Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่5

หน่วยที่5

Published by Jirawan Malasai, 2017-09-03 21:27:42

Description: หน่วยที่5

Search

Read the Text Version

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 หน่วยท่ี 5 แบบจาลองความสมั พนั ธ์ระหว่างขอ้ มูล

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 หวั ขอ้ เรอื่ ง 5.1 องคป์ ระกอบของแบบจาลอง E-R 5.2 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเอนทติ ี 5.3 ขน้ั ตอนการออกแบบฐานขอ้ มูลโดยใชแ้ บบจาลอง E-R 5.4 การออกแบบและการใชฐ้ านขอ้ มลู 5.5 ปัญหาในการสรา้ งแบบจาลอง E-R

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 แนวคิด การออกแบบฐานขอ้ มูลจะตอ้ งอาศยั แบบจาลองของขอ้ มูล เพ่ือ นาเสนอรายละเอยี ดตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั ขอ้ มูลในฐานขอ้ มูลทอี่ อกแบบ เนื่องจากแบบจาลองของขอ้ มูล จะมีรูปแบบในการนาเสนอรายละเอียด ต่าง ๆ ที่เก่ียวขอ้ งกับฐานขอ้ มูลที่เป็ นมาตรฐาน จึงทาใหส้ ามารถ นาเสนอต่อผูใ้ ชใ้ นแต่ละระดบั ที่มีมุมมองแตกต่างกันไดเ้ ป็ นอย่างดี สาหรบั แบบจาลองของขอ้ มูลทนี่ ิยมใช้ ไดแ้ ก่ แบบจาลอง E-R

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. บอกองคป์ ระกอบของแบบจาลอง E-R ได้ 2. อธิบายความหมายขององคป์ ระกอบแบบจาลอง E-R ได้ 3. บอกขนั้ ตอนการออกแบบฐานขอ้ มูลโดยใชแ้ บบจาลอง E-R ได้ 4. ออกแบบฐานขอ้ มลู โดยใชแ้ บบจาลอง E-R ได้ 5. บอกปัญหาในการสรา้ งแบบจาลอง E-R ได้

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 5.1 องคป์ ระกอบของแบบจาลอง E-R 5.1.1 เอนทิตี (Entity) เอนทิตี ใชอ้ า้ งอิงถึง บุคคล ส่งิ ของ หรือสถานท่ี ไดแ้ ก่ สง่ิ ต่าง ๆ ทสี่ ามารถระบุไดใ้ นความเป็นจรงิ ซง่ึ อาจเป็นสงิ่ ทจี่ บั ตอ้ งได้ หรืออยใู่ น รูปนามธรรมท่ีไม่สามารถจบั ตอ้ งได้ หรืออยู่ในรูปของนามธรรมท่ีไม่ สามารถจบั ตอ้ งได้ จาแนกเอนทติ อี อกเป็น 3 กลุม่ ดงั น้ี

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 1. เอนทติ เี ชงิ รูปธรรม ประกอบดว้ ย 1) เอนทติ ที เี่ ป็นบุคคล เชน่ นกั ศกึ ษา พนกั งาน ลูกคา้ เป็นตน้ 2) เอนทติ ที เ่ี ป็นสถานที่ เชน่ โรงเรยี น รา้ นคา้ บรษิ ทั เป็นตน้ 3) เอนทติ ที เี่ ป็นวตั ถุ เชน่ สนิ คา้ รถยนต์ วดิ โี อ 2. เอนทติ เี ชงิ แนวความคดิ เชน่ แผนก วชิ า คณะ เป็นตน้ 3. เอนทติ เี ชงิ เหตุการณ์ เชน่ การสง่ั ซ้อื การยมื การคนื การลงทะเบียน เป็ นตน้

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 5.1.2 แอททรบิ วิ ต์ (Attribute) แอททรบิ วิ ต์ คอื ขอ้ มลู ทใ่ี ชอ้ ธบิ ายคณุ สมบตั หิ รอื คณุ ลกั ษณะ ของเอนทติ ี ซงึ่ เอนทติ หี น่ึงอาจประกอบไปดว้ ยแอททรบิ วิ ตไ์ ดม้ ากกวา่ 1 แอททรบิ ิวต์

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 1. การแสดงเอนทติ แี ละแอททรบิ วิ ตใ์ นแผนภาพแบบจาลอง E-R ใช้ สญั ลกั ษณด์ งั น้ี เอนทิตี เอนทิตีชนดิ ออ่ นแอ (Weak Entity) ประเภทของความสมั พนั ธ์ระหว่างเอนทิตี ประเภทของความสมั พนั ธ์ระหว่างเอนทิตี หน่งึ กบั เอนทิตีอ่อนแอ (Weak Entity) เป็ น Composite Entity หรอื Gerund ที่จะ แปลงความสมั พนั ธ์ของแบบ M:N ใหเ้ ป็ น 1:N

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 แอททรบิ วิ ต์ แอททรบิ วิ ตท์ ี่เป็ นคยี ห์ ลกั แอททรบิ วิ ตผ์ สม แอททรบิ วิ ตท์ ่ีแปลค่ามา (Derived Attribute)

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 1N ความสมั พนั ธ์ของขอ้ มูลระหว่างสองE1 R E2 เอนทิตี (Cardinality) ความสมั พนั ธ์ของเอนทิตี E2 ที่มีต่อE1 R E2 E-1 แบบ Total Participation

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 2. ประเภทของแอททรบิ วิ ต์ จาแนกเป็น 5 ประเภท ดงั น้ี 1) แอททรบิ วิ ตแ์ บบธรรมดา หมายถงึ แอททรบิ ิวตท์ ไ่ี ม่ สามารถแบง่ เป็นสว่ นประกอบยอ่ ย ๆ ไดอ้ กี 2) แอททรบิ วิ ตแ์ บบร่วม หมายถึง แอททรบิ วิ ตท์ ส่ี ามารถแบง่ ออกเป็นแอททรบิ วิ ตย์ อ่ ย ๆ ทเ่ี ป็นแอททรบิ ิวตแ์ บบธรรมดาได้ 3) แอททรบิ วิ ตท์ ่ีมีค่าขอ้ มูลเพยี งค่าเดยี ว หมายถึง แอททริ บิวตท์ มี่ ีคา่ ขอ้ มลู (Value) เพียงคา่ เดยี วเทา่ นนั้ 4) แอททรบิ วิ ตท์ ่ีมีค่าขอ้ มูลหลายค่า หมายถงึ แอททรบิ วิ ตท์ ม่ี ี คา่ ขอ้ มูล (Value) ไดม้ ากกวา่ หน่ึงคา่ 5) แอททรบิ วิ ตท์ ่ีเป็ นตวั ช้เี ฉพาะ ทาหนา้ ทชี่ ้เี ฉพาะถึงสมาชกิ ของเอนทติ ไี ดม้ ีคณุ สมบตั ิ คอื มีคา่ ขอ้ มลู ไมซ่ า้ กนั และมคี า่ ขอ้ มูลคงท่ี

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 5.2 ความสมั พนั ธ์ระหว่างเอนทิตี 5.2.1 ประเภทของความสมั พนั ธ์ระหว่างเอนทิตี สามารถแบ่งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเอนทิตีไดเ้ ป็ น 3 ประเภท ดงั น้ี 1. ความสมั พนั ธแ์ บบหนึ่งตอ่ หน่ึง (One to One) เป็ น ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสมาชกิ หนึ่งรายการของเอนทติ หี น่ึงกบั สมาชกิ เพียง หนึ่งรายการของอกี เอนทติ หี น่ึง (1:1) 2. ความสมั พนั ธแ์ บบหน่ึงตอ่ กลุ่ม (One to Many) เป็ น ความสมั พนั ธท์ ่ีสมาชิกหน่ึงรายการของเอนทิตีหนึ่งมีความสมั พนั ธก์ บั สมาชกิ หลายรายการในอกี เอนทติ หี น่ึง (1 : M)

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 3. ความสมั พนั ธแ์ บบกลุม่ ตอ่ กลุม่ (Many to Many) คอื ความสมั พนั ธท์ สี่ มาชกิ หลายรายการในเอนทติ หี นึ่งมีความสมั พนั ธก์ บั สมาชกิ หลายรายการในอกี เอนทติ หี นึ่ง (M : N)

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 5.2.2 ความสมั พนั ธ์ท่ีมีขอ้ มูลข้นึ กบั เวลา การออกแบบและวเิ คราะหร์ ะบบงาน บางครง้ั ความตอ้ งการของ ระบบงาน หรือผูใ้ ชต้ อ้ งการเก็บขอ้ มูลเพื่อดูยอ้ นหลงั หรือตอ้ งการสิบ ถามขอ้ มลู ชว่ งเวลาทต่ี อ้ งการ จงึ จาเป็นตอ้ งมกี ารบนั ทกึ ขอ้ มูลเวลาทเ่ี กิด เหตุการณห์ รือเกิดรายการขอ้ มูลในช่วงเวลาหน่ึง ๆ ไวด้ ว้ ย ซ่ึงจะเรียก ขอ้ มูลที่ถูกบนั ทึกควบคุมกบั เวลาน้ีวา่ เป็ นขอ้ มูลท่ีข้ึนกบั เวลา (Time- Dependent Data)

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 5.2.3 ความหลากหลายของเอนทิตี 1. เอนทิตีเชิงสมั พนั ธ์ จากรูปแบบความสมั พนั ธ์ที่มีจอ้ มูล ข้ึนกบั เวลา ตอ้ งมีการเก็บแอททริบิวตเ์ ป็ นความสมั พนั ธ์ ขนั้ ตอนต่อไป เป็ นการแปลงความสัมพันธ์เป็ นเอนทิตี เรียกว่า เอนทิตีเชิง ความสมั พนั ธ์ ซง่ึ เป็นเอนทติ ที แ่ี สดงถึงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเอนทติ ปี กติ ทม่ี คี วามสมั พนั ธก์ นั 2. เอนทิตีแบบอ่อน คือ เอนทิตีที่เกิดข้ึนเม่ือมีเอนทิตีปกติ การเกิดของเอนทิตีแบบอ่อนข้ึนอยู่กบั การเกิดของเอนทิตีปกติเสมอ เรียกเอนทิตีท่ีมีเอนทิตีแบบอ่อนข้ึนอยู่ดว้ ยว่า เอนทิตีเจา้ ของและ ลกั ษณะทส่ี มาชกิ ของเอนทติ หี นึ่งจะปรากฎอยใู่ นฐานขอ้ มูลหรือไม่ ข้ึนอยู่ กบั การปรากฎตวั ของสมาชกิ ของอกี เอนทติ หี นึ่ง

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 5.3 ขน้ั ตอนการออกแบบฐานขอ้ มูลโดยใชแ้ บบจาลอง E-R 1. ศกึ ษาถึงลกั ษณะหนา้ ทง่ี านของระบบ 2. การกาหนดเอนทติ คี วรจะมีอยใู่ นฐานขอ้ มูล 3. กาหนดประเภทของความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเอนทติ วี า่ มี ความสมั พนั ธอ์ ยา่ งไรบา้ ง 4. กาหนดคณุ ลกั ษณะของเอนทติ วี า่ ควรจะมรี ายละเอยี ด อะไรบา้ ง 5. กาหนดคยี ข์ องแตล่ ะเอนทติ วี า่ จะใชร้ ายละเอยี ดของขอ้ มลู ใด เป็นคยี ห์ ลกั ของเอนทติ นี นั้ ๆ 6. เขียนแบบจาลอง E-R โดยใชส้ ญั ลกั ษณเ์ ป็นการอธิบาย ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งขอ้ มูล

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 5.4 การออกแบบและการใชฐ้ านขอ้ มูล 5.4.1 ตวั อยา่ งการวิเคราะหแ์ ละออกแบบแบบจาลอง E-R บริษทั แห่งหน่ึงมีการสงั่ ซ้ือสินคา้ จากผูผ้ ลิต เพื่อขายสินคา้ ให้ ลูกคา้ โดยมีการป้ อนขอ้ มูลต่าง ๆ ในลกั ษณะออนไลน์ รายละเอียด เพิ่มเตมิ มีดงั น้ี 1. ขอ้ มูลเกี่ยวกบั สินคา้ และผูผ้ ลิต สินคา้ จะถูกป้ อนขอ้ มูลเขา้ หนา้ จอ ประกอบดว้ ย ขอ้ มูล รหสั สินคา้ (Prodno) รายละเอียด (Prodname) ราคาตอ่ หนว่ ย (Cost) และจานวนสนิ คา้ ทสี่ ง่ั ซ้อื (Qty)

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 2. ขอ้ มูลคาสง่ั ซ้อื ของลูกคา้ (Order) คาสงั่ ซ้อื ของลูกคา้ จะป้ อน ขอ้ มูลเขาสรู่ ะบบ จากขอ้ มูลในฟอรม์ คาสงั่ ซ้อื นาออกมาอยใู่ นรูปใบกากบั สนิ คา้ ตามแบบฟอรม์ 3. ขอ้ มูลพนกั งานประกอบดว้ ยขอ้ มูลรหสั พนกั งาน ชอื่ พนกั งาน วนั ท่ีเริ่มเขา้ ทางาน ตาแหน่งพนกั งานทุกคนในบริษทั จะทางานสงั กดั เพียงแผนกเดียวเทา่ นนั้ โดยบางแผนกทเี่ ร่ิมตง้ั ใหม่อาจจะไม่มีพนกั งาน ก็ได้ และพนกั งานทกุ คนจะมผี บู้ งั คบั บญั ชา ยกเวน้ เจา้ ขงบรษิ ทั 4. ขอ้ มูลเก่ียวกบั ลูกคา้ ขอ้ มูลลูกคา้ ท่ตี อ้ งจดั เก็บประกอบดว้ ย รหสั ลูกคา้ ชอื่ สกุลลูกคา้ ทอี่ ยู่ โทรศพั ท์ ประเภทลูกคา้ และอตั ราสว่ นลด การขายสินคา้ ใหล้ ูกคา้ จะเป็ นการขายเชื่อ โดยลูกคา้ แต่ละประเภทจะได้ อตั ราสว่ นลดทแ่ี ตกตา่ งกนั

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 5. ขอ้ มูลแผนกประกอบดว้ ย รหสั แผนก ชื่อแผนก และสถาน ที่ตง้ั ของแผนกนน้ั ๆ เน่ืองจากบริษทั มีสานกั งานอยู่หลายแห่ง ทุก ๆ ส้นิ ปีจะมีรายงานสรุปเงนิ เดอื นแยกตามแผนกโดยทาการคานวณภาษหี กั ณ ทจี่ า่ ยรายปี

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 5.5 ปัญหาในการสรา้ งแบบจาลอง E-R ในการออกแบบแบบจาลอง E-R อาจเกิดปัญหาในการสรา้ ง ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเอนทติ ี เชน่ 5.5.1 Fan Trab เกิดจากท่ีเอนทิตีหนึ่งมีความสมั พนั ธก์ บั เอนทิตีอ่ืนตง้ั แต่สอง เอนทติ ขี ้ึนไป โดยมคี วามสมั พนั ธแ์ บบ One-to-Many ซง่ึ ลกั ษณะการจดั ความสมั พนั ธข์ องเอนทิตี ทาใหม้ ีปัญหาความไม่ชดั เจน ในการเรียก ขอ้ มลู ทจ่ี ะแสดงขอ้ มลู เฉพาะของทเู พิลใดทเู พิลหนึ่งออกมาได้

ระบบจดั การฐานขอ้ มูล รหสั วชิ า 3204-2004 5.5.2 Chasm Trap เกิดจากการที่เอนทิตีหน่ึงมีความสมั พนั ธก์ บเอนทิตีอ่ืนตงั้ แต่ สองเอนทิตีข้ึนไป แต่ความสมั พนั ธใ์ นการเช่ือมโยงขอ้ มูลไม่สามารถทา ได้ ทาใหเ้ กิดปัญหา คือ ไม่ปรากฏขอ้ มูลที่ควรจะมี หรือไม่สามารถ เชอ่ื มโยงเพื่อใหไ้ ดข้ อ้ มูลทคี่ รบถว้ น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook