Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 8 โปรโตคอล

บทที่ 8 โปรโตคอล

Published by Jirawan Malasai, 2017-08-29 11:06:10

Description: บทที่ 8 โปรโตคอล

Search

Read the Text Version

โปรโตคอล

การสื่อสารขอ้ มูลและเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 สาระสาคญั การที่จะใหอ้ ุปกรณ์แต่ละชิ้นสามารถส่ือสารกนั ไดร้ ู้เรื่องจะตอ้ งมีขอ้ ตกลงหรือกฎระเบียบท่ีใชใ้ นการส่ือสารซ่ึงเรียกวา่ โปรโตคอล โดยในปัจจุบนั มีโปรโตคอลหลายตวั ซ่ึงมีความสามารถและรายละเอียดแตกต่างกนั ไปบทที่ 8 โปรโตคอล

การส่ือสารขอ้ มูลและเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 วตั ถุประสงค์1. อธิบายถึงขอ้ ตกลงในการส่ือสารรูปแบบต่างๆ ได้2. อธิบายถึงโปรโตคอลแบบต่างๆ ได้บทที่ 8 โปรโตคอล

การสื่อสารขอ้ มลู และเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-20038.1 โปรโตคอลและการจับมอื (Protocals and Hand shaking) โปรโตคอล (protocol) คือขอ้ ตกลงหรือรูปแบบที่ตกลงกนั ไวท้ ้งั สองฝ่ังวา่ จะส่ง ขอ้ มลู กนั ในลกั ษณะใดและตีความหมายของขอ้ มลู น้นั อยา่ งไร โดยทวั่ ไปส่ิงท่ี โปรโตคอลตอ้ งกาหนดมีดงั ต่อไปน้ี - กฎในการตรวจสอบขอ้ มลู เช่น การกาหนด parity bit ตาแหน่งท่ีเป็น parity bit ที่ส่ง มากบั ขอ้ มลู - มาตรฐานการบีบอดั ขอ้ มลู อาจจะมีกรณีที่ขอ้ มลู ขนาดใหญ่ เช่น ไฟลว์ ิดีโอท้งั ภาพ และเสียงตอ้ งมีการเขา้ รหสั เพ่อื ลดปริมาณของขอ้ มูลก่อนจดั ส่ง และทางผรู้ ับกต็ อ้ งรู้ วา่ กระบวนการบีบอดั ขอ้ มูลน้นั ใชก้ ระบวนการใด เพ่ือจะไดค้ ลายขอ้ มลู ที่ถูกตอ้ ง ออกมาได้บทท่ี 8 โปรโตคอล

การส่ือสารขอ้ มลู และเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 - ขอ้ ตกลงที่บอกใหผ้ ทู้ ราบวา่ ขอ้ มลู ส่งมาครบแลว้ - ขอ้ ตกลงท่ีบอกใหผ้ รู้ ับทราบวา่ จะส่งขอ้ มูลส่งมาให้ และใหร้ ับเตรียมตวั ให้ พร้อมเพอ่ื รับขอ้ มูลน้นั - กาหนดความเร็วในการส่งขอ้ มูล - เป็นการส่งขอ้ มลู แบบซิงโครนสั (synchronous) หรืออซิงโครนสั (asynchronous)บทท่ี 8 โปรโตคอล

การส่ือสารขอ้ มูลและเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 การจบั มือ (hand shaking) เป็นกระบวนการท่ีเกิดข้ึนก่อนการส่งขอ้ มลู ใหแ้ ก่กนั ระหวา่ ง 2 อุปกรณ์ เช่นซีพียตู อ้ งการส่งขอ้ มูลใหก้ บั บสั ของระบบ หรืออ่านขอ้ มลู จากหน่วยความจาเขา้ ไปประมวลผลซีพียู เป็นตน้ hand shaking จะเกิดข้ึนเม่ืออุปกรณ์หน่ึงส่งคาร้องขอไปยงั อีกอุปกรณ์หน่ึงเพื่อขอสญั ญาณวา่ ในการส่ือสารบางคร้ังผสู้ ่งคาร้องมากกวา่ 1 คร้ังบทที่ 8 โปรโตคอล

การสื่อสารขอ้ มูลและเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 8.2 โปรโตคอล TCP/IP TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เป็นโปรโตคอล ในการรับส่งขอ้ มูลรูปแบบหน่ึงที่นิยมกนั แพร่หลาย โดยในส่วนของเครือขา่ ย อินเทอร์เน็ตปัจจุบนั ที่เราใชอ้ ยกู่ ใ็ ชโ้ ปรโตคอลตวั น้ีเร่ิมตน้ TCP/IP ถูกออกแบบมา เพื่อใชก้ บั ARPANET ของสหรัฐ ซ่ึงภายหลงั ARPANET กพ็ ฒั นาต่อกลายเป็น ตน้ แบบของอินเทอร์เน็ตปัจจุบนั ในโปรโตคอล TCP/IP มีรูปแบบการติดต่อส่ือสาร และแบ่งเป็นช้นั การ สื่อสารในรูปแบบของตนเอง คือมี 4 ช้นั แต่ละช้นั สามารถเทียบคร่าวๆ กบั 7 ช้นั ใน OSI โมเดลได้บทท่ี 8 โปรโตคอล

การส่ือสารขอ้ มลู และเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 • ในช้นั Data Link จะใชโ้ ปรโตคอลตวั อ่ืนท่ีไม่เกี่ยวขอ้ งกบั โปรโตคอล TCP/IP ซ่ึงเป็นโปรโตคอลที่มีอยแู่ ลว้ สาหรับช้นั น้ี เช่น Ethernet หรือ Token Ring • ใน Internet จะมีโปรโตคอลท่ีเก่ียวขอ้ ง เช่น IP, ICMP, IGMP, RSVP, IPsec แต่นิยมใชค้ ือตวั IP ท่ีจะกล่าวถึงในลาดบั ถดั ไป • ในช้นั Transport จะมีโปรโตคอลที่เก่ียวขอ้ ง เช่น TCP, UDP, DCCP, SCTP, GTP แต่ที่นิยมใชค้ ือตวั TCP ที่กล่าวถึงในลาดบั ถดั ไป • ในช้นั Application เป็นช้นั ของคาสง่ั การทางานต่างๆ ท่ีเรารู้จกั กนั ดี เช่น DNS, TFTP, FTP, HTTP, IRC, NNTP, POP3, SMTP, TELNET, BitTorrent เป็นตน้บทท่ี 8 โปรโตคอล

การสื่อสารขอ้ มูลและเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 TCP (Transmission Control Protocol) TCP เป็นโปรโตคอลหลกั ที่ทางานในช้นั Transport และมีการทางานแบบ Connection-oriented การสื่อสารแบบ connection-oriented (reliable) เป็นการ ติดต่อส่ือสารระหวา่ งจุดสองจุด ที่มีการตกลงกนั ก่อนหรือมีการทา hand shaking ก่อนถึงจะเร่ิมส่งขอ้ มูล การติดต่อสื่อสารในลกั ษณะน้ี บางคร้ังเราเรียกวา่ “Reliable” เพราะเป็นการส่งขอ้ มูลที่วางใจไดว้ า่ ผรู้ ับพร้อมที่จะรับขอ้ มลู ที่เราส่ง เป็นวธิ ีการส่งที่มีการรับรองผล (guarantees)บทท่ี 8 โปรโตคอล

การส่ือสารขอ้ มลู และเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 TCP ทางานอยรู่ ะหวา่ งลาดบั ช้นั Application และลาดบั ช้นั Internet สามารถ รองรับคาสงั่ งานต่างๆ จากช้นั Application ไดม้ ากมาย อาทิ World Wide Web, e- mail, FTP (File Transfer Protocol), Secure Shell ในการทางานเม่ือApplication ส่งขอ้ มลู มาให้ จะแบ่งขอ้ มลู เหล่าน้นั ใหม้ ี ขนาดไม่มากไปกวา่ ขนาดที่ระบุไวใ้ น Maximum Transmission Unit (MUT) น้ี ระบุไวใ้ นช้นั Link ของการส่งขอ้ มูล จากน้นั TCP จะส่งขอ้ มูลท่ีหนั่ แลว้ ไปใหช้ ้นั Internet เพื่อจดั ใส่กล่องแลว้ จ่าหนา้ ผรู้ ับดว้ ย IP Address ก่อนส่งไปใหช้ ้นั Link ทา การส่งออกไปบทท่ี 8 โปรโตคอล

การส่ือสารขอ้ มลู และเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 การติดต้งั การเชื่อมต่อ (Connection Establishment) อยา่ งท่ีเกร่ินไวว้ า่ TCP ทางานแบบ connection-oriented คือ มีการตกลงท้งั สองฝ่ ายก่อนถึงจะทาการส่งขอ้ มูล โดยรูปแบบการตกลงหรือ handshake ท่ี TCP ใชจ้ ะอยใู่ นรูปแบบ 3 ทาง (three-way handshake) รูปแบบของ three-way handshake 1. ผสู้ ่ง ส่งสญั ญาณ synchronization (SYN) ไปใหผ้ รู้ ับทราบวา่ จะมีขอ้ มลู ส่งไปให้ 2. ผรู้ ับ ตอบกลบั ดว้ ยสญั ญาณ acknowledgment และ synchronization (SYN- ACK) วา่ พร้อมรับ 3. สุดทา้ ย ผสู้ ่งส่งสญั ญาณ SYN-ACK-ACK เพื่อบอกวา่ จะเร่ิมส่งขอ้ มูลแลว้บทที่ 8 โปรโตคอล

การสื่อสารขอ้ มูลและเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 การทางานของ TCP ในการทา three-way handshake 1. เร่ิมตน้ เมื่อไดร้ ับสญั ญาณ SYN ไปท่ีผรู้ ับ โดยสญั ญาณน้ีจะบรรจุ sequence number ไว้ ในที่น้ีเราใหเ้ ป็นคา่ X 2. ผรู้ ับเม่ือไดร้ ับสญั ญาณ SYN จะบนั ทึก sequence number ไว้ และตอบกลบั ดว้ ย สัญญาณ SYN-ACK ซ่ึงสญั ญาณน้ีจะบรรจุ acknowledgment number เป็นคา่ x+1 และคา่ sequence number เป็นคา่ ใหม่ เราใหเ้ ป็นคา่ y 3. เม่ือผสู้ ่งไดร้ ับสญั ญาณ SYN-ACK กจ็ ะตอบกลบั ดว้ ยสญั ญาณ SYN-ACK- ACK ที่บรรจุคา่ acknowledgment number เป็นคา่ y+1 และค่า sequence Number เป็นค่า x+1บทท่ี 8 โปรโตคอล

การสื่อสารขอ้ มลู และเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003IP (Internet Protocol) IP เป็นโปรโตคอลหลกั อีกตวั หน่ึง ทางานแบบ ConnectionlessConnectionless (หรือ Unreliable) เป็นการสื่อสารท่ีไม่มีการตกลงกนั ก่อนที่จะส่งจะทาการส่งทนั ทีโดยไม่สนวา่ ผรู้ ับไดห้ รือไม่ วธิ ีน้ีบางคร้ังถกู เรียกวา่“Unreliable” เพราะเป็นการส่งขอ้ มลู แบบวางใจไม่ได้ และในกรณีท่ีขอ้ มูลไม่ถึงผรู้ ับ การส่งขอ้ มลู ซ้ากจ็ ะเกิดข้ึน แต่ถา้ ขอ้ มลู ถึงผรู้ ับ วธิ ีน้ีจะเป็นวธิ ีที่ส่งขอ้ มูลได้เร็วกวา่ แบบ “Reliable” เพราะไม่ตอ้ งเสียเวลาในการทา Hand shaking ก่อน IP จะเป็นโปรโตคอลที่อยใู่ นช้นั Internet หรือช้นั Network ใน OSI โมเดลทาหนา้ ที่ในการจดั ขอ้ มูลที่ เรียกวา่ แพก็ เกต็ (packet) และจ่าหนา้ ซองดว้ ยการระบุหลายเลข IP (IP Address) เสน้ ทาง (routing)บทที่ 8 โปรโตคอล

การสื่อสารขอ้ มูลและเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 Unreliable สาหรับ Unreliable ซ่ึงเป็นการทางานที่รวดเร็ว ทนั ที แต่การทางานลกั ษณะน้ี กจ็ ะมีขอ้ ผดิ พลาดเกิดข้ึนได้ เช่น • Data corruption ขอ้ มูลเกิดการชนกนั ระหวา่ งชอ้ มูลของเราและจากท่ีอื่น • Out of order ขอ้ มูลมาไม่ตามลาดบั เช่น B มาก่อน A • Duplicate arrival ขอ้ มลู ส่งมาซ้า เน่ืองจากผสู้ ่งเขา้ ใจวา่ ขอ้ มลู ตวั น้นั หายไปจึง ส่งซ้า • Lost or dropped/discarded ขอ้ มลู สูญหาย ตกหล่น อนั เนืองมาจากเกิดปัญหา ระหวา่ งทางเช่น ไฟดบั ระหวา่ งจุดที่ขอ้ มลู เดินผา่ นบทที่ 8 โปรโตคอล

การสื่อสารขอ้ มูลและเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 IPv4 vs IPv6 สาหรับ IP ปัจจุบนั ที่ใชอ้ ยเู่ ป็น IP เวอร์ชนั 4 (IPv4) ซ่ึงใชต้ วั เลขฐานสอง ขนาด 32 บิตในการอา้ งอิงตาแหน่งแอดเดรสของโหนด ทาใหส้ ามารถอา้ งอิง ตาแหน่งไม่ซ้ากนั ได้ 4 พนั ลา้ นตาแหน่ง ปัจจุบนั ไม่สามารถขยายตาแหน่งเพิ่มได้ แลว้ จึงมีการพฒั นาโปรโตคอล IP เวอร์ชนั 6 (IPv6) ซ่ึงอา้ งอิงตาแหน่งไดม้ ากกวา่ โดยใชต้ วั เลข 128 บิต อา้ งอิงตาแหน่งไม่ซ้าได้ 3.4 x 1038 ตาแหน่ง สนบั สนุน การทางานร่วมกบั IPv4บทที่ 8 โปรโตคอล

การสื่อสารขอ้ มลู และเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 8.3 UDP UDP (User Datagram Protocol) บางคร้ังเรียกวา่ Universal Datagram Protocol หรือ Unreliable Datagram Protocol เป็นโปรโตคอลในช้นั เดียวกบั TCP คือช้นั Transport แต่การทางานจะแตกต่างกนั สิ้นเชิง UDP จะทางานแบบ connectionless หรือ unreliable โดยจะไม่สนใจวา่ ขอ้ มลู จะเป็นอยา่ งไร มาตามลาดบั ไม่ ขอ้ มูลซ้าหรือไม่ สูญหายหรือไม่ (ไม่สนอะไรเลย) ขอ้ ดีของ UDP จะมีความเร็วในการส่งออกไปสูง และใชท้ รัพยากรเบา (light weight) หรือประหยดั เหมาะสมสาหรับหารทางานกบั ขอ้ มูลทีมีปริมาณมากแต่ไม่ สาคญั เช่น Domain Name System (DNS), สื่อออนไลนท์ ี่มีลกั ษณะเป็น Streamingบทท่ี 8 โปรโตคอล

การสื่อสารขอ้ มูลและเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 8.4 IPX/SPX IPX/SPX เป็นโปรโตคอลที่ใชใ้ นระบบปฏิบตั ิการ Novell NetWare ซ่ึงบริษทั Novell ไดส้ ร้างระบบปฏิบตั ิการ NetWare ข้ึนเพ่ือใชง้ านดา้ นคอมพิวเตอร์ เครือขา่ ยโดยเฉพาะ อีกท้งั ไดก้ าหนดโปรโตคอลของตนเองท่ีช่ือ IPX/SPX ข้ึนมา เพือ่ ใชใ้ นการสื่อสารขอ้ มูลกบั เครือขา่ ยของ NetWare ดว้ ย แพก็ เกตขอ้ มลู ท่ีสร้าง ข้ึนโดยโปโตคอลน้ีจะถกู ส่งผา่ นส่ือและอุปกรณ์ที่ต่างชนิดเป็นอยา่ งดี SPX จะอยใู่ นช้นั Transport (ช้นั ท่ี 4 ใน OSI โมเดล) ส่วน IPX จะอยใู่ นช้นั Network (ช้นั 3 ใน OSI โมเดล) ถา้ เทียบกบั TCP/IP โปรโตคอล SPX กค็ ือ TCP และ IPX กค็ ือ IP เพียงแต่โปรโตคอลท้งั สองชุด ถูกสร้างจากทีมงานคนละทีม ขอ้ กาหนดต่างๆ จึงมีความแตกต่างกนั แต่วตั ถุประสงคก์ ารทางานคืออยา่ งเดียวกนับทท่ี 8 โปรโตคอล

การสื่อสารขอ้ มูลและเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 SPX SPX พฒั นาเร่ิมตน้ มาจากโปรโตคอล Sequenced Packet Protocol (SPP) จาก บริษทั Xerox Network Services (XNS) จะทางานเหมือนโปรโตคอล TCP คือ แบบ connection-oriented IPX IPX พฒั นาเร่ิมตน้ มาจากโปรโตคอล Internetwork Datagram Packet (IDP) ของ XNS โปรโตคอล IPX จะทางานเหมือนโปรโตคอล IP คือเป็นแบบ Connectionless และทาหนา้ ท่ีในการระบุเลขหมายปลายทางผรู้ ับ (Destination Network Address)บทท่ี 8 โปรโตคอล

การสื่อสารขอ้ มลู และเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 8.5 NetBEUI ปัจจุบนั TCP/IP ถือเป็นโปรโตคอลยอกนิยมที่ใชใ้ นการทางานในช้นั Transport และ Network ใน OSI โมเดล แต่กใ็ ช่วา่ จะเป็นทางเลือกเดียว ยงั มี โปรโตคอลตวั อื่นท่ีสามารถทางานแทนโปรโตคอล TCP/IP ได้ NetBEUI ถกู พฒั นาข้ึนโดย IBM และทางานอยบู่ นช้นั Transport และ Network โดย NetBEUI จะเป็นโปรโตคอลที่ทางานไดเ้ ร็วมากในเครือข่ายขนาด เลก็ 20 ถึง 200 เคร่ือง โดยเฉพาะในระบบปฏิบตั ิการ Windows รุ่นเก่าๆ NetBEUI ถือไดว้ า่ เป็นโปรโตคอลท่ีเร็วที่สุดบทท่ี 8 โปรโตคอล

การสื่อสารขอ้ มูลและเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 8.6 NetBIOS NetBIOS ออกเสียงวา่ “เน็ตไบออส” ถูกพฒั นาข้ึนในช่วงกลางของยคุ ปี1980 และทางานในช้นั Session ช้นั ท่ี 5ใน OSI ในตอนแรก NetBIOS ถูกออกแบบมาเพือ่ ใชก้ บั NetBEUI NetBIOS จะเป็น API ซ่ึงเป็นตวั กลางในการรับคาสง่ั ระหวา่ ง โปรแกรมคอมพวิ เตอร์สามารถทางานอุปกรณ์เครือข่ายแบบใดกไ็ ด้ โดยไม่ตอ้ งแกไ้ ขท่ีโปรแกรมคอมพวิ เตอร์บทที่ 8 โปรโตคอล

การสื่อสารขอ้ มูลและเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 8.7 DHCP เนื่องจากความนิยมในโปรโตคอล TCP/IP ทาใหร้ ะบบเครือข่ายต่างๆ หนั มาใช้ TCP/IP เป็นหลกั ในการติดต่อสื่อสาร ซ่ึงหวั ใจของ TCP/IP กค็ ือ IP Address ท่ีเปรียบเสมือนบา้ นเลขท่ีในการจดั ส่งขอ้ มลู ไปถึงเคร่ืองผรู้ ับ IP Address จานวน 32บิต ที่อา้ งตาแหน่งได้ 4 พนั ลา้ นเลขหมาย แน่นนอนแต่ละเครื่องในเครือข่ายเดียวกนั ตอ้ งมีหมายเลข IP ท่ีแตกต่าง ไม่ซ้า เพอ่ื ใหก้ ารส่งขอ้ มลู สามารถส่งไปถึงตวั ผรู้ ับอยา่ งเจาะจงได้ การกาหนดหมายเลข IP ไม่ใหซ้ ้าจึงตอ้ งกาหนดโดยคนๆเดียว หรือองคก์ ลางเดียวเพ่อื กนั ความสบั สนบทท่ี 8 โปรโตคอล

การส่ือสารขอ้ มูลและเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 การจ่ายหมายเลขไอพี DHCP มีวธิ ีการจ่ายหมายเลขไอพี 3 วธิ ีดงั น้ี 1. กาหนดดว้ ยตนเอง ผดู้ ูแลระบบกาหนดหมายเลข IP ของเคร่ืองสมาชิก โดย เทียบเป็นตารางกบั หมายเลข MAC 2. กาหนดแบบอตั โนมตั ิ DHCP จะจ่ายหมายเลข IP ท่ีวา่ งใหส้ มาชิกโดยอตั โนมตั ิ ซ่ึงหมายเลข IP ท่ีใชจ้ ่ายจะอยใู่ นช่วงท่ีผดู้ ูแลระบบกาหนดใหใ้ ชไ้ ด้ และIP ที่จ่าย ไปใหส้ มาชิกแลว้ จะเป็นสมาชิกคนน้นั ถาวร ถา้ สมาชิกกลบั มาเปิ ดเครื่องใหม่กจ็ ะ ไดเ้ ลข IP เดิม โดย IP น้นั จะไม่ถูกนาไปจ่ายใหส้ มาชิกคนอื่น 3. กาหนดแบบไดนามิก เหมือนแบบอตั โนมตั ิ แตกต่างตรงท่ี IP จะเป็นแบบเวียน เราอาจจะไม่ได้ IP เดิมทุกคร้ังท่ีเปิ ดเคร่ืองบทท่ี 8 โปรโตคอล

การสื่อสารขอ้ มูลและเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 8.8 RARP RARP เป็นโปรโตคอลท่ีทางานในช้นั Network โดยจะทางานสลบั กบั การทางานของ ARP RARP จะทางานในช้นั เดียวกบั โปรโตคอล IP คือช้นั Network โดยจะใชใ้ นการแปลงหมายเลข IP เป็นหมายเลขฮาร์ดแวร์ปลายทาง เช่น หมายเลข MAC ดงั น้นั RARP กค็ ือการยอ้ นกลบั คือแปลงจากหมายเลขฮาร์ดแวร์กลบั มาเป็นหมายเลข IP โดยจะใชใ้ นการแกป้ ัญหาในการระบุหมายเลข IP ใหส้ มาชิกแบบอตั ิโนมตั ิบทท่ี 8 โปรโตคอล

การส่ือสารขอ้ มลู และเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 8.9 BOOTP BOOTP ยอ่ มาจากคาวา่ Bootstrap Protocol เป็นโปรโตคอลที่พฒั นาใหด้ ีข้ึนกวา่ RARP ปัจจุบนั กย็ งั มีการใชง้ านอยู่ BOOTP เป็นตน้ แบบของ DHCP ในการแกไ้ ขปัญหาการกาหนดหมายเลข IP ใหเ้ ครื่องสมาชิกโดยอตั โนมตั ิ BOOTP จะใชใ้ นการกาหนดคา่ อตั โนมตั ิจากเซิร์ฟเวอร์ใหก้ บั สมาชิก โดยBOOTP จะทางานในช้นั Application เหมือน DHCP ขณะท่ี RARP จะทางานอยู่ในช้นั Networkบทท่ี 8 โปรโตคอล

การสื่อสารขอ้ มลู และเครือข่าย รหสั วชิ า 3204-2003 BOOTP จะส่งขอ้ มูลแบบกระจาย (broadcast) จึงเลือกทางานกบั UDP/IP โดยจะส่งไฟลบ์ ทู๊ โปรแกรมที่ใชท้ างาน ค่า IP และคา่ กาหนดต่างๆ ในเครือขา่ ยไปยงัเคร่ืองสมาชิกทุกๆ เคร่ืองท่ีเปิ ดอยใู่ หไ้ ดร้ ับเหมือนๆกนับทท่ี 8 โปรโตคอล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook