Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Broadcast Media Announcing and performance

Broadcast Media Announcing and performance

Published by CCDKM, 2019-05-09 02:17:17

Description: Broadcast Media Announcing and performance
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐนันท์ ศิริเจริญ
คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ประจำปี 2561

Search

Read the Text Version

6) การออกเสียงพยางคห นกั พยางคเบา การอานคําในภาษาไทย มีการลงเสยี งหนักเบาในคํา เวลาอานเราจะไมอา นลงเสยี งหนกั ทุก พยางค เชน เวลาพูดเราจะไมล งเสียงหนังในคาํ ที่ทาํ หนาทีช่ ว ยเสรมิ ความหมายในประโยค ในพยางค เช่อื ม และในคาํ ประสมดวยเสยี งสนั้ ไมม ีตัวสะกด เชน วทิ ยา (วดิ -ทะ-ยา) เสียง ทะ จะออกเสยี งสั้น และเบา เปน ตน นักศกึ ษาลองออกเสียงคาํ ตอ ไปนี้ ไดแก ปรมาจารย ดุลยพินจิ ไปรษณียากร ขตั ตยิ มานะ กรกฎาคม เปน ตน 7) การเวนวรรคตอน การเวนวรรคตอนเปนส่ิงสาํ คัญในการอา น ถาอานเวนวรรคผดิ ความหมายกผ็ ดิ ไปดวย เชน น้าํ เย็นหมดแลว หมายความวา นาํ้ เยน็ ที่มีอยู หมดไปแลว นะ แตอ านเวนวรรคตอนวา น้าํ /เย็นหมดแลว จึงอาจทาํ ใหเขา ใจเปน วา น้ําทเี่ คยรอนอยู ตอนนเี้ ยน็ หมดแลว นะ เธอจะไปหรือไมไ ป หมายความวา จะถามการตัดสินใจวา จะเลอื กแบบไหนคอื ไปหรอื ไมไป แตอ านเวนวรรคตอนวา เธอจะไปหรือ/ไมไ ป จงึ อาจทําใหเขา ใจเปน วา ไปถามเธอวาจะไปหรอื เปลา แลวเธอบอกวาไมไป ลกั ษณะภาษาไทย 1. คาํ ไทยแทมกั มีคาํ พยางคเดียว เชน พอ แม งาม ใน เสือ คลอง นั่ง เดนิ สวย ฯลฯ 2. ตวั สะกดมักเปนตวั สะกดตรงตามมาตราตัวสะกด เชน นาม ศอก ศึก ลม ขีด ฝน ตน เยน็ สนิ เกรง 3. คําคาํ เดยี วอาจมีความหมายหลายอยา งขึน้ อยูกบั บรบิ ท เชน คุณ พอ ขนั เชือก ไกข นั ขันนํา้ 4. คําไทยไมมีคําแสดงเพศและพจนภ ายในคํา ถาตองการแสดงเพศและพจนก็นาํ คํา มารวมกนั เชน ผูหญิง ชางตวั ผู ประชาชนทั้งหลาย 5. คําไทยมลี ักษณะนาม เชน ชาง 1 เชือก แหวน 1 วง 6. คําไทยมีคาํ ราชาศัพท เชน พระราชทาน เสวย ตรสั 7. คําไทยเปนคาํ ทใ่ี ชวรรณยุกต เมื่อเสียวรรณยุกตเปลยี่ นไปจะทําใหความหมาย ของคําเปลี่ยนไปดวย 8.คาํ ไทยจะมีคําหลักอยูขา งหนา คาํ ขยายอยขู า งหลัง เชน หมูอว น วิทยาคม โรงเรียนกันทรอม 74

9. คําไทย จะมลี ักษณะทางไวยากรณ คือ ประธาน+ขยายประธาน+กริยา+กรรม+ ขยายกรรม+ขยายกริยา 10. คําไทยมีวธิ ีการสรา งคาํ ใหมโ ดยการนาํ คํามาประสมกัน เชน คําประสม คําซํ้า คาํ ซอ น 11. คําไทยมลี ักษณะวิธกี ารสรางคาํ ไทยแท 3 ลักษณะ คือ 11.1 การกรอนเสียง คือ เสียงพยางคตนหายไปเหลือเพยี งบางสว นโดย พยางคตนเหลือเปนสระ อะ เชน หมากขาม เปน มะขาม ตนไคร เปน ตะไคร ตัวขาบ เปน ตะขาบ 1.2 การแทรกเสยี ง คือ การเตมิ เสียงเขา กลางคาํ แลว เสียงเกิดคอนกนั จึง เตมิ ขางหนาอกี เพ่ือใหถ วงดลุ กัน เชน ลูกดุม เปน ลกู กระดุม ดกุ ดกิ เปน กระดุกกระดิก 1.3 การเตมิ พยางค คือ การเติมเสียงเขา หนาคาํ และหลงั คาํ ของคาํ หนา เพ่อื ใหเกดิ ดุลเสยี งกนั เชน แอมไอ เปน กระแอมกระไอ มิดเมยี้ น เปน กระมิดกระเมย้ี น 5.3 การอานออกเสยี งที่ดี สําหรบั ผูประกาศและผูดําเนนิ รายการมขี อ ควรปฏบิ ัติ (คณะกรรมการกิจการวิทยุการะจายเสียง และวทิ ยุโทรทัศนแหง ชาติ กรมประชาสมั พันธ 2552) ดังนี้ 1) ตอ งรักษาความในบท คือ อยาใหมีตูคาํ ตกคาํ เติมคาํ หรืออา นสับสน 2) ตอ งฝกอยางสม่ําเสมอ คอื โดยเฉพาะถา น้ําเสยี งไมดี แหบเครอื ตอ งฝก เปลง เสยี งใหม ไมใหเสยี งสูงหรือตา่ํ เกนิ ไป ใชล้นิ ใหถกู ตอง เปลงเสยี งชดั เจนไมเพยี้ น ตองออกเสียงตามอักขรวธิ ีให ถกู ตอง การออกเสยี ง ร.เรือ คาํ ควบกลํ้า คําสมาส ตองชดั เจนถูกตองเหมาะสม 3) ลลี าการอา น ตอ งดจู งั หวะ นา้ํ หนกั และความในบท ไมเร็ว ไมช าไป กระชับ ไม ตะกุกตะกกั ใหร าบรน่ื ตองดูวาวรรคตอน ดวู า อานเรยี งคาํ หรือเปลา หยุดตอ ผิดท่ี แบง วรรคมาก เกนิ ไป การเวน วรรค ระหวา งการอา นตองใช การหยุด (stop) และ การคางไว (pause) พิจารณา ความเหมาะสมกบั เนื้อหา อานออกเสยี งเนอื ยๆ เรื่อยๆ หรือขาดความมชี ีวติ ชวี าหรือไม 4) ความชดั เจน ดานการอานออกเสียงคํา ตองชัดถอยชัดคํา ไมร วั ๆ รวบๆ หรอื เนนคาํ มาก เกินไป การออกเสยี งเพี้ยน ไมตรงคาํ เชนเพย้ี นพยญั ชนะ เพี้ยนสระ เพี้ยนวรรณยุกต ตองสงั เกตวา มี เสียงสอดแทรก มีเสียงลมหายใจหรือไม เสียงน้าํ ลายในชอ งปาก เสียงลมพนหนา คํา (คณะกรรมการ กจิ การวทิ ยกุ ารกระจายเสยี งและวิทยโุ ทรทศั นแหงชาติ กรมประชาสมั พันธ 2558) 5) ตองไมใชว ิธเี ดยี วกนั ตลอดในการอานทกุ ประเภท แตควรฝก ออกเสียงโดยใชวิธีการอานที่ แตกตางกันในแตละเรอ่ื งทอี่ านตามเนื้อหาอารมณของเหตุการณท ี่เกิดขึ้นในเรอื่ งน้ันๆ เชน อานเรื่อง ทางวิชาการความเจรญิ กา วหนาทางการแพทย ควรตองใชน้ําเสียงที่จรงิ จัง นิ่งๆ นา เช่ือถือเพ่ือใหผูฟง ผูชมมีความเชื่อมั่นในขอมูลทีอ่ านนําเสนอวาเปนขอเท็จจริงที่มีประโยชนในทางวิชาการและนํามาใช 75

กบั ตนเองหรือคนทรี่ ูจักได แตถาเปน เรือ่ งราวเกยี่ วกบั ความบนั เทงิ การทองเที่ยวพักผอน ควรอานออก เสียงใหฟงสบายๆ ต่ืนเตนตื่นตัวพรอ มออกไปสังสรรคหรือผจญภัยกับธรรมชาติ เปนตน ท้ังน้ีเพื่อให การอานออกเสียงของผูประกาศและผูดําเนินรายการมีความเหมาะสมกับเน้ือหาของขอมูลตางๆ จึง ตองใชวิจารณญาณในการวิเคราะหกอนการอา นออกเสียงดวย ขอควรระวงั ในการออกเสยี งภาษาไทย ทักษะและความเชี่ยวชาญในการออกเสียงภาษาไทยใหถูกตอง จะเกิดข้ึนไดจากการฝกฝน เปนประจําและสมํ่าเสมอ โดยมีขอควรระวังในการฝกออกเสียงภาษาไทยท่ีถูกตอง (เว็บไซด สวท. เพชรบรู ณ 2558) ดงั นี้ 1) ระวังการเพ้ียนวรรณยุกต อานผิดวรรณยุกต จัตวา เปน เอก เชน สมควร อานเปน สมควร สมเด็จพระเทพฯ อานเปน สม-เดจ็ -พระ-เทพ (ความจริงเสียงโทแตอานออกเสียงเปนตร)ี ผูที่ พูดมกั จะไมท ราบแตค นฟง จะทราบ การฝกตอ งใชว ิธกี ารอา นและบนั ทึกเทปฟง 2) การฝกออกเสยี งและฝกลมหายใจระหวางการอา นออกเสียง ตอ งฝกออกเสียงคําอา น 3 บรรทัด โดยไมหายใจ เพื่อท่ีจะเก็บลมหายใจตรงน้ัน มาอานประโยคยาวๆ แลวจะไดผอนวรรค ผอนความใหมีความนาฟงสละสลวย เราตองฝกลมหายใจใหไดกอน ขณะฝกลมหายใจอาน 2-3 บรรทดั ใหอ า นออกเสยี ง เรือ และควบกลํา้ ไปดวยแตย ังไมต องไปเอาจังหวะ อานใหเต็มเสยี ง บางคน เสยี งเบามาก ถาจะออกมาลักษณะตะโกนบางก็ตองยอม แลวคอยมาปรับมาฝกการเปลงเสียงกันใหม เพราะไมเชน น้นั เราจะไมรูวธิ ีท่เี อา “เสยี งมาจากทอง” นักศึกษาและผูที่สนใจฝกออกเสียงเพื่อนําไปใชในการทําหนาท่ีผูประกาศและผูดําเนิน รายการตองลองสังเกตดูวาตนเองเปลงเสียงไดเต็มเสียงหรือยัง จับทองตัวเองไวเวลาพูด ถา “ทอง เกรง็ ”เมื่อไรแสดงวาเปลงเสยี งไดถ ูกตองแลว สว นลีลาคอยมาฝกฝนกันตอ ไป อยางนอยถาเปลงเต็ม เสียง การอา นจะเพ้ยี นยาก โดยเฉพาะพยญั ชนะจะไมเพย้ี น ถาเตม็ เสียงจะมีผลถึงวรรณยุกต เม่ือปรับ เสยี งแลว ที่เหลอื คอื การควบคุมการทํางานท้ังหมดดวย “สมาธิ” เราตองไมต่ืนเตน เพราะถาตื่นเตน จะกลับไปเปนตวั ของตัวเอง ล้ินจะแบ หรือคับปาก เสียงจะเพ้ียน ตาจะพรามวั มองไมเ ห็นถึงกับตอง ขยี้ตา อานๆ ไปรูสึกคอแหง นํ้าลายเหนียว กลืนนํ้าลายไมลง หรืออานไปหูอื้อ ยิ่งอานเสียงย่ิงดัง เพราะรสู กึ ไมไดยินเสยี งตวั เอง ความตื่นเตน อาจทาํ ใหเกดิ ส่งิ เหลา น้กี บั ตวั เราได หูอื้อเลยย่ิงตะโกน จน เสียงแหบเสียงแหง ไมน าฟง หรืออา นผิดไปหมดเลย เพราะฉะนัน้ ท่ีสําคัญมาก คือ “สมาธ”ิ ข้ันตอนท่ี 1 ตองอานใหเต็มเสียงเต็มคํา เปดปากใหกวาง ออกเสียง เรือ ใหชัดเจน คาํ ควบ กลํ้าใหดี แบงวรรคตอนใหถูกตองออกเสยี งใหตรงคําแคนี้เอง ฝกแคปเดียว ฝกใหดีเลย ปเดียวจะดี ท้ังหมด ถา 2-3 เดอื น กพ็ อทจี่ ะพัฒนาไดบ า งและถาเปลง เสียงไดเ ตม็ คาํ แลว กไ็ ปฝกดา นอืน่ ตอ ไป ข้ันตอนท่ี 2 วรรคตอน ฝกใหอาน 3 บรรทดั ไมหายใจ คือ อานลมเดียวติดตอกันไปเลยถา อานๆ หยุดๆ เพ่ือสูดลมหายใจ การอานจะไมนาฟง ไมราบร่ืน บางครั้งอาน 2 คําหยุดแลว เชน 76

“วันนี้….(หยุดหายใจ)…มีขาวดวน…(หยุดหายใจ)…แจงเขามาวา…(หยุดหายใจ)……จะมีฝนตกหนกั …. (หยดุ หายใจ)……” ถา เราหยุดเพือ่ สดู อากาศหายใจเขา หยดุ วรรคเม่ือไร เมื่อจะขึ้นวรรคใหม เสียงอาจ เปล่ียนแปลง ตองปรับระดบั เสียงใหม ลมหายใจใหม เพราะไมใ ชล มหายใจเดิม ดังน้ันถาไมจําเปน ถาไมใชวรรคตอนจริงๆ ไมควรหยดุ หายใจ แลวท่ีไมใชวรรคตอนจริงๆ ใหหยุดสั้นๆ ภาษาอังกฤษ คือ หยดุ ช่วั คราว (Pause) ไว ถาไมใชวรรค แตถา เปนการวรรคตอน เราก็ตองหยุดจริงๆ (Stop) คือ วรรคตอน ตรงไหนคอื Stop ตรงไหนคือ Pause Stop คือ ชวงหยุดเมื่อจบวรรคตอนของแตละประโยค คําถามคือ ตองดูจากจุดไหน คําตอบคือ ตองดจู ากความหมายของประโยควา ใคร ทําอะไร ท่ีไหน ทําอยา งไร ทํากับใคร ไดอ ะไร จดุ น้ันคือ stop เม่อื อา น ใคร…stop… ทาํ อะไร …..stop…..ท่ีไหน….stop.... เปน การ stop แตละชว ง Pause คือ ชวงระหวางขอความท่ีควรหยดุ ชว่ั คราว ตัวอยางเชน การอาน…..วัน/ วันที่ / เดอื น/ พ.ศ. / เวลา…….เราตองพจิ ารณาดูวา จังหวะไหนควร pause และตรงไหนควร stop ตัวอยางท่ี 1 “วันน้ีเวลา 8 นาฬกิ า 15 นาที………… ถาไมจําเปนก็ไมตองหยุด (pause) ควร อานรวดเดียวจบเลย ยกเวนถาบอกวาเปนวันอะไร วันจันทร หรือ อังคาร ฯลฯ และมีเดือนกับ พุทธศักราช ตองเอา pause มาชวยเพื่อใหออกเสียงไดอยางราบรื่นและนาฟง เชน วันนี้ตรงกับวัน อังคารท่ี …. pause…..ยี่สิบเจ็ดกรกฎาคม…. pause….. พุทธศักราช สองพันหารอยหาสิบ แปด…..stop......เปนตน ตัวอยางท่ี 2 นายแพทยนิค วอลเตอรส จากโรงพยาบาลมชิ ช่ัน กลาววา…..stop......เปนตน ตองอาน 3 บรรทัดติดตอกันโดยไมวรรค ตองฝกใหไมเหนื่อย ไมหอบ ในการอานเม่อื หมดลมหายใจ ของของวรรค คาํ สุดทายของการออกเสยี งไมตองแผว ตามลมไป ตองยงั คงดังเหมือนคําตน วรรค แลว ถา หมดเรื่องตอ งหลบเสยี งลง เพื่อไมใหผูฟงคางคาใจวา ยงั มีอะไรตอหรือเปลา และถาเสียงเนือยลง ผู ประกาศหรือผูอานตองเอาลีลามาเสริมชวยในการอานเพ่ือใหคนฟงสนใจหรือเพลิดเพลินในการฟง อยา งตอเนอ่ื ง เพราะอยางนอยก็ใหลีลาท่ีนํามาเสริมไปกลบคําทีอ่ อกเสียงไมชัด ดังน้ันการออกเสียง อักขรวิธี การใชนํ้าหนักเสียงใหมีข้ึนมีลงมีหนักมีเบา จะทําใหการเปลงเสียงของผูประกาศและผู ดําเนินรายการสามารถสรางอารมณและจินตนาการใหกับคนฟงไดเปนอยางดี อีกประเด็นหนึ่งคือ กอนจบยอหนาเกาควรลงเสียงเนนนํ้าหนักข้ึนมากกวาคําอื่นๆ เพื่อจะนําไปสูอารมณของผูฟงวาจะ เปล่ยี นเร่อื งเปลยี่ นบทเปลี่ยนตอนในประโยคถัดไป 77

5.4 หลกั การอานคําในภาษาไทยสาํ หรบั ผปู ระกาศและผูดําเนินรายการ การอานออกเสียงคําใหถ ูกตอง การศึกษาทาํ ความเขาใจเก่ียวกบั หลกั การอา นคาํ ตาม อักขรวธิ อี ยางถองแท จะชว ยใหก ารสอ่ื สารบรรลเุ ปา หมายตามทผ่ี ูป ระกาศและผดู ําเนินรายการตัง้ ใจ ไว (อโนทัย ศรภี ักด์ิ 2558) โดยมรี ายละเอยี ด ดังน้ี 1) การอานคําสมาส มวี ิธกี ารอานดงั น้ี 1.1 คาํ หนา พยญั ชนะเขียนเรียงพยางคใ หอ า นเรยี งพยางคตอ กับคําหลัง เชน ศาก ยวงศ อาน สา-กะ-ยะ-วง, พลศึกษา อาน พะ-ละ-สึก-สา, อารยธรรม อาน อา-ระ-ยะ-ทาํ 1.2 พยัญชนะสุดทา ยของคําหนา เปนตัวสะกด ใหอา นออกเสยี ง 2 คร้ัง คอื อานเปน ตัวสะกดและอานซ้ําตามสระที่ปรากฏ เชน ศักราช อาน สัก-กะ-หราด, รชั กาล อาน รัด-ชะ-กาน, กจิ กรรม อาน กิด-จะ-กํา 1.3 คาํ หนา มีตวั สะกดและตัวตามอา นออกเสยี งตัวสะกดซํา้ และตวั ตามอา นออก เสยี ง อะ กึ่งเสยี ง เชน ทิพยอาสน อาน ทิบ-พะ-ยะ-อาด, สัตวแพทย อาน สดั -ตะ-วะ-แพด, อิสรภาพ อาน อิด-สะ-หระ-พาบ 1.4 พยัญชนะตวั สะกดของคาํ หนา เปนอกั ษรควบแท อา นออกเสียงควบกล้ํา เชน จักรวาล อาน จกั -กระ-วาน, มาตรฐาน อา น มาด-ตระ-ถาน 1.5 คําสมาสบางคาํ ท่ีไมออกเสียงแบบสมาส เชน เพชรบรุ ี อา น เพ็ด-บุ-ร,ี ชลบรุ ี อาน ชน-บุ-รี ขอ สังเกต คาํ ไทยบางคาํ ไมใชคาํ สมาส แตน ยิ มอา นออกเสียงแบบสมาส เชน พลเมอื ง อาน พน-ละ-เมือง, ผลไม อาน ผน-ละ-ไม, ราชวงั อา น ราด-ชะ-วัง, เทพเจา อาน เทบ-พะ- เจา 2) การอานคําทมี่ าจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต มีวธิ กี ารอานดงั นี้ 2.1 พยัญชนะวรรคทเ่ี ปนตัวสะกดตวั ตาม ไมตองอานเสียงตัวสะกดนั้น เชน มจั ฉา อาน มัด-ฉา, วติ ถาร อา น วดิ -ถาน 2.2 คําท่ใี นภาษาเดิมออกเสยี ง อะ เรยี งพยางค อา นเปน อะ เชน ธนบัตร อาน ทะ-นะ-บดั , กรณี อา น กะ-ระ-นี, กรกฎาคม อา น กะ-ระ-กะ-ดา-คม 2.3 คําทีอ่ านออกเสียง ออ ตามหลักภาษาไทย เชน มรดก อาน มอ-ระ-ดก, ธรณี อา น ทะ-ระ-นี, มรณา อา น มอ-ระ-นา, วรกาย อาน วอ-ระ-กาย, บวร อา น บอ-วอน 2.4 คําบางคําอา นได 2 แบบคืออา นเรยี งพยางคก บั ไมเรียงพยางค เชน ปรปกษ เทศนา กรณี คมนาคม 78

2.5 คําท่ี ย ล ร ว เปนตวั สะกดหรือเปนตัวตาม ตอ งออกเสียงตัวสะกดดว ย เชน วิทยา อา น วดิ -ทะ-ยา, วชั รา อา น วัด-ชะ-รา, จตั วา อา น จัด-ตะ-วา, อยั การ อาน ไอ-ยะ-กาน 2.6 คาํ บางคําอา นแบบอักษรนําหรอื อักษรควบ เชน อาขยาน อาน อา-ขะ-หยาน, 3) การอา นพยัญชนะ ฑ มีวิธีการอานดงั น้ี 3.1 ออกเสียง ต เชน บัณฑิต อา น บัน-ดดิ , มณฑป อาน มน-ดบ,บัณเฑาะก อาน บัน-เดาะ, ปานฑพ อา น ปาน-ดบ 3.2 อา นออกเสยี ง ท เชน มณโฑ อาน มน-โท, มณฑก อา น มน-ทก, มณฑล อา น มน-ทน, ขณั ฑสมี า อาน ขนั -ทะสี-มา, ขันฑสกร อา น ขัน-ทด-สะ-กอน 4) การอา นพยญั ชนะ ฤ ตวั ฤ เปนสระในภาษาสนั สกฤต เดิมอา น ริ อยา งเดยี ว แตเมือ่ นํามาใชใ นภาษาไทยสามารถอา นได 3 เสียง คือ ริ รึ เรอ มีวิธีการอา นดังน้ี 4.1 การออกเสยี ง (ริ) 4.1.1 เมือ่ ฤ ตามหลงั พยัญชนะ ก ต ท ป ศ ส เชน สฤษฏ กฤษณา กฤตยา กฤษฎกี า ตฤนมัย ศฤงคาร ทฤษฎี 4.1.2 เมอ่ื เปน พยางคห นาของคําและมีตวั สะกด เชน ฤทธิ์ ฤทธา 4.2 การอา นออกเสยี ง (ร)ึ 4.2.1 เม่อื เปน พยางคห นาของคาํ และมีตัวสะกด เชน ฤดู ฤทัย ฤษี ฤชา ฤดี 4.2.2 เมื่อ ฤ ตามหลงั พยญั ชนะ ค น ม พ ห เชน พฤกษ คฤหบดี คฤหาสน นฤบดี หฤทัย นฤมล มฤตยู หฤโหด พฤศจิกายน 4.2.3 เมอ่ื อยโู ดดๆ เชน ฤ 4.3 การอา นออกเสยี ง (เรอ) ไดแก คําวา ฤกษ (เริก) ขอ ควรสังเกต ยกเวนบางคําที่อานอกเสียงไดท้ัง ริ และ รึ เชน อมฤต พฤนท 5) การอานตวั เลข มีหลกั เกณฑดงั นี้ 5.1 จาํ นวนเลขตั้งแต 2 หลกั ขนึ้ ไป ถา ตัวเลขตวั ทายเปนเลข 1 ใหออกเสยี งเอ็ด 5.2 ตัวเลขที่มีจดุ ทศนยิ ม 5.2.1 ตัวหนา จุดทศนยิ ม ใหอานแบบจํานวนเต็ม ตวั เลขหลงั จุดทศนยิ ม ใหอ านเรียงตวั 5.2.2 ตัวเลขทีเ่ ปน เงินตราหรอื หนว ยนับ ใหอา นตามหนว ยเงนิ หรือ หนวยนบั นน้ั ๆ 5.3 การอา นตัวเลขบอกเวลา 5.3.1 การอานชว่ั โมงท่ไี มมจี าํ นวนนาที เชน 06.00 อานวา หก-นา-ล-ิ กา 79

5.3.2 การอานจํานวนชว่ั โมง นาทแี ละวนิ าที อานจากหนวยใหญไ ป หนวยยอย 5.4 การอานเวลาท่ีมีเศษของวนิ าที เชน 2 : 03 : 45.70 อา นวา สอง-นา-ล-ิ กา- สาม-นา-ที-ส-่ี สิบ-หา-จุด-เจด็ -สนู -ว-ิ นา-ที 5.5 การอานตัวเลขทแี่ สดงมาตราสว นหรอื อตั ราสว น เชน 1 : 300,000 อา นวา หนึ่ง-ตอ -สาม-แสน 5.6 การอานตวั เลขหนงั สือราชการ นิยมอา นแบบเรียงตวั เขน หนังสอื ที่ ศธ 0030.01/605 ลว. 16 มกราคม 2558 อา นวา หนงั สอื ที่สอทอสนู สนู สาม สนู จุดสนู หน่งึ ทับหกสนู หนง่ึ ลงวันทสี่ ิบหกมะกะราคม พุดทะสกั กะหราด สองพนั หา รอยหาสบิ แปด 5.7 การอา นเลข ร.ศ. ทีม่ ีการเทยี บเปน พ.ศ. กาํ กับ เชน ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) อานวา รัดตะนะโกสินสกรอ ยสิบสอง ตรงกบั พุดทะสักกะหราดสองพนั สี่ รอ ยสามสบิ หก 5.8 การอา นบานเลขที่ 5.8.1 การอานบานเลขทีซ่ ่ึงตัวเลข 2 หลกั ใหอ านแบบจํานวนเตม็ สวนตัวเลขหลัง เครื่องหมายทบั (/) ใหอ า นแบบเรยี งตัว เชน บานเลขท่ี 49/256 อา นวา บานเลขท่ีสี่สิบเกา ทับสองหาหก 5.8.2 การอานบานเลขท่ซี ่ึงมตี วั เลข 3 หลักขนึ้ ไป ใหอานแบบจํานวนเตม็ หรอื แบบเรยี งตัวก็ได สวนตัวเลขหลังเคร่อื งหมายทับ (/) ใหอานแบบ เรยี งตัว 5.8.3 การอานบา นเลขท่ีกลุมตัวเลขที่มี 0 อยูขางหนา ใหอานเรียงตวั เสมอ 5.9 การอา นรหสั ไปรษณยี  ใหอา นแบบเรียงตวั 5.10 การอานหมายเลขทางหลวง ใหอานตัวเลขแบบเรียงตวั 6) การอานเคร่อื งหมายตา งๆ มหี ลกั การอานดงั นี้ 6.1 การอานคําหรอื ขอความที่มีเครอ่ื งหมายวงเล็บกาํ กบั อยู ใหอ านวา วงเล็บเปด ... วงเลบ็ ปด 6.2 การอา นเครอ่ื งหมายอัญประกาศ ( “...” ) ใหอา น อัญประกาศเปด .... อญั ประกาศปด 6.3 การอานเครือ่ งหมายไมย มก เชน ใหอ า นซํา้ คําหรือขอความ 6.4 การอา นเคร่อื งหมายไปยาลนอยหรอื เปยยาลนอย เวลาอา นตองอานเตม็ คาํ 80

6.5 การอา นเครอ่ื งหมายไปยาลใหญ หรอื เปยยาลใหญ หากอยทู าย ขอ ความใหอ านวาละ หรอื และอนื่ ๆ และเม่ืออยูกลางขอความให อานวา ละถงึ 6.6 การอา นเคร่ืองหมายไขป ลาหรอื จดุ ไขปลา กอนอานควรหยดุ เลก็ นอย แลว จงึ อานวา ละ ละ ละ แลวจงึ อา นขอความตอไป สรปุ เนือ้ หาสาระในบทน้ี คือ นักศึกษาไดเรียนรูแ ละรับทราบถงึ หลักการอา นออกเสียงท้งั 8 ประการวามีอะไรท่ตี องใสใ จ และระมัดระวงั วิธีการอานออกเสยี งพยัญชนะ คาํ ควบกล้ํา ร ล ว เสียงวรรณยุกต คําพอ งรปู ตวั การันต การออกเสยี งพยางคหนกั พยางคเ บา ลกั ษณะภาษาไทย การอา นออกเสียงท่ีดี ขอ ควรระวงั ในการออกเสียงภาษาไทย รวมทงั้ หลักการอา นคาํ ในภาษาไทย ซ่ึงการเรยี นรทู ั้งหมดนี้จะชว ย เสรมิ สรา งศักยภาพของผูป ระกาศและผดู ําเนนิ รายการไดเ ปนอยางดี …………………………………………………………………………………………………………………… แบบฝก หดั เพื่อทบทวนความรูและความเขา ใจ แบบฝก หัดทา ยบทของทกุ บท เพ่อื การกระตุนความตืน่ ตวั ในการเรียนรูและนาํ ไปสกู าร จดจาํ ไดอยางลึกซ้งึ ดว ยการใชคําถามทต่ี องอธิบายความและยกตัวอยางประกอบ ซ่ึงตอ งใชความเขา ใจจากการเรยี นรูและฝก ปฏิบัตอิ ยางสมา่ํ เสมอ 1. ใหนักศกึ ษาอธิบายวาหลกั การอา นออกเสียง 8 ประการ มีอะไรบางและเปนเชนไร 2. อธบิ ายวิธกี ารอานออกเสียงพยัญชนะ วา เปนเชน ไร 3. อธบิ ายวธิ กี ารอานออกเสียงคาํ ควบกลํ้า ร ล ว วา เปนเชนไร 4. อธบิ ายวธิ กี ารอา นออกเสียงเสียงวรรณยุกต วาเปน เชนไร 5. อธิบายวิธกี ารอา นออกเสียงคําพองรปู วา เปนเชน ไร 6. อธบิ ายวธิ กี ารอา นออกเสยี งตัวการนั ต วาเปนเชนไร 7. อธิบายวิธกี ารอานออกเสียงการออกเสียงพยางคห นัก พยางคเ บา วา เปน เชนไร 8. ใหน กั ศกึ ษาอธบิ ายลกั ษณะภาษาไทย วา เปน เชนไรบาง 9. โปรดอธิบายวา การอานออกเสยี งทด่ี ี ควรทําเชน ไรบา ง 10. ขอควรระวงั ในการออกเสยี งภาษาไทย มีอะไรบาง 11. อธิบายหลักการอา นคําในภาษาไทยสาํ หรับผูประกาศและผูดําเนินรายการ 12. ใหน กั ศึกษาแสดงความคิดเห็นถงึ วิธกี ารอานออกเสยี งภาษาไทยใหถกู ตองตามอักขรวธิ ีวา มี ความยากงา ยตรงจดุ ไหน อยา งไร 81

จุดประสงคของการเรียนรใู นบทนี้ 1. นักศึกษาไดรับรูและเขาใจความหมายของรอยแกว ขอพึงปฏิบัติในการอานรอยแกว และวิธีการอานรอยแกว ใหนา ฟง 2. นกั ศึกษาไดร ับรแู ละเขา ใจการคาํ นึงถงึ องคประกอบในการอา นออกเสยี งรอ ยแกว 3. นกั ศึกษาไดรบั รแู ละเขาใจถงึ จุดมงุ หมายของการฝก ฝนการอา นออกเสียงรอยแกว 4. นักศกึ ษาไดทราบถึงเทคนคิ ในการฝกฝนทักษะการอา นออกเสยี งรอ ยแกวและนําไปใชได 5. นักศึกษาไดทราบและเรียนรูถึงการใชเคร่ืองหมายวรรคตอนในการฝกอานออกเสียง ขอ ความรอ ยแกว 6. นกั ศกึ ษาไดทราบถึงการฝก อานออกเสียงรอยแกวแบบบรรยายไมเ นนและเนนการแสดง อารมณแ ละสามารถนาํ ไปใชไดใ นการปฏิบตั งิ านจรงิ 6.1 ความหมายของรอ ยแกว มีดังน้ี ความหมายของ “รอ ยแกว”ตามพจนานกุ รมหมายความวา “ความเรียงท่ีสละสลวย ไพเราะ เหมาะเจาะดว ยเสยี งและความหมาย” (บญุ กวาง ศรีสุทโธ 2558) ซ่ึงแทที่จริงแลวการเขียนรอ ยแกวมี ความยากกวาการเขียนรอยกรอง ดังเชนตัวอยา งพรรณนาโวหารแบบรอยแกวจากเรือ่ งกามนิต โดย เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป กามนิตเปนวรรณคดีรอยแกวท่ีไดรับการยกยองมากท่ีสุดเรื่องหน่ึง เพราะมีความงดงามทัง้ ดานการใชภาษาและความคิดอันลึกซึง้ เปนนิยายรักท่ผี ูอานประทับใจเพราะ ช้ีใหเห็นคุณคาของความรักท่ีสามารถนําพามนุษยไปสูความหลุดพนจากสังสารวัฏ หากมนุษยเขา ใจความรักและมีความมุงมั่นในความรักน้ันอยางแทจริง ดังเชนกามนิตและวาสิฏฐี ในเร่ืองนี้ได กลาวถึงบุรษุ ผูหนึ่งนามวา กามนิต ผูท่ีหวังจะไดเขาพบสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาเพื่อที่จะไดขจัด ความทุกขตางๆ ท่ีตนไดเผชิญมา และไดพ บกับความสุขอันเปนนิรันดร ในระหวางการเดินทางไป เขาเฝา พระพุทธเจานั้น กามนติ ไดเขาขอพักที่บานของชางปนหมอทานหนึ่งเปนการชั่วคราวและใน วันเดยี วกันนั้นสมเดจ็ พระสัมมาสมั พุทธเจา กไ็ ดเสด็จมาขอพักอาศัยท่ีบานหลังน้ันดวยพอดกี ามนิต จึง 82

ไดมีโอกาสเลาเรื่องของตนเองและสนทนาธรรมกับพระพุทธเจาโดยท่ไี มรูเลยวาพระสงฆท่ีสนทนาอยู นั้นคือพระสมั มาสัมพุทธเจาน่ันเอง ในเรื่องกามนิตนี้ มีกามนิตและวาสฏิ ฐีเปนตัวเอก นอกจากน้ัน ยงั มีพระสมั มาสัมพุทธเจา มีองคุลิมาล พระอานนทแ ละพระสารีบุตรปรากฏในเร่ืองอีกดวย ฉากแรก ของกามนติ ประทับใจคนดวยพรรณนาโวหารกอนภาพพจนแหง จนิ ตภาพ (สอางค ดําเนินสวัสด์ิและ คณะ 2546) ดังนี้ “ขณะท่พี ระองคเ สดจ็ มาใกลเ บญจคีรนี คร คือ ราชคฤห เปนเวลาจวนสิน้ ทิวา วาร แดดในยามเย็นกําลงั ออนลงสูสมยั ใกลว ิกาล ทอแสงแผซ า นไปยงั สาลเี กษตร แลละลิ่วเห็น เปนทางสวางไปทั่วประเทศสุดสายตา ประหนึ่งมีหัตถทิพยมาปกแผอํานวยสวัสดี เบื้องบนมี กลุมเมฆเปน คล่ืนซอนซับสลับกันเปนทิวแถว ตองแสงแดดจับเปน สีระยับวะวับแวว ประหน่ึง เอาทรายทองไปโปรยปราย เล่อื นลอยลว่ิ ๆ เรอ่ื ยๆ รายลงจรดฟา ชาวนาและโคก็เมื่อยลาดวย ตรากตรําทาํ งาน ตางพากันเดมิ ดุมๆ เดนิ กลับเคหสถาน เห็นไรๆ เปน รัศมีแหงสีรงุ อันกําแพง เชิงเทินปอมปราการท่ีลอมกรุง รวมทั้งทวารบถทางเขา นครเลา มองดใู นขณะน้ันเห็นรูปเคาได ชดั ถนดั แจง ดง่ั วา นิรมติ ไว มสี ุมทุมพุมไมดอกออกดก โอบออมลอมแนนเปนขนัด ถัดไปเปนทิว เขาสงู ตระหงา น มีสใี นเวลาตะวันยอแสง ปานจะฉายไวเพอ่ื แขง กบั แสงมณวี เิ ศษ……..” ขอ พึงปฏิบตั ิในการอา นรอ ยแกว เพ่ือใหการอานรอยแกวนาฟงนาสนใจนาติดตาม ผูป ระกาศและผูดําเนินรายการจึงควรระลึกถึงขอพึงปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ 1) กอนทผี่ ปู ระกาศและผูดําเนนิ รายการจะอา นเร่อื งใดๆ ควรศกึ ษาเร่อื งทอ่ี า นใหเ ขา ใจโดย ศกึ ษาสาระสําคญั ของเรือ่ งและขอความทุกขอ ความเพอื่ จะแบง วรรคตอนในการอา นไดอยางเหมาะสม 2) ผูประกาศและผูดําเนินรายการตองสงั เกตและรูวาตองอา นออกเสียงใหดงั พอเหมาะกับ สถานทแี่ ละจํานวนผฟู งแคไหน เพ่ือใหผูฟงผูชมไดย ินท่ัวกัน คือไมดงั ไปหรือคอยจนเกินไป เพราะทั้ง สองประการไมด ที ้งั คู 3) ผปู ระกาศและผูดาํ เนินรายการตอ งฝกอา นใหค ลองฟงรนื่ หูและออกเสยี งใหถูกตองตาม อักขรวิธี ชดั ถอยชดั คํา โดยเฉพาะตัว ร ล หรือคําควบกลํ้า ตองออกเสียงใหชัดเจนและเปนธรรมชาติ ไมเ กร็งไมต ง้ั ใจจนกลายเปน เสยี งทีฟ่ ง แลวแขง็ กระดา ง 4) ผูประกาศและผูดําเนนิ รายการตอ งอา นออกเสยี งใหเ ปน เสียงพูดอยา งธรรมชาติท่ีสุด ไม ตองพยายามดัดเสียงใหฟงแลวเปนคนเสียงกลมเสียงหลอ เสียงสวย แตเสียงที่เปนธรรมชาติของ ตนเองจะทําใหส ามารถอานรอ ยแกว ไดอ ยางสบายใจ ไมต องกังวลวา ตอ งดัดเสยี งกลมหลอ สวย 5) ผูประกาศและผูดําเนนิ รายการตองรูว ิธกี ารเนนเสยี งและถอยคาํ ตามนาํ้ หนกั ความสําคัญ ของใจความ ใชเสยี งและจังหวะใหเปนไปตามเนื้อเร่ือง เชน ใชเสียงแข็งดุดัน ใชเ สยี งออนหวานออน วอน ใชเสยี งจรงิ จัง ใชเ สียงแสดงความไวอ าลัย เปน ตน 83

6) ผปู ระกาศและผูดาํ เนินรายการตอ งอานออกเสียงใหเหมาะกับประเภทของเรื่อง รจู กั ใส อารมณใ หเหมาะสมตามเนอื้ เรื่อง 7) ขณะทอี่ านบทรอ ยแกว ผปู ระกาศและผดู ําเนินรายการตอ งฝก หาจังหวะในการสบ สายตากับผูฟงเปนระยะๆ อยางเปนธรรมชาติ โดยตองไมมัวแตกมหนากมตาอานบทอยางเดียว เพราะจะทําใหเสมือนขาดการส่ือสารกับผูรับสารดวยการประสานสายตา ท่ีสามารถยึดโยงความรูสึก รว มกนั ไดท งั้ สองฝาย 8) การอา นในท่ปี ระชุม ผปู ระกาศและผดู าํ เนินรายการตองจบั หรือถือบทอานใหเหมาะสม และยนื ทรงตวั ในทาที่สงา ดนู า เชอ่ื ถือ นา มองนา รบั ฟง ส่ิงท่ีจะอาน เปนหลักการทางจิตวิทยาโดยท่ัวไป คอื การสรา งความนาสนใจจากบุคลิกภาพทีด่ ูดมี เี สนห 6.2 อา นรอ ยแกวอยางไรใหน าฟง ในการอานออกเสียงบทรอยแกวนั้น ผูประกาศและผูดําเนินรายการจะอานออกเสียงแบบ ธรรมดาเพื่อสื่อสารใหผอู ่ืนเขาใจเร่ืองราว การอานออกเสียงบทรอยแกวน้ใี ชก ันมากในชีวิตประจําวัน โดยเฉพาะผูท ่ีมอี าชพี อานขาว อานรายงาน อานบทความทางวทิ ยุ โทรทัศน เปนตน ผูประกาศและผู ดําเนินรายการท่ีตองทําหนาท่ีอานบทรอยแกวตางๆ ตองมีหลักการในการอานใหนาฟง เพราะใช เสียงพูดธรรมดา แตตองมีการเนนถอยคําเพ่ือใหผูฟงเกิดความสนใจและเขาใจเรื่องราวท่ีอาน รวมทั้ง สามารถรบั สารไดอยา งถูกตองครบถวน โดยมีคําถามตางๆ ที่ผูประกาศและผูดําเนินรายการ จะตอง นาํ ไปตอบโจทยใหไ ด มดี งั น้ี (กลุมสาระวิชาภาษาไทย 2558) 1) อา นอยางไรใหนา ฟง ผูประกาศและผูดาํ เนนิ รายการจะตอ งคํานึงถึงคาํ ถามในประเด็นนเี้ สมอ ดังนนั้ จงึ ตอ ง ลองซอมอานโดยอานในใจคร้ังหนึ่งกอน เพื่อใหรูเรื่องราวท่ีอานสามารถเขาใจบทอานอยางถูกตอง และไดถายทอดเร่ืองราวท่ีอานไดอยางมีประสิทธิภาพ จะตองเขาใจความ หมายของคํา ถอยคํา สํานวนทอี่ านเขา ใจความคิดสําคญั ของเรื่องท่ีอาน จึงจะสามารถเวนวรรคตอนการอานใหถูกตองตาม เรื่องราว สามารถใชน้ําเสียงไดนาฟง มีการเนนถอยคําอยางถูกตองสัมพันธกับเนื้อเรื่องและอานได อยา งคลองแคลวราบร่นื ไมต ะกกุ ตะกกั 2) อานอยางไรใหถูกตองตามอกั ขรวิธหี รืออา นใหถ ูกตองตามความนยิ ม จากคาํ ถามนผ้ี ูประกาศและผูด ําเนินรายการ จะตองทาํ ความเขา ใจเสยี กอ นวา การอาน เปนเร่ืองของทักษะซง่ึ จะตองมีการฝก ฝนการอานอยูเ สมอ โดยอานใหถูกตองตามอักขรวิธี คําบางคํา อานตามความนิยม ผูประกาศและผูดําเนินรายการจะตองทราบหลกั เกณฑตางๆ ในการอานคําตอง หมั่นสังเกตการอานของผูอื่น คําใดควรอานอยางไร ถาไมแนใจควรใชพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน ชวยตัดสินการอา น 84

3) อา นอยางไรใหชดั เจน จากคําถามนผี้ ูประกาศและผดู ําเนนิ รายการ จะตองฝกฝนการ อานออกเสียง พยัญชนะ สระและวรรณยุกตใหถูกตอง เชน การอานออกเสียง ร – ล หรือคําควบกล้ํา ชัดเจน การอานไม ชัดเจน นอกจากจะแสดงใหเห็นวาผูประกาศและผดู ําเนินรายการขาดความระมัดระวัง แลวยังขาด การศกึ ษาอีกดว ย 4) อานอยางไรใหม จี ังหวะและแบง วรรคตอนใหถ ูกตอ ง ผปู ระกาศและผูดาํ เนนิ รายการ จะตองฝกฝนการอา นแบง วรรคตอนใหถูกตอง ดังน้นั ตอ ง อานเรื่องใหเขาใจกอน เพื่อจะไดอานแบงวรรคตอนไดถูกตองความหมายไมผิดเพ้ียน โดยอาจทํา เครอ่ื งหมาย / คั่นขอความทเ่ี วนวรรค ถา ผูอ า นอานผดิ วรรคตอนยอมทาํ ใหค วามหมายผดิ ไปดว ย เชน ถาผปู ระกาศและผูด าํ เนินรายการอานวา “อาหาร…..อรอยหมดทุกอยา ง” มีความหมายวา …….. “อาหารทีท่ าํ มามรี สชาติอรอ ยๆ ทั้งน้นั ” แตจ รงิ ๆ ตอ งการส่อื สารวา “อาหารท่ีรสชาตอิ รอยๆ ตอนนห้ี มดไปแลว” ตอ งอา นเวน วรรคตอนเปน ….“อาหารอรอย….หมดทกุ อยา ง” หรอื ผูป ระกาศและผดู าํ เนินรายการอา นชือ่ และนามสกลุ ของผทู ่ีอยูในเรอ่ื งราวทีจ่ ะ นําเสนอวา “ผูอํานวยการคนนั้นชื่อนายชํานาญ อิน-ตาย-วง” ซ่ึงในทางที่ถูกตองแลว ตองอานวา “ผอู ํานวยการคนนัน้ ชอ่ื “นายชํานาญ อินตา-ยวง” 5) อานอยางไรใหค ลอ งแคลว จากคาํ ถามนี้ผปู ระกาศและผดู ําเนินรายการ จะตอ งฝกฝน อยางสมาํ่ เสมอ ใหก ารอานไมตะกุกตะกัก อานใหตอเนื่องกัน การอานใหคลองแคลวจะตอ งรูจักกวาด สายตาในการอา น ดังนี้ 5.1 การจบั สายตาทต่ี วั อักษร สายตาจะตอ งเคลอ่ื นไปบนตัวอกั ษรบนบรรทัดจากซายไป ขวา โดยจบั สายตาไปทลี ะจุด จุดละ 4-5 คาํ เปน ระยะ ๆ ดงั น้ี x…….x…….x…….x…….x…….x…….x…….x 5.2 ชว งสายตา หมายถึง จาํ นวนคําทส่ี ายตากวาดไปบนตวั หนงั สือทลี ะจดุ ควรเปน 4-5 คํา 5.3 การอานยอนกลับ บางคนอา นแลว ตอ งอา นยอนกลับเพอ่ื ใหเ กดิ ความเขา ใจ การอา น ยอนกลบั ทาํ ใหอ า นไดช า การอานไดคลองแคลวตองฝก อานโดยจบั สายตาบนตวั หนงั สือเปน ชว งๆ ดังกลา วและ ตองอา นอยา งมีสมาธจิ ึงจะอา นไดรวดเร็ว 85

การคํานึงถึงองคประกอบในการอา นออกเสยี งรอยแกว การอานออกเสียงเปนการอานใหตัวเองหรือผอู ่ืนฟง ดังนั้นจึงตอ งคํานึงถึงองคป ระกอบ ตางๆ เหลา น้ี คอื -การอานออกเสียงควรถูกตอ งตามอักขรวิธี -เวน จังหวะการแบง วรรคตอนไดเหมาะสม -การออกเสียงชัดเจน -การใชน้ําเสียงสอดคลอ งกบั อารมณต ามเน้อื เรื่อง -มีการเนน อารมณท่เี หมาะสมกบั เน้ือหา ดังน้ันการอานออกเสียงรอยแกว จึงเปนกระบวนการทํางานทเ่ี กี่ยวของโสตประสาทตางๆ ท้ังการใชสายตาเพงมองไปที่ตัวหนังสือ การใชสมองคิดประมวลเน้ือหาที่กําลังเห็นอยูตรงหนา โดย ผานการคดิ วิเคราะหไปพรอ มๆ กนั กอ นท่ีจะเปลงเสียงอานหรือพูดเน้ือหาสาระนั้นๆ ออกมา ดังนั้นผู ประกาศและผูด ําเนนิ รายการจึงตองมีการเตรียมตัวใหพรอมและมีการฝก ฝนทกั ษะในดานนีเ้ ปนอยาง ดอี ยูเสมอ 6.3 จดุ มุงหมายของการฝกฝนการอา นออกเสยี งรอ ยแกว มีหลายประการ ดงั นี้ 1) เพ่ือฝก ฝนใหอานถูกตอ งตามอกั ขรวธิ แี ละเสยี งดงั ชัดเจนชดั ถอยชัดคําเหมือนเสียงพูด 2) เพือ่ ฝกฝนการออกเสยี ง ทอดเสียง ลีลาและจังหวะ จะชว ยใหสามารถอานและพูด ไดด มี ากข้นึ 3) เพอ่ื ชว ยควบคมุ ใหผูอ า น คือ ผปู ระกาศและผดู ําเนนิ รายการ รูจักสาํ รวมใจอยูก บั ขอ ความหรอื เรอ่ื งท่อี าน 4) เพอ่ื ใหผ ฟู งผูชมเขา ใจ โนมนา วใจใหผูรับสารทงั้ หลายมีความรสู กึ คลอ ยตาม 5) เพอ่ื ความเพลิดเพลนิ ของผูประกาศและผดู ําเนนิ รายการ รวมทัง้ ผฟู งผูช ม 6) เพ่อื ใหสามารถแบง วรรคตอนไดถ ูกตอ ง รูจักแบง ขอความหรอื ประโยคยาวๆ ใหเ ปน ประโยคสั้นๆ ไดอ ยา งเหมาะสมทําใหมีชองเวน ระยะหายใจทีพ่ อเหมาะพอดี 7) เพ่อื ใหอานไดถูกจงั หวะ ไมอ า นชา หรือเร็วเกนิ ไป รจู ักใชร ะดบั เสยี งที่แตกตางกนั ไป ในแตละชวงเน้ือหาท่ีควรเปลี่ยนระดับเสียง เพราะไมควรใชเสียงระดับเดียวกันท้ังเรื่องจะทําใหไม นาสนใจ แตค วรเนน เสียงหนกั เบาและอา นใหเปน เสยี งพูดอยา งธรรมชาติที่สดุ 8) เพอ่ื ฝก ใหไมอา นตตู วั อักษร คือ เพย้ี นตวั ไมตรงตวั เชน อานตตู ัว ด เปน ค อาทิ “เขามาดูนาํ้ ไหล” แตอานเปน “เขามาคนู ้ําไหล” ซึ่งมคี วามหมายทีแ่ ตกตา งกนั 86

9) เพอ่ื ฝกใหร ะวงั การออกเสียงคาํ ควบกล้ํา เชน คาํ วา “คลก่ี ระจาย” แตอา นแลวฟง เปน “ข้ีกระจาย” ซ่ึงมีความหมายที่แตกตางกันมาก หรือประโยคที่บอกวา “เธอตองการใหสามี เปลยี่ นแปลง” แตอา นเปน “เธอตองการใหส ามีเปย นแปง” 10) เพ่อื ฝก ใหอานออกเสยี งตัว ร ชดั เจนแตกตา งจากตัว ล เชน “คนของเรานา รกั รูปรา ง ด”ี แตอา นเปน “คนของลาวนา ลกั ลูบลางดี” 11) เพอื่ ฝก ใหมสี มาธิสํารวมใจอยกู บั เรอื่ งทีอ่ า นและทําความเขาใจตามเรือ่ งไปดว ย 12) เพื่อฝกใหสามารถใชเสยี งทอี่ านสอดคลอ งกบั เนอื้ หาของเร่อื ง รจู ักวิธกี ารผอนเสียง การทอดเสยี งทอดจังหวะ ใชเสยี งแขง็ เสยี งออนหวานตามเนื้อหาเรอื่ งราวทถี่ กู จังหวะ เชน -การอานเร่ืองเก่ียวกับการขอความรวมมือ อาจเปนการใหชวยบริจาค ทรพั ยส ินหรือรว มมือดานกําลังกายชว ยทาํ กิจกรรมสว นรวมบางอยาง ผูประกาศและผูดําเนินรายการ ควรใชเสียงออ นวอนหรือขอรองเพอ่ื ใหเ กดิ ความเห็นใจ -การอานบทปลุกใจ เพ่ือเรา ใจใหกลาหาญหรือกระตือรือรน ผปู ระกาศ และผดู าํ เนินรายการตอ งใชเสียงเด็ดเดีย่ ว หนักแนน มั่นคงและจริงจัง -การอานเรื่องโศกเศรา ผูประกาศและผูดําเนินรายการควรอาน ทอดเสียง เอ้ือนเสียงใหยาวกวาปกตแิ ละใชน้ําเสียงที่แสดงถึงการมคี วามรูสึกเศราโศกสอดคลองไป กับอารมณของเนอื้ หา 6.4 เทคนิคตางๆ ในการฝกฝนทักษะการอานออกเสยี งรอยแกว การอานรอยแกวนั้นเปนทักษะการอานถอยคําท่ีมีผูเรียบเรียงหรือประพันธไวโดยการเปลง เสยี ง และวางจังหวะเสียงใหเปนไปตามความนิยมและเหมาะสมกับเรือ่ งที่อาน มีการใชลลี าของเสียง ไปตามเจตนารมณของผูประพันธ เพ่ือถายทอดอารมณน้ันๆ ไปสูผูฟงผูชม ซึ่งจะทําใหกลุมผูรับสาร เกิดอารมณร ว มคลอยตามไปกับเรอื่ งราวขอ มูลขา วสารเน้ือหาสาระหรอื รสของบทประพันธ การอาน รอยแกวที่มีคุณภาพนั้นตองอาศัยเทคนิคสําหรับการอานรอยแกวเขามาชวยทําใหนาฟงนาสนใจนา ติดตาม ประกอบดวยวธิ ีการดงั น้ี (เสาวณยี  ชศู รี 2556) 1) เทคนิคการอา นรอ ยแกว ใหเปน เสียงพูด ไมใ ชเ หมอื นกาํ ลงั ทองมนตห รอื บทสวด เพราะ จะทาํ ใหผ รู ับสารขาดความสนใจไปไดถารบั ฟง ไปไดสกั ระยะหนง่ึ 2) เทคนคิ การใชคําข้นึ ตนใหด งั และชากวา ปกติเลก็ นอย เพอื่ ใหผูฟงผชู มต้ังใจฟง แลว จงึ ผอ นเสียงลงเปนปกติ และเร็วข้นึ จนถงึ วรรคสดุ ทา ยของประโยคเร่ิมตน 3) เทคนคิ การควบคุมนํา้ เสยี งใหมลี ีลาไหลล่นื เปนไปตามเน้อื หาของเรอ่ื งที่แตกตา งกนั ในแต ละชวงแตล ะสถานการณข องเร่อื ง ดังน้ันการใชน ํา้ เสยี งจงึ ตอ งมคี วามแตกตางกัน 87

4) เทคนิคการอา นทอดจงั หวะ เชน การกลาวเร่อื งราวเปนขอๆ เม่อื จะจบขอ ความแตล ะขอ ควรทอดจงั หวะทท่ี า ยคาํ ของขอ ความนัน้ ไมออกเสียงหวนหรือส้ันที่ทายคํา เชน “ศีลหา คือ เวนการ ฆาสัตว เวนการลักทรัพย เวนการประพฤตผิ ิดในกาม เวนการพูดปด และเวนการดืม่ เคร่ืองดอง ของเมา” ควรทอดเสียงคําที่ขีดเสนใต เพ่ือแสดงวาขอความยังไมจบ ยังมีตออีกจึงทอดเสียงไว ใน ความคิดของผูเขียนเอกสารคําสอน คือ “ตองออยอิ่ง” ไวสักหนอย เพ่ือท้ิงจังหวะและเวลาใหผูฟง ผูชมจินตนาการไปกับเรือ่ งราวที่กําลังรบั ฟง ดว ย 5) เทคนิคการเวน วรรคตอนเพือ่ หยุดหายใจ ควรหยดุ ในจุดทจี่ บวรรคหรือจบคํา แตห ากไป หยดุ ผิดท่ี คือ หยดุ ระหวา งคํา อาจทําใหความหมายของคําผิดไปได เชน “การออกกาํ ลงั กาย….เปน ประจํา….จะทําให….สุขภาพแข็ง……แรงไมมี…..โรคภัยเบียดเบียน” ถาหยุดหายใจผิดที่ผิดทาง เชนน้ีความหมายของประโยคน้ีจะผดิ เพี้ยนไปทนั ที 6) เทคนิคการเนนถอ ยคําท่สี าํ คัญ ไมวาจะเปนการอานรอยแกวทางส่ือวิทยหุ รอื สื่อโทรทศั น ถือเปนสิ่งสําคัญมาก หากเนนผิดที่ ความสําคัญของประโยคอาจคลาดเคล่ือน ผูฟงผูชมจะเขาใจ ความหมายไมชดั เจนตามทต่ี ัง้ ใจไวหรือตามท่ีควรเปน การใชเคร่อื งหมายวรรคตอนในการฝก อา นออกเสียงขอ ความรอยแกว โดยมจี ดุ ประสงคเ พ่ือเปน การเวน ชว งจังหวะการอา น ดงั นี้ 1) เครื่องหมาย / หมายถึง การหยดุ เวนชว งจงั หวะส้ันๆ 2) เครื่องหมาย // หมายถึง การหยดุ เวน ชวงจังหวะทยี่ าวกวาเคร่ืองหมาย / 3) เครื่องหมาย _ (ขดี เสน ใต) หมายถึง การเนน หรือการเพม่ิ น้ําหนกั ของเสียง โดยมี “บทตัวอยาง” สําหรับการฝก อา นออกเสยี งขอ ความที่เปน รอ ยแกว เชน “วธิ กี ารอาน แบบบรรยาย” ท่ีตอ งฝกใหมีการอานออกเสียงอยางถูกตอง ชัดถอยชัดคํา เวนวรรคตอนในการอาน ใหเหมาะสม เนนเสียงและถอยคําตามคําตามนํ้าหนักความสําคัญของใจความ เพ่ือจะชวยใหผู ประกาศและผดู าํ เนินรายการท่ตี อ งการฝกเขาถึงจดุ มงุ หมายของเรื่องไดด ี แบงเปน 2 ประเภท ไดแก ประเภทที่ 1 การฝกอานออกเสียงรอยแกวแบบบรรยายไมเนนการ แสดงอารมณ ในปจจุบันกลาวกันวา/มนุษยเรากําลังอยูในยุคดิจิทัลหรือเรียกอีกอยางวาโลกยุค สงั คมสารสนเทศ//แตไมวาพวกเราจะเรียกอยา งไรก็ตาม/การอาน/ยังคงเปนกระบวนการสําคัญอยาง ยง่ิ ในการพัฒนามนุษยในทุกยุคทุกสมัย/เพราะโลกของการเรียนรูกวางใหญไพศาลย่ิงนักและมนุษย สามารถคนหาขอมูลไดดวยตนเองอยางงายดาย/และรวดเร็ว//การเขาถึงขอมูลขาวสารดูวาจะ กลายเปนเร่ืองเล็กนอยซะเหลือเกิน/ โลกใบน้ีดูเล็กลงไปอยางที่ไมเคยรูสึกเชนน้ีมากอน/การ ติดตอส่ือสารกับครอบครัว เพื่อนฝูงสามารถทําไดเพียงปลายน้ิวสัมผัสกับแปนคอมพิวเตอรหรือ 88

หนา จอโทรศัพทม ือถือ//ผูคนท่ัวโลกสามารถสงขาว สงขอมูล สงความรักความคิดถึงใหกันและกันได ตลอด 24 ช่ัวโมง//ณ บัดน้ีมนุษยไดทลายกําแพงเวลาและสถานท่ีออกไปจนหมดสิ้นแลว/ดวย เทคโนโลยีสมัยใหมท่ีเรียกวาเปนระบบดิจิทัล/เรามีสื่ออินเทอรเน็ต/เรามีโซเชียลมีเดียซึ่งเปน เคร่ืองมือสําคญั ในการติดตอ ของคนในยุคน้ี/เมื่อมองไปในอนาคต/เราทุกคนคงพอจะคาดเดาไดวา// โลกใบนจี้ ะนาอยเู พยี งใด//หรือจะสบั สนวุนวายแคไหนถาเราไมสามารถควบคุมการติดตอส่ือสารให อยูใ นขอบเขตท่เี หมาะสมได/ เพราะทุกอยางมีท้ังคุณและโทษ/ดังนัน้ สงิ่ ท่ีมนุษยเราในยุคน้ีตองฝก ฝน ใหม ากข้ึนคือ/การรูเทา ทันส่อื ดิจทิ ัลน่นั เอง ประเภทท่ี 2 การฝกอานออกเสียงรอยแกวแบบบรรยายเนนการแสดง อารมณ ลมโชยเย็นสบายพัดเอาใบไมป ลิวไปทวั่ ทองทุงนาเขียวขจี/เสียงนกรองผสมกับเสียงขลุยที่ ชายหนุม มาน่งั เปา รอหญงิ สาวคนรกั ของเขาท่ีชายทงุ /ดวยทาํ นองเพลงไพเราะเสนาะห/ู แดดรม ลมตก แสงตะวันกําลังคลอยลงตาํ่ หาเสนขอบฟาอยไู กลๆ /ใจของหนุมนาหนา ซือ่ ผูหลงใหลในตวั ผูสาวอยาง เต็มลน ในจติ ใจทกุ วนั คืนแสนตื่นเตน/เฝาคอยใหถงึ เวลาที่นัดพบกับสาวคนรักของเขาในทกุ เย็นครา ตะวันจะตกดิน/ชายหนุมผูนใี้ ชเ สียงขลุย เรียกนางเปนสัญญาณที่สญั ญากันไว//ยามใด/เมือ่ ไดยินเสียง ขลุยของพี่/โปรดจงรูน ะคนดีวาพมี่ ารอนาง// เมอ่ื ยามไดพ บหนา กนั แมเ พียงเปน เวลานอยนดิ /แตเปนชวงเวลาของชีวิตท่ีทําใหคิดและฝน ไปไกล/วา สักวันหนง่ึ จะขอรวมชายคากับคนรักตลอดไปไมจากกัน/จะรวมสรางความฝนใหเปนจริง จะมีทกุ สง่ิ ท่ีปรารถนาดวยกนั ใหจ งได/ แมจ ะมใิ ชค นมที รพั ยสนิ เงนิ ทองมากมาย/แตห ัวใจท่ีมีใหกับเธอ นั้นมันเกินรอย/อยากใหรแู ละรับฟงบอ ยๆ วา/เขาจะยอมทุมเทกายใจ/เอาไวใหกับเธอเพียงผูเดียว// แมเ วลาผนั ผา นไปนานเพียงใดแตใจของเขาน้นั จะมีเพียงหญิงสาวคนน้ีเทา นั้น/เขาต้ังใจวาจะยอมทํา ทุกอยางเพื่อใหเธอสุขสบายท้ังกายและใจไรทุกขกังวล/ไมม ีสิ่งใดมาทําใหตองหมองหมนกับชีวิต// เม่อื เขาคดิ ไดเ ชน นี้จึงทําใหเ กิดมพี ละกําลังมหาศาลในการทํางานตอสูดิ้นรนตอไป/ดวยใจที่แข็งแกรง แรงกลา /รอเวลาเพยี งใหถึงวนั น้ัน//วนั สําคัญของเขาทั้งสองคน/จวบจนสิ้นสุดลมหายใจ/ความรักที่ มใี หกนั และกัน/จะดาํ รงอยูทุกวนั ไมเ สือ่ มคลาย/เขาสาบานเอาไวตอ หนาฟาดนิ /สุดแตฟาจะลิขิตชีวิต รักของเขาและเธอ/ใหเปน ไปตามบุญกรรมท่ีรว มทํากันไว 89

การฝกฝนภาคปฏบิ ตั ใิ หพัฒนาย่งิ ขึน้ ดวยการประเมินคุณภาพของการ อา นออกเสียงรอ ยแกว (หองสมุดสาํ นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา 2558) โดยกําหนด วธิ กี ารตางๆ ดงั นี้ ตารางที่ 6.1 แสดงการกาํ หนดภารกิจตัวผปู ระเมนิ ลาํ ดบั ที่ ภารกิจ 1. หัวหนา กลมุ เปน ผปู ระเมิน 2. ตวั แทนกลุมผลัดกันประเมิน 3. ใหมีการประเมินโดยเพือ่ นนักศกึ ษา ตารางที่ 6.2 แสดงรายละเอยี ดหวั ขอการประเมินคุณภาพของการอา นออกเสียงรอ ยแกว ชอื่ – สกลุ การแบง ออกเสยี ง การใช การเนน ของ วรรคตอน ชดั เจน น้ําเสยี ง อารมณที่ รวม ลําดบั นกั ศกึ ษา ถูกตอ งตาม เหมาะสมกบั 20 ท่ี ผูรับการ อกั ขรวธิ ี เน้อื หา คะแนน ประเมิน 43214321432143214321 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9 10. ตารางที่ 6.3 แสดงเกณฑการใหคะแนน เกณฑก ารใหค ะแนน ดมี าก 4 ดี 3 พอใช 2 ปรบั ปรุง 1 90

ตารางที่ 6.4 แสดงเกณฑก ารตดั สินคณุ ภาพ ชว งคะแนน เกณฑก ารตัดสินคณุ ภาพ 18-20 14-17 ระดับคุณภาพ 10-13 ดมี าก ต่ํากวา 10 ดี พอใช ปรบั ปรุง ตารางที่ 6.5 แสดงสรปุ ผลการประเมินคุณภาพของการอา นออกเสียงรอยแกว 1) ระดับคณุ ภาพดมี าก จํานวน……..คน คิดเปนรอยละ..... 2) ระดบั คุณภาพดี จาํ นวน…....คน คิดเปน รอ ยละ….. 3) ระดบั คุณภาพพอใช จาํ นวน…….คน คดิ เปน รอยละ…… 4) ระดบั คณุ ภาพปรับปรงุ จาํ นวน……คน คดิ เปนรอ ยละ……. การฝกฝนภาคปฏิบัติเชนน้ี จะทําใหเกิดการแขงขันในทางท่ีสรางสรรค คือ แขงกันพัฒนา ตนเองใหมีความชํานาญท่ีมากย่ิงๆ ขึ้นไป โดยสามารถนําตัวอยางหัวขอรายละเอียดการประเมิน คุณภาพของการอา นออกเสียงรอยแกว นไี้ ปใชกบั การประเมนิ สําหรบั การอานในลักษณะอ่นื ๆ ไดด วย 91

ตวั อยางโจทยแบบทดสอบการอานออกเสยี งตา งๆ ดงั น้ี 1) แบบทดสอบออกเสยี งจากบทรอ ยแกว อัลมาเจสต (Almagest) หนังสอื ดาราศาสตรข ายดที ีส่ ุดในโลก คนสมัยโบราณใชการเคลอื่ นท่ีของดวงดาวและดวงอาทิตยเพื่อประกอบการพยากรณอนาคต หรอื ใหดูการเปลี่ยนแปลงของฤดกู าลและดินฟาอากาศ สมัยนัน้ มีผูเขียนปรากฏการณบนฟากฟาเปน หนังสือ ชื่อ อัลมาเจสต เขียนโดย ปโตเลมี (Ptolemy) นักดาราศาสตรชาวกรีก เมื่อชวงตน ศตวรรษที่ 2 มีท้ังหมด 13 เลม เนื้อหาเก่ียวกับดวงอาทิตย ดวงจันทร ตําแหนงดาว สุริยคราส จันทรคราส ระบบสุริยะ เปนตน แตเนื้อหาของหนังสือเลมน้ีอางอิงทฤษฎีโลกเปนศูนยกลางของ จักรวาล ทําใหไมสามารถอธิบายทุกอยางได นักดาราศาสตรชาวอิสลามเรียกหนังสือเลม นี้วา “อัลมา เจสต” หรือ “เร่ืองยิ่งใหญ” โดยในหนังสือเลมนี้กลาวถึงกลุมดาวเอาไว 48 กลุม หรือประมาณ คร่งึ หนึง่ ของกลมุ ดาวในปจจุบนั ที่มที ้ังหมด 88 กลุม ท่มี า: ลองฮอรน บีเทลิ (2552) นทิ านดวงดาวแสนสวย 30 เรื่อง กรงุ เทพฯ: นานมบี คุ สพ ับลิเคช่นั ส หนา 110. 2) แบบทดสอบออกเสยี งจากบทรอยแกวเทิดพระเกยี รติฯ รางวลั ชนะเลิศ การประกวด “พอหลวงของปวงชนชาวไทย” โดยนางสาวอาภาพร ไขถาวร นักศึกษาช้ัน ปวช. 3 สาขางานกอสราง วทิ ยาลยั เทคนิคสงิ หบ ุรี พอ คือ ผทู ่ใี หกาํ เนิดและเปน ผูทมี่ ีพระคณุ ของเรา แตผ ูทเ่ี ปน พอของคนไทยทุกคน คงไมม คี าํ อื่นใดเหนือคําวา “พอหลวง” ของพวกเราทุกคนเปน แน เมือ่ เร่ิมจะเขียนคาํ บรรยายถึงคําวา “พอหลวง” ของคนไทยทกุ คนแลว กม็ ีอาการทีบ่ อกไม ถูก ไมรูจะสรรหาคําใดมาเขียน พรรณนา รูเพียงแตวามีอาการเหมือนขนลุกซู และเร่ิมมีความรูสึก เหมือนหัวใจพองโต ความรูสึกปลาบปล้ืมใจ ภูมิใจ และมีความรักความหวงใย ที่มอบใหกับพระองค ทานมากมายเหนือสิ่งอ่ืนใดที่จะเขียนบรรยาย รูแตเพียงวาไมวาใครๆ ก็แลวแตก็คงจะมีอาการที่ไม ตางจากกันเมื่อพูดถึงพระองคทาน ความรูสึกนี้ยอมถายทอดออกมาไมหมด พระองคทานเปนผูให เปนผูท่ีทําใหพวกเรามีความสุข ทรงเปนที่ยึด เหน่ียวจิตใจของคนไทยทุกคน ยามใดที่พวกเรา เดือดรอนพบกับปญหามากมายเพียงใด เมื่อไดฟงพระราชดํารัสจากพระองคทาน ความ ทุกขและ ความเดือดรอนเหลาน้ันก็จะหมดและหายไปในท่ีสุดและเราก็จะไดพบกับ รอยย้ิม ทุกพ้ืนท่ีในแตละ ภาคของประเทศไทยที่พบกับความเดอื ดรอน ไดพบกับ อุทกภัย วาตภัย ภยั ธรรมชาติใดๆ ก็แลวแต เพยี งพระองคท า นชแี้ นะแนวทางแกไข ไมวาจะเปน โครงการใดๆ ทีพ่ ระองคท รงโปรดเกลาฯ ใหจัดทํา ขึน้ ทกุ โครงการตามพระราชดํารกิ ท็ าํ ใหความเดอื ดรอ นตางๆ ผอนคลายลงและกลายเปนความปล้ืมปติ 92

ถงึ แมจ ะมนี ้าํ ตาแตก็จะมีรอยย้มิ มาทดแทนท่ีน้ําตานั้นเสมอ พระองคทานทรงหวงใยและคอยดแู ลลูกๆ ของพระองคใหคลายจากความทุกข พระองคจะคอยดูแลความเปนอยูของคนไทยและทรงคอย เตือนสติคนไทยใหมีความเปน อยูอยางพอเพียง สามารถพึ่งพาตนเองได เพื่อใหเราอยูกันอยางเปน ธรรมชาติ พ่ึงพาอาศัยซึ่งกันและกัน ไมเบียดเบียนกันตามทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงของพระองคทาน รวมถึงมีชวี ติ ทร่ี าบเรยี บอยูกนั อยางสงบสขุ ไมเ ขน ฆา กนั เดอื นมิถนุ ายนน้ี เปน เดอื นที่พระองคทานทรงครองสิรริ าชสมบัตคิ รบ 60 ป ขา พเจาและลูกๆ คนไทยทกุ คนขอรวมดวงใจตั้งจติ อธษิ ฐานใหองคพระบาทสมเด็จพระเจา อยูหวั จงมี พระชนมายุยงิ่ ยืน นาน มีพระพลานามยั ที่แข็งแรง ทรงอยูเปนรมโพธิ์รมไทรเปน ศนู ยรวมจิตใจของคนไทยทุกๆ คน และ ขา พเจาจะขอยึดม่ันในการทําความดีเพื่อเทดิ ทนู พระคุณของพระองคทานตราบนานเทานาน สรปุ เนอื้ หาสาระในบทนี้ คอื นกั ศกึ ษาไดทราบถงึ ขอ พึงปฏบิ ัตใิ นการอานรอ ยแกว หลกั การอานออกเสยี งบทรอ ยแกว การคํานึงถึงองคป ระกอบในการอานออกเสียงรอยแกว จุดมุงหมายของการฝกฝนการอานออกเสียง รอยแกว เทคนิคตางๆ ในการฝกฝนทักษะการอานออกเสียงรอยแกว ฝกการอานออกเสียงแบบ บรรยายไมเ นน การแสดงอารมณและเนนการแสดงอารมณ ฝกฝนภาคปฏิบัติใหพัฒนายิ่งข้ึนดว ยการ ประเมินคุณภาพของการอานออกเสียงรอยแกว ฝกฝนภาคปฏิบัติกับแบบฝกหัดการอานออกเสียง ตางๆ โดยกระบวนการเรียนรูเหลานี้ ลวนตองการใหนักศึกษามีทั้งความรูภาคทฤษฎีและไดฝกฝน ภาคปฏิบัตเิ พอื่ ทีจ่ ะสามารถนาํ ไปฝก ฝนดว ยตนเองไดต ลอดเวลา 93

แบบฝก หัด เพือ่ ทบทวนความรูและความเขา ใจ แบบฝก หัดทา ยบทของทุกบท เพ่อื การกระตุนความต่นื ตวั ในการเรยี นรูและนาํ ไปสกู าร จดจําไดอยางลกึ ซ้งึ ดวยการใชค ําถามท่ีตองอธบิ ายความและยกตัวอยา งประกอบ ซงึ่ ตอ งใชความเขา ใจจากการเรยี นรแู ละฝกปฏิบตั อิ ยา งสม่าํ เสมอ 1. ขอ พึงปฏิบัติในการอานรอ ยแกว มอี ะไรบา ง 2. หลักการอานออกเสียงบทรอ ยแกว เปนเชนไรบา ง 3. องคป ระกอบในการอานออกเสยี งรอ ยแกว ประกอบดวยอะไรบา ง 4. จุดมงุ หมายของการฝกฝนการอานออกเสียงรอยแกว เปนเชนไร 5. เทคนคิ ตางๆ ในการฝก ฝนทักษะการอา นออกเสยี งรอ ยแกว มอี ะไรบา ง 6. การอานออกเสยี งรอ ยแกวแบบบรรยายไมเนนการแสดงอารมณ เปนอยา งไร อธิบาย 7. การอานออกเสียงรอ ยแกว แบบบรรยายเนน การแสดงอารมณ เปนอยา งไร อธบิ าย 8. การประเมนิ คุณภาพของการอานออกเสียงรอ ยแกว มีประเดน็ ใดบาง อธิบาย 9. ใหนักศึกษาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการอานรอยแกวของผปู ระกาศและผูดําเนินรายการ ในยุคปจจุบันวาเปนเชนไร ควรปรับปรุงหรือแกไขตรงไหนหรือไม หรือควรฝกฝนดานใด เพมิ่ เติม 10. ใหน ักศึกษายกตัวอยางผูประกาศและผูดําเนนิ รายการทตี่ นเองประทับใจและคิดวาทําหนา ท่ี ในการอา นรอยแกวไดดี รวมทั้งอธบิ ายจดุ ดีของบุคคลทย่ี กตวั อยางมาดว ยวามอี ะไรบา ง 94

จุดประสงคข องการเรียนรูใ นบทน้ี 1. นกั ศกึ ษาไดร บั รแู ละเขา ใจความหมายของรอ ยกรอง 2. นกั ศึกษาไดร ถู ึงหลกั เกณฑและฝกฝนการอา นออกเสียงรอ ยกรองจนนําไปใชได 3. นกั ศึกษาไดร ถู งึ การเตรียมการและขอควรปฏิบัตใิ นการอา นบทรอยกรอง 4. นักศึกษาไดรูถงึ เทคนคิ และฝกฝนการอา นออกเสยี งรอ ยกรอง 5. นกั ศกึ ษาไดท ราบถงึ ปจจยั ตางๆ เกยี่ วกับการอา นออกเสียงรอ ยกรอง 6. นักศึกษาไดรับรูจนเขาใจและฝกฝนวิธีการอานทํานองเสนาะจากคําประพันธและ สามารถนาํ ไปใชไ ดใ นการปฏบิ ัติงานจริง 7.1 ความหมายของรอ ยกรอง รอ ยกรอง หมายถึง คําประพันธท่เี รยี บเรียงขึ้นโดยขอบังคบั จํากดั คําและวรรคตอนให สัมผัสกนั ไพเราะตามเกณฑท ี่ไดว างไวใ นฉนั ทลกั ษณ มคี ําที่ใชเ รยี กแตกตา งกนั หลายๆ อยาง เชน คํา ประพนั ธ คําประพันธร อยกรอง กาพยกลอน กวีนพิ นธ หรอื บทกวี เปนตน “รอยกรอง” บางครง้ั เรยี กวา บทกวหี รือกวีนิพนธ คําวา รอยกรองเปน คาํ ที่สํานักวัฒนธรรมทางวรรณกรรม กําหนดขึ้นใช เรยี กวรรณกรรมทีม่ ีลักษณะบังคับในการแตง เพอื่ ใหเ ขาคกู ับคาํ วา \"รอ ยแกว \" (กรเอก เผ่ือนผัน 2558) นอกจากนน้ั ยังมีผใู หคาํ จาํ กัดความของรอยกรองไวห ลากหลาย ไดแก พระเจาวรวงศเธอ กรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ (2514) ทรงอธิบายวา รอ ยกรอง คอื การ เรียงถอยคําตามระเบยี บขอบังคบั ไดแก มาตราฉันทลษั ณ คํารอ ยกรองเปนสว นประกอบของกวี นิพนธเ ทาน้นั ไมใชแกนสารของกวีนิพนธ พระยาอนุมานราชธน (2515) ไดใหความหมายของรอยกรองไววา หมายถึง โคลง ฉันท กาพย กลอน ซ่ึงมีถอยคําท่ีนํามาประกอบกัน มีขนาดมาตราเสียงสูงตํ่าหนักเบาและส้ันยาวตาม รูปแบบ (Pattern) ทก่ี าํ หนดไว รูปแบบท่ีกําหนดน้ีมีมากมาย ไมจําเปนตองมีเฉพาะแตท่ีกําหนดไวใน ตาํ ราซึง่ วาดว ยการแตง โคลง ฉันท กาพย กลอน หรอื ฉันทลกั ษณ 95

ชลธริ า กลดั อยู (2517) ไดใ หความหมายของรอยกรอง ไว 2 ระดบั คือ ระดบั แรก หมายถงึ ถอยคํา สํานวน ภาษาทเี่ รียบเรยี งขึ้นอยางมีบทบัญญัติมีกฎเกณฑห รือเรยี กกันทั่วไปวามีฉันทลกั ษณ ตามแบบโบราณ ระดับสอง หมายถึง ถอ ยคาํ สาํ นวน ภาษาทเี่ รียบเรยี งขึน้ อยางมบี ทบัญญตั ิหรือฉันท ลักษณต ามแบบที่มีมาแตเดมิ และรวมถึงฉนั ทลกั ษณท ีผ่ ูแ ตงคดิ ข้ึนเองได สิทธา พนิ ิจภูวดล และนติ ยา กาญจนวรรณ (2520) ไดอธบิ ายวา รอยกรองเปน ขอ เขยี นท่ีมี การจาํ กัดจํานวนคําหรือพยางค จํากดั ความยาว มกี ารกําหนดเสียงสงู ตํ่า กําหนดเสยี งสัน้ ยาว หนัก เบากําหนดสมั ผัสและกาํ หนดจังหวะไวอยางแนนอน สรปุ ไดวา รอ ยกรอง คือ งานเขยี นทผ่ี สมผสานระหวา งวิธีการใชส าํ นวนภาษาและศิลปะการ ใชคําที่มีกฎเกณฑทแี่ นน อนตามแบบวธิ ีฉันทลักษณโ บราณหรอื อาจคดิ สรางสรรคข นึ้ มาใหมก็ได เพอ่ื ใหส อดคลองกับยคุ สมัย โดย “ชนิดของรอยกรอง” น้ัน ผูประพนั ธจ ะเลือกใชชนดิ ของรอยกรอง ใหเ หมาะสมกบั ความคิดและเนอ้ื หาทตี่ องการนําเสนอใหผูอานไดรบั ทราบ ดังนี้ (พงศศกั ดิ์ สังขภญิ โญ 2558) 1) โคลง เปนรอ ยกรองทีม่ ีวธิ เี รยี บเรยี งถอ ยคําเขาคณะโดยกาํ หนด คาํ เอก คําโท และสมั ผสั เปนสาํ คญั โคลงแบง ออกเปน 3 ชนดิ คือ โคลงสภุ าพ โคลงดน้ั และโคลงโบราณและยังแบงยอย ออกไปแตล ะประเภท เชน โคลงสอง โคลงสาม โคลงสี่ โคลงกระทู โคลงดั้นบาทกญุ ชร เปนตน 2) ฉนั ท เปน รอ ยกรองที่มีระเบียบบังคบั คาํ หนักคาํ เบา หรือ คาํ ครุ คําลหุ เปน สําคญั นอกจากน้ันกบ็ ังคบั ในเร่ืองคณะและสมั ผสั ดวย ฉนั ทมีหลายชนิดแตที่นยิ มแตง คอื อนิ ทรวเิ ชียรฉนั ท วสันตดิลกฉันท มาลินีฉนั ท วิชชุมมาลาฉนั ท เปน ตน 3) กาพย เปน รอ ยกรองที่มีระเบยี บบังคับคลายกับฉันทเพยี งแตกาพยม ิไดกําหนดครลุ หุ ดงั น้นั กวีโบราณจึงนยิ มแตงฉันทป นกับกาพย ซ่ึงเรียกวา คาํ ฉันท เชน สมุ ทรโฆษคําฉนั ท สามคั คเี ภท คาํ ฉันท เปน ตน กาพยม ีหลายชนดิ แตที่นยิ มแตงมี กาพยฉ บัง กาพยหอโคลง กาพยข บั ไม กาพย สรุ างคนางค เปนตน 4) กลอน เปน รอยกรองประเภททบ่ี งั คบั คณะ สมั ผสั และเสียงวรรณยุกต เนื่องจากเปนรอ ย กรองทีแ่ ตง งา ย จึงมีคนนยิ มมากกวา รอยกรองประเภทอ่ืน ซ่งึ แบง ออกเปน กลอนสุภาพ กลอนสกั วา กลอนดอกสรอย กลอนเสภา กลอนบทละคร กลอนเพลง เปน ตน 5) รา ย เปน รอยกรองประเภททีบ่ ังคบั คณะ สัมผสั และบางชนิดก็บังคับคําเอกคาํ โทดวย ลกั ษณะคณะของรายจะไมมีการกาํ หนดวา ตองมบี ทละกีว่ รรค จะแตง ยาวเทาไรก็ได เพยี งแตใหม ี สัมผสั ทุกวรรคและจบลงตามขอ บงั คับเทา น้ัน ซึ่งแบง ออกเปนรา ยสภุ าพ รายดนั้ รา ยยาว รายโบราณ 6) ลลิ ิต เปน รอยกรองทปี่ ระกอบไปดว ย รา ย และโคลงแตงสลับกันเปนเรอื่ งยาวโดยมกี าร รอยสัมผสั ลิลติ มี 2 ชนิด คอื ลิลิตสภุ าพ (โคลงสุภาพแตง สลับรายสภุ าพ) และลิลิตด้นั (โคลงดนั้ แตง สลับกบั รายด้ัน) 96

7) กลอนเปลา เปนงานเขยี นชนดิ หนึ่ง ตรงกับคาํ ภาษาอังกฤษวา Blank Verse หรือ Free Verse ซง่ึ สังคมไทยรับมาจากประเทศทางตะวันตก กลอนเปลา จะไมม ีขอบงั คับทางฉันทลักษณ ผูประพนั ธม ีอสิ ระในการแสดงความคิดและใชค าํ ไดอยางเตม็ ท่ี รอยกรองประเภทกลอนเปลา ในยุค ปจจุบันกาํ ลังไดรับความนยิ มอยา งมาก 7.2 หลักเกณฑใ นการอานออกเสียงรอ ยกรอง (ประสิทธิ์ กาพยกลอน 2523) ประกอบดวย 1) ศึกษาลักษณะบังคบั ของคําประพนั ธ เชน การแบง จังหวะจาํ นวนคําสัมผัสเสียง วรรณยกุ ต เสียงหนกั เบา เปนตน 2) อานใหถูกตองตามลักษณะบังคบั ของคาํ ประพันธ 3) อา นออกเสยี ง ร ล คาํ ควบกลํ้าใหช ดั เจน 4) อา นออกเสียงดังใหผฟู งไดย ินทว่ั ถึง ไมด ังหรอื คอ ยจนเกินไป 5) คาํ ทีร่ บั สมั ผัสกันตอ งอา นเนนเสียงใหชัดเจน ถา เปน สมั ผัสนอกตองทอดเสยี งใหมีจังหวะ ยาวกวาธรรมดา 6) มศี ลิ ปะในการใชเ สียง เอื้อนเสียง และทอดจงั หวะใหชา จนจบบท การอานออกเสียงบทรอ ยกรอง สามารถอานได 2 แบบ ดงั นี้ 1) อา นออกเสยี งธรรมดา เปน การอา นออกเสียงพดู ตามปกติเหมือนกบั อานรอ ยแกว แตมี จงั หวะวรรคตอน 2) อานเปน ทํานองเสนาะ เปนการอา นมีสาํ เนียงสงู ตํา่ หนัก เบา ยาว สนั้ เปนทาํ นองเหมอื น เสียงดนตรี มีการเอ้ือนเสียง เนนสัมผัส ตามจังหวะ ลีลาและทวงทํานองตามลักษณะบังคับของบท ประพนั ธใหชดั เจนและเหมาะสม สามารถอานไดหลายวิธดี งั น้ี 2.1 การขบั ไดแก การขบั เสภา การขบั ลาํ นํากลอมชาง การขบั ลาํ นําสูขวัญ 2.2 การรอง คือ การรองเพลงทาํ นองตางๆ ไดแ ก เพลงไทยเดิม เพลงลกู ทุง เปนตน 2.3 การกลอ ม ไดแก การกลอมพระบรรทม การกลอมเดก็ 2.4 การเห ไดแ ก การเหช มสิง่ ตางๆ การเหเ รือ 2.5 การแหล ไกแ ก การแหลเ ทศน แหลงเพลงตางๆ เชน เพลงขอทาน เปนตน 2.6 การสวด ไดแก สวดสรภญั ญะ การสวดคาํ ฉนั ทบูชาพระคุณครู 2.7 การพากย ไดแก การพากยโขนหรอื ทาํ นองพากยในบทพากยตางๆ 2.8 การวา ไดแ ก การวาเพลงพ้นื บาน เชน หมอลํากลอน เพลงโคราช 97

คณุ คา ของการอา นรอ ยกรองผานวรรณคดเี ปน ทํานองเสนาะ จ ะ ทํ า ใ ห ผู ฟ ง ผู ช ม ส า ม า ร ถ จ ด จํ า เ น้ื อ เ รื่ อ ง ไ ด แ ล ะ เ กิ ด อ า ร ม ณ ค ล อ ย ต า ม ตางๆ เชน สนุกสนาน เจ็บแคน เศรา โศก ตามเนื้อเรื่องไดอยางข้ึนใจ เพราะไดเห็นภาพ ไดยิน เสียง เกิดความประทับใจในรสวรรณคดแี ละจําบทกวไี ดเองโดยไมตองทองจาํ นอกจากผปู ระกาศและผูดําเนินรายการจะไดรับรสไพเราะจากการอานรอยกรองแลว ผูฟง ผูชมก็ไดรับรสไพเราะดวยเชนกัน เพราะทํานองเสนาะของรอยกรองแตละชนิดมีทํานองและให อารมณท ี่แตกตา งกัน เหมือนกบั การรอ งแพลงหรอื ขับลํานําตามทวงทํานองเพลงแตละประเภท การ อานทาํ นองเสนาะจงึ เปนเอกลักษณข องภาษาไทยและคนไทย ดังนั้นผูประกาศและผูดําเนินรายการ ทุกคนจึงควรฝก อานทํานองเสนาะในวรรณคดีเพ่ือสืบทอดมรดกทางภูมิปญญาน้ีใหอยูคูกับประเทศ ไทยตอไปตราบนานแสนนาน การเตรียมการและขอ ควรปฏบิ ตั ใิ นการอานบทรอ ยกรอง การอานบทรอยกรองหรือทํานองเสนาะ ใหไพเราะและประทบั ใจผูฟงมีขอ ควรปฏิบตั ิ ดังน้ี 1) กอนอานทํานองเสนาะควรรักษาสขุ ภาพใหด ี มีความพรอมท้งั กายและใจ จะชว ยใหม ่ันใจ มากขนึ้ 2) ตงั้ สตใิ หม นั่ คง ไมห ว่ันไหว ตน่ื เตน ตกใจ หรอื ประหมา ควรมสี มาธิกอ นอา นและขณะ กาํ ลงั อา น เพ่อื ไมใหเกดิ ขอผดิ พลาด 3) กอ นอานควรตรวจดบู ทอานอยา งคราวๆ และรวดเรว็ เพื่อพจิ ารณาคาํ ยากหรือการผนั วรรณยุกตและอ่ืนๆ 4) พจิ ารณาบททีจ่ ะอาน เพ่ือตัดสินใจ เลือกใสอารมณใ นบทอา นใหเหมาะสมสอดคลอ งกบั เนื้อความ 5) หมน่ั ศึกษาและฝกฝนการอานทํานองเสนาะจากผูร ูเก่ยี วกับกลวธิ ีตางๆอยูเสมอ จึงจะทาํ ใหส ามารถอานทํานองเสนาะไดอ ยา งไพเราะ 7.3 เทคนคิ ในการอา นออกเสียงรอยกรอง การอานออกเสียงรอยกรอง เปนการอานที่มุงใหเกิดความเพลิดเพลินซาบซ้ึงในรสของคํา ประพนั ธ ซง่ึ จะตอ งอา นอยางมจี ังหวะ ลีลาและทวงทํานองตามลักษณะคําประพันธแตละชนิด ดังน้นั จงึ ตอ งฝกฝนเทคนิคในการอา นออกเสียงเปน การเฉพาะ ไดแก -การหยดุ ตามวรรคของคาํ ประพันธน้ันๆ คําหยดุ ใหทอดเสียงเล็กนอ ย -ถา ถงึ คาํ ทีร่ ับกันและแมว า ไมใ ชวรรค ก็ใหท อดจังหวะเล็กนอ ย เพ่อื ใหฟ ง คลอ งจองกัน 98

-ตองอานใหมีอารมณไ ปตามเนื้อเรอ่ื งเหมือนกัน คือ เมื่อถงึ บทดุดัน ก็ใหออกเสียงเขมแข็ง เม่ือ ถึงบทออนหวาน ก็ทอดเสียงใหนุมนวล เม่ืออานผิด ควรกลาวขอโทษหรือขออภัย เพราะถือวาเปน มารยาททด่ี ีในการอา น -ผูอา นทํานองเสนาะไดไพเราะตอ งเปน ผูม ีแกว เสยี งดี นา้ํ เสียงแจมใส คอื มเี สียงใส กงั วาน ไมแ หบแหงหรือแตกพรา เนื่องจากการอานเปนเร่ืองของการใชเสียง เมอื่ จะคัดเลอื กผูอานเขา แขงขันการประกวดการอานทํานองเสนาะ ผทู มี่ ีเสยี งดยี อ มสามารถใชน าํ้ เสยี งอานไดไพเราะจับใจ กวา ผูท่มี ีเสียงแหบแหง สาํ หรบั ผมู ีน้าํ เสียงไมแจมใสถา ฝกหดั ออกเสยี งใหถูกตอง จดจํา ทาํ นอง ลีลา ลักษณะฉันทลักษณของคําประพนั ธแตล ะประเภทได ก็สามารถอานออกเสียงใหนา ฟง ไดแมไมไพเราะเทากบั คนเสียงดีแตค นที่อา นไดถ ูกตองก็ยงั นับวา เปน เสนหอ ยางหน่งึ -ตอ งมคี วามรเู รอื่ งฉนั ทลักษณของบทรอ ยกรองที่จะอา น เชน ถาทราบวา เปนฉันทก ต็ องอา น ใหถูกตองตามครุ ลหุ ของฉันทชนดิ น้ันๆ -จาํ ทํานองเสนาะของรอยกรองแตละชนดิ ไดอยา งแมนยํา ไมหลงทาํ นอง บางคนอา นกลอน จบแลว ตอดว ยกาพยแตอาจหลงอา นกาพยเ ปนทํานองเดียวกบั กลอนอยเู ปนตน -มสี มาธใิ นการอาน ไมอา นตกหลน อานผดิ หรืออา นขา ม บางคนอานขามบรรทัด ทําให ขอ ความไมเ ชื่อมโยงตอเนอ่ื งกัน -รักการอานทํานองเสนาะ หมน่ั ฝก ฝนและมีความเช่ือมนั่ ในตนเอง -เปนผูรกั ษาสขุ ภาพดี รกั ษาแกวเสยี งและนํ้าเสียง ไมนอนดึกจนเกนิ ไป ด่ืมนํา้ อุนเสมอ ไมด ื่ม เคร่ืองด่มื ท่ีมีแอลกอฮอล ชา หรอื กาแฟ ไมตะโกนหรอื กรดี รอ งเสียงดังจนเกนิ ไป -เปนผมู ีบคุ ลิกดี แตงตวั สภุ าพเหมาะสมกบั โอกาส เดินหรอื น่ังตัวตรงไมน ่งั หลังคอมหรอื เดนิ หอ ตัว ยืนยืดอกสงาผาเผย จับหนังสือหรือบทอานใหมั่นคงโดยใชแขนซายหรือมือซายจับหนังสือ มือ ขวาชวยพลิกเปลี่ยนหนาหนังสือ ใหหนังสือหางจากระดับสายตาประมาณ 1 ฟุต หากสายตาส้ันตอง สวมแวน ตา ไมค วรสวมแวน ตาดําเพราะไมส ุภาพ -ซอ มการอาน เมือ่ ไดรับบทอานผูอานจะตองพจิ ารณาบทอานกอ นวา เปน รอยกรองประเภท ใด จําขอ บงั คบั ครุ ลหุ และลลี าการอานใหแมนยํา ลองฝก อา นในใจเพื่อจับใจความและอารมณ ของเร่ือง แลว แบงวรรคตอน แบง ชวงการอา นใหถูกตอง เมอ่ื อานตอ งใหไดอารมณต ามเนอ้ื เรอื่ ง -ระวังการออกเสยี งอักขระใหชัดเจนไมอ านออกเสียงเลยี นเสยี งภาษาตางประเทศ ออกเสียง ตวั ร ล และคําควบกลํ้าใหชดั เจน อานตามทาํ นองตองพจิ ารณาดวยวาทา ยเสยี งชว งใดควรใชเ สียง สูง ชว งใดควรหลบเสียงตํ่า -ศิลปะการใชเ สียง ผูอา นจะตอ งรจู กั การผอนเสยี ง ทอดเสยี ง หลบเสียง เอ้ือนเสยี ง ครัน่ เสยี ง ครวญเสียง กระแทกเสยี ง ดงั น้ี 99

-การใชไ มโครโฟน ไมจ อปากชดิ ไมโครโฟนจนเกินไปจะทําใหเ สียงไมไ พเราะ และไดย ินเสียง ลมหายใจ อาจทาํ ใหผ ูฟง เกิดความรําคาญ -การใชเ สยี ง ควรออกเสยี งใหดังพอเหมาะ ไมต ะโกนหรอื ดดั เสยี งจนไมเปน ธรรมชาติ รูจ กั ใชจงั หวะในการอา นเหมาะสมกับอารมณข องเรือ่ งทอี่ าน เชน เม่ืออานถึงการปลอบโยน ตอ งอา น ชาๆ เนิบๆ เมอื่ แสดงอารมณโ กรธจะตอ งอา นอยางรวดเร็วกระแทกกระทั้น เมือ่ เกิดอารมณ ออนหวาน วิงวอนงอนงอตองอา นใหชา พอดี น้ําเสียงละมุนละไม -การทอดเสยี ง เม่อื อา นใกลจะจบตองอานทอดเสยี งผอนจังหวะใหชา ลง -การหลบเสียง คอื การเปลย่ี นเสียงหรือหักเสยี ง หลบจากเสียงสูงไปเสียงต่ํา เพือ่ ไมตองออก เสียงทีส่ งู เกินไป -การเอ้ือนเสยี ง คือการลากเสียงชาๆ และไวหางเสียงเพื่อใหเ ขา จังหวะและไพเราะ -การคร่นั เสียง คือ การทําเสียงใหสะดุดเมื่ออา นถึงตอนทส่ี ะเทอื นอารมณ -การครวญเสียง คือ การเอื้อนเสยี งใหเ กิดความรสู กึ ตามอารมณข องการราํ พนั วงิ วอน โศกเศรา หรอื คร่าํ ครวญ -การกระแทกเสียง คอื การลงเสียงใหหนักเปนพิเศษ เมอื่ ตองแสดงอารมณโกรธหรอื แสดง ความเขมเข็ง ปจจัยตางๆ เก่ยี วกับการอา นออกเสียงรอยกรอง ประกอบไปดว ยปจจัยดังน้ี 1) ความหมายของบทรอยกรอง บทรอยกรอง หมายถึง ถอยคําท่ีเรียบเรยี งใหเปนระเบียบตามบัญญัติแหงฉันทลักษณโดยมี กําหนดขอบังคบั ตางๆ เพื่อใหเกิดความครึกคร้ืน และมีความไพเราะแตกตางไปจากถอ ยคําธรรมดา ในการอานบทรอ ยกรองนั้น เราเรยี นกวา “การอา นทํานองเสนาะ” 2) ความหมายของ “การอานทํานองเสนาะ” การอานทํานองเสนาะคือ วิธีการอานออกเสียงอยางไพเราะตามลีลาของบทรอยกรอง ประเภท โคลง ฉันท กาพย กลอน บางคนใหความหมายวา การอานทํานองเสนาะ คือ การอานตาม ทํานอง (ทํานอง = ระบบเสียงสูงตํ่า ซ่ึงมีจังหวะส้ันยาว) เพ่ือใหเกิดความเสนาะ (เสนาะ, นาฟง, เพราะ, วังเวงใจ) 3) วัตถุประสงคใ นการอา นทํานองเสนาะ การอานทํานองเสนาะเปนการอานใหคนอ่ืนฟง ฉะนั้นทํานองเสนาะตองอานออกเสยี ง เสียง ทําใหเกิดความรูสึก – ทําใหเห็นความงาม – เห็นความไพเราะ – เห็นภาพพจน ผูฟงสัมผัสดวยเสียง จึงจะเขาถึงรสและความงามของบทรอยกรองท่ีเรียนกวา อานแลวฟงพร้ิงเราะเสนาะโสต การอาน ทาํ นองเสนาะจึงมงุ ใหผฟู ง เขา ถงึ รสและเห็นความงามของบทรอ ยกรอง 100

4) ทม่ี าของการอานทาํ นองเสนาะ ประวัตคิ วามเปนมาใหขอมูลวา การอานทํานองเสนาะมีมานานแลวแตคร้ังกรุงสุโขทัย เทา ท่ี ปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกพอขุนรามคําแหง พุทธศักราช 1835 หลักท่ีหน่งึ บรรทัดท่ี 18 – 20 ดงั ความวา “…ดวยเสียงพาดเสียงพิณ เสียงเลื้อน เสียงขับ ใครจักมักเลน เลนใครจักมักหัว หัวใครจัก มกั เล้ือน เล้อื น…” จากขอความดงั กลาว ฉันทิชย กระเสสินธุ กลา ววา เสยี งเลือ้ น เสียงขับ คือการรอง เปนทํานองเสนาะ สวน ทองสืบ ศุภะมารค ช้แี จงวา เลื้อนตรงกับภาษาไทยถ่ินวา “เล่ิน” หมายถึง การอานหนังสอื เอื้อนเสียงเปนทาํ นอง ซึ่งคลายกับท่ี ประเสริฐ ณ นคร (คณะกรรมการจัดงาน 80 ป ศาสตราจารย ดร. ประเสริฐ ณ นคร 2542) อธิบายวา “เลื้อน” เปนคาํ ภาษาถ่ินแปลวา อานทาํ นอง เสนาะ โดยอา งถึง บรรจบ พนั ธุเมธา กลาววา คําน้ีเปนภาษาถ่ินของไทยในพมา ถือไทยในรัฐฉานหรือ ไทยใหญนั่นเอง จากความคิดเห็นของผรู ูประกอบกับหลักฐานในศิลาจารึกพอขุนรามคาํ แหงดังกลาว ทาํ ใหเ ชอ่ื กันวาการอานทํานองเสนาะของไทยมีมานานหลายรอยปแลว โดยเรียกเปนภาษาไทยถ่ินวา “เลอ้ื น” จากท่ีมาหรือขอมูลประกอบตางๆ ของการอานทํานองเสนาะ จึงพอสันนิษฐานไดวา นาจะ เกิดจากการดําเนินวิถีชีวิตของคนไทยในสมัยกอนทม่ี ีความเกี่ยวของสัมพันธกับการรองเพลงทํานอง ตางๆ ตลอดมา ทั้งน้จี ากเหตุผลทางวัฒนธรรมของสังคมไทยที่สืบทอดกันมา จะเห็นไดวา คนไทยมี นิสัยชอบพูดคาํ คลองจองใหมีจังหวะดวยลักษณะสมั ผัสเสมอ ประกอบกับคาํ ภาษาไทยทมี่ ีวรรณยกุ ต กํากับจึงทําใหคาํ มีระดับเสียงสูงต่ําเหมือนดนตรี เมื่อประดิษฐทํานองงายๆ ใสเขาไปก็ทําใหสามารถ สรางบทเพลงรองข้ึนมาไดแ ลว ดังนั้นคนไทยจึงมีโอกาสไดฟงและชื่นชมกับการรอ งเพลงทํานองตา งๆ ตง้ั แตเ กดิ จนเตบิ โตข้นึ มาทกุ เพศทุกวัย ศิลปะการอานทํานองเสนาะขึ้นอยูกับความสามารถของผูอานและความไพเราะของบท ประพันธแตละประเภท โดยเฉพาะอยางยิง่ ผูประกาศและผูดําเนินรายการท่ีจะอานทํานองเสนาะจึง ตองศกึ ษาวิธีการอานใหไพเราะและตองหม่ันฝกฝนการอานจนเกิดความชํานาญในคราวที่จําเปนตอง ใชทกั ษะความสามารถตรงจุดนใ้ี หเ ปน ทปี่ ระจักษตอ ผูฟงผูชม ซึง่ ข้ึนอยูกับตัวผูประกาศและผูดําเนิน รายการทจี่ ะตองรูจักวธิ ีการอานทอดเสียง โดยผอ นจังหวะใหชาลง การเอื้อนเสียง โดยการลากเสียง ชาๆ เพ่ือใหเขาจังหวะและใหหางเสียงใหไพเราะ การครั่นเสียง โดยทําเสียงสะดุดสะเทือนเพื่อความ ไพเราะเหมาะสมกบั บทกวบี างตอน เปน ตน (มนตรี ตราโมท 2527 อา งถึงใน กิ่งกอย เจรญิ ชพี 2553) 101

5) รสตา งๆ ทีใ่ ชในการอานทํานองเสนาะ 5.1 รสความ ( เรอ่ื งราวทอี่ าน ) ขอ ความท่อี านมีเร่ืองราวเกี่ยวกับอะไร เชน โศกเศรา สนกุ สนาน ตน่ื เตน โกรธ รกั เวลาอา นตอ งอา นใหมีลลี าไปตามลกั ษณะของเน้อื เรือ่ งน้นั ๆ ตวั อยาง : บทโศกตอนท่ีนางวันทองไปสงพลายงามใหไปหายา ทองประศรีทสี่ ุพรรณบรุ ี ลูกก็แลดูแมแมดูลูก ตา งพันผกู เพยี งวา เลือดตาไหล สะอ้นื รา่ํ อาํ ลาดวยอาลัย แลวแขง็ ใจจากนางตามทางมา เหลียวหลังยงั เหน็ แมแ ลเขมน แมกเ็ ห็นลกู นอยละหอ ยหา แตเ หลียวเหลียวเลีย้ วลบั วบั วิญญาณ โอเ ปลา ตาตา งสะอื้นยืนตะลึง (เสภาขุนชา งขุนแผน ตอนกําเนดิ พลายงาม : สนุ ทรภ)ู 5.2 รสถอย (คาํ พดู ) แตละคํามีรสในคําของตัวเอง ผูอา นจะตอ งอา นใหเ กดิ รสถอย ตัวอยา ง ไมเหมือนแมนพจมานทห่ี วานหอม สกั วาหวานอื่นมหี ม่ืนแสน กลิน่ ประเทยี บเปรียบดวงพวงพะยอม อาจจะนอ มจติ โนม ดว ยโลมลม แมนลอลามหยามหยาบไมปลาบปลม้ื ดงั ดดู ด่มื บอระเพด็ ท่ีเข็ดขม ผดู ีไพรไมประกอบชอบอารมณ ใครฟงลมเมนิ หนา ระอาเอย (พระเจาวรวงศเ ธอกรมหลวงบดินทรไ พศาลโสภณ) 5.3 รสคลองจอง ในบทรอ ยกรองตอ งมคี าํ คลอ งจอง ในคําคลอ งจองนน้ั ตอ งใหอ อก เสยี งตอเนอื่ งกนั โดยเนน สมั ผัสนอกเปน สาํ คญั เชน ถงึ โรงเหลา เตากล่ันควนั โขมง มีคนั โพงผูกสายไวปลายเสา โอบ าปกรรมน้ํานรกเจียวอกเรา ใหม วั เมาเหมอื นหนึง่ บาเปนนาอาย ทําบุญบวชกรวดนํ้าขอสําเรจ็ พระสรรเพชรโพริญาณประมาณหมาย ถึงสุราพารอดไมวอดวาย ไมใ กลก รายแกลง เมินก็เกนิ ไป ไมเมาเหลาแลวแตเ รายังเมารัก สุดจะหักหามจติ คดิ ไฉน ถงึ เมาเหลาเชาสายกห็ ายไป แตเ มาใจนป้ี ระจาํ ทกุ คาํ่ คนื (นริ าศภูเขาทอง : สนุ ทรภ)ู 5.4 รสภาพ เสยี งทําใหเกดิ ภาพ ในแตละคาํ จะแฝงไปดวยภาพ ในการอา นใหเ หน็ ภาพตองใชเ สยี ง สงู – ตาํ่ ดัง - คอย แลว แตจะใหเกิดภาพอยางไร เชน “มดเอยมดแดง เลก็ เลก็ เรี่ยวแรงแขง็ ขยนั “สุพรรณหงสท รงพูดหอ ย งามชดชอยลอยหลงั สินธ”ุ “อยธุ ยายศลมแลว ลอยสวรรค ลงฤา” 102

5.5 รสทํานอง ( ระบบเสยี งสูงตํา่ ซ่งึ มีจังหวะสนั้ ยาว ) ในบทรอยกรองไทยจะ ประกอบดวยทํานองตาง ๆ เชน ทํานองโคลง ทํานองฉันท ทํานองกาพย ทํานองกลอน และทํานอง รา ย เปน ตน ผูอ า นจะตอ งอานใหถ กู ตอ งตามทํานองของรอยกรองนัน้ เชน โคลงสีส่ ภุ าพ สัตว พวกหนงึ่ น้ชี อ่ื พหุบา ทาแฮ มี เอนกสมญา ยอกยอ น เทา เกิดยงิ่ จตั วา ควรนับ เขานอ มาก จวบหมิน่ แสนซอ น สดุ พน ประมาณฯ (สตั วาภธิ าน : พระยาศรสี ุนทรโวหาร (นอย อาจารยากูร) 6) หลกั การอา นทาํ นองเสนาะ มดี งั น้ี 6.1 กอนอา นทาํ นองเสนาะใหแ บงคําแบง วรรคใหถ ูกตองตามหลกั คาํ ประพันธ เสียกอนโดยตอ งระวังในเร่ืองความหมายของคาํ ดว ย เพราะคาํ บางคาํ อา นแยกคํากันไมไ ด เชน “หวนหว งมวงหมอนทอง อกี อกรอ งรสโอชา (อกี -อก-รอง , อ-ี กอ-กรอง) “สรอยคอขนมยุระ ยูงงาม” (ขน-มยรุ ะ , ขนม-ยรุ ะ) “แรงเหมือนมดอดเหมอื นกา กลา เหมือนหญิง” (เหมือน-มด , เหมอื น-มด-อด) “ดุเหวาจับเตา รา งรอ ง เหมอื นจากหองมาหยารัศม”ี (จบั -เตา-ราง , จบั -เตา) 6.2 อานออกเสียงตามธรรมดาใหค ลอ งกอ น 6.3 อา นใหช ัดเจน โดยเฉพาะออกเสยี ง ร ล และคําควบกล้าํ ใหถกู ตอ ง เชน “เกดิ เปนชายชาตรอี ยาข้ขี ลาด บรรยากาศปลอดโปรง โลงสมอง หยิบนํ้าปลาตราสบั ปะรดใหทดลอง ไหนเลานอ งครมี นวดหนา ทาใหที เนือ้ นัน้ มโี ปรตนี กนิ เขา ไว คนเคราะหรายคลุมคล่ังเรอื่ งหนงั ผี ใชน าํ้ คลองกรองเสียกอนจึงจะดี เหน็ มาลคี ลีบ่ านหนาบา นเอย” 6.4 อา นใหเอือ้ สมั ผสั เรียกวา คําแปรเสียง เพ่อื ใหเ กิดเสยี งสมั ผัสทีไ่ พเราะ เชน ขอสมหวังตง้ั ประโยชนโ พธญิ าณ (อา นวา ขอ-สม-หวงั -ต้งั -ประ-โหยด-โพด-ทิ-ยาน) พระสมทุ รสดุ ลกึ ลน คณนา (อานวา พระ-สะ-หมดุ -สุด-ลึก-ลน คน-นะ-นา) ขา ขอเคารพอภวิ าท ในพระบาทบพติ รอดิสร (อา นวา ขา-ขอ-เคา-รบ-อบ-พิ-วาด ใน-พระ-บาด-บอ-พิด-อะ-ดดิ -สอน) 6.5 ระวงั 3 ต อยาใหตกหลน อยา ตอ เติมและอยา ตูตวั 6.6 อานใหถูกจงั หวะ คําประพนั ธแ ตละประเภทมจี ังหวะแตกตางกนั ตองอา นใหถูก วรรคตอนตามแบบแผนของคาํ ประพันธน น้ั ๆ เชน มุทิงคนาฉันท (2-2-3) อนงค / นาํ เคลื่อน / เขยอื้ นไป สะบัด / สไบ / วิไลตา ปะ โทน / ปะโทน / ปะโทนโทน บรุ ษุ / สโิ อน / สะเอวไหว 103

6.7 อา นใหถกู ทํานองของคําประพันธน นั้ ๆ (รสทาํ นอง) 6.8 ผอู า นตองใสอ ารมณต ามรสความของบทประพนั ธน น้ั ๆ รสรกั โศก ตน่ื เตน ขบขนั โกรธ แลวใสน ้ําเสยี งใหส อดคลองกับรสหรืออารมณต า งๆ เหลานนั้ 6.9 อา นใหเ สียงดัง พอทจี่ ะไดย นิ กันท่ัวถึงไมใ ชออกเสียงจนคลา ยเสียงตะโกน 6.10 ถาเปน ฉนั ท ตองอานใหถ กู ตองตามบังคบั ของครุ - ลหุ ของฉันทน น้ั ๆ ลหุ คือ คําท่ีผสมดวยสระเสียงส้ัน และไมมีตัวสะกด เชน เตะ บุ และ เถอะ ผัวะ ยกเวน ก็ บอ นอกจากน้ีถอื เปนคาํ ครุ (คะ-ร)ุ ทั้งหมด 6.11 เวลาอานอยาใหเ สยี งขาดเปนชว งๆ ตอ งใหเสียงติดตอกนั ตลอด เชน “วันจันทร มีดารากร เปนบริวาร เห็นส้ินฟา ในปาทาธาร มาลีคลี่บาน ในกานอรชร” เวลาจบให ทอดเสียงชาๆ 7) ประโยชนท ี่ไดรบั จากการอา นทาํ นองเสนาะ ไดแก 7.1 ชวยใหเ กิดความสนุกสนาน ความเพลิดเพลนิ 7.2 ชว ยใหจ ดจาํ บทรอ ยกรองไดรวดเรว็ และแมน ยํา 7.3 ชว ยใหผ ฟู งเขาถึงรสและเห็นความงามของบทรอยกรองทีอ่ าน 7.4 ชวยใหผูฟง ไดร บั ความไพเราะ เกดิ ความรสู กึ จับใจอยางลกึ ซึง้ 7.5 ชวยกลอมเกลาจติ ใจใหเปน คนออนโยนและเยือกเยน็ เปน ประโยชนโ ดยทางออ ม 7.6 ชว ยสืบทอดวัฒนธรรมในการอา นทาํ นองเสนาะไวเ ปนมรดกสาํ หรบั ลกู หลาน 7.4 วิธกี ารอานทาํ นองเสนาะจากคาํ ประพันธ กลอนสภุ าพ นิยมอานเสยี งสงู 2 วรรค และเสยี งตํ่า 2 วรรค การแบงจังหวะวรรคในการอาน มดี งั น้ี วรรคละ 6 คาํ อา น 2/2/2 OO/OO/OO วรรคละ 7 คํา อา น 2/2/3 OO/OO/OOO วรรคละ 8 คํา อา น 3/2/3 OOO/OO/OOO วรรคละ 9 คาํ อา น 3/3/3 OOO/OOO/OOO ตวั อยา ง การแบง จังหวะวรรคละ 6 คํา ไผซ อ/ออเสียด/เบียดออด// ลมลอด/ไลเลีย้ ว/เยอ่ื ไผ// ออดแอด/แอดออด/ยอดไกว// แพใบ/ไลน้ํา/ลําคลอง// การแบง จังหวะวรรคละ 8 คํา แลว สอนวา /อยา ไว/ ใจมนุษย มนั แสนสดุ /ลึกล้าํ /เหลือกําหนด ถงึ เถาวลั ย/ พันเกยี่ ว/ท่ีเล้ียวลด// ก็ไมคด/เหมอื นหนึ่งใน/นา้ํ ใจคน// 104

