Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Broadcast Media Announcing and performance

Broadcast Media Announcing and performance

Published by CCDKM, 2019-05-09 02:17:17

Description: Broadcast Media Announcing and performance
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐนันท์ ศิริเจริญ
คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ประจำปี 2561

Search

Read the Text Version

1) ฝก วิธกี ารต้ังคําถามเพื่อใหไดคําตอบทีเ่ ปนขอมูลเชิงกวางและเชงิ ลกึ การสมั ภาษณแขกรับเชญิ ในรายการ บางครั้งมีอุปสรรคปญหาตรงที่ผูใหสัมภาษณเปนคนพูด นอย พูดไมมาก จะเรียกวาประเภท “ถามคํา-ตอบคํา” ก็ได ดังนั้นผูประกาศและผูดําเนินรายการ จะตองมีเทคนิควิธีการต้ังคําถามท่ีทําใหแขกรับเชิญตองพูดอธิบายความหรือพูดขอมูลท่ียังไมมีใคร ทราบมากอนออกมา โดยการฝกใช “คําถามปลายเปด” เปนสวนใหญ ทงั้ น้ีเพราะการต้ังคําถาม ปลายเปด คือ การเปดชองใหแขกรับเชิญตองแสดงความคิดเห็น ตองชี้แจงขอมูลในสวนปลีกยอย ออกมาดว ย ซ่ึงจะทําใหไดขอมูลท้ังเชิงกวางที่ครอบคลุมขอมูลโดยภาพรวมและจะไดขอมูลเชิงลึกใน ดานรายละเอียดตางๆ สว น “คําถามปลายปด” นั้น คอื คําถามเพอื่ ใหไ ดคาํ ตอบในลักษณะ “ใชหรือ ไมใช” “จริงหรือไมจริง” หรือถามช้ีนําไปยังขอสรุปสุดทายเพื่อใหพูดตอบเฉพาะขอสรุปส้ันๆ เทาน้ัน กรณเี ชน น้ีมกั จะใชเฉพาะเวลาตองการดึงผูใหสัมภาษณกลับเขามาอยูในประเด็น เพราะอาจ พูดออกนอกเรอื่ งไปแลว และจะใชตดั บทเพื่อจบการสัมภาษณใ หตรงเวลาเทาน้ัน 2) ฝกการจับประเดน็ ในระหวา งการสมั ภาษณเพือ่ นําไปสรุปปด ทา ย การพูดคุยสัมภาษณกับแขกรับเชิญนั้น ตองอาศัยทักษะความสามารถของผูประกาศและผู ดําเนินรายการเปนอยางมากในการทําใหฟงแลวล่ืนไหลไดป ระโยชนดวย เพราะสวนใหญประเด็นที่ สัมภาษณจะไดคําตอบท่ีหลากหลาย จึงเปนหนาที่ของผูประกาศและผูดําเนินรายการที่จะตองใช ทักษะความสามารถในการฟงใหเขาใจและจับประเด็นสําคัญในคําสนทนาตามไปดวย เชน จับคํา สําคัญท่ีแขกรับเชิญพูดถึงบอยๆ หรือ ประโยคที่มักเนนยํ้าวาจะดําเนินการอยางนั้นอยางน้ี เพราะ หากมขี อ สงสยั หรอื ไดฟ ง ขอมลู ใหมข้ึนมา ผูประกาศและผูดาํ เนินรายการจะไดซกั ถามเจาะลึกลงไปใน รายละเอียดไดอยา งทันทวงที และสามารถพูดสรุปใจความสําคัญไดอ ยา งสั้นกระชับ ไมยดื ยาด โดย ไมน ําคําพูดของแขกรับเชิญมาพูดซํา้ ใหเสียเวลาอีก ส่ิงเหลานี้ตองอาศัยการฝกฝนและประสบการณ ของผูประกาศและผูดําเนินรายการที่ผานการทํางานมายาวนานพอสมควรจึงจะสามารถทําแลว นาสนใจนาตดิ ตามเปน มอื อาชีพทแ่ี ทจริง 3) การนาํ เสนอภาษากายทส่ี ภุ าพและนา เชือ่ ถือ ในการนําเสนอขอมูลขาวสารจากการสัมภาษณน้ัน ผูประกาศและผูดําเนินรายการควรตอง ดูแลบุคลิกภาพทั้งหมดท่ีจะเผยแพรภาพไปยังสาธารณชนดวย อาทิ การแตงกายและเลือกสวมใส เส้อื ผา การไมแ ตงหนา เขมจัดจนเหมือนจะออกแสดงลิเก การทําทรงผมและยอมสีผมท่ีดูสุภาพ การ ใสเครื่องประดับที่ไมดูหวือหวาจนโดดเดนกวาขอมูลขาวสารที่กําลังนําเสนออยู รวมท้ังการแสดงสี หนา ทา ทาง การมรี อยยม้ิ ท่ีแสดงความสดช่นื ใหผูรับชมรายการรูสึกไปดว ย การใชมอื ประกอบเรื่องท่ี นําเสนออยางพอเหมาะพอควร ท้ังหมดนี้เปนภาษากายทตี่ องพึงระวังแสดงออกแตพ องามใหเหมาะ กับรูปแบบของขอมูลขาวสารในรายการนั้นๆ ดว ย 174

ปญ หาของการนําเสนอขอ มูลขาวสารโดยผปู ระกาศและผดู าํ เนนิ รายการ 1) ปญหาของน้ําเสียงเฉพาะบุคคล อาทิ -เสยี งทุมไป -เสียงแหลมไป -เสยี งหา วไป -เสียงตาํ่ ไป -เสียงดงั กระดางไป -เสียงคอยไปขาดพลงั ไมหนักแนน 2) ปญหาการติดออกเสยี งสําเนียงตามภูมภิ าคของตน 3) ปญหาการอานไมแ ตกฉาน ทาํ ใหอา นหรือพดู ตะกุกตะกักไมร าบร่นื 4) ปญหาเร่อื งสายตาสนั้ สายตายาว สายตาเอียง ฯลฯ ทําใหอ านบทไมค ลอ งไมล ื่นไหล สง ผลใหการนําเสนอขอมลู ขา วสารติดๆ ขัดๆ ไมน าตดิ ตามฟง เปนตน ดงั นั้นปญ หาและอปุ สรรคของผูป ระกาศและผูดําเนินรายการ จึงสามารถแกไขไดโ ดยการฝก ปฏิบัติ ตองฝกลดอาการประหมา เชน ทําสมาธิ ฝกออกเสียง ร ล และคําควบกล้ํา ฝกอานคํายาก ฝก ทาอา นบท แบบน่งั ตวั ตรงไมกมมาก ใชการชําเลืองอานต้ังศีรษะตรงเสมอ ฝก แกปญหาเฉพาะหนา ในการอา น การประกาศหรือการพดู โดยส่งิ ท่ีสําคัญ คอื ตองขยนั อานหนังสือ ฟงวิทยุและดูโทรทัศน เพ่อื ศกึ ษาผูอ น่ื และรบั ขอมูลเพ่ิมเตมิ ตลอดเวลา เพราะทักษะสําคญั ท่ีผูประกาศและผูดําเนินรายการ ที่ดี ควรตอ งมมี ากกวา ประชาชนโดยทัว่ ไป คือ ตองมีทักษะความสามารถในการใชภาษาพูดที่ชดั เจน ถกู ตองและคลองแคลว รูจักการปรบั ใชนํ้าเสียงใหเหมาะสมกับเวลา โอกาสและรูปแบบรายการ เปน ผูอานหนังสอื ไดอยางแตกฉาน เขาใจความและเก็บขอความ ที่อานไดอยางถูกตอง สามารถควบคุม อารมณไ ดทุกสถานการณ เพ่อื ควบคมุ นา้ํ เสยี งทป่ี ระกาศหรือพูดออกมาใหนา ฟง อยูเสมอ สรปุ เน้ือหาสาระในบทน้ี คือ นกั ศกึ ษาไดเรียนรูและเขาใจถึงขั้นตอนเพ่ือนําเสนอขอมูลขาวสารในสื่อวิทยุและส่ือโทรทัศน ไดแก การตรวจสอบความถูกตองเปนจริงของขอมลู ขาวสารท่ีไดรับมา การตีความเนื้อหาสาระของ ขอมลู ขาวสารใหเขาใจอยางถองแทกอนนําเสนอ การนําเสนอขอมลู ขาวสารดวยลีลาท่ีเหมาะสมกับ เนื้อเร่ือง ขอควรระวังเก่ียวกับการนาํ เสนอขอมูลขาวสารทางสื่อวิทยุกับการพูดทางส่ือโทรทัศน ขอ ควรปฏิบัติในการนําเสนอขอมูลขาวสารผานสื่อวิทยุและส่ือโทรทัศนของผูประกาศและผูดําเนิน รายการ ไดทราบถงึ วิธีการนําเสนอขอมูลขาวสารทางส่ือวิทยุและสื่อโทรทัศน วิธีการฝกฝนลีลาและ อารมณใ นการอา นประกาศและพูดทางส่อื วทิ ยุและสือ่ โทรทศั น ศิลปะการนําเสนอขอมูลขา วสารดวย การอานและการพูดของผูประกาศและผูดําเนินรายการ วิธีการสัมภาษณ การจับประเด็นและการ สรปุ ปดทา ย และปญหาของการนําเสนอขอมูลขาวสารโดยผูประกาศและผูดําเนินรายการ ซึ่งเน้ือหา สาระท่ีกลา วมาทัง้ หมดนี้ นกั ศกึ ษาสามารถนาํ ไปฝก ฝนเพื่อใชประโยชนไดจ ริงอยางเปน รูปธรรม 175

แบบฝกหดั เพือ่ ทบทวนความรูและความเขา ใจ แบบฝกหดั ทา ยบทของทุกบท เพื่อการกระตุนความต่ืนตวั ในการเรยี นรูและนาํ ไปสูการ จดจําไดอ ยางลกึ ซ้งึ ดว ยการใชคําถามท่ีตองอธบิ ายความและยกตวั อยางประกอบ ซ่งึ ตองใชค วามเขา ใจจากการเรยี นรแู ละฝก ปฏบิ ตั อิ ยา งสม่าํ เสมอ 1. ใหนักศึกษาอธิบายขั้นตอนเพ่ือนําเสนอขอมูลขาวสารในส่ือวิทยุและส่ือโทรทัศนวาเปนมี อะไรบาง 2. โปรดแสดงเหตผุ ลของการตรวจสอบความถูกตอ งเปนจริงของขอมูลขาวสารทไี่ ดรับมาวาเปน เพราะอะไร 3. ทาํ ไมจงึ ตอ งมกี ารตีความเน้ือหาสาระของขอมูลขา วสารใหเขาใจอยางถองแทกอ นนาํ เสนอ 4. การนําเสนอขอมูลขา วสารดวยลีลาทีเ่ หมาะสมกบั เน้ือเรื่อง มวี ิธกี ารใดบา ง 5. ขอควรระวังเก่ียวกับการนําเสนอขอมูลขาวสารทางส่ือวิทยุกับการพูดทางส่ือโทรทัศน มี อะไรบาง 6. ขอควรปฏิบัติในการนําเสนอขอมูลขาวสารผานส่ือวิทยุและสื่อโทรทศั นของผูประกาศและผู ดาํ เนินรายการ มีอะไรบาง 7. ใหนกั ศกึ ษาอธบิ ายวิธกี ารนําเสนอขอ มูลขาวสารทางสื่อวทิ ยแุ ละส่อื โทรทศั นวา มอี ะไรบา ง 8. วิธีการฝกฝนลีลาและอารมณในการอานประกาศและพูดทางสื่อวิทยุและสื่อโทรทัศน มี อะไรบาง 9. ศิลปะการนาํ เสนอขอ มลู ขา วสารดวยการอานและการพูดของผูประกาศและผูดาํ เนินรายการ ประกอบดว ยอะไรบา ง 10. อธบิ ายวธิ กี ารสมั ภาษณ การจบั ประเดน็ และการสรุปปดทายในการนําเสนอขอมูลขาวสารวา ควรดําเนนิ การเชนไร 11. ปญหาของการนาํ เสนอขอ มูลขาวสารโดยผปู ระกาศและผูด ําเนนิ รายการ มีอะไรบา ง 12. ใหน ักศึกษาแสดงความคิดเหน็ วา ควรมีอะไรเพ่ิมเติมสําหรบั วิธีการนําเสนอขอมูลขาวสารทาง ส่ือวิทยแุ ละสือ่ โทรทศั น เพราะเหตใุ ด 176

จุดประสงคข องการเรียนรใู นบทนี้ 1. นักศึกษามีความรูความเขาใจและทราบถึงการทําหนาที่ผูประกาศและผูดําเนินรายการ กับการใชไมโครโฟน 2. นักศกึ ษามีความรูความเขาใจและทราบถึงชนดิ ของไมโครโฟนเพอื่ เลอื กใชงาน 3. นักศกึ ษามีความรูค วามเขาใจและทราบถึงขอควรระวังในการใชไ มโครโฟนประเภทตางๆ 4. นักศึกษามีความรูความเขาใจและทราบถึงเทคนิควิธีการใชไมโครโฟนและสามารถ นําไปใชไดใ นการปฏิบัติงานจรงิ 13.1 การทําหนา ท่ผี ูประกาศและผดู าํ เนินรายการกับการใชไ มโครโฟน การทําหนาที่ผูประกาศและผูดําเนินรายการน้ัน ตองมีความเกี่ยวของกับ “เสียง” หลายๆ ลักษณะ และในกรณขี องการใชเสียงท่ีมีคนจํานวนมากในพ้ืนที่ขนาดใหญ หรือ การใชเสียงท่ีตองผา น เคร่ืองขยายเสียง คือ ไมโครโฟน (Microphone) เพื่อนําเสียงอานและเสียงพูดของผูประกาศและผู ดําเนินรายการไปผานกระบวนการเขาเครื่องปรับแตงเสียง (Production Sound Mixer) และแปลง สัญญาณออกมาเปน “เสียงตางๆ” ท่ีมนุษยทําใสไมโครโฟนใหผูฟงไดยิน เชน เสียงพูด เสียงหัวเราะ เสียงผิวปาก เสียงกระซิบ เสียงตะโกนเรียก รวมท้ังการดัดเสียงเปนเด็ก วัยรุนและคนสูงอายุ ประกอบการบรรยายสารคดี เปนตน ดังนน้ั การทําหนาท่ีผูประกาศและผูดําเนินรายการ จึงตองมี ความเก่ียวของกับอุปกรณชวยขยายเสียง คือ “ไมโครโฟน” เพ่ือใหการนําเสนอขอมูลขาวสารตา งๆ สมบรู ณแ บบทีส่ ดุ เม่ือพิจารณาถึง“เสียงอานหรือเสียงพูดของมนุษย”จะเริ่มตนจากการหดตัวของกลามเน้ือ หนาอก ซ่งึ เปนผลของอากาศจากปอดที่ดนั ขึ้นมา ผานไปยังคสู ายเสียง (Vocal cords) ทีอ่ ยูภายใน 177

กลอ งเสียง (Larynx) ทําใหม ีการสั่นสะเทือนท่ีบริเวณดังกลาว เกิดเปนเสียงท่อี อกมาจากลําคอ แลวใช อวัยวะในชองปากปรับใหกลายเปนเสียงพูด ไดแก เสียงพูดท้งั พยัญชนะและสระ เสียงรองเพลงและ เสียงลักษณะอื่นๆ เชน เสียงถอนหายใจ เสียงผิวปาก เปนตน (ชยั อยูสวสั ด์ิ 2540) เมื่อตองการนํา เสียงท่ีไดยินมาขยายความดงั อปุ กรณสําคญั ซ่ึงทําหนาท่ีในการรับพลังงานเสียงและแปลงเสียงใหเปน สัญญาณทางไฟฟา คือ “ไมโครโฟน” เพราะไมโครโฟนมีคุณสมบัติที่สําคัญมากที่มีความไว (sensitivity) เปนคาอัตราสวนของแรงดันเอาทพ ุท (out put) ที่เกิดจากไมโครโฟนเทียบกับความดนั เสียงท่ีเขามา มีหนวยเปนโวลตตอปาสคาล (V/Pa) และอาจแสดงในหนว ยเดซเิ บล (dB) ก็ได ซ่ึง ไมโครโฟนทด่ี ีควรมีคา ความไวสงู เพือ่ ชว ยทาํ ใหการปฏิบตั หิ นา ทน่ี าํ เสนอขอ มูลขาวสารไปยังประชาชน ดว ยการอานและการพดู ผานไมโครโฟนของผปู ระกาศและผดู ําเนินรายการเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และประสทิ ธิผลที่ดมี ากยงิ่ ขึ้น โดยประเดน็ สาํ คัญสาํ หรบั การทําหนาทีผ่ ูประกาศและผดู าํ เนนิ รายการกบั การใชไมโครโฟน นั้น เปนเพราะ “ไมโครโฟน” จะเปนตัวชวยใหการทํางานผลิตเสยี งออกมาไดอยางมีคุณภาพมากขึ้น เนอื่ งจากไมโครโฟนเปน อุปกรณท่ีเปลี่ยนเสียงเปนสัญญาณไฟฟา ดังน้ันไมโครโฟนที่ดีจะตองสามารถ เปลี่ยนพลังเสียงไดดี ตลอดยานความถ่ีเสียงซึ่งมีความจํากัดมาก จึงมีเทคโนโลยีหลายอยางเกิดข้ึน เพ่ือใหไดสัญญาณสียงที่ดีเหมือนตนกําเนิดเสียงของผูประกาศและผูดําเนินรายการ ดังนั้นจึงมี ไมโครโฟนหลายชนิดทมี่ ีคุณลกั ษณะไมเ หมือนกันใหไดเรียนรูเ พื่อใชง านไดอยางถูกตองเหมาะสม 13.2 ชนดิ ของไมโครโฟน การเลือกไมโครโฟนเพอ่ื นําไปใชใ หเ หมาะกบั ภารกจิ ตา งๆ ท่แี ตกตางกัน เชน พูดกับคนจํานวน ปานกลาง คือ 30 – 50 คน ในสถานท่ีซง่ึ เปนหองไมกวางมากหรือพูดกับคนจํานวนมาก คือต้ังแต จาํ นวน 100 คนข้ึนไปในหองโถงใหญ เปนตน ดงั น้นั การใชงานในแตล ะลักษณะจะตองพิจารณาใชให เหมาะสมกบั คณุ สมบัติและประสิทธิภาพความสามารถของไมโครโฟนชนิดตางๆ ดวย ความถนัดใน การใชเ สียงกับไมโครโฟนของแตละคนจะแตกตางกัน น้าํ เสียงและการใชเสียงเนนหนัก-เบาหรอื เสียง ดังเสียงคอยของแตละคนก็แตกตางกัน รวมท้ังความเคยชินในการจับไมโครโฟน ระยะหางระหวาง ปากกับไมโครโฟนก็แตกตางกัน หรืออาจเกิดปญหาจากการปรับแตงเสียงไมโครโฟนท่ีไมชํานาญไม ถกู ตอ ง ทาํ ใหเ วลาทพ่ี ูดใสไมโครโฟนออกไปแลว เสียงเบาไป ดงั ไป หรือเสียงแตกเสียงทุมฟงไมชัดเจน เปนตน ไมโครโฟนเปนอุปกรณรับเสียงแลวแปลงไปเปนสัญญาณไฟฟา เพ่ือประมวลผลในเครื่อง ขยายเสยี งหรืออุปกรณผ สมเสียงอืน่ ๆ ไมโครโฟนประกอบดวยขดลวดและแมเหล็กเปนหลัก เมอ่ื เสียง 178

กระทบตัวรับในไมโครโฟนหรือแผนไดอะแฟรม (diaphragm) จะทําใหขดลวดสั่นสะเทือนตัดกับ สนามแมเหล็ก จึงทําใหเกิดสัญญาณไฟฟาชนิดกระแสสลบั ที่มีแรงคล่ืนไฟฟาต่ํามาก ตองสงเขาไปยัง เคร่ืองขยายเสียง เพ่ือขยายสัญญาณใหแรงเพ่ิมข้ึนอีกทีหน่ึง โดยท่ัวไปไมโครโฟนใชรับเสียงอาน เสยี งพูดหรือเสยี งรองเพลง เปนตน สามารถแบงชนิดของไมโครโฟน (ปรญิ ญา สบิ ตะ 2555) ไดด ังนี้ 1) ไมโครโฟนสามารถแบง ตาม “ทศิ ทางของการรับเสียง” ไดเ ปน 4 ชนดิ คอื 1.1 แบบรบั เสียงไดทิศทางเดียว (Uni-Directional Microphone) คอื รบั เสียงได ทศิ ทางเดียว จากดานหนา มีมุมรับเสยี งคอนขางแคบ เหมาะที่จะนําไปใชส ําหรับการบรรยาย การ บันทกึ เสียง วงดนตรีหรอื ทที่ ผ่ี ูพูดอยดู านหนา ไมโครโฟน 1.2 แบบรบั เสียงได 2 ทิศทาง (Bi-directional Microphone) คอื รับเสยี งได 2 ทิศทางทอ่ี ยูตรงขามกัน 1.3 แบบรบั เสียงไดรอบทิศทาง (Omni-directional Microphone) คอื รบั เสยี งได รอบทิศทาง โดยมคี วามไวในการบั เสยี งเทาๆ กัน เหมาะสําหรับใชใ นการแสดงบนเวที แตม ขี อเสียคอื เสียงจะเขารอบทิศทาง ปองกันสญั ญาณยอ นกลบั (Feedback) ไดย าก 1.4 แบบรับเสียงบริเวณดา นหนารปู หวั ใจ (Cardioid Microphone) คือ รับเสยี งได ทศิ ทางเดียว แตสามารถรับเสียงไดเ ปน มุมกวา ง คลา ยรูปหัวใจหรอื ใบโพธ์ิ นยิ มใชก ันมากในปจ จุบนั 2) ไมโครโฟนสามารถแบง ตาม “ลักษณะการใชง าน” ไดเปน 7 ชนดิ คือ 2.1 แบบมือถอื (Hand Microphone) ใชสาํ หรบั ผูประกาศ ผูดาํ เนนิ รายการ พิธกี ร โฆษก นักรอ ง นักโฆษณา นกั ประชาสัมพนั ธ เปนตน 2.2 แบบยนื พดู (Stand Microphone) ไมโครโฟนแบบนใี้ ชสําหรับผปู ระกาศ ผู ดําเนินรายการ พิธีกร โฆษก นกั รอง นักโฆษณา นกั ประชาสมั พันธ ไดเ ชน กนั โดยมีขาตั้งสูงระดับตัว คน มีตัวไมโครโฟนอยูสวนบนขาตงั้ 2.3 แบบต้ังโตะ (Desk Microphone) ใชเสียบบนขาตัง้ วางบนโตะ หรอื ตงั้ พ้ืน ตรงหนาผพู ูดโดยทผ่ี ูพูดไมตอ งเคล่อื นไปมาใชสําหรบั ผูประกาศ ผดู ําเนินรายการ พิธีกร โฆษก เปนตน 2.4 แบบหอยคอ (Lavaliere Microphone) มขี นาดเล็ก ใชเ สยี งตดิ กบั คอเสือ้ หรอื กระเปา เส้ือ นยิ มใชใ นการทํารายการโทรทศั น 2.5 แบบไรส าย (Wireless Microphone) เปนเคร่อื งสง วทิ ยรุ ะบบ F.M ขนาดเล็ก กาํ ลงั สง ตาํ่ ใชก บั เครือ่ งรับวทิ ยรุ ะบบ F.M สงคลน่ื ไปไดไกลประมาณ 50-200 เมตร แตเ ปน ท่ีนิยมใช มากสาํ หรบั งานผูประกาศและผูด ําเนินรายการท่ตี องการพ้ืนทไ่ี กลๆ ท่ีไมมีขอจํากัดเรือ่ งความยาวของ สายไมโครโฟน 179

2.6 แบบบมู (Boom Microphone) ติดอยูบนแขนย่นื ตอ ยาวๆ อยูเ หนอื ศรี ษะผพู ดู สามารถเลื่อนตามผูพูดหรือผูแสดงไปไดตลอด โดยหลักการของไมโครโฟนแบบนี้จะคัดทิ้งเสียงที่ไม ตองการออกไป ดวยมุมของการรับเสียงท่ีแคบและรับเสียงจากดานหนาอยางเดียว ในทางปฏิบัติ ไมโครโฟนแบบนี้จะมลี ักษณะเปนแขนยื่นตอออกไป ทิศทางของการรับเสียงจะใหสัญญาณเปาหมาย ไดดีทีส่ ุด โดยไมมีสัญญาณเงาท่ีเรียกวาเสียงจากพ้ืนที่เขาไปรบกวน จึงสามารถตัดเสียงลากเทาของ กลองถาย เสียงจากผูชมหรือผูรวมงานได นิยมใชในหองผลิตรายการโทรทัศนและหองบันทึกเสียง การแสดง 2.7 แบบบงิ (Bing Microphone) ใชตงั้ โตะอยูกับที่โดยไมเ คลือ่ นยา ย เหมาะทจ่ี ะใช ในการบันทึกเสียงตางๆ อาทิ เสียงพูด เสียงรอง 13.3 ขอ ควรระวังในการใชไ มโครโฟนประเภทตางๆ ไดแ ก การใชไ มโครโฟนแบบมอื ถอื (Hand Microphone) ขอ ควรระวงั (ธานี ภนู พคณุ 2551) มดี ังนี้ 1) ผูประกาศและผูดาํ เนนิ รายการตอ งมีความเขา ใจวา ไมโครโฟนท่ใี ชพ ูดนัน้ มี “ความไว” ตอ การรบั เสียงจากแหลงท่ีมาของเสียงทุกชนดิ ดังนัน้ จึงตอ งหยิบใชดวยความน่มิ นวลเปนพเิ ศษ ระวงั อยา ใหม ีเสียงดงั ครูด เสยี งเคาะ เสียงเปา ลม เสียงหายใจแรงๆ เสยี งพลิกกระดาษ ฯลฯ สอดแทรกไป กบั เสียงของผูประกาศหรือผดู ําเนินรายการจนรบกวนการฟง เม่อื ใชเ สร็จแลว ตอ งวางไมโครโฟนอยา ง เบามือ นุมนวล ไมใ หเ สียงกระทบทวี่ างดังออกอากาศ 2) เมื่อจาํ เปนจะตองหยิบไมโครโฟนเดนิ ไปไกลๆ ตองพจิ ารณาดวู าความยาวของสาย ไมโครโฟนน้นั ยาวพอถึงสถานท่ี ซ่งึ ผูป ระกาศหรือผูด ําเนินรายการต้งั ใจจะเดนิ ไปใหถ งึ ตรงจุดน้ัน หรอื ไม การดึงสายตองไมด ึงจนตรงึ มือ เม่อื เห็นวา สายท่ดี งึ ไมม าอยา ดึงตอ 3) การใชไ มโครโฟนแบบมอื ถือในหองสง ไมควรจะพูดใหติดรมิ ฝป ากมากนกั เพราะมี เจาหนา ทคี่ วบคุมเสียงคอยแตงเสยี งใหอ ยูแลว เวนแตในกรณที สี่ ถานท่ีนั้นมเี สียงรบกวนมาก จึงตอ ง พูดตดิ ริมฝปากเพ่ือเพมิ่ น้ําหนักเสียงใหดังขึ้น 4) เม่อื ใชไ มโครโฟนแบบมือถอื สมั ภาษณบ ุคคล อยาใชว ธิ กี ารสลดั ไมโครโฟนไปรับเสยี ง เพราะผใู หสมั ภาษณอาจจะตกใจกลัวไมโครโฟนจะกระแทกถูกปากหรือถูกใบหนาได ควรใชว ธิ ีถือ ไมโครโฟนใหอยใู กลกับผูใหส ัมภาษณ แลวตวั ผสู ัมภาษณพ ูดดังกวา ปกติพอที่ไมโครโฟนจะรบั เสยี ง ได ในกรณีทีผ่ ใู หสัมภาษณถูกผสู ื่อขาวหลายคนแยงกนั สัมภาษณ ควรยืน่ ไมโครโฟนใหใ กลป ากของ ผูใ หส มั ภาษณมากทส่ี ุด โดยไมตองคํานงึ ถึงเสยี งผถู าม เพราะสามารถปรับแตงเพิ่มเติมไดภ ายหลังใน หองตดั ตอ เสยี ง 180

5) เมอ่ื ตอ งใชไมโครโฟนแบบมอื ถือเพอ่ื อา นขอความใดควรคาํ นวณระยะหางของไมโครโฟน กับปากใหพอดี เม่ือตองหยดุ อา นแลวกลบั มาอานใหม ควรใหมรี ะยะเทาเดิม เพ่ือระดบั เสียงจะไดอยู ในระดับเดียวกบั คร้งั แรกที่อา น 6) ในกรณที ี่ตองใชไ มโครโฟนแบบมือถือหลายตวั ในสถานทแ่ี หงเดยี วกนั ควรจะรูว า ไมโครโฟนแตละตวั วางไวที่ไดบา ง เมือ่ หยิบไมโครโฟนอีกตวั ขึ้นใช ควรวางตวั ทใี่ ชอยกู อนเบา ๆ อยา ใหเสยี งวางกระทบพนื้ ดังออกอากาศ ภาพที่ 13.1 แสดงการใชไ มโครโฟนแบบมอื ถือหลายตัว ท่ีมา: ณัฐนนั ท ศริ เิ จริญ (2558) การใชไ มโครโฟนแบบยืนพดู (Stand Microphone) ไมโครโฟนแบบนี้มขี าตั้งสงู ระดบั ตวั คน มีตัวไมโครโฟนอยูสวนบนขาตง้ั ขอควรระวงั มีดังนี้ 1) ไมควรเอามือไปจับท่ีต้งั ไมโครโฟน เพราะเสียงขยับเขยอ้ื นท่ีต้งั ไมโครโฟนจะดังออกอากาศ ไปดวย 2) ในกรณที ี่เจาหนาท่ีไมโครโฟน ไดต้งั ระดบั ความสงู ที่เหมาะสมกับขนาดความสูงของผูพูดไว แลว ไมค วรไปขยบั ท่ตี ง้ั ไมโครโฟนใหสูงข้ึนหรือต่ําลง โดยไมจําเปน เพราะนอกจากจะทําใหเกิดเสียง รบกวนแลว ยงั ใหทําใหคุณภาพของเสียงดอยลงไปดว ย เวนแตระดับความสงู ของไมโครโฟนยังต่าํ ไป หรือสงู ไปกับระดบั ปากของผพู ดู จงึ คอ ยปรบั ขาตงั้ ใหเหมาะสม 181

ภาพท่ี 13.2 แสดงการใชไ มโครโฟนแบบยนื พูด ท่มี า: ณฐั นนั ท ศริ ิเจริญ (2558) การใชไ มโครโฟนแบบตัง้ โตะ (Desk Microphone) มขี อควรระวัง ดงั นี้ 1) การใชไมโครโฟนในหองสงน้นั เจา ทค่ี วบคุมจะพจิ ารณาความเหมาะสมไวเปนการลวงหนา แลว ดงั น้นั ผปู ระกาศหรือผดู าํ เนินรายการ จงึ ไมควรเคลือ่ นทไี่ มโครโฟนจากเดิมท่เี จาหนาที่วางไว เพราะจะทําใหค ณุ ภาพการรับเสยี งของไมโครโฟนไมดีเทาท่คี วร 2) เมือ่ น่ังพดู ไมโครโฟนตงั้ โตะ อยาลมื ตวั ใชม ือเทาเคาะโตะ เพราะเสียงเคาะที่ทา นคดิ วา เพียงเบาๆ นน้ั ไมโครโฟนจะรับเสยี งออกไปขยายใหด ังจนผูฟงรสู กึ ราํ คาญได 3) อยาชะโงกตัวขา มโตะท่ตี ั้งไมโครโฟน เพ่ือฟงคาํ ถามผอู ่ืน เพราะนอกจากจะทําใหเสียงไม นาฟง ดังผานไมโครโฟนออกไปแลว ทา ทางที่ทาํ เชน น้นั กอ็ าจไมน า สวยงามหรอื ไมนาดู ภาพท่ี 13.3 แสดงการใชไมโครโฟนแบบตง้ั โตะ ทีม่ า: ณัฐนนั ท ศริ ิเจรญิ (2558) 182

การใชไ มโครโฟนแบบหอ ยคอ (Lavaliere Microphone) มขี อควรระวงั ดงั นี้ ไมโครโฟนแบบหอยคอหรอื เหน็บท่ตี ดิ เสอื้ มักจะเปนไมโครโฟนประเภทเล็ก กะทัดรัดเหมาะ กับการใชเฉพาะตัว 1) สงิ่ สาํ คญั ที่สุด คือ ตองไมลืมเปด สวิทซใ หไ มโครโฟนกอนทจ่ี ะคลองคอหรอื ตดิ ทเ่ี ส้ือผูพดู ผปู ระกาศ ผูด าํ เนนิ รายการ 2) ผทู ไ่ี มชํานาญใชไ มโครโฟนประเภทนี้ ควรใหเ จา หนาทีเ่ ปนผชู วยในการตดิ หรือเหนบ็ ไมโครโฟนใหผ ูพูด และชวยต้ังระดบั เสยี งใหกอนพดู จรงิ 3.) ตอ งไมใหส ายหอยไมโครโฟน กระชับแนนคอเกนิ ไป และระวังสายไมโครโฟนที่จะตองใช ไวด วย เวลาจะเคลอ่ื นตวั ไปทางไหนตอ งดึงสายไมโครโฟนมาเตรียมไวใ หพรอมกอนท่ีจะลุกขึน้ เดนิ ไมเ ชนน้ันสายไมโครโฟนจะดึงคอผพู ูดจนหวั คะมําหรือสายไมโครโฟนขาดหลุดได 4) ถา จะนําไมโครโฟนหอยมาถือพูด ตอ งไมถือไมโครโฟนกระชบั แนน อยูในฝามอื เพราะจะทาํ ใหเกิดเสยี งรบกวนข้นึ ได 5) อยาใชไมโครโฟนที่หอยหรือเหน็บอยูกับตวั สมั ภาษณผูอ่ืน เวนไวแ ตว า จะถอดออกมาถอื เพอ่ื ใชงานดงั กลา ว เพราะถาไมโครโฟนยงั ตดิ อยูกับตวั ผสู ัมภาษณแลว จะไมสามารถรับเสยี งจากผทู ่ีถูก สัมภาษณไ ดอ ยา งชัดเจน การใชไ มโครโฟนแบบไรสาย (Wireless Microphone) เปนไมโครโฟนท่ีไดมีการพฒั นาเอาวงจรเคร่ืองสง สัญญาณเขามามสี ว นรว มในตัวของ ไมโครโฟน ทําการขยายและผสมสญั ญาณกระจายสงออกมาเปนคลน่ื ความถว่ี ทิ ยุ (Radio frequency) โดยมีตัวรับสัญญาณอีกเครื่องทําหนา ทีร่ บั สัญญาณความถ่ีวิทยขุ องยานความถ่นี ัน้ ๆ ท่ไี ด เขา มา แลว ทําการแปลงเปน สัญญาณเสยี งเพื่อเขา มาในระบบ โดยไมตอ งมสี ายมาเกี่ยวของในใชง าน รบั -สง เลย หรือทีเ่ รยี กกนั วา “ไมคล อย” โดยในการรบั -สง สัญญาณยานความถ่ีวิทยไุ ดมกี ารเริ่มใชและ พัฒนากนั มาอยางตอ เนื่อง เพื่อแกปญหาการรบกวนของสัญญาณในแตล ะ ยา นความถ่ีที่มีการใชงาน จนมากเกินไป โดยแบง เปน ยา นความถี่ ดงั น้ี 1) ยานความถ่ี VHF (Very High Frequency) ชวงยานความถ่ี 30 – 300 MHz 2) ยานความถ่ี UHF (Ultra High Frequency) ชวงยา นความถ่ี 300 – 3000 MHz 3) ยา นความถี่ดิจิทลั 2.4 GHz ISM Band (Industrial Sciences Medicine) ไมโครโฟนไรส ายมใี หเลอื กใชงานทง้ั แบบชนดิ มือถือ ชนิดหนีบปกเสอ้ื และชนิดคลอ งศรี ษะ ใหเหมาะสมกับประเภทงานนั้นๆ โดยเฉพาะการใชงานท่ีจะตอ งเคล่อื นไหวรวดเรว็ และเคลือ่ นไหวใน ระยะไกลๆ เกนิ ความยาวปกตขิ องสายไมโครโฟนโดยทวั่ ไป มขี อ ควรระวงั คือ ไมโครโฟนไรส ายจะใช “ถาน” โดยมรี างใสถา น ขนาด AA จํานวน 2 กอ น จะมเี คร่ืองหมายข้วั +/- (แบตเตอรร ี่ Alkaline 2 กอ น สามารถใชงานไดนาน 7 – 8 ชวั่ โมง) เพื่อเปน 183

ตัวเช่อื มพลงั งานใหสามารถใชง านได ซงึ่ พอใชไ ปไดสกั ระยะกําลงั ของถา นจะออนลง จะทําใหเกิด ปญหาเสียงท่ขี ยายออกจากไมโครโฟนไรส ายเกิดติดๆ ดบั ๆ เสียงออกบา งไมออกบาง สงผลใหการอาน หรือการพดู ในชว งทถ่ี า นออนกําลงั หรือถานกําลงั จะหมดสรางความรําคาญใหผ ูฟงผชู มได จึงตอ ง ตรวจสอบกาํ ลังของถานทีใ่ ชใ สในไมโครโฟนไรส ายอยเู ปน ระยะๆ และตองเปลยี่ นถานกอนท่ีถานจะ หมดกําลงั ลง ภาพท่ี 13.4 แสดงการใชไ มโครโฟนแบบไรสาย ทม่ี า: ณฐั นันท ศิริเจริญ (2558) การใชไ มโครโฟนแบบบมู (Boom Microphone) เปนไมโครโฟนท่ตี ิดอยูบนแขนยื่นตอ ยาวๆ อยูเ หนือศีรษะผูพูดสามารถเล่ือนตามผูพูดหรือผู แสดงไปไดตลอด ดังนั้นขอควรระวังคือ ความผิดพลาดคลาดเคลื่อนในเร่ืองระยะหางท่ีพอดีกับ แหลงกําเนิดเสยี งจากปากของผูประกาศและผูดําเนินรายการ บางคร้ังอาจจะไดคณุ ภาพเสียงออกมา ไมสมํ่าเสมอกันทั้งรายการ คือ บางชวงเสียงดัง บางชวงเสียงเบา หรือเสียงรบกวนตางๆ จากวัตถุ ส่งิ ของหรอื อุปกรณต า งๆ หรอื จากบุคคลภายนอกพื้นที่การใชงาน แตเสียงรบกวนนน้ั สามารถสะทอ น มาเขาไมโครโฟนแบบบมู ได การใชไ มโครโฟนแบบบงิ (Bing Microphone) เปน ไมโครโฟนท่ีใชต ง้ั โตะอยกู ับท่โี ดยไมเ คล่ือนยาย ดงั นัน้ จึงตอ งระวังเรื่องระยะหางท่ี เหมาะสมระหวา งปากของผปู ระกาศและผูด ําเนินรายการกับไมโครโฟนใหพอดีไมหางไปหรอื ใกลไป เพราะจะสงผลถึงคณุ ภาพเสียงอา นและเสียงพดู หรือเสียงรองท่ีออกมาวาจะมคี วามนา ฟงมากนอย เพยี งใด 184

13.4 เทคนคิ วธิ ีการใชไมโครโฟน จากประสบการณก ารทํางานทางดานผูประกาศและผูดาํ เนนิ รายการของผูเขียนมาหลายสบิ ป ทําใหท ราบดีวา กอนทผี่ ูประกาศและผูดําเนนิ รายการจะอานหรอื พูดขอมูลขาวสารตางๆ ผานเครื่อง ขยายเสยี งท่ีเรียกวา “ไมโครโฟน” โดยเฉพาะในกรณีของการใชไมโครโฟนสาํ หรบั การทํางานนอกหอง ออกอากาศของสถานีวิทยุหรือโทรทัศน เชน งานแถลงขาว งานสัมมนาวิชาการ งานประชุมตางๆ เปนตน งานกิจกรรมในลักษณะเหลาน้ีผูป ระกาศและผูดําเนนิ รายการมีความจําเปนอยางมากที่ตอง เรียนรูทําความเขาใจและรูจักเทคนิควิธีการใชไมโครโฟนใหชัดเจนกอน เพ่ือจะไดไ มเ กิดขอบกพรอง เมือ่ ตองใชไมโครโฟนทัง้ แบบต้งั โตะ และแบบมอื ถือประกอบการปฏิบัติหนา ท่ีในสถานการณต างๆ เชน การยืนและน่ังทําหนาที่บนเวทีเสวนาวิชาการ การอานและพูดเพื่อประกาศและดําเนินรายการตางๆ ในงานน้ันๆ การน่ังและยืนเพื่อสัมภาษณแขกรับเชิญ การยืนทําหนาที่ประกาศและดําเนินรายการ หลังโพเดียม แสตน (Podium stand) หรือแทน ยนื บรรยาย ในหองประชมุ ท่จี ัดงาน เปนตน ภาพที่ 13.5 แสดงการยืนทําหนา ทปี่ ระกาศและดําเนนิ รายการหลังโพเดียม แสตน หรือแทนยนื บรรยาย ทีม่ า: ณฐั นนั ท ศิรเิ จรญิ (2558) โดยมเี ทคนิควิธีการใชไมโครโฟนซ่ึงผูเขียนขอนําเสนอตามประสบการณท่ีทํางานในหนาท่ีมา ต้ังแตป  2531 เม่ือเร่ิมทํางานเปนผูประกาศและผูดําเนนิ รายการในรายการวิทยุและโทรทัศน รวมทั้ง ทาํ หนาท่สี ดบนเวทีกิจกรรมตางๆ จนถึงปจจุบัน และอีกทางหน่ึง คือ การเรียนรูแบบ “ครูลักพักจํา” จากผูเชยี่ วชาญและมีประสบการณมาอยางยาวนานดวย ดังนี้ 185

1) เม่ือจะเร่ิมอานหรือพูดใสไมโครโฟน ไมควรทดสอบเสียงไมโครโฟนวา ดังหรือเปลา ดวย การเปา-เคาะ-ขูดไมโครโฟน เพราะจะทําใหเกิดเสยี งรบกวนไมพึงประสงคดังออกมา แสดงถึงความไม เปนมืออาชีพ แตควรทดสอบดวยการกระแอมเบาๆ หรือเอยคําทักทายสวัสดีเขาไมโครโฟนไปเลย ถาเสยี งไมดงั ออกมาทางชางเทคนิคจะไดเปด เสียงไมโครโฟนให 2) ควรสรางอารมณดานบวกกอนเร่ิมอานหรือพูดดวยไมโครโฟน โดยการทําจิตใจใหสงบนิ่ง ไมตื่นตระหนกแตตองเริ่มดวยการย้ิมแยมแจมใสทําตัวตามสบายไมเครงเครียด ประเด็นสําคัญ คือ ตองรูวาจะใชไมโครโฟนประเภทไหน เชน ไมโครโฟนที่เรียกวา “ไมโครโฟนไรสายหรือไมคลอย” (Wireless Microphone) ซึง่ ไมโครโฟนแบบไรสายจะเปนการรวมหัวไมโครโฟน วงจรขยายสัญญาณ จากไมโครโฟนหรือปรีไมโครโฟน และวงจรสงสัญญาณคล่ืนวิทยุไวภายในตัวไมโครโฟน เพื่อสง สัญญาณไปยังภาครับท่ีตอไปยังเคร่ืองขยายเสียงไดโดยไมตองใชสาย หรือ “ไมโครโฟนสายหรือไมค สาย” (บริษัท วนิ เนอร อนิ ทเิ กรเตอร จํากดั 2558) โดยทงั้ 2 ประเภทมสี วทิ ซเ ปด-ปดที่ตัวไมโครโฟน ใชหรือไม อยูตรงจุดไหนของตัวไมค ตอ งลองทดสอบโดยการเปด-ปดดใู หเขาใจและทําไดดวยตนเอง ทนั ทีเมอื่ ตอ งใชง าน 3) ผปู ระกาศและผดู าํ เนินรายการควรทาํ การทดสอบไมโครโฟนกอนการใชงานทุกครัง้ วาเมอื่ พดู ใสไ มคแลว เสียงออกมาเปน อยา งไร ชดั เจนแคไหน มีเสียงแตกหรือเสียงหอนจากการพูกออกเสยี ง ผา นไมโครโฟนหรอื ไม จะไดปรับแกไ ขไดท ัน 4) ไมควรพูดหรืออานขอมลู ขาวสารโดยใหปากชิดติดกับไมโครโฟน เพราะเสยี งจะออกมา แตกและอาจมีเสยี งลมหายใจเขาออกดงั ไปยังกลุมผูรับสาร ซึ่งกอใหเกิดความราํ คาญจากเสียงรบกวน หรือ “noise” แตควรพูดใหมีระยะหางระหวางปากกับไมโครโฟนแบบตั้งโตะเวลาน่ังอานนั่งพูด ประมาณ 3-5 นวิ้ และระยะหา งเวลายืนถอื ไมโครโฟนแบบมือถือประมาณ 2-4 นิว้ (กิดานันท มลิทอง 2543) 5) ไมพ ูดหรืออานขอมูลขาวสารหางไมโครโฟนเกินไป เพราะจะทาํ ใหเ สียงท่ีออกมาแผว เบา จนผฟู ง ไมคอยไดยนิ และจะลดความสนใจไปทกี่ ิจกรรมอ่ืนๆ แทน เน่อื งจากฟงไมคอ ยไดยินเสียง จาก ขอ มูลดงั กลาวสิ่งท่ีผูป ระกาศและผูดาํ เนนิ รายการตองทําคือ ตองทาํ การสังเกตการณเ รอื่ งรายละเอียด ตา งๆ ของการใชไมโครโฟนใหอ ยใู นสภาพท่ีมีความเหมาะสมใหไ ดมากทีส่ ุดกอนเร่มิ ปฏิบตั งิ าน 6) เวลาอา นหรอื พดู ตอ งพงึ ระวงั ใหปากตรงกบั ไมโครโฟน เพ่ือระดบั ความดงั ของเสียงท่ี ขยายอออกมาจะไดฟ งชัดเจนและทําใหน าฟง 7) ไมถือไมโครโฟนดวยการกําหัวไมโครโฟน เพราะจะทําใหเ สียงออกมาบ้ีแบน เพราะเอา มอื ไปกําไปปด รูรับเสยี งของไมโครโฟนทาํ ใหป ระสิทธิภาพในการขยายเสยี งไมไดเตม็ ท่ี ไมรอบทิศทาง 360 องศา เพราะคุณสมบัติของไมโครโฟนน้นั มรี ูรับเสียงจากรอบๆ หวั ไมโครโฟนจึงสามารถเก็บเสยี ง ทีผ่ ูประกาศและผูดําเนนิ รายการเปลง เสียงออกมาไดห มดครบทุกทิศทาง และในบางกรณเี มือ่ ใชมือกํา 186

หวั ไมโครโฟนจะเกิดเสยี ง “วดี๊ ดดด……” ดังออกมาจากลําโพงซึง่ เปนเสยี งรบกวนทีไ่ มพ ึงปรารถนา ดงั นั้นตองจับไมโครโฟนดว ยการใชม อื ที่ถนัดกาํ ใตห ัวไมโครโฟนลงมาเลก็ นอย 8) ระวงั ไมใหเผลอตัวดึงสายไมโครโฟนมาพันไวท่มี ือของผูพูดเอง เม่ือรูสึกประหมา หรอื อาจ ไมรูตวั วา มพี ฤติกรรมเชนนี้ ตอ งหมนั่ สงั เกตและระมัดระวงั เพราะจะทําใหเสยี บุคลิกภาพและความ เชอื่ ถือจากผูฟง ผชู ม 9) การอานและพูดโดยใชไมโครโฟน ไมควรหลุกหลิกและหันหนา ไปอธิบายท่ีแผนปายหรือ กระดานดําหรอื ลกุ ไปมาจนทําใหป ากหา งจากไมโครโฟนมากไป สง ผลทาํ ใหเ สยี งทพี่ ดู ออกมาขาดตอน ไมส มาํ่ เสมอ 10) เมอ่ื พดู จบแตละชว งหากทา นจาํ เปน ตองยนื อยูบนเวที และตอ งถือไมโครโฟนไว ควรถือ ไวระดบั เอวอยายนื ถือแบบตามสบายโดยขนาบขา งลําตวั เพราะจะทาํ ใหเ สยี บคุ ลิกภาพ 11) สงั เกตตําแหนง ทใ่ี ชเ ปด-ปด ไมโครโฟน กอนพูดตองเปดใหเรียบรอยและพูดจบตองปดให เรียบรอยเพื่อปองกันเสียงอื่นๆแทรกขณะไมไดใชไมโครโฟน นอกจากนี้ขาต้ังไมโครโฟนก็มี ความสําคัญเชนกัน เนื่องจากมีหลายรูปแบบ เชน บางรุนจะใชวิธีหมนุ เกลียว บริเวณขาไมค บางรุน จะใชวิธยี กท่ีขอตอ ผูประกาศและผูดําเนนิ รายการมีหนาที่ในการสํารวจตรวจตราวาอุปกรณในการ นาํ เสนอขอมูลขา วสารมคี วามพรอมสมบรู ณแบบระดบั ไหน ตองแกไขเรงดว นหรือไม 12) บรเิ วณใกลๆ ไมโครโฟนควรขจัดเสียงรบกวนออกใหหมด เชน เสยี งจากพดั ลมหรอื เสียง คอมเพรสเซอรจ ากเคร่อื งปรบั อากาศ 13) ระวังอยาหันสวนหนาของไมโครโฟนหรือติดต้ังไมโครโฟน หันเขาหาลําโพงหรืออยใู กล ลําโพงเกินไปหรืออยูใกลผนังท่ีมีการสะทอ นเสียงอยูมากๆ หรือเรง ระดับเสียงของไมโครโฟนท่ีเคร่ือง ขยายเสียง (Microphone Volume) ใหดังเกินไป เพราะการกระทําเหลาน้ีจะเปนสาเหตุใหเกิดเสียง หวีดแหลมคลายเสียงหอนดังออกจากลําโพง การแกไขในกรณีเสียงหอนดัง (Feedback) ใหหัน ดานรับเสียงของไมโครโฟนหลบคลื่นเสียงที่สะทอนหรือยอนกลับมา ถายังไมหายใหปดสวิทซท่ี ไมโครโฟนแลว ลดระดับของไมโครโฟนลงแลวเปดทดสอบเสียงใหม คอ ยๆ เรงเสียงใหดังข้ึนมา จนถึง ระดบั ท่ตี องการก็จะสามารถแกไขเสยี งลาํ โพงหอนได 187

สรปุ เนอ้ื หาสาระในบทนี้ คือ นักศึกษาไดเรียนรูและอธบิ ายไดถึงการทําหนาท่ีผูประกาศและผูดําเนินรายการกับ การใชไมโครโฟน ไดรูถึงชนดิ ของไมโครโฟน ไดเรียนรูเร่ืองไมโครโฟนท่สี ามารถแบงไดตามทิศทาง ของการรับเสียง และไมโครโฟนที่สามารถแบงไดตามลักษณะการใชงาน นักศึกษายังไดทราบถึงขอ ควรระวังในการใชไ มโครโฟนประเภทตา งๆ รวมท้งั เทคนิควธิ กี ารใชไมโครโฟนในวิธีการที่หลากหลาย เพื่อใหการนําเสนอขอมูลขาวสารของผูประกาศและผูดําเนินรายการประสบความสําเร็จตามที่ ต้ังเปาหมายไวอยา งมคี ณุ ภาพมีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลอยา งมอื อาชีพ เพราะเทคนิควธิ ีการใช ไมโครโฟนใหถูกตองและเหมาะสมกับประเภทของภารกิจหรือกิจกรรมตางๆ จะชวยทําใหงานที่ทํา ออกมามคี วามนาฟงนาติดตาม นอกจากนั้นยังตอ งหมัน่ สังเกตจากผูเช่ียวชาญในเรื่องน้ีและฝกปฏิบัติ ดว ยตนเองซงึ่ เปน สงิ่ ทีต่ อ งใสใจและปรับแกไ ขใหก ารปฏบิ ัตหิ นา ทีอ่ อกมามีคุณภาพอยูเ สมอ ………………………………………………………………………. แบบฝก หัด เพอ่ื ทบทวนความรูและความเขา ใจ แบบฝกหัดทา ยบทของทกุ บท เพ่อื การกระตนุ ความตื่นตัวในการเรียนรูและนําไปสกู าร จดจาํ ไดอ ยา งลึกซึ้ง ดวยการใชคําถามทตี่ องอธบิ ายความและยกตวั อยา งประกอบ ซึง่ ตอ งใชความเขา ใจจากการเรียนรูแ ละฝกปฏบิ ัติอยา งสม่ําเสมอ 1. ใหน กั ศึกษาอธบิ ายถงึ การทาํ หนา ที่ผปู ระกาศและผดู ําเนนิ รายการกับการใชไมโครโฟนวา เปนเชนไร 2. ใหน ักศกึ ษาอธบิ ายถงึ ชนดิ ของไมโครโฟนทแ่ี บง ตามทศิ ทางของการรบั เสยี งวา มีก่ีชนิด เปนเชนไร 3. ใหน ักศึกษาอธบิ ายถึงชนิดของไมโครโฟนทแ่ี บง ตามลกั ษณะการใชง านวา มกี ่ีชนิด เปน เชนไร 4. ใหนกั ศึกษาอธิบายถงึ ขอควรระวังในการใชไ มโครโฟนแบบมอื ถอื (Hand Microphone) 5. ใหน กั ศึกษาอธิบายถึงขอควรระวังในการใชไ มโครโฟนแบบยืนพดู (Stand Microphone) 6. ใหนักศึกษาอธบิ ายถึงขอควรระวังในการใชไ มโครโฟนแบบตงั้ โตะ (Desk Microphone) 7. ใหน กั ศกึ ษาอธิบายถงึ ขอควรระวังในการใชไ มโครโฟนแบบหอยคอ (Lavalier Microphone) 8. ใหน ักศกึ ษาอธบิ ายถงึ ขอควรระวงั ในการใชไ มโครโฟนแบบไรส าย (Wireless Microphone) 9. ใหนักศกึ ษาอธิบายถึงเทคนิควธิ กี ารใชไมโครโฟนทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ควรทาํ เชน ไร 10. ใหนักศกึ ษาแสดงความคิดเหน็ เร่ืองการใชไมโครโฟนในลักษณะตางๆ ที่คดิ วา มปี ระเดน็ ทน่ี า สนใจ และจาํ เปน สําหรับการทํางานเปนผูป ระกาศและผูด าํ เนินรายการ 188

จุดประสงคข องการเรียนรูในบทน้ี 1. นักศึกษามีความรูความเขาใจและสามารถบอกไดถึงองคประกอบของกระบวนการ สื่อสารในการนําเสนอขอมูลขาวสาร 2. นักศึกษามีความรูความเขาใจและสามารถบอกไดถึงวตั ถุประสงคในกระบวนการส่ือสาร โดยท่วั ไป 3. นักศึกษามีความรูความเขาใจและสามารถบอกไดถ ึงปจจัยสําคัญที่สงผลตอความสาํ เร็จ ของการส่ือสาร 4. นักศึกษามีความรูความเขาใจและสามารถบอกไดถึงแนวคิดแบบจําลองการสื่อสารท่ี เกี่ยวของกบั องคประกอบของกระบวนการสอื่ สารสําหรบั ผูป ระกาศและผูดําเนนิ รายการ 5. นักศึกษามีความรูความเขาใจและสามารถบอกไดถึงอุปสรรคตางๆ ในกระบวนการ สื่อสาร รวมทั้งสามารถนําขอ มลู ท่ีเรยี นรูไ ปใชแ กไขปญหาตา งๆ ในการทาํ งานจรงิ ได 14.1 องคประกอบของกระบวนการส่ือสารโดยทั่วไป การสื่อสารเปนสิ่งจําเปนในชีวิตประจําวันของมนุษยที่จะขาดไปเสียมิได การสื่อสารมี หลากหลายรูปแบบ เชน พูดคุยเม่ือพบเจอหนากัน (Face-to-Face) หรือ โทรศัพทคุยกัน เปนตน แตปจจุบันมีเทคโนโลยีสมัยใหมจึงใชการพิมพขอมูลขาวสารเปนขอความ รูปภาพ วิดีโอ ลงบน หนาจอคอมพิวเตอรแลวคลิกสงเปนจดหมายอิเล็กทรอนิกสหรืออีเมล (E-mail) สงทางเฟซบุก (Facebook) สงทางโปรแกรมประยุกตไลน (Line) และวิธีการอื่นๆ อีกมากมายที่สามารถชวยให การสื่อสารบรรลุตามวัตถุประสงคที่ตั้งใจไว เดนิส แมคเควล (McQuail, D., 1983) ไดประมวล คุณลักษณะสําคัญของกระบวนการส่ือสารที่จะมีบทบาทในการพัฒนาแนวใหม เชน มีลักษณะ 189

หลากหลาย (Multiplicity) เปนการสื่อสารขนาดเล็ก (Smallness of scale) สรางและใชอยูใน ทองถ่ินเอง (Locality) ไมมีลักษณะแข็งตัว ยืดหยุนได ไมเปนสถาบัน (Deinstitutionalization) มี การแลกเปล่ียนบทบาทระหวางผูสงสาร-ผูรับสาร (Interchange of sender-receiver roles) เนน การสือ่ สารแนวนอนในทกุ ระดบั ของสงั คม (Horizontality of communication) ซ่ึงองคประกอบของกระบวนการสื่อสารโดยท่ัวไป ประกอบดวยปจจัยตางๆ ดังนี้ ผูสงสาร สาร ชองทาง ผูรับสาร (Sender) (Message) (Channel) (Receiver) ภาพท่ี 14.1 : องคประกอบของกระบวนการส่ือสาร หรือ S-M-C-R ท่ีมา: ดัดแปลงโดยณัฐนันท ศิริเจริญ (2558) โดยสามารถอธิบายความสัมพันธขององคประกอบตางๆ ในกระบวนการส่ือสารไดดังนี้ 1. ผูสงสาร (Sender) หมายถึง แหลงกําเนิดสาร อาจเปนบุคคล องคกร สถาบันหรือคณะบุคคลที่เปนผูกําหนด สาระ ความรู ความคิด ที่จะสงไปยังผูรับสาร ดังนั้นการสื่อสารจะบรรลุจุดประสงคหรือไม เพียงใด จึงขึ้นอยูกับองคประกอบดานผูสงสารดวย ซึ่งในการศึกษาวิชาน้ี ผูสงสาร คือ ผูประกาศ และผูดาํ เนินรายการ 2. สาร (Message) หมายถึง ขอมูลขาวสาร เรื่องราวเน้ือหาสาระท่ีเปนขอเท็จจริงความรูความคิดตางๆ ที่ผู สงสารตองการนําเสนอใหไปถึงผูรับสาร มีปจจัยช้ีความสําเร็จของการสงสารอยู 3 ประการ คือ 2.1 เนื้อหาของสารที่ตองมีประโยชน ถูกตอง เชื่อถือได 2.2 สัญลักษณหรือรหัสของสาร ตองเขาใจงาย เม่ือผูรับสารไดรับสารน้ันๆ แลว สามารถตีความหมาย สรุปความหมายไดทันทีหรือใชเวลาไมนานนัก 2.3 การเลือกและจัดลําดับขาวสาร ตองมีความเหมาะสมและเปนไปตามความ ถูกตองเหมาะสมของการไลเรียงลาํ ดับความสาํ คัญ ไมสับสนหรือวกไปวนมา 190

3. ชองทางการส่ือสาร (Channel) หมายถึง ชองทางท่ีขอมูลขาวสารจากผูสงสารหรือผูประกาศและผูดําเนินรายการจะถูก ถายทอดออกไปโดยอาศัยส่ือ (media) หรือตัวกลาง ซึ่งอาจเปนสื่อวิทยุหรือสื่อโทรทัศน หรือสื่อ บุคคลท่ีอยูในกิจกรรมตางๆ เชน การประชุม การแถลงขาว การสัมมนา การอภิปราย ดวยการ อานและการพูดขอมูลใหฟง การซักถามสัมภาษณและการแสดงกิริยาทาทางประกอบ เปนตน 4. ผูรับสาร (Receiver) ในการศึกษาวิชาน้ี หมายถึง ผูฟงผูชม ซ่ึงเปนจุดหมายปลายทางของการสื่อสารซึ่งจะตอง มีการรับรู เขาใจหรือแสดงพฤติกรรมตามที่ผูสงสารตองการ หากไมเปนไปตามนั้นถือไดวาการ สื่อสารนั้นลมเหลว แตถาการนําเสนอขอมูลขาวสารในครั้งนั้นๆ สามารถทําใหผูรับสาร เปลี่ยนแปลงทัศนคติหรือพฤติกรรมได จึงจะถือวาประสบความสําเร็จ เชน เมื่อผูฟงผูชมไดรับฟง ขอมูลขาวสารที่ผูประกาศและผูดาํ เนินรายการนาํ เสนอในรายการวิทยุหรือโทรทัศนเร่ือง “ยุงลาย กับภัยของไขเลือดออก” และไดเชิญชวนใหประชาชนใสใจชวยกันทําลายแหลงเพาะพันธุยุงลาย ในที่ตางๆ ท่ีอยูรอบบานหรือในชุมชนของตนเอง เชน ในกระปอง ถัง กลองที่ใชแลวและมีนาํ้ ขัง อยูหรือในหลุมในบอเล็กๆ ที่มีนํ้าขังอยู ฯลฯ ในที่เหลานี้ตองทําใหไมมีน้ําขังที่ยุงจะสามารถมา วางไขไดอีก เพราะจะกลายเปนการแพรพันธุยุงลายใหมีเพิ่มมากขึ้น และอาจมากัดบุตรหลาน และผูปกครองใหปวยเปนโรคไขเลือดออกได พอประชาชนไดฟงขอมูลนี้เกิดความตระหนักถึง ปญหาที่จะเกิดข้ึน จึงชวยกันกําจัดแหลงเพาะพันธุยุงลายใหหมดไปจากบริเวณบานและชุมชน จึง ทําใหจํานวนความเสี่ยงของผูปวยจากการเปนโรคไขเลือดออกลดนอยลงไป เปนตน ถาการสง ขอมูลขาวสารของผูประกาศและผูดําเนินรายการสามารถทาํ ใหผูรับสารเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไป อยางเห็นไดชัดเจนหรือคอยๆ เปนไปเชนนี้ จึงจะถือไดวาเปนกระบวนการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล 14.2 วัตถปุ ระสงคข องกระบวนการสอื่ สารโดยทว่ั ไป (ปรมะ สตะเวทิน 2546) สรปุ ไดดงั น้ี 1) วตั ถปุ ระสงคของผสู งสาร (The Sender's Objectives) ไดแก 1.1 เพอ่ื แจงใหทราบ (Informing the Receiver) ตองการบอกกลาวหรือชีแ้ จง ขาวสาร เรื่องราว เหตุการณ ขอมูล หรือสิง่ อน่ื ใดใหผ รู บั สารไดรบั ทราบหรือเกิดความเขา ใจโดยผา น ชอ งทางส่ือสารมวลชน เชน วทิ ยหุ รือโทรทัศน เชน ผปู ระกาศและผูด าํ เนนิ รายการทางสอื่ วทิ ยแุ ละส่ือ โทรทศั นรายงานจาํ นวนผสู อบผา นการคดั เลือกเขา ศึกษาในมหาวทิ ยาลยั ตางๆ ทว่ั ประเทศ หรอื ขาว เหตุการณประจาํ วันใหประชาชนไดร ับทราบขอมลู อยา งทนั เหตุการณ เปนตน 191

1.2 เพื่อใหการศกึ ษาหรือบอกสอน (Education and Teaching) ตอ งการทจี่ ะให ความรูส รา งความเขาใจ บอกสอนวชิ าความรูหรอื เรือ่ งราวทเ่ี ปน วิชาการใหผูรับสารไดม ีศกั ยภาพ เพิ่มเติมมากขน้ึ จากเดมิ เชน ผปู ระกาศและผดู าํ เนนิ รายการทางสอ่ื วทิ ยุและสือ่ โทรทัศน นาํ ขอมูลทาง วิชาการเกยี่ วกบั วิธีการรักษาสุขภาพใหแข็งแรง ใหความรูเกี่ยวกบั โรคภยั ไขเ จบ็ ตางๆ ท้ังอาการระยะ เรม่ิ แรกทต่ี องสงั เกตและวิธกี ารปอ งกนั การเกิดโรคตางๆ เปนตน 1.3 เพอ่ื สรา งความพึงพอใจหรือใหความบันเทงิ (Satisfaction or Entertainment) ตอ งการท่ีจะทําใหผ รู บั สารเกิดความสดชื่นรืน่ เริงใจจากเนื้อหาสาระท่นี ําเสนอ ออกไป ไมวา จะอยใู นรูปของการอา น การพูด การอธบิ ายความ หรอื การแสดงตา งๆ เชน การพดู เลา เรื่องบรรยายภาพใหผรู ับสารเกิดจนิ ตนาการดานความเพลิดเพลนิ จําเรญิ ใจ การรายงานขา วบนั เทงิ ตา งๆ เปน ตน 1.4 เพอ่ื เสนอแนะหรอื โนม นาวใจหรือสรางแรงบันดาลใจ (Suggestion or Motivation or Inspiration) ตอ งการทําใหผ รู ับสารมีความคิดเห็นทเ่ี ปน ไปในแนวทางเดียวกับตน หรือนาํ ไปสกู ารปฏิบตั ิตามขอเสนอแนะหรือสรางแรงกระตุนใหล ุกขึน้ มาทาํ สง่ิ ใดสง่ิ หนึ่งในทาง สรางสรรค เชน การเชิญชวนใหเขารวมกจิ กรรมการกุศล สรา งแรงจงู ใจใหทาํ งานเพอ่ื ชว ยเหลอื ผอู น่ื ดว ยจติ อาสา มีสาํ นกึ ในจิตสาธารณะ เปนตน 2) วตั ถปุ ระสงคของผูรับสาร (The Receiver's Objectives) ไดแก 2.1 เพื่อความเขาใจ (Understanding) ตอ งการที่จะเขา ใจในปรากฏการณตางๆ ท่ี เกิดข้ึนในสงั คม เพราะบางเรื่องราวบางสถานการณท ่ีเกิดข้ึนในสังคมก็ตองอาศยั การรับฟง หรือการดู จากส่ือตางๆ ทม่ี ีผูสง สารมาอธบิ ายความใหไดเขาใจงา ยมากขึน้ 2.2 เพอ่ื การเรียนรู (Learning) ตองการเรยี นรูใ นสงิ่ ทยี่ งั ไมเคยรมู ากอนหรือเพ่ิมเติม ใหม ีขอมลู มากยง่ิ ขึน้ โดยอาศัยการแนะนําหรอื บอกสอนของผสู ง สาร 2.3 เพอ่ื ความเพลดิ เพลิน (Enjoyable) ตองการใหเ กดิ อารมณส นุ ทรยี ะมี จนิ ตนาการทส่ี บายทั้งกายและใจ เชน เปดรับฟงรายการวิทยทุ ่มี กี ารนําเสนอสาระดวยการพูดและ เปด เพลงประกอบไปดว ย เปนตน 2.4 เพื่อสนบั สนุนการตดั สนิ ใจ (Decision Support) ตองการใชเ ปนตวั ชวยในการ ตดั สนิ ใจเก่ยี วกบั เร่ืองใดเร่ืองหนึ่งทยี่ ังไมแ นใ จและมขี อมูลไมเ พียงพอ ดังนนั้ จึงตองการทราบขอมลู ขาวสารเพ่มิ มากขึ้นจากส่ือวิทยุและโทรทัศนโ ดยผานผูป ระกาศและผูดาํ เนินรายการ 192

14.3 ปจจัยสําคัญท่ีสงผลตอความสําเร็จของการส่ือสาร ปจจัยสําคัญที่จะเปนตัวชวยใหเกิดความสําเร็จหรือความลมเหลวของการสื่อสาร มีดังนี้ (มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะศึกษาศาสตร ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา 2550) ปจจัยที่ 1 ดานคุณสมบัติของผูสงสาร (The Qualification of the Sender) ปจจัยท่ี 2 ดานการเลือกใชส่ือท่ีเหมาะสม(Choosing the Appropriate Media) ปจจัยท่ี 3 ดานเทคนิคการสื่อสาร (Technical Communication) ปจจัยท่ี 4 ดานเนื้อหาสาระของสารท่ีนาสนใจ (Interesting Message) ปจจัยท่ี 1 ดานคุณสมบัติของผูสงสาร (The Qualification of the Sender) ประกอบดวย 1.1 มีความรูความสามารถในระดับสูง (High Potential) เพราะหากผูสงสารหรือในที่นี้ คือ ผูประกาศและผูดําเนินรายการมีความรูความสามารถท่ัวไปอยูในระดับสูง จะมีความเชื่อมั่นใน ตนเอง รวมทั้งสามารถรับรูและเขาใจสิ่งตางๆ ไดอยางรวดเร็ว กรณีผูสงสารมีความรู ความสามารถสูงกวาผูรับสาร จะใหผลสําเร็จของการสื่อสารที่ดีกวากรณีผูสงสารมีความรู ความสามารถตํ่ากวาผูรับสาร 1.2 มีทักษะในการส่ือสารสูง (High Communication Skills) คือ มีความเช่ียวชาญใน การอาน การพูด การอธิบายความ การตีความและถายทอด การแสดงภาษารางกาย (Body Language) มีจิตวิทยาในการโนมนาวและชี้ใหเห็นสิ่งสําคัญท่ีแอบซอนอยูเพ่ือจูงใจผูรับสารไดเปน อยางดี ทักษะเหลานี้จะตองอาศัยการเรียนรูและการฝกฝนตนเองอยางตอเน่ืองเปนสาํ คัญ 1.3 มีทัศนคติท่ีดี (Good Attitude) ผูสงสารท่ีมีทัศนคติที่ดีตอกัน จะชวยใหเขาใจซ่ึงกัน และกันไดงายข้ึน รูจักวิเคราะหความรู ความคิดจากขาวสารตางๆ อยางเปนเปนกลางและมี เหตุผล แตหากหากผูสงสารมีทัศนคติที่ไมดีตอกัน อาจมองกันในแงรายและบิดเบือนขาวสาร อัน จะสงผลถึงความเสียหายจากความเขาใจผิดตามมาอีกมากมาย 1.4 มีพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมเหมือนกัน (The Same Social and Cultural Background) เนื่องจากสังคม วัฒนธรรม รวมถึง เพศ และอายุ เปนตัวกําหนดความเชื่อ ความรูสึกนึกคิดของคนในสังคม ผูที่จะสงสารเพื่อใหเกิดความเขาใจกันไดดีที่สุดน้ัน ตองเปนผูที่มี พื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมเหมือนกันหรือคลายกับผูรับสาร เพราะผูสงสารที่มีความแตกตาง ทางสังคมและวัฒนธรรม อาจทําใหการสื่อสารลมเหลว เนื่องจากการพูดหรือการปฏิบัติในสังคม หน่ึง อาจแปลความหมายแตกตางไปในอีกสังคมหนึ่ง ดังนั้นจึงตองเลือกใชคนใหเหมาะสมกับงาน หรือที่มีคํากลาววา “Put the right man on the right job” 193

ปจจัยที่ 2 ดานการเลือกใชส่ือท่ีเหมาะสม (Choosing the Appropriate Media) การสื่อสารใหประสบความสําเร็จ ตองใชทั้งศาสตรและศิลปควบคูกันไป การเลือกใช “สื่อ” (Media) อยางเหมาะสมจึงเปนอีกหนึ่งปจจัยสําคัญที่ตองคํานึงถึง ผูสงสารจึงตอง พิจารณาเลือกวาจะใชสื่อประเภทใด จึงจะเหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูงสุด แมจะเปนสื่อ ประเภทเดียวกัน ก็ยังตองพิจารณาในรายละเอียดลึกลงไปอีก เชน เมื่อเลือกสื่อสารผานทางสื่อ วิทยุ ก็ตองพิจารณาวาจะใชรายการวิทยุสถานีใดที่เจาะกลุมเปาหมายไดมากที่สุด หรือถาเปน โทรทัศน จะเลือกใชชองใด เวลาออกอากาศเมื่อใด เปนตน (ปรมะ สตะเวทิน 2546) เพราะการ สื่อสารในปจจุบัน มีชองทางและเทคนิควิธีการมากมายหลายชนิด มีการพัฒนารูปแบบอยู ตลอดเวลา ผูสื่อสารจําเปนตองมีความรูและทักษะในการใชสื่อผานเครื่องมืออุปกรณตางๆ ให เหมาะสมท่ีสุด เชน การเลือกใชสื่อวิทยุ สําหรับกิจกรรมที่มีเงินทุนหรืองบประมาณไมสูงมากนัก แตจะได ค ว า ม ถี ่จํ า น ว น ค รั ้ง ม า ก ก ว า สื ่อ โ ท ร ท ัศ น สํ า ห ร ับ เ ม ็ด เ ง ิน ที ่เ ท า ก ัน ถ า เ ป น ก า ร ซื ้อ สื ่อ โ ฆ ษ ณ า ประชาสัมพันธในสื่อวิทยุ การเลือกใชสื่อโทรทัศน เหมาะสําหรับกิจกรรมที่มีเงินทุนหรือมีงบประมาณมากเพียงพอ ตอการทุมเม็ดเงินลงไปซื้อสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ เพื่อใหกลุมผูรับสารสามารถจดจําไดอยาง รวดเร็วและสามารถชักจูงใจใหผูรับสารมีทัศนคติและพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปตามที่ผูสงสารตองการ ไดงายมากขึ้นและตองการใหกลุมผูรับสารสามารถรับรูขอมูลขาวสารไดเปนจํานวนครั้งละมากๆ พรอมๆ กัน ในเวลาเดียวกัน นอกจากการเลือกใชสื่อที่เหมาะสมแลว ยังตองเขาใจถึงขอดี ขอดอย-จุดออนจุดแข็งของชองทางการสื่อสารแตละชนิด รวมทั้งเครื่องมืออุปกรณในการสื่อสาร แตละประเภทดวย ปจจัยที่ 3 ดานเทคนิคการส่ือสาร (Technical Communication) เทคนิควิธีในการสื่อสาร มีความสําคัญไมนอยกวาการรูจักใชสื่อ ท้ังนี้เพราะการสื่อสารใน สถานการณที่แตกตางกัน ยอมจะตองอาศัยเทคนิควิธีการที่เหมาะสมแตกตางกันไปดวย ผูสงสาร ตองมีเทคนิควิธีในการสื่อสารที่ดี รูวาเมื่อใดควรใชเทคนิควิธีการใด เมื่อใดควรใชเครื่องมือชวย เมื่อใดจะตองทราบปฏิกิริยาตอบสนองจากผูรับสารและจะทราบไดอยางไร เปนตน ตัวอยางของ การใชเทคนิควิธีในการส่ือสาร เชน ถาตองการนําเสนอขอมูลขาวสารใหกับกลุมเปาหมายหลักที่เปนกลุมวัยรุนสมัยใหม ที่มี ความพึงพอใจในเรื่องราวสาระแบบผจญภัย จะทํากิจกรรมอะไรตองมีความทาทาย ดังนั้นผูสง 194

สารตองนําเสนอขอมูลขาวสารที่แฝงไปดวยความตื่นเตนเราใจกลุมวัยรุนใหหันมาสนใจรับฟง รับชมใหไดกอน หลังจากนั้นจึงคอนสอดแทรกสาระวิชาการหรือแนวคิดบางสิ่งบางอยางที่ ต้ังเปาหมายไวเขาไปในเร่ืองราวต่ืนเตนน้ันๆ เชน การพูดถึงเร่ืองวิธีการคนหาความรูสมัยใหมจาก สื่อดิจิทัลผานเว็บไซดตางๆ หรือใชการคนหาความรูที่ตองการจากติดตอสื่อสารแบบสังคม เครือขายออนไลน (Social networking) เพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารพรอมๆ กันทีละหลายๆ คนในการสงครั้งเดียว เปนตน -โดยใชเทคนิคการสื่อสารในเรื่องที่ตองการบอกเปนชวงสั้นๆ ใชความถี่ซ้ําหลายๆ ครั้ง ในเวลาที่แตกตางกันใหครอบคลุมทุกชวงเวลา เปนตน -ตองพยายามนําเสนอขอมูลขาวสารดวยความทาทายกลุมผูรับสารใหรูสึกอยากติดตาม ดวยการกระตุนใหผูรับสารใชความคิด พิจารณาเหตุผลและหาขอสรุปดวยตนเอง -ตองนาํ เสนอเปดฉากดวยการกระตุนใหกลุมผูรับสารเกิดความสนใจ ใครรูในสิ่งที่ผูสงสาร ตองการบอกในทายท่ีสุด -ตองนําเสนอสาระดวยการแสดงเหตุที่มาและผลลัพธที่ไดดวยขอเท็จจริงและหลักฐานที่ นาเชื่อถือ เพื่อใหกลุมเปาหมายยอมรับอยางเต็มใจ - สรางการมีสวนรวมระหวางผูสงสารและผูรับสาร โดยเปดโอกาสใหผูรับสารมีสวนรวม ในการแสดงความคิดเห็นบางตามสมควร คือ ไมมากไปและไมนอยไป เปนตน นอกจากนั้นยังมีเทคนิควิธีการสื่อสารอีกมากมายที่จะชวยใหการสื่อสารของเราประสบ ความสําเร็จตามที่ไดตั้งเปาหมายเอาไว ทั้งนี้ตองขึ้นอยูกับสถานการณและวัสดุอุปกรณเครื่องมือ และจังหวะโอกาสที่เหมาะสม โดยไมเนนมุงยัดเยียดขอมูลขาวสารนั้นๆ อยางซํ้าซากจนมาก เกินไป หรือเรียกกันในภาษาทางการตลาดวา ฮารดเซลล (Hard sale) คือ เปนการขายผลิตภัณฑ สินคาหรือบริการอยางไมมีศิลปะ ไมดูความเหมาะสมที่ควรเปน การกระทําเชนนี้กลับยิ่งทําให เปนเสมือนการทําลายภาพลักษณของสินคาหรือกิจกรรมหรือขอมูลขาวสารที่มีประโยชนซึ่ง ตองการนําเสนอดวยซ้ําไป คือ แทนที่จะดี ที่ไดโฆษณาประชาสัมพันธมากๆ กลับกลายเปนแย เพราะย่ิงพูดยิ่งทําใหผูรับสารเบื่อหนายมากข้ึนและพาลรูสึกไมชอบสินคาหรือบริการหรือความรูที่ นาํ มาเสนอไปเลย ปจจัยที่ 4 ดานเน้ือหาสาระของสารที่นาสนใจ (Interesting Message) ปจจัยสําคัญสุดทายที่จะชวยใหการสื่อสารประสบความสําเร็จ คือ การนําเสนอสาระท่ี นาสนใจ เพราะสวนใหญแลวกลุมผูรับสารจะเปดรับขอมูลใด ยอมตองเลือกในสิ่งที่ตรงกับความ พึงพอใจของตนเองมาเปนอันดับตนๆ คือ ขอมูลขาวสารหรือสาระนั้นๆ สามารถตอบสนองความ ตองการทางใดทางหนึ่งที่ผูรับสารกําลังคนหาอยู การคัดสรรหรือสรางสรรคเนื้อหาสาระที่จะ 195

นําเสนอ จึงตองพิจารณาใหละเอียดวาจะตองไปนําเสนอใหใคร เพศใด อายุเทาไร ศึกษาอยูใน ระดับไหน ประกอบอาชีพอะไร นับถือศาสนาใด เปนตน หรือเรียกโดยรวมวาตองพิจารณา คุณลักษณะทางประชากรศาสตร (Demographics) ของกลุมผูรับสารใหแนนอนเสียกอน แลวจึง คอยมาจัดสรรลําดับเนื้อหาสารกอนหลังที่เหมาะสม จัดสรรลําดับความยากงายของขอมูล ขาวสารที่ตองการใหผูรับสารไดรับรูอยางมีถูกกาลเทศะถูกจังหวะที่ถูกตอง รวมทั้งการพิจารณา ดานสาระของสารที่ตองแตกตางกันไปในแตละกลุมอายุ เพศ เพราะไมควรที่จะใชเนื้อหาสาระใน รูปแบบเดียวกันทั้งหมดเพื่อผูรับสารทุกกลุมอายุและเพศ เนื่องจากคนที่อายุตางกัน แมผูสงสาร ตองการใหไดสาระในเร่ืองราวเกี่ยวกับการออกกาํ ลังเพื่อรักษาสุขภาพเหมือนกัน แตตอง ใชกรณี การยกตัวอยางประกอบที่แตกตางกัน เชน คนสูงวัยตองยกตัวอยางดวยเนื้อหาสาระของกีฬา ประเภทเตนลีลาศออกกําลังกายหรือการแกวงแขนวันละ 100 คร้ัง หรือวายน้ําเพื่อรักษาสุขภาพ แตสําหรับกลุมวัยรุน อาจตองยกตัวอยางดวยเนื้อหาสาระของกีฬาประเภทเตะฟุตบอล วิ่ง มาราธอน เปนตน ดังน้ันการวิเคราะหผูรับสารเพื่อพิจารณาการนาํ เสนอเนื้อหาสาระที่นาสนใจจึง เปนปจจัยสาํ คัญในการทําใหการนาํ เสนอขอมูลขาวสารประสบความสาํ เร็จเชนกัน 14.4 แนวคิดและทฤษฎีท่ีสัมพันธกับความสาํ เร็จของการสื่อสาร ไดแก 1) แนวคิดแบบจาํ ลองการส่ือสารเพื่อการทาํ หนาที่ของผูประกาศและผูดําเนินรายการ ใหประสบความสําเร็จ ตามที่ โรเจอร (Rogers, E.M. 2003) ไดกลาวไวถึงการส่ือสารวาเปน กระบวนการที่ความคิดหรือขาวสารถูกสงจากแหลงสารไปยังผูรับสารโดยมีเจตนาท่ีจะเปลี่ยนแปลง ความรู ทัศนคติไปจนกระท่ังเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูรับสารก็ได จะเห็นไดวาวัตถุประสงคท่ี สําคัญในการทําหนาท่ีผูสงสาร คือ การกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในทางใดทางหนึ่ง ประกอบดวย แนวคิดตางๆ ไดแก 1.1 แนวคดิ แบบจาํ ลองการส่ือสารของ วิลเบอร แชรมม (Wilbur Schramm, 1954) โดยแชรมมไดสรางแนวคดิ แบบจําลองการส่ือสารเชิงวงกลม ซึ่งมีเงื่อนไขสําคัญ คือ ท้ังสอง ฝา ยตองมพี น้ื ฐานประสบการณร ว ม (Field of Experience) ระหวา งผูสงสาร (Source) และผูรับสาร (Receiver) เพื่อใหก ารส่อื สารมีความเขา ใจท่ถี ูกตอ งตรงกนั และสามารถท่ีจะเพ่ิมประสิทธภิ าพได 1.2 แนวคิดแบบจาํ ลองการสื่อสารของ เดวิด เค. เบอรโล (David K. Berlo, 1960) หรือ S M C R Model ประกอบดวย 196

1.2.1 ผูสง สาร (Source) ตอ งมีความสามารถในการเขารหัส (Encode) เน้ือหาขา วสารได มีความรูอยางดีในขอมูลท่จี ะสงและสามารถปรบั ระดบั ใหเ หมาะสมสอดคลองกบั ผูรบั สาร (Receiver) 1.2.2 สาร (Message) คือ เนอ้ื หาสาระขอมลู ขาวสารหรอื สญั ลักษณตางๆ ท่ี ตองการสง ไปใหผ ูร บั สาร 1.2.3 ชองทางการส่อื สาร (Channel) เปน ส่ือในการสงผา นสารใหผรู ับสารได ดว ยประสาทสัมผสั ท้ังหา 1.2.4 ผูรบั สาร (Receiver) มคี วามสามารถในการถอดรหัสสาร (Decode) ไดอยางถูกตอง แนวคดิ แบบจําลองการสื่อสารของเบอรโล จะใหความสําคัญในปจจัยตา งๆ ท่ีมผี ลทาํ ใหการ ส่ือสารประสบผลสาํ เรจ็ ไดแก ทักษะในการสอื่ สาร ทัศนคติ ระดบั ความรู ระบบสงั คมและวฒั นธรรม ซ่งึ ผูส งสารและผรู บั สารตองมีตรงกันเสมอ 2) แนวคิดจากทฤษฎีแหงการเรียนรูเพื่อฝกฝนการเปนผูประกาศและผูดาํ เนินรายการ ท่ีมีคุณภาพ ไดแก 2.1 ทฤษฎีสมั พันธเ ชื่อมโยงของธอรนไดค (Thorndike’s Connectionism Theory) เจาของทฤษฎีนี้ คอื เอ็ดเวิรด ลี ธอรนไดค (Edward Lee Thorndike, 1874-1949) เปน นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน เขาคนพบกฎการเรียนรูที่สําคัญ ทฤษฎีน้ีมุงเนนความสัมพันธเชื่อมโยง ระหวางสงิ่ เรา (Stimulus) กบั การตอบสนอง (Response) โดยเขาเชอื่ วา การเรียนรูจะเกิดขึ้นไดดวย การทมี่ นษุ ยห รอื สตั วไ ดเ ลือกเอาปฏิกิริยาตอบสนองท่ีถูกตองน้ันมาเชื่อมตอ (Connect) เขากับส่ิงเรา อยางเหมาะสมหรือการเรียนรูจะเกิดข้ึนไดก ็โดยการสรางสงิ่ เชื่อมโยง (Bond) ระหวางสิ่งเรากับการ ตอบสนองใหเกดิ ข้ึน ดงั น้ันจึงเรียกทฤษฎีการเรยี นรูของธอรนไดควา ทฤษฎเี ชื่อมโยงระหวางสิ่งเรากับ ตอบสนอง (S-R Bond Theory) หรือทฤษฎสี ัมพันธเช่ือมโยง (Connectionism Theory) โดยมี หลักการเบ้ืองตนวา “การเรียนรูเกิดจากการเช่ือมโยงระหวางส่ิงเรา กับการตอบสนอง โดยที่การ ตอบสนองมักจะออกมาเปน รูปแบบตางๆ หลายรูปแบบ จนกวาจะพบรูปแบบที่ดีหรือเหมาะสม ท่ีสดุ เราเรียกการตอบสนองเชน น้ีวาการลองถูกลองผดิ (Trial-and-Error) การตอบสนองหลาย รูปแบบจะหายไปเหลือเพียงการตอบสนองรูปแบบเดียวท่ีเหมาะสมที่สุด” (E. L. Thorndike, 1874-1949) เขาไดเสนอกฎการเรียนรูท่ีสําคัญขึ้นมา ซึ่งถือวาเปนหลักการเบ้ืองตนท่ีนําไปสู เทคโนโลยีทางการศกึ ษาและการสอน โดยมีรายละเอียด (ทิศนา แขมมณี 2548) ดังนี้ 197

2.1.1 กฎแหงความพรอ ม (The Law of Readiness) กฎน้หี มายถึงการ เรียนรูจะเกิดข้ึนไดดี ถาผูเรียนมีความพรอมทั้งทางรางกายและจิต ในการท่ีจะแสดงพฤติกรรมใดๆ ออกมา 2.1.2 กฎแหงการฝกหดั (The Law of Exercise) ชีใ้ หเหน็ วา การกระทําซาํ้ หรอื การฝกหัดนี้ หากไดทําบอยๆ ซ้ําๆ จะทาํ ใหการกระทํานั้นๆ ถูกตองสมบรู ณและคงทนถาวร 2.1.3 กฎแหงการใช (Law of Use and Disuse) การเรยี นรเู กิดจากการ เช่ือมโยงระหวางสิ่งเรากับการตอบสนอง ความมั่งคงของการเรียนรูจะเกิดข้ึน หากไดม ีการนําไปใช บอ ยๆ หากไมมกี ารนาํ ไปใชอาจมีการลืมเกดิ ขนึ้ ได 2.1.4 กฎแหงผลท่พี งึ พอใจ (The Law of Effect) เปนกฎทม่ี ีชื่อเสียงและ ไดรับความสนใจมากท่ีสุด ใจความสําคัญของกฎนี้ คือ รางวัลหรือความสมหวังจะชวยสงเสริมการ แสดงพฤติกรรมน้ันมากขึ้น แตการทําโทษหรือความผิดหวังจะลดอาการแสดงพฤติกรรมน้ันลง เพราะเม่ือบุคคลไดรับผลที่พึงพอใจยอมอยากจะเรียนรูตอไป แตถาไดร บั ผลที่ไมพึงพอใจ จะไมอยาก เรียนรู ดงั นัน้ การไดร บั ผลท่ีพงึ พอใจ จงึ เปน ปจ จยั สําคัญในการเรยี นรู จากแนวคิดทฤษฎีสัมพันธเชื่อมโยงนี้ สามารถนํามาใชเปนแนวทางเพ่ือทําใหกระบวนการ ส่ือสารของผูประกาศและผูดําเนินรายการพัฒนาข้ึนได โดยการเรียนรูภาคทฤษฏีและฝกฝน ภาคปฏิบัติตางๆ เพอ่ื ทําใหเปน “ผูสงสาร” ทม่ี คี ุณภาพซ่ึงตองอาศัยการเรียนรูจากการลองผิดลองถูก จนในทายท่ีสุด คือ คน พบสิ่งที่ถูกตองและพึงพอใจมากท่ีสุด เพื่อนําไปสูการทําหนาท่ีเปนผูประกาศ และผูดาํ เนนิ รายการที่มีคุณภาพ มีความรูและทักษะทสี่ ามารถนําเสนอขอมูลขา วสารไปยังประชาชน ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผลมากทสี่ ุด อปุ สรรคในกระบวนการสื่อสาร ไดแ ก 1) ผสู งสารขาดทักษะความสามารถความชาํ นาญในการสอ่ื สาร 2) เน้ือหาของสารไมชดั เจน คลมุ เครือ ไมต รงประเดน็ กับกลมุ เปาหมายเนื้อหา สาระมีความสน้ั ความยาวไมเ หมาะสม 3) ชองทางการส่ือสารหรือสื่อ ไมเหมาะสมกับผรู ับสารและประเภทของเนอื้ สารท่ี แตกตา งกนั ออกไป 4) ผูรับสารไมสนใจรบั สาร เพราะไมพึงพอใจผสู งสารและเนื้อสารทีอ่ าจนา เบื่อหรอื ตวั ผรู บั สารเองขาดความรู ขาดทกั ษะความชํานาญในการทําความเขาใจกับเน้ือหาสาระท่ีผูสงสารได นาํ เสนอ 5) ผูสงสารและผรู บั สารมีความแตกตางในดานพนื้ ฐานครอบครัว ดา นภาษา ดา น ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม สภาพแวดลอมและสังคม นอกจากนั้นยงั มีอุปสรรคจากส่ิงรบกวน อกี 2 ลักษณะคือ 198

ลกั ษณะที่ 1 ส่ิงรบกวนจากภายนอก เชน เสยี งรบกวน (noise) ที่สอดแทรกเขามาแบบไม เปน ระบบผดิ ปกติ สภาพอากาศแปรปรวน ไดแ ก ลม ฝน พายุ ลกั ษณะที่ 2 สิง่ รบกวนจากภายใน ไดแ ก อารมณทัง้ ทางลบและทางบวกในขณะนน้ั ๆ การมี อคตมิ ีความลําเอียงทัง้ ของผูสง สารและผรู บั สาร จงึ ตคี วามหมายของเน้อื สารแตกตางกนั ไป สรปุ เนื้อหาสาระในบทน้ี คือ นักศกึ ษาจะไดเรียนรูและอธบิ ายไดถึงองคประกอบของกระบวนการสื่อสารในการ นําเสนอขอมูลขาวสาร ทราบถึงวัตถุประสงคในกระบวนการส่ือสารโดยทั่วไป เขาใจถึงปจจัย สําคัญที่สงผลตอความสําเร็จของการสื่อสาร ไดทราบถึงแนวคิดแบบจําลองการสื่อสารที่สัมพันธ กับความสําเร็จของการสื่อสาร ไดเรียนรูถึงอุปสรรคในกระบวนการส่ือสาร ดังนั้นจะเห็นไดวา องคประกอบของกระบวนการสื่อสารสําหรับผูประกาศและผดู ําเนินรายการ มีปจจัยแวดลอมที่เปน “ตัวแปร” สําคัญหลายประการท่ีจะสงผลกระทบและทําใหผลลัพธข องการสื่อสารแตละครั้งประสบ ความสําเร็จหรือลมเหลวไดทั้งสิ้น แตการศึกษาบทน้ีจะทําใหนักศึกษาไดรูและเขาใจถึงการเตรียม ความพรอ มทงั้ ของตนเองในฐานะของผสู ง สารและเขา ใจผูร บั สารดว ย 199

แบบฝก หดั เพอ่ื ทบทวนความรูแ ละความเขา ใจ แบบฝกหัดทายบทของทกุ บท เพอื่ การกระตนุ ความต่นื ตัวในการเรยี นรูและนาํ ไปสกู าร จดจําไดอยา งลกึ ซ้ึง ดวยการใชคําถามท่ีตอ งอธิบายความและยกตวั อยางประกอบ ซง่ึ ตอ งใชค วามเขา ใจจากการเรยี นรแู ละฝกปฏบิ ัติอยางสมํ่าเสมอ 1. ใหนักศึกษาอธิบายถึงองคประกอบของกระบวนการส่ือสารในการนําเสนอขอมูลขาวสาร วามีอะไรบาง 2. อธิบายวตั ถปุ ระสงคในกระบวนการสื่อสารโดยท่ัวไปของผสู งสาร 3. อธบิ ายวตั ถุประสงคใ นกระบวนการส่ือสารโดยท่ัวไปของผรู ับสาร 4. อธิบายรายละเอียดของปจจัยสําคัญท่ีสงผลตอความสําเร็จของการส่ือสารทั้ง 4 ปจจัย มีอะไรบาง 5. อธิบายแนวคิดแบบจําลองการส่ือสารเพื่อการทําหนาที่ของผูประกาศและผูดําเนิน รายการใหประสบความสาํ เร็จของ วิลเบอร แชรมม และ ซ.ี อ.ี ออสกดู (Wilber Schramm, 1954) วามแี นวคิดเปนเชนไร 6. อธิบายแนวคิดแบบจําลองการสื่อสารเพ่ือการทาํ หนาท่ีของผูประกาศและผูดาํ เนิน รายการใหป ระสบความสาํ เร็จของ เดวิด เค. เบอรโล (David k. Berlo, 1960) วา มแี นวคิด เปน เชน ไร 7. อธิบายแนวคิดจากทฤษฎีแหงการเรียนรูเพื่อฝกฝนการเปนผูประกาศและผูดาํ เนิน รายการท่ีมีคุณภาพจากทฤษฎีสมั พนั ธเชอื่ มโยงของธอรนไดค (Thorndike’s Connectionism Theory) วามีแนวคดิ เปน เชนไร 8. อธบิ ายอปุ สรรคในกระบวนการสอ่ื สารวามีอะไรบาง 9. ใหนักศึกษาอธิบายถงึ “ตวั แปร” ทคี่ ดิ วา สงผล “ดานบวก” เปนความสําเร็จจากองคป ระกอบ ของกระบวนการส่ือสาร S-M-C-R ทีไ่ ดศกึ ษามา 10. ใหนกั ศกึ ษาอธิบายถงึ “ตัวแปร” ท่คี ิดวา สงผล “ดา นลบ”เปนความลมเหลวจากองคประกอบ ของกระบวนการส่อื สาร S-M-C-R ทีไ่ ดศกึ ษามา 200

จุดประสงคข องการเรยี นรูในบทนี้ 1. นักศกึ ษามีความรคู วามเขาใจและสามารถบอกไดถงึ ความสําคัญของคณุ ธรรมและ จริยธรรมสําหรบั การเปนผูประกาศและผูดําเนนิ รายการ 2. นกั ศึกษามีความรูค วามเขา ใจและสามารถอธิบายไดถ ึงหลักคุณธรรม 3. นักศึกษามีความรูความเขาใจและสามารถอธบิ ายไดถ ึงหลักจรยิ ธรรม 4. นกั ศกึ ษามีความรคู วามเขาใจและจดจําไดถึงขอควรปฏบิ ตั ิสําหรบั ผปู ระกาศและผดู าํ เนิน รายการอยา งมีคุณธรรมและจรยิ ธรรม รวมทั้งสามารถนําไปใชไ ดเ มื่อตองปฏบิ ัตงิ านจรงิ 5. นักศึกษามีความรคู วามเขา ใจและสามารถบอกไดถึงจรรยาบรรณ (Codes of Ethics) สําหรบั สื่อสารมวลชนสากล 15.1 ความสําคัญของคณุ ธรรมและจริยธรรม สําหรับการเปนผปู ระกาศและผูด าํ เนินรายการ คุณธรรมและจริยธรรมนับวา เปนพื้นฐานท่ีสําคญั ของคนทุกคนและทุกวิชาชีพ หากบุคคลใด หรือวชิ าชพี ใดไมมีส่งิ นเี้ ปน หลกั ยดึ เบ้อื งตนแลว กย็ ากที่จะกาวไปสูค วามสาํ เรจ็ แหงตนและแหงวิชาชีพ นั้นๆ ที่ย่ิงกวา นั้น คอื การขาดคณุ ธรรมและจริยธรรมท้ังในสวนบุคคลและในวิชาชีพ อาจมีผลรายตอ ตนเอง สังคมและวงการวิชาชีพในอนาคตไดอีกดวย ดังจะพบเห็นไดจากการเกิดวิกฤติศรัทธาใน วิชาชีพหลายแขนงในปจจุบัน แมกระทั่งผูที่ประกอบอาชีพสื่อมวลชนในฐานะเปนผูประกาศและผู ดําเนินรายการ จึงมีคํากลาววาเราไมสามารถสรางครูดีบนพ้ืนฐานของคนไมดี และไมสามารถสราง แพทย ตาํ รวจ ทหารและนกั การเมอื งทีด่ ี ถาบุคคลเหลาน้ันมพี ืน้ ฐานทางนิสัยและความประพฤติท่ีไมดี ดังน้ันคุณธรรมและจริยธรรมจึงเปนเสมือนบทบัญญัติของความดีและความงามของจิตใจที่สงผลให บุคคลประพฤติดีประพฤติชอบ คุณธรรมและจริยธรรมจึงเปนองคประกอบที่มีความสําคัญตอการ 201

ประกอบการในวิชาชีพของบุคคลในทุกสาขาอาชีพ การทําความเขาใจกับความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับ คุณธรรมและจริยธรรมจะทําใหผปู ระกอบวิชาชีพมีความตระหนักถึงคุณประโยชนและโทษท่ีเปนผล สืบเน่ืองจากการมีคุณธรรมจริยธรรมและการขาดคุณธรรมและจริยธรรม (สุภัททา ปณฑะแพทย 2558) โดยวิลเบอร ชแรมม (Wilber Schramm, 1996) ไดนําเสนอแนวคิด 3 กลไกลสําคญั ที่สังคม สามารถนํามาใชเพ่ือสนับสนุนหรือกระตุนเตือนส่ือมวลชนใหปฏิบัติหนาที่อยางมีความรับผิดชอบ ไดแก 1) กลไกภาครัฐ คือ กฎหมาย 2) กลไกภาคผูป ระกอบการธุรกิจ คือ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ จรรยาบรรณ และ 3) กลไกภาคประชาชน คือ การรกั ษาสิทธ์ิ โดยเปน กลไกสาํ คัญท่ีใชกํากับและดแู ล เนือ้ หาของส่อื มวลชนใหมีมาตรฐานทง้ั ดา นกฎหมายและจริยธรรม จรวยพร ธรณินทร (2553) ไดนําเสนอความหมายของคําวา คุณธรรม (Moral / Virtue) คือ คุณ + ธรรมะ คุณงามความดีที่เปนธรรมชาติ กอใหเกิดประโยชนตอตนเองและ สังคม ซึ่งรวมสรุปวาเปนสภาพคุณงาม ความดี ความถูกตอง ความบริสุทธ์ิ คุณสมบัติท่ีดี เปน อุปนิสัยอันดีงามซึ่งสั่งสมอยูในดวงจิต อุปนิสัยอันนี้ไดมาจากความพยายามซ่ึงมีความสัมพันธกับ หนา ที่เปน อยางมาก เพราะการทาํ หนา ท่ีจนเปน นสิ ัย จะกลายเปน อุปนสิ ัยอนั ดีงามทคี่ นๆ นน้ั สง่ั สมมา สําหรับคําวา “จริยธรรม” (Ethics) คือ จริย + ธรรมะ หมายถึงความประพฤติที่เปน ธรรมชาติ เกิดจากคุณธรรมในตัวเองกอใหเกิดความสงบเรียบรอยในสังคม สรปุ ไดวา คือ ขอควร ประพฤติปฏิบัติ เชน คนๆ นี้มีจริยธรรม จะหมายถึง คนๆ น้ีเปนผูมจี ิตใจสะอาด บริสุทธิ์ เสยี สละ หรือประพฤติดีงาม มีการกระทําท่ีถูกตองเหมาะสม หรือเปนการทําหนาที่ของตนอยางถูกตอง สมบูรณ เวนส่ิงควรเวน ทาํ สิ่งควรทํา ดวยความฉลาดรอบคอบ รูเหตุรูผ ลถูกตองตามกาลเทศะและ บคุ คล ดังนน้ั จะเห็นวาจริยธรรมมีความจาํ เปนและมีคณุ คาสําหรบั ทุกคนในทุกวิชาชีพทุกสงั คม เพราะ สังคมจะอยรู อดไดดว ยจริยธรรม ดังนัน้ “จรยิ ธรรม” จงึ เปน ความเชื่อ คา นิยมและหลักศีลธรรม ซ่ึงแตล ะสังคมกําหนดข้ึนเพ่ือ ใชในการตัดสินวา สิ่งใดถูก ส่ิงใดผิด ส่ิงใดควรทําและสิ่งใดไมควรทํา ทั้งน้ี หมายถึงแนวทางปฏิบัติ ของบุคคลในสาขาอาชีพตางๆ โดยเฉพาะอยางย่ิงสอ่ื มวลชนที่สังคมเรียกรองความรับผิดชอบในเชิง จริยธรรมสงู มากกวา บคุ คลธรรมดาท่ัวไป วดู และคณะ (Wood et al., 2001) กลา ววา ตวั กําหนดพฤติกรรมดา นคุณธรรมและ จริยธรรมของแตล ะบคุ คลอาจมีมมุ มองทีแ่ ตกตางกัน แบง ออกไดเ ปน 4 ดา น ไดแก 1) มุมมองดา นการกระทาํ โดยยึดหลกั การนําความสขุ มากที่สดุ มาสูบ คุ คลสว นใหญ 2) มมุ มองดา นเอกตั บุคคลยดึ ส่งิ ทด่ี ีเปนประโยชนต อบุคคลอ่ืนอยางย่ังยืน 3) มมุ มองดา นความถูกตองทางคณุ ธรรมซ่งึ เปนสิทธพิ นื้ ฐานของมนุษยโดยสวนรวม 4) มมุ มองดานความยตุ ิธรรมโดยไมเลือกปฏิบัติ 202

ฐติ ินันท พงษสุทธิรักษ (2553) ไดทําการศึกษาวิจัยโครงการทเี่ ก่ียวของกับการปฏิรูประบบ สื่อ การพัฒนาบุคลากรและสื่อสาธารณะ พบขอมูลวา ในดานคุณธรรมของการเปนผูประกาศและผู ดําเนนิ รายการทางสื่อวิทยุและสื่อโทรทัศนนั้น ทุกองคกรท่ีดําเนินกิจการทางดานนีต้ องมีการปลูกฝง เร่ืองคุณธรรมหรือจติ สาํ นกึ ทีม่ ีความรับผิดชอบใหก บั บคุ ลากรของตนเองใหมากย่ิงข้ึน โดยคุณธรรมข้ัน พน้ื ฐาน ซง่ึ ผทู ป่ี ระกอบอาชีพทางดานนท้ี ุกคนพงึ ระลึกไวเสมอ ไดแก 1) ตอ งนําเสนอแต “ขอมูลที่เปนความจริงแทและแนนอน” เทานัน้ 2) ตองไมน ําเอาความรสู ึก “อคติสวนตัว” เขา มารวมในการทํางาน คือ ความชอบหรือไม ชอบ โดยเฉพาะความไมช อบตอ บุคคลในขา วหรือเร่ืองราวท่ีนาํ เสนอ แลวจึงใสร ายปายสเี พิม่ เตมิ ตอ บุคคลผเู ปนขา วเพิ่มเตมิ เขาไปมากกวา ความเปน จรงิ จนทําใหบุคคลผนู นั้ หรอื เร่ืองราวและเหตุการณ น้นั ๆ เสยี หายเพม่ิ มากขึน้ กวา ทเ่ี ปนจรงิ 3) เมอื่ นาํ เสนอ “ขอมลู ทีผ่ ดิ พลาด” ออกไป ตอ งหาทางแกไ ขและขอโทษตอผฟู งผูชม ในทันทีทีม่ ีโอกาส 4) ตอ งนาํ เสนอแตใน “สิ่งทเ่ี ปนประโยชน” ตอ ผรู ับสารทุกกลุมทุกเพศทกุ วยั คือ ท้งั ผหู ญิง ผชู าย เด็ก ผใู หญ และผสู ูงอายุ 5) ตอ งไม “ชีน้ าํ สังคม” ไปในแนวทางที่ขัดตอขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละวฒั นธรรมของ คนไทยและสงั คมไทย 6) ตอ งชว ยสราง “ความรัก ความสมคั รสมานสามัคคี” ใหกบั ผูคนทุกกลุมทุกเพศทุกวยั ใน สงั คม นอกจากน้นั ผูประกาศและผดู ําเนนิ รายการ ยังถอื เปน ผูทําหนาท่ใี นการใหค วามรู ความเขาใจ ตอประชาชนในสังคมอีกดวย ความมีคุณธรรมหรือจิตสํานึกท่ีดีจึงเปนส่ิงที่ตองมีใหมากที่สุดในผูท่ี ประกอบอาชีพนี้ เพราะตองทําหนาท่ีสาํ คัญในการถายทอดมรดกสังคมจากคนรนุ หน่ึงไปสคู นอีกรุน หน่ึง ซึง่ ไมเพียงแตเปนหนาท่ีโดยธรรมชาติท่ีมีมาคกู ับสังคมแตด้ังเดิม หากแตยังเปนหนาที่หลักของ การสือ่ สารมวลชนในปจจุบนั ดว ย โดยตองมีองคป ระกอบครบ 3 ประการ คอื 1) มเี สรภี าพในการสื่อสาร 2) มคี ุณธรรมหรอื จติ สํานกึ ที่ดใี นการเปน ผูถ า ยทอด 3) มจี รยิ ธรรมหรือความรับผิดชอบตอขอมลู ขาวสารที่นาํ เสนออกไปยังประชาชน การทําหนา ทีผ่ ปู ระกาศและผูด ําเนนิ รายการจึงเปนเร่อื งที่ตองใหค วามใสใจระมัดระวังกอนที่จะ นําเสนอขอมูลขาวสารใดๆ ไปยังมวลชน ตองพิจารณาใหดีกอนวามีความถูกตองเหมาะสม มี ประโยชน มีความเท่ียงธรรมตอ ทกุ ฝา ย การจะทาํ หนาทซี่ ่ึงสงผลกระทบตอ มวลชนและสังคมโดยรวม เชนนี้ได จึงตองเปนบุคคลที่มีคุณธรรมและจริยธรรม คือ มีจิตสํานึกท่ีดีและมีความรับผิดชอบตอ ขอ มลู ขา วสารทไ่ี ดสื่อสารออกไป ไมวาจะดวยการส่ือสารรูปแบบใดก็ตาม จึงจะสมควรไดรับการยอม 203

วา เปน นักส่ือมวลชนที่ดมี ีคณุ ภาพ นายกยองชน่ื ชมนาเชือ่ ถือและไวใจได นอกจากนี้ผูประกาศและผูดําเนินรายการ ยังมีบทบาทตอการเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา วฒั นธรรมและดานบนั เทงิ และมบี ทบาทตอชวี ติ และส่ิงแวดลอม เสมือนเปนองคประกอบหนึ่งของวิถี ชีวิตมนุษย ความนาเช่ือถือของประชาชนที่มีตอผูประกาศและผูดําเนินรายการ นับวาเปนทุนอยาง หนึ่งของความเปนส่ือมวลชน เพราะหากประชาชนไมไววางใจหรือขาดความเช่ือถือ ขอมูลขาวสาร ใดๆ ท่ีนาํ เสนอตอประชาชน ก็ไมไดรับความเช่อื ถือ เชน ถาเปน สือ่ วิทยุ ก็เปรียบเสมอื น “คนบาเสีย สติ” ถา เปนสอ่ื โทรทัศน กเ็ ปน “นกั มายากล” ถาเปนส่ือบุคคล ก็จะกลายเปน “คนลวงโลก” 15.2 หลกั คณุ ธรรม ในการส่ือสารที่มี “หลักคุณธรรม” (The Principle of Moral) จําเปนตองใชคุณงาม ความดีภายในของผปู ระกาศและผูดาํ เนนิ รายการเปนตน ทุนกอ น เพราะจะทําใหการส่ือสารนั้นมีความ นาฟง นา ชมมากขึ้น หากส่ือสารกันอยางขาดหลักคุณธรรมแลวอาจทาํ ใหเกิดความขัดแยง ความโกรธ ขน้ึ ได หรอื บางกรณีถา อะไรทีเ่ ราตอ งการสือ่ ออกไปนั้นเกดิ ผลเสยี ตอ ผสู งสารเราก็ควรเวนไปเสีย หรือ บางอยา งทีไ่ มควรจะสอ่ื ใหผูอื่นรูก็ตองงดทจ่ี ะส่ือสารออกไป สิ่งเหลานตี้ องอาศัยหลักคุณธรรมในการ พิจารณา เพราะการนําเสนอขอมูลขาวสารของผูประกาศและผูดําเนินรายการนั้นสามารถทําให เกิดผลเสียก็ไดผลดีก็ได ทําใหคนมีอนาคตก็ได หมดอนาคตก็ได หากสื่อสารกันอยางไมมีคุณธรรม แลว จะทําใหเ กิดความเดอื ดรอนมากมาย สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2550) ไดประมวลผลจากการประชุมระดมความคิด สรุปไดวา คุณธรรม หมายถึง สิ่งท่ีมีคุณคามีประโยชน เปนความดีงาม เปนมโนธรรม เปนเครื่อง ประคับประคองใจใหละอายตอความช่ัว กลัวตอบาป ผลักดันใหเกิดความรูสกึ รับผดิ ชอบ เกิดจาก จติ สาํ นึกทด่ี ีมีความสงบเสงี่ยมภายใน โดย “หลักคุณธรรม” สําหรับผูประกาศและผูดาํ เนินรายการท่ี จะตอ งคํานงึ ถึง ประกอบดวย ประการแรก คอื การรักษาความจรงิ ใจตอตัวเองท่ีจะประพฤติปฏบิ ัติแตส งิ่ ที่เปนประโยชน และเปนธรรม ประการที่สอง คอื การรูจักขม ใจตนเองฝก ใจตนเองใหป ระพฤตปิ ฏบิ ตั ิอยูในความดี ประการท่ีสาม คือ การอดทนอดกล้ันและอดออมที่จะไมประพฤติลวงความสุจริตไมวาจะ ดว ยเหตปุ ระการใด ประการท่สี ี่ คือ การรจู ักละวางความช่ัวและรจู ักสละประโยชนสว นนอ ยของตนเพ่ือประโยชน สวนใหญข องบานเมือง 204

คุณธรรมท้งั สี่ประการนี้ จะชวยใหประเทศชาติบังเกิดความสุขรมเย็นโดยเฉพาะผูท่ีทําหนา ที่ ส่ือมวลชนเปนผูประกาศและผูดําเนินรายการจําเปนตองยึดถือปฏิบัติคุณธรรมเหลาน้ีเพื่อประโยชน ของตนเองและผอู ืน่ อยา งเครง ครัด 15.3 หลักจรยิ ธรรม ในการสื่อสารท่ีจะตองใช “หลักจริยธรรม” (The Principle of Ethics) นั้น ตอง ประกอบดวยกฎเกณฑความประพฤติของมนุษยซ่ึงเกิดข้ึนจากธรรมชาติของมนุษยเอง ไดแก ความ เปนผมู ีปญ ญาและเหตุผล หรอื ปรีชาญาณ ทําใหมนุษยมีมโนธรรมและรูจักไตรตรองแยกแยะ ความดี ความชั่ว ถูก ผิด ควร ไมควร เปนการควบคุมตัวเองและควบคุมกันเองในสังคม เปนหลักประพฤติ ปฏบิ ตั ิ ซึง่ มีลักษณะของการยอมรับโดยสมัครใจเพ่ือแสดงความรับผิดชอบตอตนเองและตอสังคม ทั้ง ยงั เปน หลักประกันของเสรภี าพ (จินตนา พรสัมฤทธิ์โชค 2558) จากปรากฏการณตางๆ ในสังคมที่ผานมา อาจกลาวไดวา สื่อวิทยุและสื่อโทรทัศนยังคงมี อิทธิพลสูงมากและบางครั้งสามารถช้ีนําสังคมไดอยางงายดาย ดังน้ันคุณธรรมและจริยธรรมความ รับผิดชอบของผูท่ีทํางานในส่ือเหลานี้ จึงตองมีสูงมากตามไปดวย เพราะยุคนี้ขาวสารสงถึงทว่ั กันทั่ว โลกในชวงเสี้ยววินาทีเทา นั้น โดยผานทางโลกของอินเทอรเน็ตท่ีมีเทคนิคในการสงขอมูลขาวสารถึง กันหลากหลายรูปแบบ ท้ัง เว็บไซต ทวิตเตอร เฟซบุก อีเมล เปนตน ถาเกิดความบกพรอง ผิดพลาดของขอมูลที่นําเสนอออกไป ซึ่งอาจจะสรางความเสียหายท้ังชื่อเสียงและเงนิ ทองของผูท่ีตก เปนขาว โดยท่ีมิไดตรวจสอบ ตรวจทานขอมูลนั้นใหดีเสียกอน ก็นาจะถือไดวา การทําหนาท่ีเปน ส่ือมวลชน เปน ผปู ระกาศและผูดําเนินรายการทางสือ่ วิทยแุ ละส่ือโทรทศั นของเราลมเหลวและตองถูก ตําหนิ เพราะขาดประสิทธิภาพและเปนการทํางานที่ถือไดวา “ไมเปนมืออาชีพ” ขาดความ รับผิดชอบและทํางานไมรอบคอบ ไมมีจิตสํานึกในการระแวดระวังหรือทักษะในการรูเทาทันส่ือและ สารสนเทศอยา งท่คี วรเปนและควรตรวจสอบกอ นนําขอมูลขา วสารตา งๆ ไปเผยแพรออกอากาศใหกับ ประชาชนจาํ นวนมากไดร ับรู โดย “หลักจริยธรรม” สําหรับผูประกาศและผูดําเนินรายการท่ีจะตองคํานึงถึงในการทํา หนาท่ีทุกครัง้ ตามท่ี วสันต ภยั หลีกลี้ (2558) ไดแ สดงความคิดเห็นไววา “สื่ออยูไดดวยความไวเน้ือ เชอ่ื ใจหรอื ความเชือ่ ใจของทางแหลง ขาวและสังคม ถาทําอาชีพนี้จะตองนกึ ถึงวาเรามีโอกาสท่ีจะเปน ตัวกลางในการสื่อสาร นําขอมูลขาวสารไปถึงประชาชนเราก็ตองทําหนาท่ีเพ่ือสังคมเหลาน้ีใหดี ส่ือ ตองยกระดับความรูความสามารถ หูตาตองกวา งขึ้น มคี วามคิดเชิงวิเคราะหใหมากขึ้น บทบาทที่จะ เปน หมาเฝาบานอาจจะลดนอยลง บทบาทที่จะเปนกระจกสะทอ นกอ็ าจจะลดนอยลง แตบทบาทท่ีจะ กล่ันกรอง บทบาทที่จะวิเคราะหว จิ ารณ บทบาทท่จี ะช้ีนาํ อาจจะตองมากขึ้น” 205

ดาน นิพนธ นาคสมภพ (2549) ไดใหแนวคิดไววา หลักจริยธรรมเปนปจจัยสําคัญในการ กําหนดภาระความรับผิดชอบตอสังคมตามบทบาทของผูประกาศและผูดําเนินรายการในฐานะเปน สื่อมวลชนใน 5 ระดับ คือ 1) ระดบั การชวนเชือ่ (Propaganda) เปนสอื่ มวลชนทีไ่ ดรับการไววางใจตํ่าสุด เพราะมงุ ผลประโยชนข องผเู ปนเจา ของสื่อมากเกินไป แตกลบั ละเลยประชาชน โดยเฉพาะการโฆษณาชวนเช่อื ที่สงผลเสื่อมเสียตอ วินยั ทางศลี ธรรม วนิ ัยทางการเงินและวินยั ทางสังคมของประชาชน 2) ระดบั การบรกิ ารขาวสาร (News & Information service) จัดเปนการส่อื สารของเอกชน (Private Communication) มงุ เสนอขาวสารทวั่ ไป บางคร้ังทาํ ใหขาดการคัดเลือกคุณคา ทาง จรยิ ธรรมไปบา ง เพราะมุงเรอื่ งการคา เปนหลัก 3) ระดบั มาตรฐาน (Standard) เปนสอื่ มวลชนท่รี บั ผิดชอบตอกฎหมาย รบั ผิดชอบตอ สังคม สูง มสี วนในการสรางสรรคส ังคม ไมมงุ เพอื่ การคา อยา งไมร ับผิดชอบ 4) ระดบั วิชาชพี (Professionalism) เปน สอื่ มวลชนทีร่ ับผดิ ชอบตอสังคมถงึ ระดับคณุ ธรรม ศลี ธรรม มีความกลา หาญทางคุณธรรมสูง มอี ํานาจมีอสิ ระ มีเสรภี าพท้งั ทางดา นเศรษฐกิจและ การเมือง 5) ระดับประโยชนสาธารณะ (Public service) เปน สือ่ มวลชนท่มี ีคุณคาสูงสดุ ของสงั คม ประชาชนทกุ ภาคสว นใหการยอมรบั มคี วามนา เช่อื ถอื หนักแนน มีความเปนวิชาการสงู ผูประกาศและผูดาํ เนินรายการตองปฏบิ ัติงานโดยมหี ลักจรยิ ธรรม ดานความรับผิดชอบตางๆ เปนกรอบไวใ หต นเองพงึ ระมัดระวงั และยดึ ถอื ดวย ซง่ึ สรุปไดด งั นี้ ประการแรก คือ ความรับผิดชอบทางกฎหมาย เมื่อทํางานในฐานะทีผ่ ูประกาศและผู ดําเนินรายการ ซึ่งเปนผูที่จะตองใชเสียงของตนเองแจงประกาศและพูดอธิบายความออกไปยัง ประชาชน จึงควรจะตอ งศกึ ษากฎหมายตา งๆ ท่เี ก่ียวขอ งกับการทํางานไวบาง เชน ประมวลกฎหมาย อาญาวาดวยความผิดฐานหม่ินประมาท โดยเฉพาะความผิดฐานหม่ินประมาทดวยการโฆษณา ประมวลกฎหมายอาญาวาดวยความผิดเก่ียวกับสถาบันพระมหากษัตริย พระราชบัญญัติความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร พระราชบัญญัติวาดวยคดเี ด็กและเยาวชน ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย วา ดวยความผดิ ฐานละเมิดตอชอื่ เสียง เกียรติยศและทางทาํ มาหาได ทั้งน้ีเพราะความรบั ผิดชอบทาง กฎหมายเปนขอจํากัด ในการใชสิทธิเสรีภาพประการหนึ่ง ภายใตหลักประกันสิทธิ เสรีภาพในการ แสดงความคิดเห็นของประชาชน ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ ดังนั้นจึงตองระมัดระวังในการใช ถอ ยคาํ การรายงานขา วทตี่ องเคารพหลักการพูดความจรงิ 206

ประการที่สอง คือ ความรับผิดชอบทางจริยธรรม เปนความรับผิดชอบท่ีตองใชจิตสํานึก พิจารณาและใครครวญถึงผลกระทบที่จะเกิดข้ึนกับผูท่ีเปนขาว ญาติพี่นองและครอบครัว ในแงของ การกาํ กับ ดูแลและควบคุมผปู ระกอบวิชาชีพสื่อสารมวลชน ใหอยูในกรอบของจรยิ ธรรมนั้น สภาการ หนังสือพิมพแหงชาติ จะเปนองคกรหลักในการควบคุมการทํางานของผูประกอบวิชาชีพ โดยมี ขอบังคับวาดวยจริยธรรมแหงวิชาชีพกําหนดไวเปนลายลักษณอักษร เพ่ือใหสมาชิกใชเปนแนวทาง ปฏบิ ตั ใิ นการทาํ งาน นอกจากนั้นยังมีองคก รสื่อบางแหง ก็ไดตราขอกําหนด แนวทางประพฤตปิ ฏิบตั ิ ในเรื่องจริยธรรมเปนลายลักษณอักษรแสดงรายละเอียดของการประพฤติที่พึงกระทําหรืองด เวน เพอ่ื ใหทมี งานใชเปนหลักในการทาํ งานดวย ประการท่ีสาม คือ ความรับผิดชอบตอสิทธิเสรีภาพในการนําเสนอขอมูลขาวสารแต สง ผลกระทบตอบคุ คลอ่ืน ดังนั้นการนําเสนอขาวใดๆ ตองหลีกเล่ียงการลวงละเมิดศักดศ์ิ รคี วามเปน มนษุ ยข องบุคคลท่ีตกเปนขาว โดยเฉพาะอยางยง่ิ ตอ งใหค วามคมุ ครองอยางเครง ครดั ตอสิทธิมนุษยชน ของเด็ก สตรี และผูดอยโอกาส ตัวอยางเชน นายตํารวจคนหนงึ่ นําผูตองหาคดียาเสพติดมาแถลง ขาว โดยมีการเขียนขอความตั้งวางไวหนาผูตองหาวา “อมนุษย” ซ่ึงแปลวา ผทู ี่ไมใชคน หมายถึง ภูตผีปศาจ การกระทําของตํารวจนายน้ันถือวาเปนการละเมิดศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของผูตองหา เชน เดยี วกบั กรณเี ม่ือมกี ารจับกุมตัวผกู ระทาํ ความผิดอาญา ผูป ระกาศและผูดาํ เนนิ รายการก็ใชหัวขาว ตัดสินความผิดของเขาทันที เชน บรรยายวา ไอโหด เดนนรก ท้ังท่ีในทางกฎหมาย ผูตองหาหรือ จําเลยตองสันนิษฐานไวกอ นวา เขาเปน ผูบริสุทธ์ิ จนกวาจะมีคําพิพากษาของศาลวา เขาเปนผูกระทํา ผิดจริง ฉะน้ันผูประกาศและผูดําเนนิ รายการหรือนักขาวหรือบรรณาธิการ พึงหลีกเล่ียงท่ีจะตกเปน เครอ่ื งมือในการละเมดิ ศกั ดิศ์ รคี วามเปนมนษุ ยเชน นน้ั ประการที่สี่ คือ ความรบั ผิดชอบตอ สิทธสิ วนบคุ คล (Right to Privacy) เปนเร่อื งทีค่ าบ เกยี่ วระหวา งกฎหมายและจรยิ ธรรม บอ ยคร้ังทผี่ ูนาํ เสนอขาวจะถูกวิพากษวิจารณวา นําเสนอขาวที่ เปนเร่ืองสวนตัวของบุคคลตางๆ ในสังคม โดยเฉพาะคนท่ีมีช่ือเสียงหรือบุคคลสาธารณะ (Public Figure) เชน นักการเมือง ดารานักแสดง นักรอง ฯลฯ ทั้งท่ีเรื่องราวสวนตัวของเขาไมเปนประโยชน ตอ สาธารณะเลย เร่ืองของสิทธิสวนบุคคล นับวาเปนปญหาใหญมากขึ้น เนื่องจากปญหาการตีความ วา แคไหน เพยี งใดท่จี ะสามารถนําเสนอไดในฐานะบุคคลสาธารณะ เพราะความเปนบุคคลสาธารณะ จะทําใหความเปนสวนตัว (Privacy) นอยลง แตโดยหลักจริยธรรม บุคคลเหลาน้ีก็ยังไดรับความ คุมครองในการใชชีวิตสวนตัวอยูดี ดังนั้นการนําเสนอขาวประเภทน้ี จึงตองแยกใหออกระหวาง ขอบเขตสิทธิสวนบุคคลกับสิทธิในการรับรูของประชาชน โดยผูประกาศและผูดําเนินรายการตอง ยดึ ถือหลักการรายงานขาวดวยความรับผิดชอบทางจริยธรรม คือ มีความยุติธรรมตอบุคคลท่ีตกเปน ขา ว ขอ มูลและขอเท็จจรงิ ทนี่ ําเสนอในขา วตองมคี วามถูกตองครบถวน 207

15.4 ขอควรปฏิบตั สิ าํ หรับผปู ระกาศและผดู าํ เนินรายการอยา งมคี ณุ ธรรม และจรยิ ธรรม เพื่อใหม คี วามสํานึกในการปฏิบตั หิ นา ท่ีสําหรบั ผปู ระกาศและผูด าํ เนนิ รายการอยา งมี มาตรฐานและเพ่ือชวยกนั ดูแลรักษาวฒั นธรรมอันดีงามของสงั คมไทยไว จึงควรระลึกไวเสมอถงึ ขอ ควรปฏบิ ัติ 5 ประการ (พีระ ลว่ิ ลม 2549) คอื 1) มคี วามรบั ผดิ ชอบตอสังคมในการผลิตรายการ 2) ไมป ลุกระดมทางอากาศ 3) ไมส รา งบรรยากาศแหงความขัดแยง 4) ไมเ สแสรง จนนาเสื่อมศรัทธา 5) ไมใชวาจาอหงั การ โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้ 1) มคี วามรบั ผิดชอบตอ สงั คมในการผลติ รายการ คอื ไมเปนรายการทีก่ ระทบกระเทือนตอความเสอ่ื มเสยี ขนบธรรมเนียมประเพณหี รือหม่ิน เหมต อการสรา งความเสยี หายใหแ กจ ิตใจของผูฟงผชู ม โดยเฉพาะเรอ่ื งสองแงส องงามชวนใหเขาใจผดิ ไปในแงลามกอนาจาร ควรคํานึงอยูเ สมอวา สื่อที่เราเผยแพรอ อกไปนนั้ อาจมีบุคคลซึง่ ดอยวุฒภิ าวะ ขาดวิจารณญาณรับฟงรับชมอยูจงึ อาจตคี วามหมายผดิ เพ้ยี นไปได หรอื อาจปลูกฝงคา นยิ มและสราง ทัศนคติใหเ บี่ยงเบนไปในทางลบ 2) ไมป ลุกระดมทางอากาศ เพื่อวตั ถุประสงคใ หเกิดมติมหาชนในการลุกฮือขึน้ ตอ ตานหรือขัดขวางตอความสงบเรียบรอย ของประชาชนตอระเบียบกฎหมายของบานเมืองไมวาจะเปนเร่ืองใด โดยเฉพาะอยางยิ่งเร่ืองที่ เก่ยี วกับการนดั หมายใหเ กดิ การจลาจลวุนวาย 3) ไมส รางบรรยากาศแหงความขัดแยง ถึงแมจ ะเปนรายการทมี่ ลี กั ษณะแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นเพ่ือประเทืองสติปญญาและเปดโลก ทัศน แตก็ตองไมเปนเร่อื งที่หาขอยุตไิ มได เชน เรื่องเก่ียวกับชาติช้ันวรรณะ ศาสนา คตคิ วามเช่ือ เร่ืองเก่ียวกับการศึกษา เรื่องเพศ อาทิ หญิงหรือชายใครดีกวากัน อยาทิ้งปญหาไวใหเกิดความ บาดหมางหลังจากจบรายการ 4) ไมเสแสรง จนนาเสื่อมศรทั ธา การไมม คี วามจรงิ ใจตอผูฟงผูชม เชน ประมาทภูมปิ ญญาผูรับสาร ถือวาตนเองมีความสําคัญ และมีเครือ่ งมืออยใู นฐานะเหนอื กวา จะพดู จาอะไรใครก็ตองฟงและเช่ือถือ หรอื เห็นแกเงินคาอุปถัมภ รายการ หยอกเยากันทางอากาศเปนการสวนตวั เลน หัวกบั แฟนรายการเฉพาะราย 208

5) ไมใ ชวาจาอหังการ ตองนึกเสมอวาผูฟงผูชมอยใู นฐานะสูงกวา การใชกิริยาวาจาออนนอมถอมตนจะสรางเสนห ใหแกผูพูด ย่ิงกวาการสรางความเกไกจากวาจาจาบจวงหยามหยาบกาวราว สอเสียดใหบุคคลเกิด ความเสยี หาย ในการปฏบิ ตั ิหนาท่ขี องผปู ระกาศและผดู าํ เนนิ รายการซ่งึ ถือไดวาเปนสื่อมวลชน เชน กัน ดงั นน้ั จงึ ตอ งมแี นวทางหลกั ในการประกอบอาชพี ดังนี้ 1) พงึ ตระหนกั ในความรบั ผดิ ชอบตอทุกเร่ืองที่ออกเผยแพรทางส่ือมวลชน 2) พึงเสนอขาวตามท่มี ีหลกั ฐาน ถา หากภายหลงั พบวาผิดพลาด พงึ แกขาวดว ยความ รับผดิ ชอบ 3) พึงเสนอความรรู อบตัว ทมี่ ีคณุ ประโยชนตอคนจํานวนมาก ท้งั น้ี โดยพิจารณาจาก เหตผุ ล มิใชอ นุโลมตามความตอ งการของมวลชนแตเ พยี งอยา งเดยี ว 4) พึงเสนอความบันเทิงท่ีไมเ ปน พษิ เปน ภัย ถา จําเปน พึงแยกประเภทของผชู มและ ประกาศใหทราบ 5) พงึ สนองเปา หมายของสงั คม โดยสนับสนนุ การธํารงชาติ ศาสนา สถาบันกษตั รยิ  และ ระบอบประชาธิปไตย 6) พงึ สจุ รติ ตอหนา ท่ี โดยไมย อมรบั อามิสสนิ จา ง ท่บี ิดเบือนเจตนารมณข องตนเอง 7) พึงงดเวนอบายมุขตางๆ อันจะนําไปสูการเสียอสิ รภาพในการประกอบอาชพี 8) พงึ งดเวน การใชสอ่ื มวลชนเพอื่ การกล่ันแกลงหรือแกแคน 9) ไมพึงใหส ่ือมวลชนเปนเคร่ืองมอื ของผูใ ดผหู นง่ึ ท่ีมีเปาหมายมิชอบ 10) พงึ สงเสริมใหอาํ นาจทุกฝา ยตามรัฐธรรมนูญ มีเสถยี รภาพในการปฏิบัติหนาท่ีของตน ตามกฎหมาย จรรยาบรรณ (Codes of Ethics) สาํ หรับสอ่ื สารมวลชนสากล ประกอบดวย (ศนู ยศกึ ษากฎหมายและนโยบายสื่อมวลชน 2555) 1) ตอ งกระทาํ ตนใหอยูในขอบเขตของความเหมาะสมมกี รยิ าดี (The bounds of decency) 2) ไมส รา งขา วข้ึนเอง (Do not attempt to make news) 3) ตอ งเสนอขอเทจ็ จรงิ ท้งั หมดแกผ ูร บั สาร (The truth and the whole truth) 4) ไมกาวกายสิทธิสวนตัวของบุคคลอน่ื (Do not to invade the private rights) 5) ไมบ ังคบั บุคคลใหพดู (Do not to force individuals to speak) 6) ซอ่ื สตั ยตอบคุ คลทตี่ อสูเพื่อสังคม (Play fair with a person against whom derogatory charges) 209

7) ซอ่ื สตั ยต อ บุคคลทีน่ ํามากลา วถงึ ในคอลัมน (Play fair with persons quoted in its columns) 8) รักษาไวซ ึ่งความลบั ของแหลงขา ว (Keep the confidence of its news sources) 9) ไมปด บังอําพรางขา วท่ีนําเสนอ (Do not suppress news) 10) ไมควรขายขาว ขายคอลัมนเพื่อเงนิ หรอื ความพอใจสวนตัว (Do not \"sell\" its news columns for money or courtesies) 11) ละเวนจากการเขารวมพรรคการเมือง (Refrain from allowing party politics) 12) ตอ งบรกิ ารคนสว นรวม มใิ ชบรกิ ารคนกลุม ใดกลุมหน่ึง (Serve the whole society, not just one \"class\") 13) ชว ยตอสแู ละปราบปรามอาชญากร (Fight and discourage crime) 14) ตอ งเคารพ และชวยผดงุ กฎหมายบานเมือง (Must respect and aid the law and the courts) 15) สรางความสมั พันธอ นั ดีแกชุมชน (Seek to build its community) 16) ไมท าํ ลายความสัมพันธร ะหวางญาติและเพื่อนของผูอื่น (Not injure the relatives and friends) 17) คาํ นงึ วา การหยาราง การฆาตวั ตายนน้ั เปน ปญ หาสังคมสง่ิ หนงึ่ ไมควรเสนอขาวไปในเชิง ไมส ภุ าพ (To recognize divorce, suicide as an unfortunate social problem) 18) อยากลา วโจมตีคแู ขง (Do not attack on competitive) 19) อยาหัวเราะเยาะความวิกลจรติ จิตทราม หรือพลาดโอกาสของบคุ คล (Do not ridicule the insane or the feebleminded or misfortunes) 20) เคารพนับถือวดั โบสถ เชื้อชาติ และเผาพันธขุ องบคุ คล (Respect churches, nationalities and races) 21) หนา กฬี าควรเขียนถึงทุกๆ คน (Sports page is written for everybody) 22) แกไขขอ ผดิ พลาดที่พบในทนั ที (Be prompt in correcting errors) 23) จําไววาขาวทน่ี าํ เสนอนน้ั มีเยาวชนชายหญิงอานดว ย (Remember that the new is read by young boys and girls) 210

ลกั ษณะการทําผดิ จริยธรรมของผูประกาศและผูดาํ เนินรายการในฐานะ เปน สอื่ มวลชน การทํางานของผูประกาศและผูดําเนินรายการในฐานะเปนสื่อมวลชน ซ่ึงตองมีภาระงานท่ี เก่ยี วขอ งกับการแสวงหาขอมูลขาวสารและการนําขาวสารมาเผยแพรและรายงานใหประชาชนท่ัวไป ทราบ นอกจากน้ันยังตอ งทาํ หนา ที่ในการสอดสอ งดูแลและตรวจสอบความจริงของเหตุการณท ี่เกิดขึ้น วาสงผลกระทบตอสาธารณะหรือไม อยางไร การปฏิบัติงานของผูประกาศและผูดําเนินรายการใน บางครั้งอาจไปกระทบกระเทือน รุกล้ําตอสิทธิของบุคคลอื่นไดท้ังโดยรูตัวและโดยไมรูตวั ในบางคร้ัง แมจ ะมคี วามปรารถนาดีตอ สังคมสว นรวม แตความปรารถนาดีน้ันก็หาไดมีสิทธิพิเศษท่ีจะสรางความ กระทบกระเทือนตอ บุคคลอื่น การกระทําของผปู ระกาศและผูดําเนนิ รายการบางเร่อื งมีกฎหมายหามไวอยา งชัดแจงวาจะ กระทํามิได แตใ นบางเร่ืองกฎหมายมิไดเขียนหามไว แตอยางไรก็ตามยังคงตองคํานึงถึงหลกั วาดวย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของสื่อมวลชนที่สมาคมผูประกอบวิชาชีพสื่อสารมวลชนและ สังคมชวยกันกําหนดกฎเกณฑข ึ้นมา เพื่อใชในการกํากับดแู ลการทํางานของสื่อมวลชน ซึ่งถือวาเปน การควบคมุ กนั เองของสื่อมวลชน (Self Regulation) ถึงแมมิไดมีกฎเกณฑปรากฏชดั แจงเปนเอกสาร แตสือ่ มวลชนกย็ ังตอ งมี \"ความรบั ผิดชอบในตัวเอง\" (Self responsibility) และตองไมกระทําการใดๆ ทเ่ี ปนการฝาฝน ตอหลักคณุ ธรรมและหลักจรยิ ธรรมทสี่ อ่ื มวลชนพึงจะมใี นฐานะหนา ทีข่ องตน ลักษณะการกระทาํ ผิดจริยธรรมของสื่อมวลชนในกรณีตางๆ ตอไปน้ีเปนผลมาจากการศกึ ษา คน ควา ทางวิชาการ จนไดข อสรปุ วา หากส่ือมวลชนมกี ารกระทาํ เชนวา นี้ อาจถือไดวาเขาขายการการ ทําผิดหลักจริยธรรมสือ่ สารมวลชนและจริยธรรมในวิชาชีพนิเทศศาสตร โดยคําวา สื่อมวลชน ในท่ีนี้ หมายถึง บุคคลผูประกอบวิชาชีพดานสอ่ื สารมวลชนและวิชาชีพดานนิเทศศาสตร ซึ่งหมายรวมถึงผู ประกาศและผูดําเนินรายการที่อาจทําผิดจริยธรรมไดหลายลักษณะ (ณัฐฐวัฒน สุทธิโยธิน 2547) ดังนี้ 1) การโกหกและการหลอกลวง การโกหกและการหลอกลวง (Lying and Deception) ของสอื่ มวลชนอาจเกดิ ขน้ึ ได หากสือ่ มวลชนขาดจริยธรรม สือ่ มวลชนอาจเสนอขาวทไี่ มเปน จริงตอประชาชนและสงั คม เนือ่ งจาก สภาพการแขงขนั ทางธุรกิจ การเหน็ แกผ ลประโยชนสว นตนของส่ือมวลชนแขนงน้นั หรอื จากการเห็น แกผลประโยชนส วนตนของบุคคลผูป ฏบิ ตั งิ านในสือ่ มวลชนแขนงน้นั 2) การเสแสรง ส่ือมวลชนอาจมกี ารเสแสรง (Fake it) ทําเหมือนไมรูความจรงิ แตอันท่จี รงิ รคู วามจรงิ ดี และนําเสนอขาวสารเรือ่ งราวไปทง้ั ๆ ทร่ี ู แตเน่ืองจากขาวสารนน้ั ประชาชนกําลังใหความสนใจ ติดตาม หรือเปนขาวท่ขี ายไดแ ละขายดี 211

3) การบดิ เบือน การบิดเบอื น (Distort) ของสอ่ื มวลชน ตางกับการโกหกและหลอกลวง ซงึ่ ไมมคี วามจรงิ อยูเลย แตสําหรับการบดิ เบือนมีความจริงอยู แตม ีการแตง เตมิ ความจรงิ น้ันใหผดิ เพีย้ นไปจากความ จริงด้งั เดมิ 4) การนาํ เสนอความจริงคร่งึ เดียว การนําเสนอความจริงครึ่งเดียว (Half truth) เปนกรณที ี่สอ่ื มวลชนรูความจริงท้งั หมด หรอื รคู วามจรงิ สองดา น (both side) แตส่ือมวลชนเลอื กท่ีจะเสนอความจริงเพยี งดา นเดียว อาจเพื่อ ผลประโยชนบางประการของสื่อมวลชน หรือของบุคคลผปู ฏิบัตงิ านในสอ่ื มวลชนน้นั 5) การสรางเหตกุ ารณเทยี ม เหตกุ ารณเทียม (Pseudo event) หมายถึง เหตกุ ารณท่ีเกิดขึ้นน้ันมีความเสมือนจริง ไม เทจ็ แตไ มจ ริง บางครง้ั อยบู ริเวณรอยตอระหวางความจริงกับความไมจริง บางครั้งมีสภาพท่ีไมชัดเจน หรอื เบลอๆ ตัวอยางเชน ในรายการเกมโชวทางโทรทัศน ผูผลิตรายการตอ งการใหรายการสนุกสนาน มีบรรยากาศเหมอื นการแขงขันตอ หนาประชาชนผูชมจริงๆ จึงไดนําประชาชนจํานวนหนงึ่ มาสงเสียง เชียรในหองถายทํารายการ เสมือนวามีผูชมจริงๆ จากทางบานมานั่งชมรายการ จะสังเกตไดวามี ความจริงอยูก็คือ มีประชาชนมาน่ังชมจริงๆ ไมใชพนักงานของบริษัทผูผลิตรายการ มีการสงเสียง เชียรจริงๆ ไมใชเสียงเชียรพนักงานของบริษัทผูผลิตรายการเอง แตประชาชนมาน่ังชมรายการเกือบ ทุกครั้งจะเปนคนชุดเดิม มีการจายคาตอบแทนเปนรางวัลจูงใจ เสียงเชียรที่เกิดข้ึนน้ันเกิดจากการ กํากับควบคุมใหสัญญาณโดยพนักงานของบริษัทผูผลิตรายการ จึงเปนประเด็นปญหาวาการสราง ความจรงิ เทียม อันเกิดจากเหตุการณเ ทียมนี้ นา จะเขาขายผิดจริยธรรมดวยหรอื ไม 6) การละเมดิ สทิ ธิสวนตวั บคุ คลอ่นื การละเมิดสิทธิสวนตัวบุคคลอื่น (Privacy Right) ส่ือมวลชนทําหนาที่ตอบสนองความ อยากรูอยากเห็นของมนุษย ความอยากรูอยากเห็นของมนุษยไมมีที่สิ้นสุด แตตองมีขีดจํากัดมิใหไป ลวงละเมดิ ชีวิตสว นตัวของบุคคลอื่นเกินความจําเปน บุคคลทุกคนตางมีสิทธิตามธรรมชาตแิ ละมีสิทธิ ตามกฎหมาย สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง ตลอดจนความเปนอยูสวนตัว ยอม ไดรับความคุมครอง การท่ีสื่อมวลชนจะแสวงหาขาวสารเพื่อนํามารายงานนั้น ในบางครั้งอาจไป กระทบตอสิทธิในชีวิตหรือความเปนอยูสวนตัวของบุคคลอื่นได ในบางกรณีอาจไปกระทบตอ เกียรติยศ หรือช่ือเสียง และความเปนอยูสว นตัวของบุคคลอื่นได เชน ไปกระทบกระเทือนตอการใช ชีวิตประจําวันของบุคคล การรุกล้ําความเปนอยูสวนตัว เชน การพักผอนสวนตัวกับบุคคลใน ครอบครวั ในชวงวันหยุด 212

7) การซ้าํ เติมผเู สียหายหรือเหยือ่ อาชญากรรม เหยื่ออาชญากรรม (Victim) เปนผูท่ีไดรับความเสียหาย บาดเจ็บ บอบชํ้า เสียใจทุกข ทรมานจากการกระทําผิดของอาชญากร ซ่ึงกลาวไดวามีความทุกขมากพออยูแลว แตบางคราว ส่ือมวลชนเองอาจไปซํ้าเติมผูเสียหายใหไดรับความทุกขมากขึ้นอีก เชน กรณีเด็กหรือสตรีถูกขมขืน ส่ือมวลชนรายงานขาวอยางละเอียด แสดงถึงการกระทาํ ของคนรายวาทําอยางไรทําใหผูเสียหายคิด ยอนถึงการกระทาํ น้ันอีก มกี ารเปด เผยช่ือที่อยูของผูเสียหายทางออมทําใหคนในสังคมรูวาเปนใครทาํ ใหเ กิดความอับอาย บางกรณเี หยือ่ อาชญากรรมเสยี ชวี ติ ไปแลว การรายงานขาวของส่ือมวลชนอาจไป ซ้าํ เตมิ ความเสียใจของญาติผูเสียหาย ไปทาํ ใหญ าตขิ องผูเ สยี หายเสอ่ื มเสียเกียรติยศชอื่ เสียงได 8) การอคติลาํ เอยี ง การอคติลําเอียง (Bias) เกิดขึ้นจากอคติ 4 ประการ ไดแก หนึ่ง ฉันทาคติ คือ ความพอใจ สอง โลภะคติ คือ ความโลภ สาม โทสะคติ คือ ความโกรธ และส่ี โมหะคติ คือ ความหลง เปนเหตุให ส่ือมวลชนเลือกที่จะนําเสนอขาวไปในทิศทางใดทางหนึ่งตามความเชื่อความรูสึกของตนเอง โดย ปราศจากหลกั เกณฑท ี่ถูกตอ งและความเปน จริงทเี่ กิดขนึ้ 9) การไมเ ท่ียงธรรม การไมเท่ียงธรรม (not Impartiality) เกิดจากการท่สี ือ่ มวลชนขาดสติ ขาดความยัง้ คิด ขาดความไตรต รอง ขาดการใชเ หตุผลในการตัดสนิ ขาดความรใู นการติดสนิ ทําใหส่อื มวลชนเสนอขาว หรือความคิดเหน็ ไปในทางทไี่ มเ ปนธรรม ไมเ ที่ยงตรง 10) การมีผลประโยชนท ับซอน การมีผลประโยชนทับซอน (Conflicts of interest) เกิดจากการที่ผูประกอบการ สอ่ื มวลชนเองมีผลประโยชนเกี่ยวของ และสง ผลกระทบตอ การทําหนาที่ของส่ือมวลชน ตัวอยางเชน สื่อมวลชนแขนงหนึ่งมีหุน สว นในกิจการสถานบนั เทิงสําหรบั เด็กวัยรนุ จึงหลีกเลยี่ งท่จี ะเสนอขาวสาร การเที่ยวเตรของเด็กวัยรุน หลีกเล่ียงท่ีจะเสนอขาวสารความคิดเห็นกระตุนการทาํ งานของตํารวจให กวดขนั จบั กุมสถานบริการท่ผี ดิ กฎหมาย สรุปเนอื้ หาสาระในบทนี้ นกั ศกึ ษาไดเ รยี นรแู ละทราบถึงความหมายของคุณธรรมและจริยธรรมสําหรับผูประกาศและ ผดู ําเนินรายการทอี่ ยใู นฐานะสือ่ มวลชนแขนงหน่ึง รวมท้ังขอควรระวังขอควรปฏิบัติของการทําหนาท่ี นาํ เสนอขอมูลขาวสารที่ตอ งไมใหเกิดความเสียหาย โดยตองมีคณุ ธรรมและจริยธรรมกํากับอยูภายใต จิตสํานึกของผูปฏิบัติงานดานนี้ ประเด็นสําคัญอยูท่ีวาตัวผูประกอบอาชีพดังกลาวจะมีสํานึกแหง ความรับผิดชอบตอสงั คมและผอู ่นื ขนาดไหน 213

โดยเฉพาะการทํางานเปนผูประกาศและผูดําเนินรายการที่ผลของการทํางานสามารถทาํ ให เกิดผลกระทบตอผูคนเปนจํานวนมากท้ังในดานดีและราย จึงย่ิงทําใหตองมีจิตสํานึกและความ ตระหนกั ในดา นคณุ ธรรมและจริยธรรมใหม ากขึ้นย่งิ กวา ประชาชนโดยทว่ั ไป ตอ งสามารถพิจารณาได วาตนเองทํางานมีคุณภาพเพียงใด ไดส อดแทรกอคติลงไปในงานหรือไม ไดมีความระมัดระวังในการ นําเสนอขอมูลขาวสารตอสาธารณชนวามีความถูกตอง แสดงความเปนจริง และไดนําเสนอส่ิงท่ีมี ประโยชนตอ ผูค นไดมากนอยแคไหนหรอื ไมและอยา งไร ผูประกอบอาชีพน้มี ีความจําเปนตองพิจารณา ใครครวญประเด็นดังกลาวอยูตลอดเวลา เพราะคุณธรรมและจริยธรรมของผูประกาศและผูดําเนิน รายการ สามารถใชเปนเครื่องกํากับการจัดรายการไดท ุกประเภทเพื่อจะไดช่ือวา เปนรายการที่มีท้ัง สาระและความบันเทิง พรอมทั้งมีความถูกตองเหมาะสม ไมหลอกลวงผูฟงผูชมไมทํารายสังคม แตมี ประโยชนที่สามารถนําสาระตางๆ ซึ่งผูประกาศและผูดําเนินรายการนํามาเสนอ ไปใชใน ชีวิตประจําวันได แมอาจจะไมไดรับการยอมรับวาเปนรายการ“ยอดนิยมท่สี ุด โดงดังท่ัวประเทศ” แตถ าเจาของรายการผูลงทุนผลิตรวมทั้งผูประกาศและผูดําเนินรายการ ไดดําเนินการทกุ อยางดวย ความมคี ณุ ธรรม ดวยความรูสึกหวงใยและรับผิดชอบตอสังคม ไมมุงคา กําไรจนไมคํานงึ ถึงการทํารา ย สงั คม ถาทาํ ไดดงั นี้ จึงสมควรไดร บั การยกยองจากผคู นทง้ั ประเทศและควรภาคภูมิใจในการทําหนาที่ ของตนเอง รวมทั้งนักศึกษาสามารถรวู ิธีการใชคุณธรรมและจริยธรรมไดดวยวิธีการดังนี้ คือ 1) คิดจาก เหตไุ ปหาผล เอาใจเขามาใสใจเรา เวลาจะพูดนาํ เสนอขอ มลู ขา วสารอะไรออกไป ตองคิดวาพูดอยา ง นี้แลวจะทําใหผูฟงผูชมรูสึก อยางไร เม่ือเขารูสึกอยางน้ีแลวจะเปนผลดีสําหรับตัวเขาและตัวเรา หรอื ไม ถาคิดไตรตรองดแี ลววา จะเกิดผลเสียก็ไมควรพูดออกไปแมวาจะเปนความจริงก็ตาม น่ีคือการ คิดแบบมีคุณธรรมมีความเห็นอกเห็นใจผูอ่ืน ประเด็นสําคัญ คือ ขอมูลที่ผูประกาศและผูดําเนิน รายการจะสง ไปใหกบั ผูรบั สารนัน้ ตองเปนขอมูลจริง การสงสารที่เปนเท็จใหกับผูรับสารนัน้ เปนการ ทําผิดคุณธรรมของการเปนสื่อมวลชนและอาจทําใหผูรับสารไดรับความเดือดรอน ตองคิดใหถวนถ่ี แบบเอาใจเขามาใสใจเราวาถาเปนเราจะรูสึกเชนไร ถาเราไมมีความสุขคนอื่นก็คงไมมีความสุข เชนกัน 2) ใชว าจาที่สภุ าพออนหวาน การมคี ณุ ธรรมดวยการใชคาํ พดู คาํ เจรจาท่ีสุภาพออนหวานแต จริงใจ นับเปนเสนหอยางหนึ่งของผูประกาศและผูดําเนินรายการท่ีจะทําใหมีผูติดตามรับฟงรับชม อยางส่ําเสมอและเหนียวแนน ดังนั้นการคิดคํานึงกอนนําเสนอขอมูลขาวสารดวยวาจาท่ีสุภาพ ออ นหวานจงึ เปน ส่ิงท่คี วรกระทําอยา งย่ิง 3) ตองมีสติ เพราะสติ คือ ความรับรู ความระลึกได ซ่งึ ทํา ใหเรารตู ัววา เรากําลังทาํ อะไรอยู เราจะสือ่ สารอยางไรประสิทธิภาพเมือ่ ขาดสติเพราะไมว ารูตวั วาตอง จะสอ่ื อะไรใหผ ูรบั สารทราบ ดังนน้ั หากตอ งการจะส่ือสารอะไรกต็ ามตองมีสตอิ ยเู สมอ …………………………………………………………………………………………………………………….. 214

แบบฝกหัด เพ่ือทบทวนความรูแ ละความเขาใจ แบบฝก หัดทา ยบทของทกุ บท เพ่อื การกระตุนความตน่ื ตวั ในการเรยี นรูแ ละนาํ ไปสูการ จดจําไดอ ยางลกึ ซ้งึ ดว ยการใชค าํ ถามทตี่ อ งอธิบายความและยกตัวอยา งประกอบ ซง่ึ ตอ งใชค วามเขา ใจจากการเรียนรูและฝกปฏิบตั อิ ยางสม่าํ เสมอ 1. ใหนักศึกษาอธิบายถึงความสําคัญของคุณธรรมและจริยธรรมสําหรับการเปนผูประกาศและ ผูดาํ เนนิ รายการในความคิดของนักศกึ ษา 2. อธิบายถึงความหมายของคาํ วา “คณุ ธรรม” 3. อธิบายถึงความหมายของคําวา “จรยิ ธรรม” 4. โดย “หลักคณุ ธรรม” สําหรบั ผูประกาศและผดู าํ เนินรายการทจี่ ะตอ งคํานึงถงึ อะไรบาง 5. โดย “หลักจริยธรรม” สาํ หรบั ผูประกาศและผูดําเนนิ รายการทจี่ ะตอ งคํานึงถึงอะไรบาง 6. ขอควรปฏบิ ตั สิ ําหรับผปู ระกาศและผูดาํ เนนิ รายการอยางมีคุณธรรม และจริยธรรมมกี ปี่ ระการ อะไรบาง อธิบาย 7. จรรยาบรรณ (Codes of Ethics) สาํ หรับสื่อสารมวลชนสากล ประกอบดวยอะไรบาง 8. ลกั ษณะการทาํ ผิดจริยธรรมของผูประกาศและผูดาํ เนินรายการ ในฐานะเปน ส่อื มวลชน มอี ะไรบาง ยกตัวอยางและอธบิ าย 9. ใหนักศึกษาแสดงความคิดเห็นถงึ ขอปฏิบัตทิ ่สี าํ คญั ในการทาํ หนา ทีผ่ ปู ระกาศและผดู าํ เนนิ รายการในยุคปจ จุบนั ทีค่ ดิ วาจําเปน ท่สี ดุ และถอื เปนคณุ ธรรม จรยิ ธรรมลาํ ดับตน ๆ ในการ ประกอบอาชีพนี้ คืออะไร อธิบายเหตุผล 10. ใหนักศึกษายกตัวอยางเหตุการณปจจุบันที่คิดวาแสดงใหเห็นถึงความมีคุณธรรมและ จริยธรรม หรือ ความไมมีคุณธรรมและจริยธรรมของผูประกาศและผูดําเนินรายการใน ความคิดของนกั ศกึ ษา 215

ภาษาไทย กรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ, พลตรี พระเจาวรวงศเ ธอ (2514) วิทยาวรรณกรรม พมิ พคร้ังท่ี 2 พระนคร: แพรพ ิทยา กสุ มุ า รกั ษมณี (2536) ทกั ษะการสอื่ สาร กรงุ เทพฯ: อักษรเจริญทัศน กดิ านันท มลทิ อง (2543) เทคโนโลยกี ารศกึ ษาและนวตั กรรม กรงุ เทพมหานคร: หา งหนุ สว นจํากดั อรณุ การพิมพ กอบกาญจน วงศว สิ ทิ ธิ์ (2551) ทักษะภาษาเพ่ือการส่ือสาร กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตร กงิ่ กอย เจริญชีพ (2553) การอา นทํานองเสนาะ คน คนื วันท่ี 1 ธนั วาคม 2558 จาก http://kingkoyj.blogspot.com/2010_03_01_archive.html กนกรตั น พรประเสริฐ (2558) เทคนิคการเปนพิธีกรเบอื้ งตน คนคนื วันที่ 15 ธนั วาคม 2558 จาก http://www.extension.su.ac.th/webfm_send/237 กรเอก เผ่อื นผนั (2558) หลกั การอานทํานองเสนาะ คนคนื วนั ท่ี 25 พฤศจกิ ายน 2558 จาก http://www.sahavicha.com/?name=article&file=readarticle&id=2420 กลมุ สาระวิชาภาษาไทย (2558) ตัวอยางบทวเิ คราะห, วิจารณบทรอ ยแกว คน คนื วันท่ี 18 พฤศจิกายน 2558 จาก https://sites.google.com/site/phasathaikalasinpit/bukhlakr /kar-xan-wrrnkrrm กลุมพฒั นาและสงเสรมิ วทิ ยบรกิ าร สาํ นกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สาํ นกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ (2558) เทคนิคการอาน คนคืนวนั ท่ี 20 ตลุ าคม 2558 จาก http://lib.obec.go.th/portal/node/22 คณาจารยภาควิชาภาษาไทย คณะศลิ ปศาสตร มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร (2542) การใชภ าษาไทย 2 พมิ พค รั้งท่ี 4 กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คณะกรรมการจัดงาน 80 ป ศาสตราจารย ดร. ประเสรฐิ ณ นคร (2542) 80 ป ศาสตราจารย ดร. ประเสริฐ ณ นคร : รวมบทความวิชาการดานจารกึ และเอกสารโบราณ พิมพค รงั้ ที่ 1 กรุงเทพฯ : คณะกรรมการจดั งาน 80 ป ศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ ณ นคร คณะผรู ับผิดชอบกลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย (2551) ทาํ ไมตอ งเรียนภาษาไทย สํานักวิชาการและ มาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 216

คณาจารยภ าควิชาภาษาไทยเพื่อการสือ่ สาร คณะมนุษยศาสตร มหาวทิ ยาลยั หอการคา ไทย (2552) การใชภาษาไทยใหมีประสิทธิภาพ คนคืนวันที่ 18 ธันวาคม 2558 จาก http://meesara.igetweb.com คณะกรรมการกจิ การวทิ ยกุ ารกระจายเสยี ง และวทิ ยโุ ทรทัศนแ หง ชาติ กรมประชาสมั พันธ (2552) การฝกออกเสียงภาษาไทยใหถูกตอง คนคนื วนั ท่ี 29 ตลุ าคม 2558 จาก http://thaifandub.fr.yuku.com/topic/614#.VpfDk_l97IU คณะกรรมการกจิ การวิทยกุ ารกระจายเสยี งและวทิ ยุโทรทัศนแ หงชาติ กรมประชาสัมพันธ (2558) การฝกออกเสียงภาษาไทยใหถกู ตอง คนคนื วนั ที่ 18 ธนั วาคม 2558 จาก http://thaifandub.fr.yuku.com/topic/614#.VnOEGvlTLIU จริ าภรณ สุวรรณวาจกกสกิ จิ (2539) เสน ทางสูผูประกาศ มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช สาํ นกั พิมพ มสธ. จรวยพร ธรณนิ ทร (2553) ความหมายและหลักการของคุณธรรม ศลี ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และธรรมาภิบาล คนคืนวันที่ 9 ธันวาคม 2558 จาก http://www.charuaypontorranin.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=5375 831 จริ าภรณ นวลใย (2556) ภาษาไทยสาํ หรับคุณ คน คืนวนั ที่ 17 ธันวาคม 2558 จาก http://jira56.blogspot.com/2013/03/blog-post_2727.html จินตนา พรสมั ฤทธิโ์ ชค (2558) การพัฒนาจรยิ ธรรมในวิชาชีพ คน คืนวนั ที่ 16 ธนั วาคม 2558 จาก 110.164.70.146/manage/Plan_pic/20130819132527.doc ชลธิรา กลัดอยู (2517) คาํ บรรยายวิชาภาษาไทย กรุงเทพมหานคร: หนวยศกึ ษานิเทศก กรมการ ฝก หดั ครู ชัย อยสู วัสด์ิ (2540) ตาํ ราโสต นาสกิ ลารงิ ซว ิทยา กรุงเทพมหานคร: โฮลิสติก พับลิชชง่ิ ณฐั ฐว ฒั น สทุ ธิโยธิน (2547) ลักษณะการทาํ ผิดจรยิ ธรรมของส่ือมวลชน คนคนื วันท่ี 10 ธันวาคม 2558 จาก https://sites.google.com/site/menn54111/laksna-kar-tha-phid- criythrrm-khxng-sux-mwl ฐิตินันท พงษส ุทธิรักษ (2553) ตลุ าคม 2545 – พฤษภาคม 2548 การปฏิรปู ระบบสื่อ: การ พัฒนาบคุ ลากร และสือ่ สาธารณะ คน คนื วนั ท่ี 5 พฤษภาคม 2553 จาก http://www.trf.or.th/research/abstract.asp?PROJECTID=RDG4610004 ถวลั ย มาศจรสั (2545) การเขยี นเชิงสรา งสรรคเ พ่อื การศกึ ษาและอาชีพ ตาม พ.ร.บ. การศกึ ษา แหงชาติและหลักสตู รการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน กรุงเทพฯ: สํานักพมิ พธารอักษร 217

ทนนท ชาญชิตโสภณ (2557) ตัง้ เปา หมายชีวติ ดว ยความเชื่อ ครสิ ตจักรสานสัมพันธกรงุ เทพ คน คนื วนั ท่ี 2 ตลุ าคม 2558 https://www.youtube.com/watch?v=hApHbYqRLNI ทิพยพาพร มหาสนิ ไพศาล (2558) ภาษาในการส่ือสารเพ่ือสังคมไทย คน คนื วนั ท่ี 20 พฤศจิกายน 2558 จาก http://pirun.ku.ac.th/~g4986073/article3.htm ทีมงานแพทยวศิ วะ (2558) ภาษาไทยคาํ ยมื บริษัทสํานักพมิ พ พีบซี ี จาํ กัด กรุงเทพฯ ธานี ภูนพคณุ (2551) เทคนิคการใชไมคใหเกิดประสิทธภิ าพ คน คืนวันที่ 17 พฤศจิกายน 2558 จาก http://gotoknow.org/blog/tonyboss/95561 นิพนธ ศศิธร (2524) หลักการพูดตอ ชุมนุมชน พิมพครงั้ ท่ี 3 กรงุ เทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช นภาภรณ อจั ฉรยิ ะกุล (2532) ความรูเบ้อื งตน เกีย่ วกับวิทยุและโทรทศั น พิมพค ร้ังที่ 7 นนทบรุ :ี มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช นิพนธ นาคสมภพ (2549) บทบาทของสอ่ื มวลชน คน คืนวนั ท่ี 28 ธันวาคม 2558 จาก http://spadmc.blogspot.com/2011/08/blog-post_29.html นภาภรณ อจั ฉรยิ ะกลุ (2550) การจัดรายการวทิ ยุกระจายเสยี งในเอกสารการสอนชุดวชิ าความรู เบ้ืองตนเกีย่ วกับวิทยุกระจายเสยี งและวิทยุโทรทศั น (หนวยที่ 1) นนทบุร:ี มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช นฤมล วันทนีย (2558) “การพฒั นาศักยภาพผูดําเนนิ รายการ” คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลยั พายัพ น้ําผง้ึ บุญเรอื ง (2558) ภาษาไทย การอาน คนคนื วันท่ี 7 ธนั วาคม 2558 จาก http://www.acu.ac.th/html_edu/cgibin/acu/main_php/print_informed.php?id_ count_inform=5453 บริษทั วินเนอร อินทเิ กรเตอร จํากดั (2558) ความรูพน้ื ฐานเก่ยี วกบั ไมโครโฟน (Basic Microphone knowledge) คนคืนวันท่ี 6 ธันวาคม 2558 จาก http://www.winnerintegrator.com- Basic-Microphone-.html บญุ กวา ง ศรสี ุทโธ (2558) ความหมายของรอยแกว คน คนื วันท่ี 29 พฤศจกิ ายน 2558 จาก https://sites.google.com/a/htp.ac.th/kar-xxk-seiyng-rxy-kaew-laea-rxy-krxng/1- khwam-hmay-khxng-rxy-kaew บุญกวาง ศรีสุทโธ (2558) หลักการเขยี นสารคดี คนคนื วนั ท่ี 18 ธันวาคม 2558 จาก https://sites.google.com/a/htp.ac.th/kar-kheiyn-sarkhdi/4 ประสทิ ธ์ิ กาพยกลอน (2523) การศกึ ษาภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร กรุงเทพฯ :ไทยวฒั นา พานชิ จํากัด ปรมะ สตะเวทิน (2546) หลกั นเิ ทศศาสตร กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย 218

ปริญญา สิบตะ (2555) วากันดวยเร่อื ง ไมโครโฟน คน คืนวนั ท่ี 6 ธนั วาคม 2558 จาก http://www.tiggersound.com/webboard/index.php?topic=173348.0 พีระ จิรโสภณ และมาลี บญุ ศริ พิ นั ธ (2538) การรายงานขาวเชิงสืบสวนแบบประยกุ ต กรงุ เทพฯ: สถาบนั พฒั นาการหนังสอื พิมพแหง ประเทศไทย พิศิษฐ ชวาลาธวชั และคนอน่ื ๆ (2549) การรายงานขาวชน้ั สงู พมิ พค รัง้ ท่ี 5 กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร พีระ ลว่ิ ลม (2549) ส่ือมวลชนสมัยใหมกบั บทบาทใหมทางสังคม คน คืนวันท่ี 8 พฤษภาคม 2558 จาก http://www.thaitopic.net/data/views.php?recordID=50 พรชัย พรภาพันธ (2552) ศลิ ปะการเปนพธิ ีกรทป่ี ระสบความสาํ เรจ็ คน คนื วันที่ 15 ธันวาคม 2558 จาก https://www.gotoknow.org/posts/353336 พนัส ทองพนั ธ และคณะ (2553) หลกั การพดู ในที่ชุมชน สมาคมฝกการพดู แหงประเทศไทย คนคนื วนั ที่ 8 ธนั วาคม 2558 จาก www.st.ac.th พจนานุกรมแปล อังกฤษ-ไทย อ. สอ เสถบุตร (2558) Script คน คืนวนั ที่ 24 พฤศจิกายน 2558 จาก http://dictionary.sanook.com/search/dict-en-th-sedthabut/script พงศศักดิ์ สังขภญิ โญ (2558) รอ ยกรอง คนคืนวันที่ 27 พฤศจิกายน 2558 จาก https://www.gotoknow.org/posts/194696 พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน (2558) ประกาศ คน คืนวันที่ 22 ตลุ าคม 2558 จาก http://dictionary.sanook.com/search/dict-th-th-royal-institute พจนานกุ รมแปล ไทย-ไทย อ.เปล้อื ง ณ นคร (2558) ประกาศ คน คืนวันท่ี 22 ตุลาคม 2558 จาก http://dictionary.sanook.com/search พจนานกุ รมแปล ไทย-อังกฤษ NECTEC's Lexitron Dictionary (2558) ประกาศ คน คืนวนั ที่ 22 ตุลาคม 2558 จาก http://dictionary.sanook.com/search ภิญโญ ชางสาน (2542) ภาษาเพ่ือการส่ือสาร สงขลา: คณะมนุษยศาสตรและสงั คมศาสตร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสงขลา ภาทพิ ศรีสทุ ธ์ิ (2554) การอานจับใจความสําคัญและการอานคิดวเิ คราะห โครงการจัดทําแหลง เรียนรูภ าษาไทยของหองเรยี นสชี มพู คนคืนวนั ที่ 15 พฤษภาคม 2554 จาก http://www.st.ac.th/bhatips/tip49/reading1.html ภัทธรี า สารากรบริรักษ (2557) ผปู ระกาศและการใชเสยี งทางวิทยุโทรทัศน กรุงเทพมหานคร: สาํ นักพมิ พมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะศึกษาศาสตร ภาควิชาเทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา (2550) องคประกอบของการสื่อสาร คน คืนวนั ที่ 8 พฤษภาคม 2554 จาก http://edtechno.msu.ac.th/ 219

มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร วิทยาเขตศรรี าชา (2552) เทคนคิ การอานแบบ 3S คน คนื วันท่ี 13 ตลุ าคม 2558 จาก http://www.lc.phuket.psu.ac.th/view_know.php?id_view=48 มานติ ศทุ ธสกุล (2558) เทคนคิ การนําเสนอเร่อื งอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ สาขาวชิ าวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช รัชนี พินจิ ชนั (2553) ลกั ษณะของคําไทย คน คืนวนั ท่ี 20 ธนั วาคม 2558 จาก https://www.l3nr.org/posts/389776 วิจิตร อาวะกลุ (2534) เพอื่ การพูด การฟง และการประชมุ ที่ดี (พมิ พครง้ั ที่ 3) กรุงเทพฯ: ไทย วัฒนาพานชิ วทิ ยาธร ทอแกว (2543) เตรยี มพรอ มเปนผปู ระกาศ สาขานิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธริ าช วรรณภา วรรณศรี (2552) ความรูพ น้ื ฐานที่พิธกี รควรรู คนคืนวันที่ 7 พฤษภาคม 2554 จาก http://1speaker.blogspot.com/2009/09/blog-post_4055.html วลีรตั น คงแกว (2553) เสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู \"หลักการเปน พิธกี รและผูดําเนินรายการเบ้อื งตน\" คนคนื วนั ที่ 4 มนี าคม 2558 จาก https://www.gotoknow.org/posts/339646 วิจติ ร ภกั นกิ ร (2553) ความมีคณุ คา ของขา ว สํานกั งานประชาสมั พนั ธเขต 7 คนคนื วนั ท่ี 13 ธนั วาคม 2558 จาก http://region7.prd.go.th/ewt_news.php?nid=18 วรางคณา จนั ทรคง (2557) “บทความวิชาการกับบทความวจิ ยั เหมือนหรอื ตา งกันอยางไร” จุลสาร สาขาวิชาวิทยาศาสตรส ขุ ภาพออนไลน ฉบับท่ี 3 ป 2557 มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช เวบ็ ไซด สวท.เพชรบูรณ (2558) การฝกออกเสียงภาษาไทยใหถูกตองตามอักขรวิธี คนคนื วันท่ี 8 พฤศจิกายน 2558 จาก http://radiothailand.prd.go.th/phetchabun/ วสนั ต ภยั หลีกลี้ (2558) บทบาทส่ือในปจ จบุ ัน ในรายการเวทีความคิด (วนั ท่ี 5 มนี าคม 2558) คน คนื วันท่ี 10 มีนาคม 2558 จาก http://mcotweb.mcot.net/fm965/site/content /id/54fd652abe04706eb98b45c9#.VteyhvlTLIU ศลิ าพรต ภูสงิ หา (2538) คาํ แนะนาํ การอา นในฐานะผปู ระกาศ วารสารอินฟอรเ มชน่ั ปที่ 1 ฉบบั ท่ี 2, 2538. น.38-39 ศริ ตะวัน ทหารแกลว (2554) อวจั นภาษา คนคนื วันท่ี 15 ธนั วาคม 2558 จาก https://siratawan42.wordpress.com ศนู ยศึกษากฎหมายและนโยบายสอ่ื มวลชน (2555) จรรยาบรรณสือ่ สารมวลชนสากล คนคนื วนั ท่ี 10 ธันวาคม 2558 จาก www.palungjit.com/ 220

สทิ ธา พินิจภวู ดล และนิตยา กาญจนวรรณ (2520) ความรูทว่ั ไปทางวรรณกรรมไทย กรงุ เทพมหานคร: ดวงกมล สนิท ตัง้ ทวี (2536) อา นไทย พมิ พค รั้งท่ี 2 กรงุ เทพฯ:โอเดยี นสโตร สุเมธ แสงนม่ิ นวล (2545) พูดอยางไรใหส มั ฤทธิผ์ ล พิมพครั้งที่ 6 กรงุ เทพฯ: บุคแบงก สมาคมนักขา วนักหนังสือพิมพแ หง ประเทศไทย (2548) รากฐานของเสรภี าพสือ่ มวลชน คน คนื วันท่ี 27 ธันวาคม 2558 จาก www.tja.or.th/index.php?option=com_rokdownload s&view สอางค ดําเนนิ สวัสดแ์ิ ละคณะ (2546) หนงั สือเรยี นสาระการเรียนรพู ้นื ฐานภาษาไทย กรงุ เทพมหานคร: สาํ นกั พิมพบริษทั พฒั นาคุณภาพวชิ าการ (พว.) จํากดั สาํ นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา (2550) รปู แบบการปลูกฝง คุณธรรมจรยิ ธรรม คานิยม และ คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค (รายงานการวจิ ยั ) กรงุ เทพฯ: สาํ นักงาน เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาศกึ ษาธิการ สํานักการศกึ ษา ศูนยขอมูลขาวสารเมืองพัทยา (2550) เทคนคิ การใชน้ําเสียง คนคืนวนั ท่ี 10 พฤศจิกายน 2558 จาก http://info.pattaya.go.th/ สายสวรรค ขยันยิ่ง (2553) เทคนคิ การส่ือสารแบบผปู ระกาศขาว คน คืนวนั ท่ี 22 พฤศจิกายน 2558 จาก http://www.saisawankhayanying.com/s-report/technical-communication/ สง ศรี อามาตย (2554) หลกั การพดู คนคืนวันท่ี 28 พฤษภาคม 2554 จาก http://www.panyathai.or.th สามารถ อรุณวรรณ (2554) ใบความรเู ร่ืองวัจนภาษาและอวัจนภาษา คน คืนวันที่ 5 พฤศจิกายน 2558 จาก http://www.thaigoodview.com/node/71278 สุปรดี ี สวุ รรณบูรณ (2554) ภาษาไทยเพอ่ื การส่อื สาร คนคนื วนั ท่ี 25 พฤษภาคม 2554 จาก http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/detail.html เสาวณีย ชูศรี (2556) ศิลปะการอา น คนคืนวันที่ 24 พฤศจิกายน 2558 จาก http://saowanee2038.blogspot.com/2013/10/blog-post_2252.html สุทธชิ ัย ปญญโรจน (2557) การพดู ในอาชีพสอื่ มวลชน คนคนื วันท่ี 2 ธันวาคม 2558 จาก http://www.oknation.net/blog/markandtony/2014/06/06/entry-2 สปุ รีดี สวุ รรณบูรณ (2558) การพูดทางวทิ ยโุ ทรทัศน คน คนื วันท่ี 22 พฤศจิกายน 2558 จาก http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter9-8.html สปุ รีดี สุวรรณบรู ณ (2558) ภาษาไทยเพื่อการสือ่ สาร คน คืนวนั ท่ี 5 มนี าคม 2558 จาก http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter9-8.html 221

สรุ ชั ดา สุบรรณ ณ อยธุ ยา (2558) ภาษาเพอ่ื สื่อสารทางโทรทศั น สํานกั เทคโนโลยกี ารศึกษา มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช คนคืนวนั ท่ี 20 ธันวาคม 2558 จาก http://stouonline.stou.ac.th/courseware/courses/broadcast/content/modules/ module3.pdf สุภทั ทา ปณฑะแพทย (2558) คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทาง การศกึ ษา คนคืนวนั ท่ี 28 ธนั วาคม 2558 จาก http://www.supatta.haysamy.com/learn2_1.html หอ งสมดุ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา (2558) เทคนิคการอาน กลุมพัฒนาและสงเสริม วิทยบริการ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ อนมุ านราชธน, พระยา (2515) การศกึ ษาวรรณคดีในแงว รรณศลิ ป กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ รงุ วฒั นา อัญธิกา พังงา (2558) หลักและศิลปะการพดู – การพดู ในฐานะพิธีกร คน คืนวันที่ 15 ธันวาคม 2558 จาก www.chulalongkornhospital.go.th อโนทยั ศรภี กั ดิ์ (2558) การอานภาษาไทย คนคนื วันที่ 23 พฤศจิกายน 2558 จาก https://sites.google.com/site/khwamruphasathai/home/kar-xan-phasa-thiy อโนทยั ศรภี ักดิ์ (2558) ขอบกพรองทางภาษา คนคืนวันที่ 30 พฤศจิกายน 2558 จาก https://sites.google.com/site/khwamruphasathai/home/khx-bkphrxng-thang- phasa E-Courseware (2558) การเขยี นสารคดี คนคนื วนั ที่ 21 พฤศจิกายน 2558 จาก http://courseware.payap.ac.th/docu/th203/content/sara.htm True ปลกู ปญ ญา (2558) สารคดี คนคนื วนั ท่ี 21 พฤศจกิ ายน 2558 จาก http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/19216-00/ 222

ภาษาองั กฤษ Alan R. Stephenson , David E. Reese, Mary E. Beadle. (2009). Broadcast Announcing Worktext, Third Edition: A Media Performance Guide 3rd Edition. Focal Press. American Heritage® Dictionary of the English Language, Fifth Edition. Copyright © 2011 by Houghton Mifflin Harcourt Publishing Company. Published by Houghton Mifflin Harcourt Publishing Company. Berlo, D.K. (1960). The Process of Communication: An Introduction to Theory and Practice. New York: Holt, Rinehart, and Winston. Carl Hausman, Lewis B. O'Donnell, Philip Benoit. (2000). Announcing : broadcast communicating today. 4thed. Belmont, CA : Wadsworth/Thompson Learning. E. L. Thorndike. (1949). Selected Writings from a Connectionist’s Psychology. Greenwood Press, New York. John B. Bogart. (1848 - 1921). Quotation Details. Retrieved November 15, 2015 from http://www.quotationspage.com/quote/24897.html McQuail, D. (1983). Mass Communication Theory; An Introduction. London: Sage. Rogers, E.M. (2003). Diffusion of innovations (5th ed.). New York: Free Press. Stuart W. Hyde. (2008). Television and Radio Announcing, 11th ed. Boston: Houghton Mifflin, 2008. A durable book, now updated. Wilbur Schramm. (1996). Four Theories of the Press. Urbana: University of Illinois Press. USA. Wood, J., Wallace, J., and Zaffane, R. (2001). Organizational Behavior: A Global Prospective. Brisbane: Jon Wiley & Sons Australia. 223


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook