแบบ GUI ท่ี ผ้เู รยี นจะไดศ้ ึกษาต่อไปโดยลาดับ สมรรถนะย่อย แสดงความรู้เกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) ในการเขียนโปรแกรมในแบบ GUI จุดประสงคก์ ารปฏิบัติ 1. สามารถสรา้ งโปรเจ็คดว้ ย Visual Studio 2012 (Express Edition) ได้ 2. สามารถบอกถงึ ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) ได้ 3. สามารถกาหนดคณุ สมบัตใิ หก้ ับ Form เบ้ืองต้นได้ 4. สามารถเขยี นโคด้ เบ้ืองต้นกับ Visual Studio 2012 (Express Edition) ได้ 5. สามารถใช้งาน Control เบือ้ งต้นได้ 6. สามารถสัง่ รนั โปรแกรมทีส่ รา้ งขึ้นมาได้ เนอื้ หาสาระ 1. การเปดิ โปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) และการกาหนดค่าเบื้องตน้ การกาหนดค่าของโปรแกรมเบ้ืองตน้ 2. การสรา้ งโปรเจ็คใหม่ (New Project) 3. ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) 4. คณุ สมบัติของฟอร์ม 5. การใช้ Control Object เบอ้ื งต้น 6. การใช้งาน Button Control 7. การใชง้ าน TextBox Control 8. สรุปการใชง้ าน Control เบื้องต้น 9. วธิ กี ารเขยี นโคด้ กบั โปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition)

14 10. การสั่งรันโปรแกรม (Run) กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 2/18) กจิ กรรม เวลาโดยประมาณ 1. ครูขานชอ่ื นกั เรยี น 10 นาที 2. ครูใหน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre-test) 15 นาที 3. ขั้นนา ครนู าเขา้ สูบ่ ทเรยี นดว้ ยการสนทนา เกี่ยวกับโปรแกรม Visual Studio 2012 15 นาที 4. ขน้ั สอน บอกจดุ ประสงคก์ ารเรยี น บรรยาย อธิบาย ยกตัวอยา่ ง แสดงวธิ กี ารปฏบิ ตั ิ 60 นาที ในแตล่ ะหัวขอ้ การเรยี น และให้นกั ศกึ ษาปฏบิ ัตไิ ปพร้อมกนั 5. นกั เรยี นปฏิบตั โิ ดยใช้ใบงานที่ 1 50 นาที 6. ครใู ห้นักเรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยที่ 2 หลังนักเรียนทาเสร็จแลว้ เฉลย 50 นาที แบบฝึกหัด และให้ทาแบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) หนว่ ยท่ี 1 240 นาที รวม การวัดผลและประเมนิ ผล การวดั ผล การประเมินผล (ใชเ้ ครื่องมือ) (นาผลเทยี บกับเกณฑ์และแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) หน่วยท่ี 2 (ไว้เปรยี บเทยี บกบั คะแนนสอบหลงั เรียน) 2. แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 2 เกณฑผ์ ่าน 50% 3. แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หน่วยที่ 2 เกณฑผ์ ่าน 50% 4. โปรแกรมทไ่ี ดจ้ ากใบงาน 1-2 สาเรจ็ /ไมส่ าเรจ็ งานทีม่ อบหมาย งานที่มอบหมายนอกเหนอื เวลาเรยี น ใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิตามใบงานที่ 2 ผลงาน/ช้ินงาน/ความสาเร็จของผเู้ รียน 1. แบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 2 2. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หน่วยท่ี 2 3. โปรแกรมทไ่ี ดจ้ ากใบงานท่ี 1 และ 2 เอกสารอ้างอิง 1. การเขียนโปรแกรมโดยใช้เคร่ืองมอื กราฟกิ โหมด รหสั 2204-2107 ผู้เรยี บเรยี ง สิทธชิ ัย รกั ษาสขุ บริษัท ศนู ย์หนงั สือเมืองไทย จากดั

15 แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 3 หนว่ ยที่ 3 ชื่อวชิ า การเขยี นโปรแกรมโดยใชเ้ คร่ืองมอื กราฟิกโหมด (GUI) เวลาเรยี นรวม 72 คาบ รหสั 2204-2107 ชื่อหนว่ ย การเขียนโปรแกรมภาษา Visual Basic เบ้อื งต้น สอนครัง้ ท่ี 3–4/18 จานวน 8 คาบ ชือ่ เรอ่ื ง การเขียนโปรแกรมภาษา Visual Basic เบื้องต้น หวั ขอ้ เรอ่ื ง 3.1 ความรทู้ ่วั ไปเก่ยี วกบั Visual Basic 3.2 ทาความร้จู ักกับตัวแปรของ VB 3.3 ค่าคงท่ี (Constant) 3.4 ตวั แปรแบบชดุ หรือตวั แปรอาร์เรย์ (Array) 3.5 การใชง้ านตัวแปร 3.6 เคร่ืองหมายดาเนนิ การทางคณิตศาสตร์ แนวคดิ สาคญั ศกึ ษาทาความเข้าใจเก่ยี วกับการเขียนโปรแกรมกบั ภาษา Visual Basic เบ้อื งต้น โดยมุง่ หวังให้ผู้ศกึ ษาทาความเข้าใจ เก่ียวกับเรอ่ื งของตัวแปร การประกาศตัวแปร รว่ มไปถึงการใช้งานตัวแปรเบื้องตน้ สมรรถนะยอ่ ย แสดงความรเู้ กยี่ วกบั การเขียนโปรแกรม Visual Basic เบอ้ื งต้น เกีย่ วกับเรือ่ งของตัวแปร ค่าคงทแี่ ละตวั แปรประเภท อารเ์ รย์ จุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ 1. สามารถอธบิ ายความหมายของตวั แปรได้ 2. สามารถบอกถึงวธิ ีการประกาศตวั แปรได้ 3. สามารถบอกถงึ ความหายของอารเ์ รยไ์ ด้ 4. สามารถบอกถงึ ความแตกตา่ งระหว่างตวั แปรปรกตกิ ับตัวแปรแบบอารเ์ รยไ์ ด้ 5. สามารถเขยี นประกาศตวั แปรกับฟอร์มโปรแกรมทพ่ี ัฒนาได้ เนอื้ หาสาระ 1. ความรทู้ ่วั ไปเก่ียวกบั Visual Basic 2. ทาความร้จู ักกับตัวแปรของ VB - ตัวแปรคืออะไร - กฎการต้ังช่อื ตัวแปร - การประกาศตัวแปรของ VB - การกาหนดค่าให้กับตวั แปร 3. คา่ คงที่ (Constant) 4. ตวั แปรแบบชุด หรอื ตัวแปรอารเ์ รย์ (Array) - การประกาศตัวแปรอารเ์ รย์ - การกาหนดคา่ ใหก้ บั ตวั แปรอารเ์ รย์ - การเขา้ ถึงค่าข้อมลู ทเ่ี ก็บในอารเ์ รย์ - การนบั จานวนข้อมูลทีอ่ ยใู่ นตวั แปรอาร์เรย์

16 5. การใชง้ านตวั แปร - ตวั แปรกบั การใชง้ านร่วมกบั ข้อความ 6. เครอื่ งหมายดาเนนิ การทางคณติ ศาสตร์ - ลาดับการทางานของเคร่อื งหมายทางคณติ ศาสตร์ สื่อการเรียนการสอน 1. โปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) 2. การเขยี นโปรแกรมโดยใชเ้ คร่อื งมอื กราฟิกโหมด รหัสวิชา 2204-2107 ผเู้ รยี บเรียง สทิ ธิชยั รกั ษาสขุ บรษิ ัท ศนู ย์หนงั สือเมอื งไทย จากัด กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ท่ี 3/18) กิจกรรม เวลาโดยประมาณ 1. ครูขานชือ่ นักเรยี น 10 นาที 2. ครูใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test) 15 นาที 3. ขั้นนา ครนู าเขา้ สบู่ ทเรยี นดว้ ยการสนทนา การซกั ถาม 15 นาที 4. ขน้ั สอน บอกจุดประสงคก์ ารเรยี น บรรยาย อธบิ าย ยกตัวอย่าง แสดงวธิ กี ารปฏบิ ตั ิ 100 นาที ในแต่ละหวั ข้อการเรยี น และให้นกั ศึกษาปฏิบตั ไิ ปพร้อมกัน เรื่องของตัวแปร 5. นักเรียนปฏิบตั ิโดยใช้ใบงานที่ 3 โดยคาแนะนาของครู 60 นาที 6. ขน้ั สรุป ครแู นะนาสรปุ ความสาคัญของตวั แปรกบั การเขยี นโปรแกรมใหน้ กั เรยี น 40 นาที เขา้ ใจ 240 นาที รวม กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ท่ี 4/18) กจิ กรรม เวลาโดยประมาณ 1. ครขู านชอ่ื นกั เรยี น 10 นาที 2. ข้นั นา ครูนาเข้าสบู่ ทเรียนดว้ ยการสนทนา ทบทวนเนื้อหาในสัปดาห์ก่อน 20 นาที 3. ขั้นสอน บอกจุดประสงค์การเรยี น บรรยาย อธิบาย ยกตัวอยา่ ง แสดงวิธีการปฏบิ ตั ิ 80 นาที ในแตล่ ะหัวข้อการเรียน และให้นกั ศกึ ษาปฏบิ ัตไิ ปพรอ้ มกัน เรอ่ื งของตวั แปร และ เครอ่ื งหมายทใี่ ช้งานรว่ มกับตัวแปร 80 นาที 4. นักเรยี นปฏบิ ตั โิ ดยใชใ้ บงานที่ 4-5 โดยคาแนะนาของครู เวลาโดยประมาณ กิจกรรม 50 นาที 5. ครใู ห้นกั เรยี นทาแบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 3 หลงั นกั เรยี นทาเสร็จแล้วเฉลยแบบฝกึ หัด และ แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หนว่ ยที่ 3 30 นาที 6. ขน้ั สรุป ครูและนักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ เน้ือหาในหน่วยที่ 3 240 นาที รวม การวัดผลและประเมนิ ผล การวดั ผล การประเมินผล (ใช้เคร่ืองมือ) (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) หนว่ ยที่ 3 (ไวเ้ ปรยี บเทียบกับคะแนนสอบหลงั เรยี น)

17 2. โปรแกรมทไี่ ด้จากใบงาน 3-5 สาเรจ็ /ไมส่ าเรจ็ 3. แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 3 เกณฑผ์ ่าน 50% 4. แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หน่วยที่ 3 เกณฑผ์ า่ น 50% งานท่มี อบหมาย งานทม่ี อบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ไม่มี ผลงาน/ชน้ิ งาน/ความสาเรจ็ ของผ้เู รยี น แบบฝึกหัด คะแนนแบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) หน่วยท่ี 3 และโปรแกรมทเ่ี ขียนขึน้ ตามคาแหนะของครู เอกสารอา้ งอิง การเขยี นโปรแกรมโดยใชเ้ ครอื่ งมอื กราฟกิ โหมด รหสั 2204-2107 ผู้เรยี บเรยี ง สิทธิชัย รกั ษาสุข บรษิ ัท ศนู ย์ หนังสอื เมอื งไทย จากดั แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 4 หนว่ ยที่ 4 ชอ่ื วชิ า การเขยี นโปรแกรมโดยใชเ้ คร่อื งมอื กราฟิกโหมด (GUI) เวลาเรยี นรวม 72 คาบ รหัส 2204-2107 ช่ือหนว่ ย การเขยี นโปรแกรมแบบมีการตดั สินใจ สอนครั้งท่ี 5–6/18 จานวน 8 คาบ ชอ่ื เร่ือง การเขียนโปรแกรมแบบมีการตดั สินใจ หัวขอ้ เร่ือง 4.1 เขียนโปรแกรมการแบบมีการตัดสนิ ใจ 4.2 การเขยี นโปรแกรมแบบมีการตัดสินใจกบั ฟอรม์ โปรแกรม แนวคดิ สาคญั ศึกษาทาความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การเขยี นโปรแกรมแบบมีการตดั สินใจการทางานของโปรแกรม สมรรถนะยอ่ ย แสดงความร้เู กีย่ วกับการเขียนโปรแกรมภาษา Visual Basic เกย่ี วกบั การเขียนโปรแกรมในรูปแบบทม่ี ีการเลอื ก ตดั สินใจในการทางานของโปรแกรม

18 จดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ 1. สามารถอธิบายถึงความหมายของโปรแกรมแบบมกี ารตัดสนิ ใจได้ 2. สามารถบอกถึงความสาคญั ของโปรแกรมแบบมกี ารตดั สินใจได้ 3. สามารถเขียนโปรแกรมในรปู แบบมกี ารตดั สนิ ใจได้ 4. สามารถบอกถึงความหมายของ Key Word ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การเขยี นโปรแกรมแบบมกี ารตดั สินใจได้ เน้อื หาสาระ 1. เขียนโปรแกรมแบบมกี ารตดั สนิ ใจ 2. การเขยี นโปรแกรมแบบมีการตัดสนิ ใจกบั ฟอรม์ โปรแกรม ส่ือการเรียนการสอน 1. โปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) 2. การเขยี นโปรแกรมโดยใชเ้ คร่ืองมือกราฟกิ โหมด รหสั วชิ า 2204-2107 ผู้เรยี บเรียง สิทธชิ ยั รกั ษาสขุ บรษิ ทั ศนู ยห์ นงั สือเมืองไทย จากดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ที่ 5/18) กิจกรรม เวลาโดยประมาณ 1. ครขู านชือ่ นักเรียน 10 นาที 2. ครูใหน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test) 15 นาที กจิ กรรม เวลาโดยประมาณ 3. ข้นั นา ครนู าเข้าสบู่ ทเรยี นด้วยการสนทนา ทบทวนหนว่ ยการเรียนท่ผี า่ นมาแลว้ 15 นาที 4. ขั้นสอน บอกจุดประสงค์การเรยี น บรรยาย อธิบาย ยกตัวอยา่ ง แสดงวธิ กี ารปฏบิ ัติ 90 นาที ในแตล่ ะหวั ขอ้ การเรยี น และให้นกั ศกึ ษาปฏบิ ัตไิ ปพร้อมกนั 5. ครใู ห้นกั เรยี นปฏิบัติตามใบงานท่ี 6 - 7 90 นาที 6. ครูสรุปเน้ือหาร่วมกบั นักเรยี น 20 นาที 240 นาที รวม กิจกรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ที่ 6/18) กิจกรรม เวลาโดยประมาณ 1. ครูขานชอื่ นักเรียน 10 นาที 2. ขัน้ นา ครนู าเขา้ สบู่ ทเรียนดว้ ยการสนทนา การซักถาม ทบทวนเนือ้ หาที่เรียน 15 นาที 3. ขน้ั สอน บอกจดุ ประสงคก์ ารเรยี น บรรยาย อธบิ าย ยกตัวอย่าง แสดงวิธกี ารปฏบิ ัติ 60 นาที ในแตล่ ะหวั ข้อการเรยี น และให้นกั ศึกษาปฏบิ ตั ไิ ปพรอ้ มกัน 4. ครูให้นักเรยี นปฏิบตั ติ ามใบงานท่ี 8-9 90 นาที 5. ครูให้นักเรยี นทาแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 4 (ขอ้ 6-10) หลังนกั เรียนทาเสรจ็ แล้วเฉลย 25 นาที แบบฝกึ หดั 6. ครูสรปุ เน้อื หารว่ มกบั นักเรียน 10 นาที 7. ครูให้นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หน่วยที่ 4 30 นาที 240 นาที รวม การวดั ผลและประเมนิ ผล

19 การวัดผล การประเมินผล (ใช้เครอ่ื งมือ) (นาผลเทียบกับเกณฑ์และแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) หนว่ ยที่ 4 (ไว้เปรียบเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรียน) 2. แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 4 เกณฑผ์ ่าน 50% 3. แบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) หน่วยท่ี 4 เกณฑผ์ ่าน 50% 4. โปรแกรมทไ่ี ดจ้ ากใบงาน 6-12 สาเรจ็ /ไมส่ าเรจ็ งานทีม่ อบหมาย งานทีม่ อบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ใหน้ ักเรยี นเลือกทาใบงานท่ี 10 – 12 โดยเลือกทาเพียง 1 ใบงานแล้วนามาสง่ ครูในการเรยี นครง้ั ต่อไป ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเรจ็ ของผเู้ รียน โปรแกรมที่ไดจ้ ากใบงาน 6-12 เอกสารอ้างอิง - การเขยี นโปรแกรมโดยใชเ้ ครอื่ งมอื กราฟิกโหมด รหัสวชิ า 2204-2107 - ผู้เรยี บเรยี ง สทิ ธิชยั รกั ษาสขุ บรษิ ัท ศูนยห์ นังสอื เมอื งไทย จากัด

20 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 5 หน่วยท่ี 5 ชอื่ วิชา การเขยี นโปรแกรมโดยใช้เครื่องมอื กราฟิกโหมด (GUI) เวลาเรยี นรวม 72 คาบ รหสั 2204-2107 ชือ่ หน่วย การเขยี นโปรแกรมแบบมกี ารทาซ้า (Loop) สอนครงั้ ที่ 7–8/18 จานวน 8 คาบ ช่ือเรือ่ ง การเขียนโปรแกรมแบบมีการทาซ้า (Loop) หวั ขอ้ เร่ือง 5.1 เขยี นโปรแกรมแบบมีการทาซา้ 5.2 การเขยี นโปรแกรมแบบมกี ารทาซา้ กับ Visual Studio 2012 (Express Edition) แนวคิดสาคญั ศกึ ษาทาความเข้าใจเก่ียวกับการเขยี นโปรแกรมแบบมีการทาซ้ากับภาษา Visual Basic ในหลากหลายรูปแบบ ไวยากรณท์ ี่จาเปน็ สมรรถนะย่อย แสดงความรเู้ ก่ยี วกับการเขียนโปรแกรมภาษา Visual Basic เก่ียวกบั การเขียนโปรแกรมในรปู แบบของมกี ารทาซ้า จดุ ประสงค์การปฏิบัติ 1. สามารถอธิบายถึงความหมายของโปรแกรมแบบมกี ารทาซา้ ได้ 2. สามารถบอกถึงความสาคญั ของโปรแกรมแบบมีการทาซ้าได้ 3. สามารถเขยี นโปรแกรมในรปู แบบมกี ารทาซ้าได้ 4. สามารถนาแนวคดิ การเขียนโปรแกรมแบบมกี ารทาซา้ ไปแก้ไขปญั หาทางโปรแกรมม่งิ ได้ เนอ้ื หาสาระ 1. เขียนโปรแกรมแบบมกี ารทาซ้า - การเขียนโปรแกรมแบบมีการทาซ้าในรูปแบบ While - การเขยี นโปรแกรมแบบมีการทาซ้าในรูปแบบ Do...Loop - การเขียนโปรแกรมแบบมกี ารทาซ้าในรปู แบบ For …. Next 2. การเขียนโปรแกรมแบบมกี ารทาซ้ากับ Visual Studio 2012 (Express Edition) ส่ือการเรยี นการสอน 1. โปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) 2. การเขียนโปรแกรมโดยใช้เครอื่ งมือกราฟกิ โหมด รหัสวชิ า 2204-2107 ผ้เู รยี บเรียง สิทธชิ ยั รักษาสขุ บรษิ ัท ศนู ยห์ นังสอื เมืองไทย จากดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ี่ 7/18) เวลาโดยประมาณ 10 นาที กิจกรรม 15 นาที 1. ครูขานช่อื นกั เรียน 15 นาที 2. ครูให้นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test) 3. ขัน้ นา ครนู าเข้าสบู่ ทเรียนด้วยการสนทนา การซกั ถาม ทบทวนเน้อื หาทีเ่ รียน

21 4. ขัน้ สอน บอกจุดประสงคก์ ารเรยี น บรรยาย อธบิ าย ยกตวั อยา่ ง แสดงวธิ กี ารปฏบิ ัติ 90 นาที ในแตล่ ะหวั ขอ้ การเรียน และใหน้ กั ศกึ ษาปฏบิ ัตไิ ปพรอ้ มกัน 5. ครใู หน้ กั เรยี นปฏบิ ัตติ ามใบงานที่ 13-14 90 นาที 7. ขน้ั สรุป ครสู รุปเนอ้ื หารว่ มกบั นกั เรียน 20 นาที 240 นาที รวม กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาหท์ ี่ 8/18) กิจกรรม เวลาโดยประมาณ 1. ครขู านชื่อนกั เรียน 10 นาที 2. ขนั้ นา ครนู าเข้าสูบ่ ทเรียนด้วยการสนทนา ทบทวนเนื้อหา 15 นาที 3. ขน้ั สอน บอกจดุ ประสงคก์ ารเรยี น บรรยาย อธบิ าย ยกตัวอย่าง แสดงวิธกี ารปฏบิ ตั ิ 60 นาที ในแต่ละหัวขอ้ การเรียน และให้นกั ศกึ ษาปฏบิ ตั ไิ ปพร้อมกนั 4. ครูใหน้ กั เรียนปฏิบัตติ ามใบงานท่ี 15-16 90 นาที 5. ขั้นสรุป ครแู ละนักเรียนชว่ ยกนั สรปุ เนอื้ หาบทเรยี น 15 นาที 6. ครูให้นักเรียนทาแบบฝกึ หัด และแบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) หน่วยท่ี 5 50 นาที 240 นาที รวม การวัดผลและประเมนิ ผล การวดั ผล การประเมินผล (ใช้เคร่อื งมือ) (นาผลเทยี บกับเกณฑแ์ ละแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) หนว่ ยที่ 5 (ไว้เปรียบเทยี บกับคะแนนสอบหลงั เรียน) 3. แบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 5 เกณฑผ์ า่ น 50% 4. โปรแกรมทไ่ี ดจ้ ากใบงาน 13 - 16 สาเรจ็ /ไมส่ าเรจ็ 4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หน่วยท่ี 5 เกณฑผ์ า่ น 50% งานทีม่ อบหมาย งานท่ีมอบหมายนอกเหนอื เวลาเรยี น ไม่มี ผลงาน/ช้นิ งาน/ความสาเร็จของผเู้ รียน โปรแกรมทไ่ี ดจ้ ากใบงาน 13 – 16 เอกสารอ้างอิง - การเขียนโปรแกรมโดยใชเ้ ครื่องมอื กราฟกิ โหมด รหัสวชิ า 2204-2107 - ผูเ้ รยี บเรยี ง สทิ ธิชยั รักษาสขุ บรษิ ัท ศนู ยห์ นังสอื เมืองไทย จากดั

22 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 6 หน่วยท่ี 6 ช่ือวชิ า การเขยี นโปรแกรมโดยใช้เคร่อื งมือกราฟิกโหมด (GUI) เวลาเรียนรวม 72 คาบ รหสั 2204-2107 ชื่อหน่วย การเขยี นโปรแกรมกับคอนโทรล สอนคร้งั ที่ 9–10/18 จานวน 8 คาบ ชอ่ื เรือ่ ง การเขยี นโปรแกรมกับคอนโทรล หัวข้อเรอ่ื ง 6.1 รจู้ ักกบั คอนโทรล (Control) 6.2 โครงสร้างการเขียนโปรแกรมกับ Control 6.3 การเขยี นโปรแกรมกับ Common Controls 6.4 การเขียนโปรแกรมกับ Control แนวคดิ สาคญั ศกึ ษาทาความเขา้ ใจเกยี่ วกับการเขียนโปรแกรมร่วมกับคอนโทรล และการใชง้ านคอนโทรลพนื้ ฐาน สมรรถนะย่อย แสดงความรเู้ กีย่ วกบั การเขยี นโปรแกรมกบั คอนโทรล และการใชง้ านคอนโทรล จุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ 1. สามารถอธิบายถงึ ความหมายของคอนโทรลได้ 2. สามารถบอกถึงโครงสรา้ งการเขยี นโปรแกรมกับคอนโทรลได้ 3. สามารถกาหนดค่าคุณสมบตั ิใหก้ ับคอนโทรลได้ 4. สามารถเขยี นโปรแกรมทางานร่วมกับคอนโทรลได้ 5. สามารถนาคอนโทรลไปพฒั นาโปรแกรมได้ เนื้อหาสาระ 1. รจู้ ักกับคอนโทรล (Control) - กลุ่มของคอนโทรล - การกาหนดคณุ สมบตั ขิ องคอนโทรล 2. โครงสรา้ งการเขยี นโปรแกรมกับ Control - Sub Program ของโปรแกรมกบั Control - Event ของ Control 3. การเขยี นโปรแกรมกบั Common Controls - การเขียนโปรแกรมกบั Button Control - การเขียนโปรแกรมกับ TextBox Control - การเขียนโปรแกรมกับ Label Control - การเขยี นโปรแกรมกับ ComboBox Control 4. ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมกับ Control สื่อการเรยี นการสอน 1. โปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) 2. การเขียนโปรแกรมโดยใชเ้ ครือ่ งมอื กราฟกิ โหมด รหสั วชิ า 2204-2107 ผเู้ รยี บเรยี ง สิทธิชยั รกั ษาสุข บริษทั ศนู ยห์ นังสือเมอื งไทย จากัด

23 กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 9/18) กิจกรรม เวลาโดยประมาณ 1. ครขู านช่ือนักเรียน 10 นาที 2. ครใู หน้ ักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test) 15 นาที 3. ข้นั นา ครูนาเข้าสูบ่ ทเรยี นด้วยการสนทนา การซักถาม ทบทวนเนอ้ื หาท่เี รียน 15 นาที 4. ข้ันสอน บอกจดุ ประสงค์การเรยี น บรรยาย อธิบาย ยกตัวอย่าง แสดงวิธีการปฏบิ ตั ิ 120 นาที ในแต่ละหัวขอ้ การเรยี น และให้นกั ศึกษาปฏบิ ัตไิ ปพรอ้ มกนั 5. ครูใหน้ กั เรียนปฏบิ ัตติ ามใบงานที่ 17 60 นาที 7. ขั้นสรุป ครสู รุปเนอื้ หารว่ มกบั นักเรยี น 20 นาที 240 นาที รวม กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ท่ี 10/18) กิจกรรม เวลาโดยประมาณ 1. ครขู านช่อื นักเรียน 10 นาที 2. ขั้นนา ครูนาเขา้ สบู่ ทเรยี นดว้ ยการสนทนา ทบทวนเน้อื หา 15 นาที 3. ขน้ั สอน บอกจดุ ประสงค์การเรยี น บรรยาย อธบิ าย ยกตัวอย่าง แสดงวิธกี ารปฏบิ ตั ิ 60 นาที ในแตล่ ะหัวข้อการเรียน และใหน้ กั ศึกษาปฏิบตั ไิ ปพร้อมกนั 4. ครใู ห้นกั เรียนปฏบิ ตั ิตามใบงานท่ี 18 75 นาที 5. ขั้นสรุป ครูและนกั เรียนชว่ ยกันสรุปเน้ือหาบทเรียน 30 นาที 6. ครูใหน้ ักเรียนทาแบบฝึกหัด และแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) หน่วยท่ี 6 50 นาที 240 นาที รวม การวัดผลและประเมินผล การวดั ผล การประเมินผล (ใช้เครอ่ื งมือ) (นาผลเทยี บกบั เกณฑ์และแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre-test) หน่วยที่ 6 (ไวเ้ ปรียบเทยี บกับคะแนนสอบหลงั เรียน) 3. แบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 6 เกณฑผ์ ่าน 50% 4. โปรแกรมทไี่ ด้จากใบงาน 17 - 19 สาเรจ็ /ไมส่ าเรจ็ การวดั ผล การประเมนิ ผล (ใชเ้ คร่อื งมอื ) (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) 4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หนว่ ยที่ 6 เกณฑผ์ ่าน 50% งานทม่ี อบหมาย งานทมี่ อบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ใหน้ กั เรยี นสร้างโปรแกรมตามใบงานที่ 19 ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเรจ็ ของผูเ้ รยี น โปรแกรมท่ไี ดจ้ ากใบงาน 17 - 19 เอกสารอา้ งองิ - การเขียนโปรแกรมโดยใชเ้ ครอ่ื งมอื กราฟกิ โหมด รหสั วชิ า 2204-2107 - ผเู้ รยี บเรยี ง สทิ ธิชยั รักษาสุข บรษิ ัท ศนู ยห์ นังสอื เมืองไทย จากัด

24 แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 7 หนว่ ยท่ี 7 ชอ่ื วิชา การเขยี นโปรแกรมโดยใช้เคร่อื งมือกราฟกิ โหมด (GUI) เวลาเรยี นรวม 72 คาบ รหัส 2204-2107 ชื่อหนว่ ย ฟอรม์ และเมนโู ปรแกรม สอนครง้ั ท่ี 11–12/18 จานวน 8 คาบ ชอื่ เรอ่ื ง ฟอรม์ และเมนโู ปรแกรม หวั ขอ้ เร่อื ง 7.1 การสร้างฟอร์ม (Form) 7.2 การสร้างเมนู (Menu) 7.3 การสรา้ งเมนูแบบ Tool Strip แนวคิดสาคญั ศึกษาทาความเขา้ ใจเกีย่ วกับการใชง้ านฟอรม์ เพือ่ การเขียนโปรแกรม โดยมกี ารสรา้ งเมนเู พอื่ ใหผ้ ใู้ ช้งานโปรแกรมได้ ใช้งาน สมรรถนะย่อย แสดงความร้เู ก่ยี วกบั การสร้างเมนโู ปรแกรม และการเขยี นโปรแกรมใหก้ ับเมนูตา่ งๆ

25 จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ 1. สามารถอธบิ ายถึงความหมายฟอรม์ ได้ 2. สามารถบอกความหมายของเมนูได้ 3. สามารถกาหนดคา่ คุณสมบตั ิให้กับฟอร์มและเมนไู ด้ 4. สามารถเขยี นโปรแกรมทางานรว่ มกบั เมนไู ด้ 5. สามารถนาเมนไู ปออกแบบหน้าจอสาหรับผูใ้ ชง้ านโปรแกรมได้ เนื้อหาสาระ 1. การสร้างฟอร์ม (Form) - สว่ นประกอบของฟอร์ม - การกาหนดคณุ สมบตั ิให้กบั ฟอรม์ 2. การสร้างเมนู (Menu) - Control สาหรับสรา้ งเมนู - เขียนโค้ดโปรแกรมใหก้ ับเมนู - สรา้ ง Short Key ใหเ้ มนู 3. การสร้างเมนแู บบ Tool Strip - ใชง้ าน ToolStrip - เขียนโคด้ โปรแกรมใหก้ บั เมนไู อคอน 4. สร้าง Web Browser อย่างงา่ ย สือ่ การเรียนการสอน 1. โปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) 2. การเขยี นโปรแกรมโดยใชเ้ ครอื่ งมอื กราฟิกโหมด รหสั วิชา 2204-2107 ผ้เู รียบเรยี ง สทิ ธชิ ยั รักษาสขุ บริษัท ศูนย์หนังสอื เมืองไทย จากดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ่ี 11/18) กิจกรรม เวลาโดยประมาณ 1. ครขู านชือ่ นักเรียน 10 นาที 2. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test) 15 นาที 3. ข้นั นา ครนู าเข้าสู่บทเรยี นด้วยการสนทนา การซกั ถาม ทบทวนเนอ้ื หาทีเ่ รียน 15 นาที 4. ขน้ั สอน บอกจุดประสงคก์ ารเรยี น บรรยาย อธิบาย ยกตวั อยา่ ง แสดงวิธกี ารปฏบิ ตั ิ 120 นาที ในแตล่ ะหวั ขอ้ การเรียน และให้นกั ศึกษาปฏบิ ตั ไิ ปพร้อมกนั 5. ครใู หน้ กั เรียนปฏบิ ตั ิตามใบงานที่ 20 60 นาที 7. ข้ันสรุป ครสู รปุ เน้ือหาร่วมกบั นกั เรียน 20 นาที 240 นาที รวม กิจกรรมการเรียนรู้ (สปั ดาหท์ ่ี 12/18) กิจกรรม เวลาโดยประมาณ 1. ครูขานช่อื นักเรียน 10 นาที 2. ข้นั นา ครูนาเขา้ สู่บทเรียนด้วยการสนทนา ทบทวนเน้อื หา 15 นาที

26 3. ขั้นสอน บอกจุดประสงค์การเรยี น บรรยาย อธบิ าย ยกตัวอย่าง แสดงวธิ ีการปฏบิ ัติ 90 นาที ในแตล่ ะหวั ขอ้ การเรียน และใหน้ กั ศึกษาปฏิบตั ไิ ปพรอ้ มกนั 4. ครูให้นักเรียนปฏบิ ตั ติ ามใบงานท่ี 21 60 นาที 5. ข้นั สรปุ ครูและนักเรียนชว่ ยกนั สรุปเนือ้ หาบทเรียน 15 นาที 6. ครูใหน้ ักเรียนทาแบบฝึกหดั และแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) หน่วยที่ 6 50 นาที 240 นาที รวม การวัดผลและประเมินผล การวดั ผล การประเมินผล (ใช้เครอื่ งมอื ) (นาผลเทยี บกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test) หน่วยที่ 7 (ไวเ้ ปรียบเทยี บกบั คะแนนสอบหลงั เรียน) 3. แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 7 เกณฑผ์ า่ น 50% 4. โปรแกรมทไ่ี ดจ้ ากใบงาน 20 - 21 สาเรจ็ /ไมส่ าเรจ็ การวัดผล การประเมินผล (ใชเ้ คร่อื งมอื ) (นาผลเทียบกับเกณฑ์และแปลความหมาย) 4. แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หนว่ ยที่ 7 เกณฑผ์ า่ น 50% งานทีม่ อบหมาย งานท่ีมอบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ไมม่ ี ผลงาน/ชน้ิ งาน/ความสาเรจ็ ของผูเ้ รยี น โปรแกรมท่ไี ดจ้ ากใบงาน 20 - 21 เอกสารอา้ งองิ - การเขยี นโปรแกรมโดยใช้เครอื่ งมอื กราฟกิ โหมด รหัสวชิ า 2204-2107 - ผู้เรยี บเรยี ง สทิ ธชิ ยั รักษาสุข บรษิ ทั ศนู ยห์ นังสือเมืองไทย จากดั

27 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 8 หน่วยที่ 8 ชอื่ วชิ า การเขียนโปรแกรมโดยใช้เครื่องมอื กราฟิกโหมด (GUI) เวลาเรยี นรวม 72 คาบ รหัส 2204-2107 ชื่อหนว่ ย โปรแกรมย่อย และฟงั กช์ ั่น สอนคร้งั ท่ี 13–14/18 จานวน 8 คาบ ชอื่ เร่อื ง โปรแกรมย่อย และฟงั กช์ ่ัน หวั ข้อเรอ่ื ง 8.1 โปรแกรมย่อย (Sub Program) 8.2 ฟงั ก์ชั่น (Function) 8.3 การต้งั ชอ่ื โปรแกรมยอ่ ยและฟงั กช์ ัน่ 8.4 ฟังก์ชั่นท่ีมีมาให้แลว้ กับ Visual Basic แนวคิดสาคัญ ศึกษาทาความเข้าใจเก่ยี วกับความหมายการพฒั นาโปรแกรมย่อย และฟังกช์ นั่ รวมถึงแนวคดิ ทจ่ี าเปน็ ตอ่ การเขียน โปรแกรมในแบบมีการใช้งานโปรแกรมยอ่ ยและฟังก์ชนั่ เข้าร่วม สมรรถนะย่อย แสดงความร้เู กีย่ วกบั โปรแกรมย่อยและฟังกช์ นั่ พร้อมท้งั สามารถนาไปพฒั นากับการเขยี นโปรแกรมในภาษา Visual Basic ได้ จดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ 1. สามารถอธิบายถึงความหมายของโปรแกรมยอ่ ยได้ 2. สามารถบอกความหมายของฟงั กช์ ่ันได้ 3. บอกความแตกต่างระหว่างโปรแกรมย่อยกบั ฟงั กช์ นั ได้ 4. สามารถเขียนโปรแกรมทม่ี กี ารแบง่ การทางานเป็นโปรแกรมยอ่ ยและฟงั กช์ นั่ ได้ 5. สามารถใช้งานฟังก์ชนั่ ท่ี Visual Basic มีมาใหอ้ ยไู่ ด้ เนอ้ื หาสาระ 1. โปรแกรมยอ่ ย (Sub Program) - การสร้างโปรแกรมย่อย 2. ฟงั ก์ช่นั (Function) - การสร้างฟังก์ชัน่ 3. การตัง้ ชอื่ โปรแกรมย่อยและฟงั ก์ชั่น 4. ฟงั กช์ ัน่ ที่มีมาให้แลว้ กับ Visual Basic - ฟงั กช์ ั่นดา้ นตวั เลข - ฟังกช์ ั่นดา้ นตัวอกั ษรขอ้ ความ - ฟงั กช์ นั่ ด้านวัน/เวลา - ตวั อย่างการใช้ฟังกช์ ่ันทมี่ ีมาใหแ้ ลว้ กบั Visual Basic สอ่ื การเรยี นการสอน 1. โปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) 2. การเขียนโปรแกรมโดยใช้เครือ่ งมือกราฟิกโหมด รหัสวชิ า 2204-2107 ผเู้ รียบเรียง สิทธชิ ัย รักษาสุข บรษิ ัท ศนู ย์หนังสือเมืองไทย จากดั

28 กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาหท์ ่ี 13/18) กจิ กรรม เวลาโดยประมาณ 1. ครขู านชือ่ นักเรยี น 10 นาที 2. ครใู หน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test) 15 นาที 3. ข้นั นา ครูนาเข้าสู่บทเรยี นดว้ ยการสนทนา การซักถาม ทบทวนเนื้อหาทเ่ี รยี น 15 นาที 4. ขนั้ สอน บอกจุดประสงค์การเรยี น บรรยาย อธบิ าย ยกตัวอย่าง แสดงวิธีการปฏบิ ตั ิ 120 นาที ในแตล่ ะหวั ขอ้ การเรียน และใหน้ กั ศึกษาปฏิบัตไิ ปพรอ้ มกัน 5. ครใู หน้ ักเรยี นปฏิบัตติ ามใบงานท่ี 22 60 นาที 7. ขั้นสรุป ครสู รปุ เน้ือหารว่ มกบั นกั เรียน 20 นาที 240 นาที รวม กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ท่ี 14/18) กิจกรรม เวลาโดยประมาณ 1. ครขู านชอ่ื นกั เรยี น 10 นาที 2. ขน้ั นา ครูนาเขา้ สบู่ ทเรยี นดว้ ยการสนทนา ทบทวนเน้อื หา 15 นาที 3. ข้นั สอน บอกจุดประสงค์การเรยี น บรรยาย อธิบาย ยกตัวอย่าง แสดงวธิ กี ารปฏบิ ัติ 90 นาที ในแตล่ ะหวั ข้อการเรยี น และใหน้ กั ศึกษาปฏบิ ัตไิ ปพรอ้ มกนั 4. ครใู ห้นกั เรียนปฏิบตั ติ ามใบงานท่ี 23 60 นาที 5. ขั้นสรปุ ครแู ละนักเรยี นช่วยกันสรุปเน้อื หาบทเรยี น 15 นาที 6. ครใู ห้นกั เรียนทาแบบฝึกหดั และแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) หนว่ ยท่ี 8 50 นาที 240 นาที รวม การวดั ผลและประเมินผล การวัดผล การประเมนิ ผล (ใช้เครอ่ื งมอื ) (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) หนว่ ยท่ี 8 (ไว้เปรยี บเทยี บกับคะแนนสอบหลงั เรยี น) การวัดผล การประเมนิ ผล (ใชเ้ คร่ืองมอื ) (นาผลเทยี บกับเกณฑแ์ ละแปลความหมาย) 3. แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 8 เกณฑผ์ ่าน 50% 4. โปรแกรมทไี่ ดจ้ ากใบงาน 22 - 23 สาเรจ็ /ไมส่ าเรจ็ 4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หนว่ ยที่ 8 เกณฑผ์ ่าน 50% งานที่มอบหมาย งานทม่ี อบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ไม่มี ผลงาน/ชน้ิ งาน/ความสาเร็จของผเู้ รยี น โปรแกรมทไี่ ดจ้ ากใบงาน 22 – 23 เอกสารอา้ งองิ

29 - การเขยี นโปรแกรมโดยใชเ้ ครื่องมอื กราฟกิ โหมด รหัสวชิ า 2204-2107 - ผูเ้ รยี บเรยี ง สทิ ธิชัย รกั ษาสุข บรษิ ัท ศูนย์หนังสอื เมืองไทย จากดั แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 9 หนว่ ยที่ 9 ชื่อวิชา การเขียนโปรแกรมโดยใชเ้ คร่อื งมอื กราฟกิ โหมด (GUI) เวลาเรยี นรวม 72 คาบ รหัส 2204-2107 ชื่อหนว่ ย การเขยี นโปรแกรมกับฐานขอ้ มลู สอนคร้ังที่ 15–16/18 จานวน 8 คาบ ชอื่ เร่ือง การเขยี นโปรแกรมกับฐานข้อมูล หวั ขอ้ เร่ือง 9.1 รจู้ ักกับฐานข้อมูลเบือ้ งตน้ 9.2 การเขียนโปรแกรมดา้ นฐานขอ้ มูล แนวคดิ สาคญั ศกึ ษาทาความเข้าใจเก่ยี วกับการใชง้ านฐานขอ้ มลู (Database) ร่วมกับการพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษา Visual Basic เบอื้ งตน้ สมรรถนะยอ่ ย แสดงความรเู้ กย่ี วกับการใชง้ านฐานข้อมูล ร่วมกบั ภาษา Visual Basic โดยผา่ นเครื่องมือของ Visual Studio จุดประสงค์การปฏบิ ัติ

30 1. สามารถอธิบายถึงความหมายของฐานข้อมูลได้ 2. สามารถบอกถึงองคป์ ระกอบของฐานข้อมูลได้ 3. สามารถสรา้ งโปรแกรมแสดงผลข้อมลู ทไ่ี ดจ้ ากฐานข้อมูลได้ เน้อื หาสาระ 1. ร้จู ักกับฐานข้อมลู เบื้องต้น - ระบบโปรแกรมดา้ นฐานข้อมลู - SQL ภาษาทใ่ี ช้กบั ระบบฐานขอ้ มลู - โครงสร้างของฐานขอ้ มลู 2. การเขียนโปรแกรมดา้ นฐานขอ้ มลู - สร้างฐานข้อมูล - สร้างโปรแกรม ส่อื การเรยี นการสอน 1. โปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) 2. โปรแกรม Microsoft Access 2007 3. การเขียนโปรแกรมโดยใช้เครอื่ งมอื กราฟกิ โหมด รหสั วิชา 2204-2107 ผู้เรยี บเรียง สิทธิชยั รักษาสขุ บริษัท ศูนย์หนังสอื เมอื งไทย จากดั 4. เว็บไซตท์ เ่ี ก่ียวขอ้ ง กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ่ี 15/18) กิจกรรม เวลาโดยประมาณ 1. ครูขานช่อื นักเรียน 10 นาที 2. ครใู หน้ กั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre-test) 15 นาที 3. ขัน้ นา ครนู าเขา้ สบู่ ทเรียนดว้ ยการสนทนา แนะนาเกริน่ นาให้นักเรยี นรจู้ ักวา่ 30 นาที ฐานข้อมูลคอื อะไร มีความสาคญั อย่างไร 4. ขนั้ สอน บอกจุดประสงคก์ ารเรยี น บรรยาย อธิบาย ยกตัวอย่าง แสดงวธิ กี ารปฏบิ ตั ิ 125 นาที ในแต่ละหัวข้อการเรยี น และใหน้ กั ศกึ ษาปฏิบัตไิ ปพร้อมกัน 5. ครใู ห้นกั เรยี นปฏิบัติตามใบงานที่ 24 โดยคาแนะนาของครู 60 นาที 240 นาที รวม กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาหท์ ี่ 16/18) กจิ กรรม เวลาโดยประมาณ 1. ครูขานชือ่ นักเรยี น 10 นาที 2. ข้นั นา ครนู าเข้าสบู่ ทเรยี นดว้ ยการสนทนา ทบทวนเนอ้ื หา 15 นาที 3. ข้ันสอน บอกจดุ ประสงคก์ ารเรยี น บรรยาย อธบิ าย ยกตัวอยา่ ง แสดงวธิ กี ารปฏบิ ตั ิ 90 นาที ในแต่ละหวั ขอ้ การเรียน และให้นกั ศึกษาปฏบิ ัตไิ ปพรอ้ มกนั 4. ครูใหน้ กั เรยี นปฏิบัตติ ามใบงานท่ี 25 60 นาที 5. ขั้นสรุป ครแู ละนักเรียนชว่ ยกนั สรุปเนื้อหาบทเรยี น 15 นาที 6. ครูใหน้ ักเรียนทาแบบฝกึ หัด และแบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) หน่วยท่ี 8 50 นาที 240 นาที รวม

การวดั ผลและประเมินผล 31 การวดั ผล การประเมินผล (ใชเ้ ครอ่ื งมือ) (นาผลเทียบกับเกณฑ์และแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) หนว่ ยที่ 9 (ไว้เปรียบเทียบกับคะแนนสอบหลงั เรยี น) 3. แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 9 เกณฑผ์ า่ น 50% 4. โปรแกรมทไ่ี ด้จากใบงาน 24 – 25 สาเรจ็ /ไมส่ าเรจ็ 4. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) หน่วยท่ี 9 เกณฑผ์ ่าน 50% งานที่มอบหมาย งานท่มี อบหมายนอกเหนอื เวลาเรยี น ให้นักเรยี นศึกษาเรือ่ งฐานข้อมลู เพ่ิมเตมิ โดยการค้นหาจากเว็บไซต์ และทาเปน็ รายงาน 1 หน้ากระดาษ หัวขอ้ รายการ “ภาษา SQL คอื อะไร มีตัวอยา่ งการใชง้ านอย่างไร?” ผลงาน/ช้ินงาน/ความสาเร็จของผู้เรยี น โปรแกรมท่ีไดจ้ ากใบงาน 24 – 25 และรายงานท่มี อบหมาย เอกสารอา้ งองิ - การเขียนโปรแกรมโดยใช้เคร่ืองมอื กราฟกิ โหมด รหัสวิชา 2204-2107 - ผู้เรยี บเรยี ง สิทธิชยั รักษาสุข บรษิ ทั ศูนย์หนงั สือเมอื งไทย จากัด

32 แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 10 หนว่ ยท่ี 10 ชอ่ื วชิ า การเขยี นโปรแกรมโดยใช้เคร่อื งมือกราฟกิ โหมด (GUI) เวลาเรียนรวม 72 คาบ รหัส 2204-2107 ช่อื หน่วย การพัฒนาโปรแกรมด้วย Visual Basic สอนครั้งที่ 17/18 จานวน 4 คาบ ชอื่ เรือ่ ง การพัฒนาโปรแกรมดว้ ย Visual Basic หัวข้อเรอื่ ง 10.1 ขัน้ ตอนการพัฒนาโปรแกรม 10.2 การพฒั นาโปรแกรมโดย Visual Basic แนวคิดสาคัญ ศึกษาขั้นตอนการพฒั นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ดว้ ย Visual Basic สมรรถนะย่อย แสดงความร้เู ก่ียวกับการพัฒนาโปรแกรม และความสาคญั ของข้ันตอนในการพฒั นาโปรแกรมในข้ันตา่ ง ๆ จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ 1. สามารถอธิบายขัน้ ตอนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ 2. สามารถนาเอาข้ันตอนการพัฒนาโปรแกรมไปใชก้ ับการพัฒนาโปรแกรมด้วย Visual Basic ได้ 3. สามารถสรา้ งโปรแกรมโดยใชห้ ลักขน้ั ตอนการพัฒนาโปรแกรมได้ เน้อื หาสาระ 1. ขน้ั ตอนการพัฒนาโปรแกรม 2. การพัฒนาโปรแกรมโดย Visual Basic - ความตอ้ งการของโปรแกรม (Requirement) - ข้นั ตอนการพฒั นาโปรแกรมด้วย Visual Basic สอ่ื การเรยี นการสอน 1. โปรแกรม Visual Studio 2012 (Express Edition) 2. การเขียนโปรแกรมโดยใช้เครื่องมอื กราฟกิ โหมด รหัสวชิ า 2204-2107 ผเู้ รยี บเรียง สทิ ธชิ ัย รกั ษาสขุ บรษิ ัท ศูนยห์ นงั สอื เมอื งไทย จากดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ที่ 17/18) กิจกรรม เวลาโดยประมาณ 10 นาที 1. ครูขานชอ่ื นักเรยี น

33 กิจกรรม เวลาโดยประมาณ 2. ครใู ห้นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test) 15 นาที 3. ข้นั นา ครนู าเขา้ สู่บทเรียนดว้ ยการสนทนา แนะนาเกร่ินนาใหน้ กั เรยี นเหน็ 30 นาที ความสาคญั ของขน้ั ตอนการพัฒนาโปรแกรม 4. ขน้ั สอน บอกจดุ ประสงคก์ ารเรยี น บรรยาย อธิบาย ยกตวั อย่าง แสดงวธิ ีการปฏบิ ตั ิ 120 นาที ในแตล่ ะหวั ข้อการเรียน และให้นกั ศึกษาปฏบิ ตั ไิ ปพรอ้ มกัน 5. ครูให้นักเรยี นปฏบิ ัตติ ามใบงานท่ี 26 โดยคาแนะนาของครู 60 นาที 240 นาที รวม การวดั ผลและประเมนิ ผล การวัดผล การประเมนิ ผล (ใช้เคร่อื งมอื ) (นาผลเทียบกับเกณฑแ์ ละแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre-test) หน่วยท่ี 10 (ไว้เปรยี บเทยี บกบั คะแนนสอบหลงั เรียน) 2. แบบฝึกหัดหน่วยที่ 10 เกณฑผ์ า่ น 50% 3. โปรแกรมทไ่ี ดจ้ ากใบงาน 26 สาเรจ็ /ไมส่ าเรจ็ 4. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) หนว่ ยที่ 10 เกณฑผ์ า่ น 50% งานท่มี อบหมาย งานทม่ี อบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ใหน้ กั เรยี นพฒั นาโปรแกรมในหน่วยการเรยี นรู้ที่ 10 ใหส้ าเร็จ ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผูเ้ รยี น โปรแกรมที่ไดจ้ ากใบงาน 26 และโปรแกรมจากหน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 10 เอกสารอา้ งองิ - การเขียนโปรแกรมโดยใชเ้ คร่ืองมอื กราฟกิ โหมด รหสั วชิ า 2204-2107 - ผ้เู รยี บเรยี ง สิทธิชัย รกั ษาสุข บรษิ ทั ศูนย์หนงั สอื เมอื งไทย จากดั