กาพยย านี 11 มีจาํ นวนคํา 11 คํา นิยมอานเสียงสงู กวาปกตจิ ึงจะเกิดความไพเราะ การแบงจังหวะวรรคในการอา น มีดงั นี้ วรรคหนา 5 คํา อาน 2/3 OO/OOO วรรคหลัง 6 คาํ อาน 3/3 OOO/OOO ตัวอยา ง ทิพากร/จะตกต่ํา// การแบงจงั หวะกาพยย านี 11 เรือ่ ยเรอ่ื ย/มารอนรอน// สนธยา/จะใกลค ํ่า// คํานงึ หนา/เจา ตราตรู เร่ือยเรือ่ ย/มาเรียงเรยี ง// นกบินเฉียง/ไปทั้งหมู// ตวั เดียว/มาพลดั คู// เหมอื นพ่ีอยู/ผเู ดียวดาย// ตัวอยา งบทรอยกรอง ตัวอยางที่ 1 เรื่อง “กลอนสุภาพ” กลอนสุภาพพงึ จํามีกําหนด กลอนหนึง่ บทสว่ี รรคกรองอักษร วรรคละแปดพยางคน บั ศพั ทส ุนทร อาจย่ิงหยอนเจ็ดหรอื เกา เขาหลกั การ หา แหงคาํ คลองจองตองสมั ผัส สลบั จัดรับรองสง ประสงคส มาน เสยี งสูงตาํ่ ตอ งเรยี งเยย่ี งโบราณ เปน กลอนกานทครบครันฉนั ทน ้เี อย …………………………………………………………………………………………………………….. ทีม่ า: ฐะปะนยี  นาครทรรพ และ ม.ล.บุญเหลือ เทพสุวรรณ ประพนั ธ (2558) http://www.st.ac.th/kruphatip ตวั อยา งที่ 2 เรือ่ ง “คาํ พอ สอน” มองรูปพอมเี ร่อื งราวบอกเลา พอ ลกู เหนอ่ื ยทอแททนคนกดขี่ ทงั้ อดทนสงู านมานานป เปน คนดีอยางพอหวังชางยากเย็น ลูกนนั้ เกอื บแพพา ยมาหลายหน ยอมอดทนท้ังปมใี ครเหน็ ? เหนือ่ ยทอแทส้นิ หวังต้งั ประเด็น หลายคนเดนกาวหนา เพราะอะไร? บางครง้ั จงึ หลงตามคาํ กลาวนี้ คน “ทาํ ดีไดด ีมีท่ไี หน” คน “ทําชั่วไดด มี ีถมไป” เปน ตรรกะท่คี ดิ ไดในความคดิ แตลกู ยังจดจาํ คําพอสอน พอ สะทอนใหล กู รูถูกผิด ใชว นิ ัยเปน ทางสรางชีวิต ใชค วามดพี ชิ ติ ความชั่วชา ลูกจักยึดทางพอขอมุงม่นั อุปสรรคไมห วนั่ ขอฟนฝา เปน คนดีไมทอ ตอ ชะตา พอ หลบั เถิดพอจาอยาอาวรณ 105

แมว ันพอ ปนไี้ มมีพอ แตล ูกก็ยังจาํ คาํ พอสอน ฝงลกึ อยูภ ายในไมค ลายคลอน กราบรปู พอสะอืน้ ออนสะทอนความ ……………………………………………………………………………………………………………………… ทมี่ า: จอมยทุ ธเมรยั (2546) http://www.thaipoet.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=424933 ตัวอยา งที่ 3 เรือ่ ง มอื มจั จุราช “สึนามิ” อยูดีดีก็มีมอื มัจจุราช เรงกวาดสรรพสิ่งยิ่งสยอง กระชากลูกจากอกแมแ มประคอง ลงทะเลลว่ิ ลอ งไปลบั ตา มือปศ าจ “สนึ ามิ” มัจจรุ าช พรากญาติ-พ่ี-แม-พอ -ไปตอหนา สน้ิ วิกฤตโิ คตรคลื่นกลืนเวลา คล่ืนน้ําตาก็สาดเปอนสะเทอื นไทย ……………………………………………………………………………………………………………… ที่มา: ทนิ ละออ (2547) http://www.thaipoet.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=424933 สรปุ เนอื้ หาสาระในบทน้ี คือ นักศกึ ษาไดทราบถงึ หลกั เกณฑใ นการอานออกเสยี งรอยกรอง การอานออกเสียงรอยกรองที่ มหี ลายหลากประเภทท้ังการขบั การรอ ง การกลอม การเห การวา เปน ตน ไดร ูถึงคุณคาของการอาน รอ ยกรองผานวรรณคดเี ปน ทํานองเสนาะ การเตรียมการและขอ ควรปฏิบตั ใิ นการอา นบทรอยกรอง เทคนิคในการอานออกเสียงรอยกรอง ไดรับรูวาการอานออกเสียงบทรอยกรอง สามารถอานได 2 แบบและปจจัยตางๆ เกี่ยวกับการอานออกเสียงรอยกรอง รวมทั้งวิธีการอานทํานองเสนาะจากคํา ประพันธ เน้ือหาสาระทั้งหมดน้ีจะครอบคลุมความรูในภาคทฤษฎีใหกับนักศึกษาไดอยางเหมาะสม รวมท้งั มีขอ ความสําหรบั การฝก ฝนภาคปฏิบัติใหไดท ดสอบกันอีกดว ย …………………………………………………………………………… 106

แบบฝกหดั เพือ่ ทบทวนความรแู ละความเขาใจ แบบฝกหัดทา ยบทของทกุ บท เพ่อื การกระตนุ ความต่นื ตวั ในการเรยี นรูและนําไปสูการ จดจาํ ไดอ ยางลกึ ซ้ึง ดวยการใชค ําถามทต่ี องอธิบายความและยกตวั อยางประกอบ ซึ่งตอ งใชค วามเขา ใจจากการเรียนรูและฝก ปฏิบตั อิ ยางสมา่ํ เสมอ 1. หลักเกณฑใ นการอานออกเสียงรอ ยกรอง มอี ะไรบาง อธบิ าย 2. การอานออกเสียงบทรอยกรอง สามารถอา นไดกีแ่ บบ อะไรบาง 3. การขบั ไดแ กอะไรบา ง 4. การรอง ไดแ กอะไรบาง 5. การกลอม ไดแกอะไรบา ง 6. การเห ไดแกอ ะไรบา ง 7. การแหล ไดแกอ ะไรบาง 8. การสวด ไดแ กอะไรบาง 9. การพากย ไดแ กอ ะไรบา ง 10. การวา ไดแกอ ะไรบาง 11. คณุ คา ของการอานรอ ยกรองผานวรรณคดเี ปนทาํ นองเสนาะ คอื อะไร 12. การเตรียมการและขอควรปฏิบตั ใิ นการอานบทรอยกรอง มีอะไรบา ง 13. เทคนิคในการอานออกเสียงรอยกรอง เปน เชนไร อธิบาย 14. ปจจัยตางๆ เกยี่ วกับการอานออกเสียงรอยกรอง ประกอบไปดวยอะไรบาง 15. โปรดอธิบายวิธกี ารอานทํานองเสนาะจากคําประพนั ธ จาก“กลอนสภุ าพ”และ “กาพยยานี” 107

จดุ ประสงคของการเรียนรใู นบทนี้ 1. นกั ศึกษาไดเ รียนรูแ ละเขา ใจความหมายของบทความ 2. นักศกึ ษาไดเ รยี นรแู ละอธบิ ายไดถึงประเภทของบทความ 3. นักศึกษาไดเ รียนรแู ละสามารถอธิบายไดถ ึงวิธีการอานบทความ 4. นักศึกษาไดเรียนรูและสามารถอธิบายไดถึงเทคนิคการอานบทความ รวมท้ังฝกฝนจน สามารถนาํ ไปใชไดใ นการปฏิบตั งิ านจริง 8.1 ความหมายของบทความ “บทความ” (article) เปนรูปแบบการนําเสนอความเรียงประเภทหน่ึง ที่ผูเขียนตองการ สอ่ื สารขอเทจ็ จรงิ และความคดิ เหน็ เก่ียวกับเรอื่ งใดเร่อื งหนงึ่ ใหกับผูรับสาร เนื้อหานาํ เสนอจากขอมูล จริงไมใชเรื่องแตงหรือคิดข้ึนจากจินตนาการ มีลักษณะเปนขอเขียนขนาดส้ัน (วรางคณา จันทรคง 2557) เร่ืองท่ใี หสาระความรู เสนอความคิดเห็น ตั้งขอสังเกต วิเคราะหวิจารณ ฯลฯ แตกตางจาก บันเทิงคดี เพราะตองเขียนอยางมีหลักฐาน มเี หตุผลนาเชื่อถือ หากมีขอเสนอแนะใดๆ ตองเปนไป ในทางสรางสรรค บทความอาจมีการเนน เนอ้ื หาทต่ี วั เหตุการณและแนวโนม ในอนาคต 8.2 ประเภทของบทความ ผปู ระกาศและผดู ําเนนิ รายการตอ งศกึ ษาเพ่ือใหรูจ กั ประเภทของบทความท่จี ะตองอา น ซงึ่ ถา แบง ตาม “เน้อื หา” บทความจะแบงไดเ ปน 11 ประเภท ดังน้ี 1) บทบรรณาธิการ เปนบทความแสดงความคิดเห็นลักษณะหนึง่ ทเี่ ขียนขน้ึ เพือ่ เสนอแนวคดิ หลกั ของสื่อนัน้ ๆ ตอ เร่ืองใดเรื่องหนึง่ 108

2) บทความสมั ภาษณ เปนบทความทีเ่ ขียนข้นึ จากการสมั ภาษณบ ุคคลเกีย่ วกบั ความคดิ เห็นตอเรอ่ื งใดเร่ืองหนึ่งหรือ หลายเรือ่ งหรือเกี่ยวกับชีวิตของบคุ คลนั้น หรือจากการสัมภาษณบ คุ คลหลายคนในหวั ขอเดยี วกัน 3) บทความแสดงความคดิ เห็นท่ัวไป จะมเี นื้อหาหลายลกั ษณะ เชน หยบิ ยกปญหาหรือเรื่องทป่ี ระชาชนสนใจมาแสดงความ คดิ เหน็ หรอื ผเู ขียนเสนอความคิดเห็นสนับสนนุ หรอื คัดคา นหรอื ทัง้ สนบั สนุนและคัดคา นความคิดเห็น ในเรื่องเดยี วกนั ของคนอนื่ ๆ เปนตน 4) บทความวเิ คราะห เปนบทความแสดงความคิดเห็นอยางหน่งึ ซ่ึงผูเขยี นจะพจิ ารณาเร่ืองใดเรอื่ งหนึ่งที่เผยแพร มาแลว อยา งละเอยี ด โดยแยกแยะใหเ ห็นสวนตางๆ ของเรื่องนั้น ผูเขยี นเสนอความคิดและวิเคราะห เหตุการณเ ร่ืองราวน้ันอยางละเอยี ด แสดงขอเท็จจริง เหตุผล เพือ่ ใหผอู า นไดค วามรู ความคดิ เห็น เพิม่ เตมิ เกดิ ความคิดทีช่ ัดเจนย่ิงข้ึน แบงเปน บทความวิเคราะหข า ว และบทความวเิ คราะหปญ หา 5) บทความวิจารณ เขียนเพ่ือแสดงความคิดเหน็ ในเชิงวิจารณเ ร่อื งราวทต่ี อ งการวิจารณด ว ยเหตุผลและหลัก วิชาเปน สาํ คัญ เชน “บทบรรณนทิ ัศน” ซง่ึ แสดงความรูและความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั หนังสือที่พิมพอ อก ใหม เพื่อแนะนําหนังสือ “บทวจิ ารณว รรณกรรม” แสดงความคิดเหน็ เชงิ วจิ ารณแ ละประเมินคา โดย ใชหลกั วชิ าและเหตุผลเพ่ือใหผูอา นไดรจู ักวรรณกรรมเรอ่ื งน้ันๆ อยา งลึกซง้ึ และ “บทวจิ ารณศ ลิ ปะ แขนงอืน่ ๆ” ซ่งึ มลี กั ษณะเชนเดียวกับบทวิจารณวรรณกรรมแตนาํ ผลงานท่เี ปน ศิลปะแขนงอน่ื ๆ เชน ภาพยนตร ละคร ภาพเขยี น ดนตรี มาวจิ ารณ 6) บทความสารคดที อ งเทย่ี ว มเี นอ้ื หาแนวบรรยาย เลาเร่ืองเกย่ี วกับสถานท่ที อ งเท่ยี วตา งๆ ที่มที ศั นยี ภาพสวยงาม หรือมีความสาํ คญั ในดา นตา งๆ เพอ่ื แนะนําใหผ ูอ านรจู ักสถานท่ที อ งเทยี่ วตางๆ ชกั ชวนใหสนใจไปพบ เหน็ สถานทนี่ นั้ ๆ 7) บทความกงึ่ ชวี ประวัติ เปน การเขียนบางสวนของชวี ิตบุคคลเพื่อใหผูอา นทราบ โดยเฉพาะคณุ สมบตั หิ รือผลงานเดน ที่ทาํ ใหบุคคลนั้นมชี อ่ื เสยี ง ประสบความสําเร็จในชวี ิต เพ่ือชืน่ ชม ยกยอ ง เจาของประวตั แิ ละชใี้ ห ผูอานไดแงคดิ เพื่อเปน แนวทางในการดาํ เนนิ ชวี ิตใหป ระสบความสําเร็จ 8) บทความครบรอบป มเี น้ือหาแนวบรรยาย เลาเร่ือง เกี่ยวกบั เรอื่ งราว เหตกุ ารณ พิธีการในเทศกาลหรอื วันสาํ คญั เชน วนั สาํ คัญทางศาสนา ทางประวตั ิศาสตร ทางวฒั นธรรม เกย่ี วกับบคุ คลสาํ คัญ เปน ตน ท่ี ประชาชนสนใจเมือ่ โอกาสนัน้ มาถึง เชน วนั วิสาขบูชา วันคริสตมาส เปน ตน 109

9) บทความใหความรูท่วั ไป อธบิ ายใหความรูคาํ แนะนาํ ในเร่อื งทัว่ ๆ ไปที่ใชใ นการดําเนินชวี ติ ประจําวัน เชน มารยาทการ เขา สังคม การแตงกายใหเ หมาะแกกาลเทศะและบุคลิกภาพ เคล็ดลบั การครองชวี ิตคู เปน ตน 10) บทความเชงิ ธรรมะ จะอธบิ ายขอธรรมะใหผ อู านทั่วๆ ไปเขา ใจไดง า ย หรือใหคติใหแนวทางการดําเนนิ ชีวิตตาม แนวทางคาํ สอนทางศาสนา 11) บทความวิชาการ มีเนื้อหาแสดงขอเท็จจรงิ ขอ ความรทู างวชิ าการเรือ่ งใดเร่ืองหนึง่ ในสาขาวชิ าใดวิชาหนง่ึ โดยเฉพาะผูเขยี นอาจจะเสนอเฉพาะเน้ือหาสาระทางวิชาการหรอื เสนอทัง้ เน้อื หาสาระขอเท็จจรงิ และ แสดงความคดิ เห็นในเชงิ วเิ คราะห วิจารณก ็ได หรืออาจเสนอผลการวิจัย 8.3 วธิ ีการอา นบทความ การอานบทความโดยผูประกาศและผูดําเนินรายการนั้น ตองคํานึงถึงหลักการอาน ลีลาการ อาน นํ้าเสียง จังหวะ การเวนวรรคตอน อัตราความเร็วในการอานและอักขรวิธี องคประกอบตางๆ เหลานมี้ ีความสําคัญเทาเทียมกัน ประการสําคัญของการอานบทความที่เดนชัดกวาองคประกอบอื่น คือ การรจู กั อารมณข องเรือ่ ง ผูประกาศและผูดําเนนิ รายการตองเขาใจวัตถุประสงควา บทความเรือ่ ง นมี้ งุ เสนอเร่ืองอะไร อารมณของเร่อื งน้ันเปนอยางไร การรูอารมณของเรื่องจะชวยใหผูประกาศและผู ดําเนินรายการเนนใจความที่สําคัญไดถูกตอง และสามารถ “ต้ังนํ้าเสียง” ไดเหมาะกับอารมณของ เรื่องน้ันๆ ดว ย การอานบทความ คือ การรับรูความหมายจากถอยคําท่ีตีพิมพอยูในสิ่งพิมพหรือในหนังสือ เปน การรบั รูวา ผเู ขียนคิดอะไรและพูดอะไร โดยเร่ิมตนทําความเขาใจถอยคําแตละคําเขาใจวลี เขาใจ ประโยค ซ่ึงรวมอยูในยอหนา เขาใจแตละยอหนา ซึ่งรวมเปนเรื่องราวเดียวกัน (หองสมุดสํานัก วิชาการและมาตรฐานศกึ ษา 2558) ผปู ระกาศและผูดําเนินรายการตองเขาใจถึงกระบวนการอาน บทความ ใน 4 ขนั้ ตอน คอื ข้นั แรก คอื การอานออกอานไดห รืออา นออกเสยี งไดถูกตอ ง ขัน้ ท่ีสอง คือ การอา นแลวเขา ใจ ความหมายของคํา วลี ประโยค สรุปความได ข้ันทส่ี าม คือ การอานแลว รจู กั ใชค วามคดิ วิเคราะห วจิ ารณแ ละออกความเห็น ในทางท่ขี ดั แยงหรือเห็นดวยกบั ผูเขียนอยา งมีเหตผุ ล 110

ข้นั ท่ีสี่ คอื การอานเพือ่ นาํ ไปใชประยุกตใ ชใ นเชงิ สรางสรรค ดังน้ันผปู ระกาศและผู ดําเนินรายการจะตองใชกระบวนการทั้งหมดในการอานที่กอใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยการถายทอด ความหมายจากตัวอักษรออกมาเปนความคิด และจากการคิดท่ีไดจากการอานผสมผสานกับ ประสบการณเ ดิม และสามารถความคิดนั้นไปใชประโยชนต อ ไป การอา นบทความจะดําเนนิ ไปไดด เี พยี งใดขึน้ อยกู ับส่งิ แวดลอมทางกายภาพและองคป ระกอบ ทอี่ ยูภายในรา งกายประกอบกันดว ย ดังน้ันจึงตอ งคาํ นงึ ถึงอุณหภูมิและแสงสวางที่เหมาะสม มีโตะท่ี มีความสงู พอเหมาะและเกา อ้ีท่ีน่ังสบายไมนุมหรือแข็งจนเกินไป การจัดทาของการอาน ตําแหนงของ หนาหนังสือจะตองตรงอยูกลางสายตา ควรน่ังใหหลังตรง ท้ังน้ีเพ่ือใหสมองไดรับเลือดไปหลอเล้ียง อยา งเต็มท่ี ก็จะทําใหเ กิดการตื่นตวั ตอการรบั รู จดจาํ และอา นไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ การทําจิตใจให แจมใสมีความต้ังใจและมีสมาธิในการอาน นอนหลับพักผอนใหเพียงพอ มีสุขภาพสายตาที่ดี ตัด ปญหารบกวนจิตใจใหหมด และพยายามฝกทักษะใหมๆ ในการอาน เชน ทักษะการอานเร็วอยาง เขา ใจ เปน ตน 8.4 เทคนคิ สาํ หรบั ฝก ฝนการอานบทความ ผปู ระกาศและผดู ําเนินรายการท่ีจะสามารถอานออกเสียงบทความไดอ ยางมคี ุณภาพนนั้ ตอ ง ฝก ฝนวิธกี ารอานออกเสยี งและปจ จัยอนื่ ๆ เพื่อใหก ารนําเสนอออกมาตอผูฟงผูชมมีประสิทธภิ าพ ดงั นี้ 1) ผูป ระกาศและผดู าํ เนนิ รายการตองทาํ ความเขา ใจดานเน้ือหา ตองวิเคราะหจ ุดมุงหมาย หรอื เจตนาของผเู ขยี น ใหแ นช ัดวามีจุดมุงหมายหรอื เจตนาอยางไร ตคี วามเนื้อหาและอารมณข อง บทวา เปน เร่อื งสนุกสนาน ตนื่ เตน โศกเศรา เครงขรึม หรืออารมณค วามรูสึกอ่นื ใด ผูประกาศและ ผดู ําเนนิ รายการจะตองพนิ ิจ พเิ คราะหและพิจารณาจนเกิดจนิ ตนาการตามบทที่อา นอยา งชดั เจน จน สามารถถายทอดอารมณค วามรูสกึ และจนิ ตนาการของตนใหผ ฟู ง ผูช มคดิ ตามตนเองได 2) ตองฝกอา นใหเ ต็มเสยี งเพ่ือใหไดเ สยี งท่ชี ัดเจน ม่ันใจ 3) ตอ งฝกใชระดบั ความดังของเสยี งทฟี่ งสบาย ไมเบาหรือดังเกินไป 4) ตองฝกนาํ เสนอขอมูลทถ่ี ูกตองตามหลกั เกณฑในภาษาไทย ตองระวงั มีสตแิ ละสมาธใิ น การอา นเพ่ือจะไดไ มพ ล้ังปากอา นพลาดอา นผิด สะกดคําอานผดิ หรือตูคํา เตมิ คาํ เปนตน 5) ตองฝกออกเสียง ตวั ” ร ” และ ” ล ” รวมทั้งการออกเสยี งควบกลํ้า ใหชัดเจนแตเ ปน ธรรมชาติ ไมตัง้ ใจจนฟง เปน เกรง็ หรือแขง็ กระดา ง 6) ตองฝกอา นตรงจุดแบง วรรคตอนไดเหมาะสม เม่ือหยดุ แบง วรรคแลว จะตองไมเ สยี ความหมาย 111

7) ตอ งฝก ส่ือสารใหผูฟงไดอ รรถรสทางอารมณตามเน้อื หาในบท มกี ารเนนเสยี ง แผว เสียง ทอดเสียงใหนา ฟง จากเทคนิคสําหรับฝกฝนดังกลาว จะเห็นไดวากอนท่ีผูประกาศและผูดําเนินรายการจะทํา การอานบทความทุกครั้ง จึงตองวิเคราะหบทใหช ดั เจนวา ชวงใดควรหยุด ชวงใดตองเวนจังหวะ ชวง ใดควรทอดเสียง ชวงใดตองเนน เสยี งหนัก ชวงใดควรใชเสียงเบา ชวงใดตอ งใชเสียงสูงและชวงใด ควรใชเสียงต่าํ เปน ตน โดยผูป ระกาศและผดู ําเนินรายการสามารถทําเครอ่ื งหมายที่ตนเองเขาใจกํากับ ไวใ นตนฉบบั ของบทความท่ีจะอานใหแ นช ัด ตัวอยา งบทความใชฝ ก ฝนทักษะสําหรับผปู ระกาศและผดู ําเนนิ รายการ การอานออกเสยี งบทความในรูปแบบท่มี ีเน้ือหาสาระทแ่ี ตกตา งกนั 1. ลกู สาวเผย “ลี กวนยู” เคยคิดขอใหท ําการุณยฆาต นางลี เหวย หลิง บุตรสาวของอดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู แหง สงิ คโปร เขยี นบทความลง ใน นสพ.เดอะ สเตรทส ไทมส (The Straits Times) เมอ่ื 10 ส.ค.2558 หลงั สงิ คโปรเ พง่ิ เฉลิมฉลอง ครบรอบ 50 ป วันประกาศเอกราชวา ชวง 2-3 ปส ดุ ทา ยกอนเสียชวี ิต พอมกั หยิบยกเร่ืองการุณยฆาต กับคุณหมออยูหลายครัง้ แตทางคณุ หมอบอกวาในสิงคโปรเ ปน เรอื่ งทีผ่ ดิ กฎหมาย อกี ทั้งหนงั สือเลม หนง่ึ ซงึ่ ตพี ิมพเ ม่ือป 2556 นายลีเคยพูดวา รูสกึ ออนแอและตองการจากไปโดยเรว็ ทัง้ น้ี นายลเี รมิ่ หมดพลงั นบั แตนางกวา ก็อก ชู ภรรยาเสียชีวิตเมอ่ื ป 2553 จากน้ันนายลกี ไ็ ม คอยปรากฏตัวออกสาธารณะ อกี ทั้งยงั เซน็ “คาํ สง่ั ทางการแพทยกา วหนา” เอกสารทถ่ี ูกตองตาม กฎหมายทใี่ หแ พทยไ มตองย้ือชวี ิต หากตนเองไมรูสึกตวั หรืออยูในภาวะใกลเสยี ชีวิต ทมี่ า: ไทยรัฐฉบบั พิมพ 11 สิงหาคม 2558 https://www.thairath.co.th/content/517463 ………………………………………………………………………………………………………………………. หมายเหตุ: บทความนสี้ ามารถพิจารณาไดถงึ อารมณข องเน้อื หาสาระในลักษณะวา เปน เรือ่ งของ บุคคลดงั ท่ีประชาชนทวั่ โลกรูจกั ดังนั้นการอานบทความน้ี ผปู ระกาศและผดู าํ เนนิ รายการจงึ ตอ งใช นาํ้ เสยี งท่หี นกั แนน และทอดอารมณใ หซาบซง้ึ ในบางชวง เพราะเปนเรอ่ื งละเอียดออนสําหรบั ความรูสกึ ของผูฟงผชู มทนี่ ายลเี คยรอ งขอใหคุณหมอทาํ “การุณยฆาต” 112

หมายเหตุ: การุณยฆาต เปนศัพทนิติศาสตร หรือปรานีฆาต เปนศัพทแพทยศาสตร (Euthanasia หรอื Mercy Killing) หมายถึง การทําใหบุคคลตายโดยเจตนาดวยวิธกี ารท่ีไมรุนแรงหรือวิธีการที่ทาํ ใหตายอยา งสะดวกหรือการงดเวนการชวยเหลือหรือรักษาบุคคล โดยปลอยใหตายไปเองอยางสงบ ท้ังนี้ เพ่ือระงับความเจ็บปวดอยางสาหัสของบุคคลน้ัน หรือในกรณีที่บุคคลน้ันปวยเปนโรคอันไร หนทางเยยี วยา อยางไรก็ดี การุณยฆาตยังเปนการกระทําที่ผดิ กฎหมายและเปนความผดิ อาญาอยูใน บางประเทศกบั ทงั้ ผไู มเ หน็ ดวยกับการฆาคนชนิดน้ีก็เห็นวา เปนการกระทําท่ีเปนบาป นอกจากนั้น กา รณุ ยฆาตยงั หมายถงึ การทาํ ใหส ัตวต ายโดยวิธกี ารและในกรณดี งั ขา งตน อกี ดวย ทม่ี า: https://th.wikipedia.org ………………………………………………………………………………………………………………… 2. ละเมดิ เนอ้ื หาออนไลน ความมกั งายของเวบ็ ไซตนักปน ยอดวิว เว็บไซตประเภทเว็บทา (web portal) ที่ใชว ิธีลอกขาวจากเว็บไซตขาวมืออาชีพมานําเสนอ ในเวบ็ ของตวั เอง หรือไมก ็ไปแปลขาว (แบบลวกๆ) จากเว็บที่นําขาวแปลกๆ จาก Social Media ใน ตางประเทศมานําเสนอโดยไมคํานึงถึงหลักจริยธรรมวิชาชีพส่อื มวลชน ดวยวัตถุประสงคในการปน ยอดวิวเพียงอยางเดียวไปแลว การดําเนินการกับเวบ็ ไซตท่ีมักงาย ขโมยเนอื้ หาจากเว็บไซตขาวมือ อาชีพที่เขาตองลงทุนจางนักขาว คอลัมนิสตและบรรณาธิการจํานวนมากในการผลิตขาว บทความ บทวิเคราะห และภาพถายมาใชในเว็บไซตของตน เพ่ือเรียกยอดคนดูแลวไปขายโฆษณาตอ โดยไม ตองลงทุนอะไรมากมาย จริงๆ แลว ยังมีเว็บไซตประเภทน้ี อีกจํานวนมาก ท่ียงั คงทํามาหากินแบบ “มักงาย” จนเคยตวั ขโมยเน้ือหาไปสรา งเว็บตางๆ เปนเครือขายใยแมงมุม พรอ มท้ังอาศยั การเติบโต ของ Social Media โดยเฉพาะ Facebook ในการเรยี กคนเขา มาดูขาวน้ันมากๆ สาํ หรบั คนที่ไมร เู รอื่ งเรอ่ื งกฎหมายลขิ สทิ ธิ์ อาจเขา ใจวา การท่ีไปคัดลอกเนื้อหาขาวหรือภาพ มาจากเว็บไซตอื่นๆ มาเผยแพรในเว็บไซตของตน โดยบอกแหลงท่ีมาอยางชัดเจนนั้น ไมนาจะมี ความผดิ อะไร ยงิ่ เขยี นกํากับวา “ขอบคณุ ขอมลู ขา วและภาพจาก....” แลว นาจะไมมีปญหาอะไร จริง อยทู ่ีกฎหมายลิขสทิ ธิ์จะระบุวา “ขาวประจําวัน” เปนงานอันไมมีลขิ สิทธิ์ เพราะถือวา ขาวเหตุการณ ที่เกิดขึ้นเปนปกตใิ นแตล ะวนั เชน ขาวการเมือง ขาวเศรษฐกจิ และขาวอาชญากรรมฯ ท่ีมีการรายงาน กันตามสํานักขาวตางๆ ตลอดทั้งวนั แตงานเขียนอื่นๆ ที่เปนงานสรางสรรคข้ึนมาเปนพิเศษ เชน บท วเิ คราะห สกูปพเิ ศษ บทความ โดยเฉพาะภาพขา วและงานกราฟก ถอื เปน งานอันมีลขิ สิทธิท์ ั้งสน้ิ อยางไรก็ตาม ทผ่ี านมาอาจปรากฏขาวเปนระยะตาม Social Media ตา งๆ วา เว็บไซตขาว มืออาชีพก็มีการไปนําเนื้อหาหรือภาพขาวของผูอ่ืนมาใชโ ดยไมไดรบั อนุญาตดวยเชนกัน แตจากการ ตรวจสอบแลว สวนใหญทีเ่ ปนปญหาข้ึนเพราะนักขาวหรือบรรณาธิการนําภาพน้ันมาใชโดยไมทราบ วาเปนงานอันมีลิขสิทธ์ิ เพราะมีหลายกรณีท่ีหนวยราชการไปนําภาพเหลานม้ี าแจกใหกับนกั ขาวโดย 113

ไมไ ดขออนุญาตจากเจาของภาพ เมอื่ เวบ็ ขาวนํามาใช จงึ กลายเปนวา มีการละเมิดสิทธ์ิในภาพน้ัน ซ่ึง ในที่สุดก็มีการเจรจาโดยเจาของภาพเขาใจ แตก็มีบางกรณีที่เจาของภาพฟองรองดําเนินคดีตาม กฎหมายตอ เวบ็ ไซตข า วเชน กนั การฟอ งรองเวบ็ ไซตท ีล่ ะเมิดลิขสิทธ์เิ นื้อหาและภาพโดยสมาชิกสมาคมผูผลิตขาวออนไลนใน ครั้งน้ี อาจเปนการแกปญหาท่ีปลายเหตุ เพราะตนเหตุท่ีแทจริง นาจะอยูผูบริโภคส่ือท่ีตองเลือก บริโภคขาวจากตนตอผผู ลติ ขาวตวั จริงโดยไมสนบั สนุนเวบ็ ไซตท ลี่ ะเมิดลิขสิทธ์ิ ดวยการไมกดอานขาว ที่ถูกแชรมาจากเว็บหัวขโมยพวกและตองไมแชรตอไปอีกดวย เพราะการแชรตอไปเทากับเปนการ สนบั สนุนใหก ารละเมิดลขิ สิทธกิ์ ระจายตวั ออกไปและสนับสนุนใหม ีการกระทําผดิ กฎหมายอีกดวย ถึงตอนนี้ คงตองมาวัดใจกันตอไปวา ผูบริโภคขาวออนไลน โดยเฉพาะกลุมอานขาวผาน Social Media จะยังคงใหการสนับสนุนเปดอานขาวจากเว็บไซตประเภทน้ีตอไปหรือไม เพราะหาก ผูบริโภคไมเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคขาวออนไลน วันหน่ึงก็คงจะไมเหลือเน้ือหาขาวดีๆ ท่ีมี ประโยชนตอ การตัดสินใจตางๆ ในชวี ิตประจาํ วันใหอานกันอีกตอไป ทม่ี า: ชวรงค ลิมปป ท มปาณี (2558) https://www.thairath.co.th/content/499069 หมายเหตุ: บทความน้ีสามารถพิจารณาไดถึงอารมณของเนื้อหาสาระในลักษณะวา เปนเร่ืองที่ ตื่นเตนเราใจผูฟงผูชม เพราะมีความลึกลับซับซอนพอสมควร มตี ัวละครหลายตวั ในบทความนท้ี ี่ตอง อานออกมาแลวใหรูสึกวา ตัวละครแตละตัวนั้น มีพฤติกรรมเชนไรบาง ในลักษณะใครดีใครไมดี ดังน้ันการอานบทความน้ี ผูประกาศและผูดําเนนิ รายการจึงตองใชน ํ้าเสียงท่ีกระฉับกระเฉงฟงแลวมี ลุนนา ตดิ ตาม ใหความรูสึกวาเปนเร่ืองที่ตองจับตามอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. แคป รบั พฤตกิ รรมกต็ านมะเร็งได คุณรูหรือไมวา เราทุกคนมีเซลลมะเร็งอยูในตัวเองทุกคน เพราะเม่ือไมนานมานี้ สถาบัน จอหน ฮอปก้ินส ไดต ีพมิ พบทความเก่ยี วกบั โรคมะเร็งวา ทุกคนมีเซลลมะเรง็ อยใู นตวั เอง และมะเร็งจะ ไมทําใหเรามีอาการใดๆ ตราบใดทร่ี า งกายคนเรายงั แขง็ แรงดี แตเมื่อไรก็ตามท่ีเราไมดูแลตวั เองจนทํา ใหร างกายออนแอ เซลลมะเร็งจะสามารถเจริญเตบิ โตและเพ่ิมจํานวนขึ้นไดจนทําใหอวัยวะบางอยาง ในรางกายทํางานผิดปกติ และมีโอกาสแสดงความผิดปกติออกมา และเมื่อผูปวยเขารับการรักษา โรคมะเรง็ อยางตอเนื่องจนแพทยระบุวา ผูปวยรายน้ันหายจากโรคมะเรง็ แลว นั่นหมายความวามะเร็ง มีจาํ นวนนอ ยลงจนกระทง่ั อุปกรณท างการแพทยไ มสามารถตรวจพบได ในแตละชว งชีวติ ของคนเรา มะเรง็ จะมีโอกาสเพิ่มจํานวนขึ้นประมาณ 6-10 ครั้ง แตอาจจะ ถูกทําลายและไมสามารถเพ่ิมจํานวนไดหากเรามีการดูแลสุขภาพท่ีดีหรือมีรางกายท่ีแข็งแรง ซ่ึงก็ หมายถงึ หากรางกายของเรามีภมู ิตานทานทแี่ ข็งแรงนัน่ เอง ปจ จัยท่ีชวยกระตุน ใหเ กิดมะเรง็ เกิดจาก 2 114

ปจจยั คอื 1.เกิดจากสิ่งแวดลอมภายในรา งกาย เชน ความผิดปกติที่มีมาแตกําเนิด แตจ ะพบไดนอย 2.เกิดจากปจจัยภายนอกรางกาย ซึ่งปจจุบันเชื่อวาเปนปจจัยหลักท่ีทําใหเกิดโรคมะเร็ง เชน ภาวะ โภชนาการ หรือการรับประทานอาหารไมถูกสัดสวนท่ีเหมาะสม หรืออยูในสภาวะแวดลอมท่ีไมถูก สขุ ลกั ษณะ ยกตวั อยางเชน นํ้าตาล เปนสารท่ีมีแนวโนมท่ีจะกอมะเร็งในรางกาย ไมวาจะเปนน้ําตาล ธรรมชาติหรือนํ้าตาลเทียม ดังนั้น หากเปนคนที่ติดทานหวานหรือรับประทานน้ําตาลมากเกินไปอาจ เสี่ยงทีจ่ ะทําใหเกิดมะเรง็ ได ภ.ญ.วิชชุลดา ผรณเกียรติ์ ผูเชี่ยวชาญจากเมกา วีแคร กลา ววา มะเร็งเปนโรครายแรงและ เรื้อรงั ที่หลายๆ คนคงไมอยากใหเกิดกับตัวเอง แนวทางการปองกันไมใหเกิดโรคมะเร็งจึงยอมดีกวา การรักษา เราจะเห็นวาปจจัยท่ีกระตุนใหเกิดมะเร็งสวนใหญเกิดจากพฤติกรรมของคนเราน่ันเอง ดังน้ัน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการรับประทานอาหารเสริมสุขภาพบางชนิด จะชวยควบคุมการเจริญเติบโตที่ผิดปกติของเซลลมะเร็งได โดยเราควรเร่ิมท่ีจะจัดการเร่ืองวิถีการ ดําเนินชีวิตใหเหมาะสมตามแบบท่ีทําใหเรามีสุขภาพดีท้ังกายและใจ อันดับแรกควรเลือกบริโภค อาหารที่มีประโยชนและหลีกเล่ียงอาหารที่ทําลายสุขภาพ ไดแ ก เลือกรับประทานอาหารท่ีเค็มนอ ย และหวานนอย โดยเราควรรับประทานเกลือไมเกิน 1 ชอนชา หรือ 6 กรัมในอาหารท้ังหมดที่ รับประทานในแตละวัน และรับประทานนํ้าตาลไมเกิน 3 ชอนโตะตอวัน หรือเลือกใชนํ้าผ้ึงแทน น้ําตาล ควรหลีกเล่ียงอาหารที่มีสารกอมะเร็งอาทิ เนื้อสัตวปง ยาง รมควัน และลดเครื่องดื่มท่ีมี กาเฟอีน เชน ชา กาแฟ น้ําอัดลม เปนตน ใหเหลือไมเกิน 2 แกวตอวัน เพราะกาเฟอีนนอกจากจะ สงผลเสียตอสุขภาพแลว ยังสงผลถึงคุณภาพการนอนหลับในตอนกลางคนื ซ่ึงการนอนหลับพักผอน อยางเพียงพอถือเปนเร่ืองท่ีสําคญั มากสําหรับรางกาย หรือเราอาจเลือกดื่มชาเขียวแทนกาแฟเพราะ ชาเขียวมีคณุ สมบัติในการตอ ตา นโรคมะเรง็ \" \"นอกเหนือจากนั้นการปรบั พฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหารจาํ เปนตองรบั ประทานอาหารให ครบ 5 หมูในปรมิ าณท่เี หมาะสมกับวัย โดยรับประทานอาหารทห่ี ลากหลายจากแหลงทีถ่ ูกสุขอนามยั ควรเลือกอาหารที่มีไขมันตาํ่ ปราศจากไขมันทรานส (Trans Fat) และควรเนนอาหารที่ประกอบจาก ธัญพืช เชน เมล็ดถั่วตางๆ งา ขาวโพด ขาวกลอง รวมถึงผักสดและผลไมใ หมากเปนประจําประมาณ วนั ละ 500 กรัม หรือมากกวาคร่ึงของปรมิ าณอาหารโดยรวมทเี่ รารบั ประทานเขา ไปในรางกาย เพราะ ในธัญพืช ผกั และผลไมสดเหลานีจ้ ะเปน แหลงท่ดี ขี องสารอาหารและวิตามนิ ที่มคี ุณสมบัติเปนสารตาน อนุมูลอิสระโดยเฉพาะวิตามินซี ดังนั้น การรับประทานอาหารหรือผักผลไมที่มีวิตามินซีสูงๆ เชน ผกั คะนา บรอ็ คโคลี่ ผักตระกลู กะหลํ่า สม มะขามปอ ม ฝร่ัง หรือกวี ่ี ฯลฯ จะชวยตานอนุมลู อิสระและ ลดความเส่ยี งใหเ กิดมะเร็งได\" \"แตถาเราไมส ามารถรบั ประทานอาหารสดไดอ ยางเพียงพอ มอี งคค วามรูก ารแพทยท างเลือก วาการเลือกเสริมดวยสารอาหารธรรมชาติหรือวิตามินหลายชนิดที่มีคุณสมบัติเปนสารตานอนุมูล 115

อิสระ เชน วิตามินซี วิตามินอี สารสกัดจากชาเขียว และโคเอนไซมคิวเทน เพื่อเสริมจากการ รับประทานอาหารสดในแตละวัน จะสามารถชวยเสริมสรางความแข็งแรงของรา งกาย ชวยใหเซลล ตางๆ ทาํ งานไดดเี ปน ปกตหิ รือดีพอท่ีจะตอสูกับเซลลแปลกปลอมในรางกายได และทําใหเซลลมะเร็ง ไมสามารถเติบโตข้นึ มาในรางกาย\" สําหรบั วิตามนิ ซี หลายคนคงเคยไดยินมาวาวิตามินซีมคี ณุ สมบัติในการชวยปองกันหวัดและ เสริมสรางภูมิตา นทาน แตในความเปนจริงแลววิตามนิ ซียังมีคณุ สมบัตเิ ปนสารตานอนุมูลอิสระ ซ่ึงมี การศกึ ษาวจิ ัยเร่ืองการใชว ติ ามินซี 5,000 มิลลิกรัม รวมกับสารสกัดจากชาเขียว 1,000 มิลลกิ รัมเปน ประจําทุกวัน จะชวยลดอัตราการเติบโตของมะเร็งผิวหนังและมะเรง็ เตา นมไดและชวยลดการเตบิ โต ของมะเร็งลําไสไดถึง 75% ดวยคุณสมบัติการเปนสารตานอนุมูลอิสระของท้ังวิตามินซีและชาเขียว นั่นเอง นอกเหนอื จากการดูแลเร่อื งการรับประทานอาหารแลว การมีวิธีจัดการเรื่องความเครียด การ มองโลกในแงดี อารมณดี ไมเครียด จะชวยลดสภาวะท่ีเปนกรดในรางกาย เพราะสภาวะท่ีรางกาย เปนกรดน่ีเองท่ีจะสงเสริมการเจริญเติบโตของเชื้อมะเร็งได ควบคูกับการออกกําลังกายอยาง เหมาะสมตามวยั การพกั ผอนอยา งมคี ุณภาพและเพียงพอจะชวยสง เสริมความแข็งแรงของทุกคน ท่ีมา: หนงั สอื พิมพบานเมือง (15 พฤศจกิ ายน 2558) http://www.ryt9.com/s/bmnd/2298610 หมายเหต:ุ บทความน้ีสามารถพิจารณาไดถึงอารมณข องเน้ือหาสาระในลักษณะวา เปนเรอ่ื งทีน่ ํามา เตือนใหผูฟงผูชมเกิดความตระหนักในปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นกับตนเองหรือคนในครอบครัว ญาติกา และเพื่อนๆ ของตนเองก็ได ดังน้ันการอานบทความน้ี ผูประกาศและผูดําเนินรายการจึงตองใช น้ําเสียงท่ีเต็มไปดวยความอบอุน ฟงแลวรูสึกละมุนละไม นาลองทํา ตองหมั่นตรวจสุขภาพหรือ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทาน การออกกําลังกายและอ่ืนๆ ท่ีไมเหมาะสมแลว ฟงแลว นา เช่อื ถือ นาปฏิบัติตาม สรุปเนอ้ื หาสาระในบทน้ี คอื นักศึกษาไดทราบถึงความหมายของบทความ ไดทราบถึงประเภทของบทความท่ีแบงตาม “เน้ือหา” 11 ประเภท วิธีการอานบทความและเทคนคิ สาํ หรับฝกฝนการอานบทความ ซง่ึ การจะ เปนผูประกาศและผูดาํ เนินรายการท่ีมีคุณภาพนั้นจะตองทําความเขาใจดา นเน้ือหา ตองวิเคราะห จุดมุงหมายใหแนช ัดวามีจุดมุงหมายหรอื เจตนา ตองฝกอานใหเต็มเสียง ตองนําเสนอขอมูลที่ถูกตอ ง ตามหลักเกณฑใ นภาษาไทย ตอ งระวงั มสี ติและสมาธิในการอาน เปน ตน นอกจากนน้ั ยังจะไดท ดสอบ การอานออกเสียงบทความสําหรับผูประกาศและผูดําเนินรายการ ในรูปแบบเนื้อหาสาระท่ีแตกตาง กัน เพ่ือใหน กั ศกึ ษาสามารถใชน้ําเสียงและการนําเสนอท่ีเขากับเน้ือหาสาระของบทความท่ีกําลังอาน ไดเหมาะสมและมีประสทิ ธภิ าพมากยิง่ ข้ึน 116

แบบฝก หดั เพ่อื ทบทวนความรูและความเขา ใจ แบบฝก หดั ทายบทของทกุ บท เพ่ือการกระตุนความตนื่ ตวั ในการเรียนรูแ ละนาํ ไปสกู าร จดจาํ ไดอยา งลกึ ซ้งึ ดวยการใชคาํ ถามท่ตี อ งอธิบายความและยกตวั อยา งประกอบ ซ่ึงตองใชความเขา ใจจากการเรียนรูแ ละฝกปฏิบัติอยางสมา่ํ เสมอ 1. ใหนักศกึ ษาอธิบายความหมายของบทความมาใหล ะเอยี ดและยกตัวอยางบทความทเ่ี คยอาน มาและชื่นชอบเปนพเิ ศษ เพราะเหตุใด 2. ประเภทของบทความ ถาแบงตามเนอื้ หามีก่ีประเภท 3. บทบรรณาธกิ าร มลี กั ษณะอยางไร 4. บทความสัมภาษณ มีลกั ษณะอยางไร 5. บทความแสดงความคดิ เห็นท่ัวไป มลี ักษณะอยา งไร 6. บทความวเิ คราะห มีลักษณะอยางไร 7. บทความวิจารณ มลี กั ษณะอยางไร 8. บทความสารคดีทอ งเทย่ี ว มลี กั ษณะอยางไร 9. บทความก่ึงชีวประวตั ิ มีลักษณะอยา งไร 10. บทความครบรอบป มีลักษณะอยางไร 11. บทความเชงิ ธรรมะ มีลกั ษณะอยา งไร 12. บทความวชิ าการ มลี ักษณะอยางไร 13. วิธกี ารอานบทความ ประกอบไปดว ยอะไรบาง 14. เทคนิคสาํ หรับฝกฝนการอานบทความ มอี ะไรบา ง 15. ใหนกั ศกึ ษาแสดงความคิดเห็นวา การอานบทความนัน้ มคี วามยากงายหรือไมอ ยา งไร ตรงจดุ ไหน ยกตวั อยา งอธิบายใหชัดเจน 117

จุดประสงคของการเรียนรูในบทนี้ 1. นักศกึ ษาไดเ รยี นรูแ ละอธิบายไดถึงความหมายของสารคดี 2. นักศึกษาไดเ รียนรูและอธิบายไดถ ึงจดุ มงุ หมายของเน้อื หาสาระจากสารคดี 3. นักศึกษาไดเรียนรูและอธิบายไดถ งึ ลักษณะของสารคดี 4. นักศึกษาไดเรียนรแู ละอธบิ ายไดถึงประเภทของสารคดี 5. นักศึกษาไดเ รียนรูและอธิบายไดถ ึงองคประกอบของสารคดี 6. นักศกึ ษาไดเรียนรแู ละอธิบายไดถึงการทาํ ความเขาใจกอ นอานออกเสยี งสารคดี 7. นักศึกษาไดเรยี นรแู ละอธบิ ายไดถ ึงหลักการอานออกเสียงสารคดี รวมทง้ั สามารถนําไปใช ไดใ นการปฏบิ ัติงานจรงิ 9.1 ความหมายของสารคดี ความหมายของ “สารคด”ี ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน อธบิ ายวา สารคดี หมายถึง “เรื่องที่เขียนขึ้นจากเคาความจรงิ มิใชเร่ืองที่เกิดจากจินตนาการ” (ถวัลย มาศจรัส 2545) ดงั น้นั สารคดีจึงเปนขอมูลที่ผูเ ขียนตองการจะใหสาระ ความรู ความคิด โดยไมใชจ ินตนาการ และอารมณผ สมผสานลงไป แตจะตอ งใชภาษาสํานวนที่มีศิลปะ คมคาย เพื่อใหผูรับสารเกิดความ สนุกสนานเพลิดเพลิน ดวยเหตุท่ีสารคดีเปนเรื่องที่เขียนข้ึนจากความเปนจริง ทําใหเน้ือหาจะ เกี่ยวของกับเรื่องราวของบุคคล ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร วิทยาศาสตร การเดินทาง ทองเที่ยว การอธิบายปรากฏการณตางๆ ท่ีเกิดขึ้นแนะนําสถานสําคัญในแตละทองถ่ินจาก ประสบการณจริงของผูเขียนหรือผูอื่น โดยจุดสําคัญน้ันจะมุงเปาไปท่ีการใหสาระความรู กระตุน ความคิดเปนประเด็นหลัก รวมทงั้ การสอดแทรกความเพลิดเพลินเปนประเด็นรองแกกลุมผูรับสาร ตา งๆ การนําเสนอนั้นจะทําอยางมศี ลิ ปะหรือมีสุนทรยี ะอยา งนา สนใจ 118

จดุ มงุ หมายของเนื้อหาสาระจากสารคดี เพราะการนําเสนอสารคดแี ตละเรอ่ื ง ผูเขียนยอมมีจุดมุงหมายท่ีแตกตางกันออกไป ดังน้ันจึงควรต้ังจุดมุงหมายของเนื้อหาสาระใหชัดเจน กอนวา จะเขียนเพอื่ นําเสนอสําหรับใคร เพอื่ จะไดกลน่ั กรองเนือ้ หา ภาษาและประเด็นในการนําเสนอ ในประเด็นท่ีเหมาะสมกบั วยั ของผูรับสาร (บญุ กวา ง ศรสี ทุ โธ 2558) โดยมจี ุดมงุ หมายหลักๆ ดังนี้ 1) เพ่ือใหความรู อาจจะเปนความรูเฉพาะสาขาวิชา เชน สาขาแพทยศาสตร สาขา วิทยาศาสตร สาขาสังคมศาสตร หรอื สาขาภาษาศาสตร เปน ตน อาทิ ความรเู ก่ียวกับโรคไขเลือดออก ความรูเก่ียวกับยานอวกาศ ความรูเกี่ยวกับการทําธุรกิจคา ขาย ความรูเ ก่ียวกับภาษาในยุคมนุษยถ้ํา เปน ตน 2) เพอื่ ใหข อเท็จจรงิ ซงึ่ อาจไดมาจากประสบการณที่ผูเขียนคน ควาและรวบรวมมา หรอื จากการพบเจอเหตุการณเหลานั้นดวยตนเองหรือไดรับการบอกเลาโดยมีหลักฐานท่ีนาเชื่อถือ ซ่ึง ผูเขยี นจะนาํ มาเรียบเรียงและนําเสนอในรูปสารคดี เชน สารคดีเกี่ยวกับสัตวปา สารคดเี ก่ียวกับแหลง นํา้ ลาํ ธารตางๆ สารคดีทองเที่ยวทางน้ําและทางบก สารคดีเกี่ยวกับเหตุการณซึ่งเปนท่ีพูดถึงของผูคน ในสงั คม ณ ปจจุบนั เปนตน 3) เพื่อแสดงความคิดเห็นหรือแนวคิด ถือเปนการใหแนวทางท่ีเปนประโยชนตอ ประชาชน เพ่อื สง เสริมใหผ รู บั สารมีความคิดที่กวางขวางและรอบดานมากย่ิงข้ึน เชน สารคดีเกี่ยวกับ การพัฒนาองคกร สารคดีเกี่ยวกับการแกปญหามลพิษในชุมชน สารคดีเก่ียวกับการจัดการดาน แรงงานของนกั ศึกษาทเ่ี พิง่ เรียนจบมหาวิทยาลัย เปน ตน 4) เพ่ือใหความเพลิดเพลิน อันจะสงผลทําใหสารคดีเร่ืองน้ันๆ เขาถึงกลุมผูรับสาร เปาหมายไดมากท่ีสุด (E-Courseware 2558) สารคดีบางเร่ืองจึงเขียนใหเปนสารคดีท่ีไมมีสาระ วิชาการมากเกินไป ท้ังน้ีเพื่อมุงสนองความตองการของผูรับสารใหเกิดความเพลดิ เพลินสนุกสนานไป กับเนื้อหาของเรื่อง ขณะเดียวกันก็ไดสาระความรู ขอเท็จจริงและความคิดเห็นดวย เชน สารคดี เกี่ยวกบั การดแู ลผสู งู อายุ ผเู ขียนอาจจะใชวิธีการเลาเร่ืองโดยนําเสนอในมุมท่ีนารกั และนาสนุกสนาน ของผูสูงอายุในบานกับลูกหลานๆ ซ่ึงเปนกิจกรรมท่ีผูรับสารสามารถจินตนาการรวมไปได เพราะมี รูปแบบท่ีคลา ยๆ กัน ท้ังน้ีผูเขียนสารคดีจะสอดแทรกสาระความรูและขอคิดในเรื่องการใชศักยภาพ ของสมาชิกครอบครัวเพื่อดูแลผูสูงอายุในบานใหมีความสุขในทุกๆ วัน โดยใชการพรรณนาความรัก ความอบอุนที่ทุกคนในบานจะไดรับจากกิจกรรมดูแลผูสูงอายุ ไดแก พอ-แม ปู-ยา ตา-ยาย ดวย ถอยคาํ ท่สี ละสลวยและซาบซึ้งใจท่ไี ดร บั ฟงรบั ชมหรือไดอ า นสารคดีนนั้ ๆ 119

9.2 ลักษณะของสารคดี 1) เน้ือเร่ืองสวนใหญจ ะมีสาระและสามารถนาํ ไปประยกุ ตใชไ ดจริงเปนประโยชนท่ีนําไป ตอ ยอดขยายผลไดจรงิ เปน งานเขียนทีม่ ุง กระตุน ใหผรู ับสารเกิดความรูความคดิ อยา งมเี หตุผล 2) เนอื้ เรือ่ งไมจํากดั วาจะตองเปน เรอ่ื งหน่งึ เร่อื งใดโดยเฉพาะเทานั้น เพราะถา ผูเขียนเห็น วาเนื้อหาน้นั มสี าระบันเทิงที่นาสนใจและนา จะเปนประโยชนก็สามารถนํามาเขยี นได 3) การใชสํานวนภาษาของสารคดี จะมุงเนนการสรา งความเพลิดเพลินแกผูรับสารและ ผอนคลายความตึงเครียดในชีวติ ประจาํ วนั 4) สารคดีสวนใหญจะเปนเร่ืองราวที่ไมคอยลาสมัย ไมมีการจํากัดกาลเวลาเหมือนขาว ทาํ ใหสามารถนํากลบั มายอนดู ฟง หรอื อานไดเปนระยะๆ ประเภทของสารคดี สารคดีตางๆ ที่เผยแพรออกสูสาธารณชนท่ัวไป อาจมีชื่อเรียกในวงการสื่อสารมวลชนได หลากหลาย เชน สารคดีเชิงขาว (News Documentary) สารคดีเชงิ วิเคราะห (Documentary) สาร คดีเนื่องในโอกาสพิเศษ (Special Occasion Feature) สารคดที องเท่ียว (Touring Feature) และ สารคดีเชิงนิเวศ (Eco-Documentary) เปนตน แตโดยสรุปรวมเปนหมวดหมูสําคัญๆ สามารถ จัดแบง ออกไดเ ปน 3 ประเภทใหญๆ ดงั น้ี 1) สารคดีท่ัวไป (General Feature) เปนเรื่องที่ใหสาระความรูและขอมูลที่ นาสนใจท่ัวๆ ไป เชน การทาํ อาหาร การเดินทางทองเที่ยว การเลนกีฬา การประดิษฐของเลน การ ปองกนั อุบตั เิ หตุ ขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละวฒั นธรรมที่แตกตา งกันของคนทวั่ โลก เปนตน 2) สารคดีวิชาการ (Academic Documentary) เปนเรอื่ งทใ่ี หความรใู น สาขาวิชาการแขนงตางๆ เชน ดานสังคมศาสตร เศรษฐกิจและการเมือง ดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี ดานภาษาศาสตรท ี่แตกแขนงออกไปเปนภาษาสมัยใหมท ่ีใชในการส่ือสารของวยั รุนท่ัวโลก ในยุคโลกดิจิทัล ดานเกษตรศาสตรท่ีกําลังเปล่ียนแปลงไปตามสภาวะภัยธรรมชาติที่รุนแรงมากขึ้น ของโลก ดานศาสนศาสตรท่ียังมีผลตอความสุขความสบายใจในวิถีการดํารงชีวิตของผูคนท่ีนับถือ ศาสนาซึ่งแตกตางกนั เปน ตน 3) สารคดีชีวประวัติ (Biography) เปนการเขียนเกี่ยวกับบุคคลท่ีมีช่อื เสียงเปนท่ี รูจักกันดีในสังคมหรือบุคคลที่มีความรูความสามารถเปนพิเศษและเปนท่ียอมรับของผูคนในสังคม ผูเ ขยี นสารคดีประเภทนจี้ ะตอ งมีขอมลู ทถ่ี ูกตอ งตามชว งเวลาตางๆ ของชวี ิต ตองใหค วามเปนธรรมกับ บคุ คลผนู น้ั ตอ งปราศจากความลาํ เอียงหรือเรยี กวามีอคติสวนตัว ซึ่งจะตองใชวิธีการเขียนโดยการไป สัมภาษณเจาของประวัตหิ รือผูทเ่ี กี่ยวของกับบุคคลผูน้นั แลวนาํ เอาขอมูลตางๆ ซ่ึงเปนส่ิงที่มีสาระมี ประโยชนมารวบรวมกล่นั กรองเขียนไว เพ่ือใหเกิดความรู ความเพลิดเพลินบันเทงิ เริงใจและใหแงคิด ทดี่ ีมปี ระโยชนแ กผ รู บั สารโดยท่วั ไป 120

9.3 องคประกอบของสารคดี ผูประกาศและผูดําเนินรายการซ่ึงจะตองเปนผูอานออกเสียงเพ่ือถายทอดอารมณ ความรูสึกตางๆ ในสารคดีน้ันๆ ออกไปสูการรับฟงรับชมของผูรับสาร ควรตองศึกษาและเรียนรู เกีย่ วกับองคป ระกอบของสารคดีไวดวยวามสี ว นประกอบของอะไรบาง ดงั นี้ 1) คาํ นาํ คือ การเริม่ ตนเรือ่ งโดยการเกริน่ ใหผ ปู ระกาศและผดู าํ เนินรายการซึ่ง จะตองเปนผูอานทราบวาเรื่องที่จะเขียนนั้นเก่ียวกับเร่ืองอะไร เปนการเสนอทัศนะไวอยางกวางๆ กอ น ไมต องอธิบายอยางละเอียด และไมต องเขียนยาวมากนัก มีเพียงยอหนาเดียว ควรมจี ุดมุงหมาย เพื่อสรางความสนใจแกผูอา นใหไ ดทราบขอมูล เร่ืองท่ีนารแู ละนา สนใจ 2) เนอ้ื เรื่อง คอื การขยายเน้อื ความใหผูประกาศและผดู าํ เนินรายการซึง่ จะตอ ง เปนผูอานไดทราบขอมูล รายละเอียด โดยอาจแทรกสถิติ ตัวอยางประกอบ เพ่ือความนาเชื่อถือมาก ยิง่ ข้นึ การเขียนเนื้อเร่อื งอาจมีหลายยอหนา 3) สรุป คอื การเขียนขอ ความในตอนทา ยของเรื่อง ผูเ ขียนตองใชศ ิลปะในการ สรา งความประทบั ใจแกผ ูรับสาร อาจใชกลวิธี เชน สรุปโดยการใชสาํ นวน คําพังเพย หรอื คําคม หรอื อาจใชการทิ้งทายดวยคําถามท่ีทาทายผูรับสารใหนึกอยากลองคนหาคําตอบ ในสวนของการเขียน สรุปควรมีเพยี งยอหนาเดยี ว การทาํ ความเขา ใจกอนอานออกเสยี งสารคดี ผปู ระกาศและผดู าํ เนนิ รายการซงึ่ จะเปนผูถายทอดเนอ้ื หาเร่ืองราวตางๆ จากบทสารคดีตางๆ น้นั ตองทาํ ความเขาใจเปนประเดน็ ตา งๆ ดังนี้ (กลมุ พฒั นาและสงเสริมวทิ ยบรกิ าร สํานักวชิ าการและ มาตรฐานการศึกษา สํานกั งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2558) อันดับแรก คือ ตองเริ่มตนทําความเขาใจ วาการอานสารคดีน้ันเปนการอานเพื่อรับรู ความหมายวาผูเ ขียนบทคดิ อะไรและตอ งการพดู ถึงสาระอะไร อันดบั สอง คอื ตองทําความเขาใจถอยคําแตละคํา เขาใจวลี เขาใจประโยคท่ีรวมอยูในแต ละยอ หนา และเขาใจแตล ะยอ หนา ทมี่ คี วามเกีย่ วโยงสัมพันธซงึ่ กนั และกนั อนั ดับสาม คือ ตองทาํ ความเขา ใจวา ในแตล ะยอ หนาอาจมีความหมายท่แี ตกตางเร่ืองราว และอารมณความรูสึกท่ีไมเหมือนกันก็ได แตสามารถรวมตัวเปนเร่ืองราวเดียวกันได เพ่ือใหเกิด อรรถรสที่นาสนใจและนาติดตาม โดยถาพิจารณาการอานตามหลักวิทยาศาสตร จะเห็นไดวาเริ่ม ต้ังแตขั้นตอนจากการที่แสงตกกระทบที่สื่อและสะทอนจากตัวหนังสือผานทางเลนสนัยนตาและ ประสาทตาเขาสูเซลลส มองไปเปนความคิด (Idea) ความรับรู (Perception) และกอใหเกิดความจํา (Memory) ท้ังความจําระยะสั้นและความจําระยะยาว ดังน้ันการอานบทสารคดีก็เชนเดียวกัน คอื ผู ประกาศและผูดําเนินรายการตองอานอยางพินิจพิจารณาพิเคราะหด วยการใชความคิด การรับรแู ละ ความจําในประเด็นตางๆ ที่ไดอาน กอนท่ีจะใครครวญเน้ือหาสาระท่ีอานวา ผูเขียนบทมีความมุง 121

หมายใหนําเสนอถายทอดไปยังผูรับสารในแนวทางใด ตองการใหส่ือความหมายและอารมณของเนื้อ เร่ืองไปในลกั ษณะเชน ไร อาทิ ใชนาํ้ เสยี งแสดงออกถงึ ความนาสงสาร นาเห็นใจ ออนวอนขอรอง ขอ ความเมตตาและกระตุนใหเกิดความสํานึกดานคุณธรรม หรือแสดงออกถึงความย่ิงใหญอลังการของ โครงการตางๆ ที่จะนําเสนอในสารคดี หรือแสดงออกถึงการมีความหวังที่จะไดรับความสําเร็จจาก ความรว มมอื รว มใจกนั ของผคู นในสงั คมไทย เปน ตน 9.4 หลกั การอา นออกเสยี งสารคดี จากขอมูลทกี่ ลาวมาตงั้ แตต น จึงสรปุ ไดวา การอา นออกเสยี งสารคดเี ปน การอานที่มี จุดมุงหมายเพอ่ื ใหไดท ้ังสาระความรแู ละความเพลิดเพลิน ดังนน้ั ผปู ระกาศและผูดําเนินรายการท่เี ปน ผูอานออกเสียงจึงควรตองอานอยางมีวิจารณญาณ ศึกษาความสัมพันธของเนื้อหาสาระ การใช ภาษาและเจตคติของผูเขียนมาเปนอยางดี โดยมีหลักการอานออกเสียงสารคดี (True ปลูกปญญา 2558) ดงั น้ี 1) ตองใชการสังเกตอยางพิถีพิถันเพื่อจับใจความสําคัญของเร่ือง ใชความรูและ ทักษะในการวเิ คราะหความหมายของถอยคําเพื่อหานัยสําคัญทีแ่ ฝงอยู และสรุปใจความสําคัญของ เนอื้ หานน้ั โดยจดั ลําดับประเดน็ ตา งๆ ใหเ หมาะสม 2) ตองตั้งใจวิเคราะหความเห็นของผูเขียน ผูประกาศและผูดําเนินรายการซ่ึงจะ เปนผูอานบทสารคดีตางๆ น้ัน ควรแยกขอเท็จจริงและความคิดเห็นของผูเขียนออกจากกันโดยใช วิจารณญาณของตนเองวาเห็นดวยกับทัศนะของผูเขียนหรือไม รวมทัง้ วิเคราะหตัวผูเขียน โดยศึกษา จากลีลาการเขียน การใชภาษา วิธีการบรรยายขอมูล การเลาเรื่อง เลาประสบการณ รวมท้ัง อารมณท ี่แสดงออกมาในเร่ืองวา ออกมาในลกั ษณะเชนไรบา ง เพือ่ การอา นนําเสนออยา งเหมาะสม 3) ตอ งมีความสามารถในการวเิ คราะหกลวิธีการเขียน ต้ังแตก ารต้ังชอ่ื เรื่องวาดงึ ดูด ความสนใจหรือไม การวางโครงเรื่อง วธิ ีการดําเนินเรื่องและผูเขยี นไดสรุปโดยเสนอแนวคิดอะไรไว บางที่เปนประโยชนซ่ึงสามารถนํามาตอยอดขยายผลใหกับกลุมผูรับสารไดอยางมีคุณคาและ กวางขวางมากขึน้ 4) ตองสามารถวิเคราะหความสัมพันธของเน้ือหาสาระกับการใชภาษา ผูประกาศ และผูดําเนินรายการ ควรคิดพิจารณาวาสารคดีเรื่องนั้นเสนอขอมูลตางๆ ท่ีทําใหขอเท็จจริงและ ความคดิ เหน็ กลมกลืนกันหรือไม มีการใชภ าษาและโวหารเหมาะสมกับเนอ้ื เรื่องหรือไม อยางไร ดังน้ันถาผูป ระกาศและผดู าํ เนินรายการสามารถทาํ การอา นออกเสยี งสารคดโี ดย ใชวิจารณญาณดังกลา วท้ังหมดท่กี ลาวมา จะทาํ ใหสามารถถายทอดเนื้อหาสาระสําคัญของเร่ืองได อยางตรงประเดน็ และจบั ใจผูฟ งผูช ม จนสามารถนําขอมลู ตา งๆ ทเ่ี ปน ความรูความคดิ เห็นในสารคดี ไปใชใหเ กดิ ประโยชนใ นการดําเนินชีวิตและการประกอบอาชพี ไดท ้ังทางตรงและทางออมของกลมุ ผูรับสารทง้ั หลาย 122

ตวั อยา งบทสารคดสี าํ หรบั ผูประกาศและผูด าํ เนินรายการ ใชฝ ก ฝน ทักษะการอา นออกเสยี งบทสารคดีในรูปแบบที่มเี นอ้ื หาสาระท่แี ตกตา งกนั 1. ตวั อยา งสารคดีทัว่ ไป (General Feature) เร่ือง “แอว เหนอื ” ผูประกาศ : สวสั ดีครบั ทา นผูฟงทกุ ทานวนั นกี้ ก็ ลับมาพบกนั อกี เชนเคยกลับชวง เที่ยวท่ัวไทย วันน้ีเรา จะพาไปเท่ียวที่ภาคเหนือกันนะครับ น่ันก็คือ ดอยแมสลอง เปนสถานที่ทองเท่ียวท่ีมีช่ือเสียงใน ภาคเหนอื เรียกวาตดิ อันดบั กนั เลยทเี ดยี วเรามาฟงประวัติของดอยแมส ลองกันกอนครบั ผูประกาศ : ประวัติของดอยแมสลอง เปนชุมชนของอดีตทหารจีนกองพล 93 ของนายพล เจียงไคเชค ทําการรบอยูทางใตของจีนในชวงสงครามโลกครงั้ ที่ 2 ประทะกับฝายคอมมิวนิสตนําโดน เหมาเจอตุง ทําใหถูกผลักดันถอยรนมาจนถึงเทือกดอยตุงชายแดนไทย ดอยแมสลองเปนยอดดอย หนงึ่ ในเทือกเขาแดนลาวอยูในเขต อ.แมฟาหลวง มคี วามสูงประมาน 1200 เมตร จากระดับนาํ้ ทะเล บนยอดดอยมสี ถานทท่ี อ งเทยี่ วใหช มหลายแหงดว ยกัน เชน พระบรมเจดียศรนี ครินทราสถิตมหาสันติ คีรี ตั้งอยูเหนือหมูบาน ไปตามถนนลาดยางประมาณ 4 กม. จะพบพระบรมธาตุสรางขึ้นในป พ.ศ. 2539 แดส มเดจ็ ยาลกั ษณะเปนสถาปต ยกรรมทรงลานนาประยกุ ตบ นฐานสเ่ี หลีย่ มลดขั้น สูง 20 เมตร ฐานกวางดา นละ 15 เมตร ทาํ ใหสามารถมองเหน็ วิวหมูบา นสันติครี ี ไดอยางสวยงามดวยความสูงกวา 1500 เมตร จากระดับนาํ้ ทะเล บรเิ วณน้ีจงึ เปน จุดชมพระอาทิตยต กที่สวยงามทส่ี ุดของดอยแมสลอง ผูประกาศ : ดอยแมสลอง หางจากตัวเมืองเชยี งราย 75 กม. ใชเวลาเดินทางประมาณ 1.5 ชั่วโมง เปนช่ือเรียกรวมๆ ของชุมชนชาวจีนฮอแหงกองพล 93 ท่ีตง้ั หลักแหลงบนดอยแหงน้ีมานาน กวา 40 ป ปจจุบันชุมชนชาวจีน บนดอยแมสลองมีช่ือวา หมูบานสันติคีรี ตั้งอยูที่ความสูงจาก ระดับน้าํ ทะเลเฉลี่ย 1200 ม. อากาศเยน็ สบายตลอดป รายไดห ลักมาจากการปลูกชาอูหลง บา นสันติ คีรเี ปนชุมชนขนาดใหญ มีประชากร ประมาน 800 หลังคาเรือน มีทั้งวัด โบสถคริสต มัสยิด ระบบ ไฟฟา โทรศัพท และธนาคารทหารไทยทใ่ี หบ ริการอยา งสมบูรณ ผปู ระกาศ : เปนยังไงกันม่ังครับกับการเดินทางไปทองเทยี่ วยังดอยแมสลอง หลายๆ คนอาจ เคยไปกันมาบา งแลว แตอีกหลายคนที่ยังไมเคยไดพบเห็นกับความสวยงามของดอยแหงนี้ ปดเทอมน้ี มเี วลาวางอยากเชญิ ชวนใหท ุกๆคนไดล องไปสมั ผสั กับบรรยากาศของจริง และคุณจะรวู าประเทศไทย มีดีกวาทคี่ ณุ คดิ สําหรับชว งน้ีกห็ มดเวลาของผมแลวไวพบกันใหมโอกาสหนา ขอสวสั ดีและขอบคุณทุก ทา นครบั ……………………………………………………………………………………………………………… ทมี่ า: ธนพล สวุ รรณอาภรณ (2553) http://thanaponz.blogspot.com/2010/10/blog-post.html 123


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook