Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารรอบรั้วภาค 2 ไตรมาสที่ 4

วารสารรอบรั้วภาค 2 ไตรมาสที่ 4

Published by Pea Region2, 2021-10-15 07:42:36

Description: วารสารรอบรั้วภาค 2 ไตรมาส 4

Search

Read the Text Version

รอบรวั้ ภาค 2 ฉบบั ที่ 4 ประจาปี 2564 (ตลุ าคม – ธนั วาคม)

หนา้ 1 วนั พฤหัสบดีท่ี 7 ตลุ าคม 2564 นายณัฐวรรธน์ อัครร่งุ เรืองกลุ รองผ้วู ่าการการไฟฟ้ าภาค 2 เป็ นประธานในพิธีปล่อยขบวนรถฟ้ื นฟูระบบไฟฟ้ า หลงั น้าท่วม ในพ้ืนท่ีจงั หวดั ชยั ภมู ิ เพ่ือแกป้ ัญหาการ คืนระบบไฟฟ้ าใหพ้ ่ีนอ้ งประชาชนในพ้ืนที่ท่ีประสบ อ ทุ ก ภัย ไ ด้ก ลับ ม า มี ไ ฟ ฟ้ า ใ ช้โ ด ย เ ร็ ว โ ด ย มี นาย ปร ะสิท ธิ์ จันท ร์ป ระสิ ทธ์ิ ผู้ช่ วย ผู้ว่ า ก า ร การไฟฟ้ าส่วนภมู ิภาค เขต 3 (ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ) จังหวัดนครราชสีมา พรอ้ มดว้ ยคณะ ผบู้ ริหารสายงานการไฟฟ้ าภาค 2 ร่วมในพิธีฯ ณ สานกั งานการไฟฟ้ าสว่ นภมู ิภาคจงั หวดั ชยั ภมู ิ และในเวลาต่อมา รองผ้วู ่าการการไฟฟ้ าภาค 2 พรอ้ มคณะฯ ไดเ้ ดินทางไปวดั บา้ นหนองสงั ข์ อาเภอ เมือง จังหวัดชัยภมู ิ และศนู ย์การเรียนรบู้ ้านโนน ก ร ะ สัง ข์ ต า บ ล ก ร ะ เ บ้ื อ ง ใ ห ญ่ อ า เ ภ อ พิ ม า ย จงั หวดั นครราชสีมา เพื่อมอบถงุ ยงั ชีพ PEA ใหก้ บั ประชาชน จานวนท้ังส้ิน 225 ชดุ เพ่ือเป็ นการ ช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดรอ้ นของพี่น้อง ประชาชนในพ้ืนท่ีประสบภยั

หนา้ 2 วันท่ี 9 ตลุ าคม 2564 นายวิจารณ์ คลังบุญครอง ผู้ช่ว ย ผู้ว่ า ก า ร ก า ร ไ ฟ ฟ้ า ส่ ว น ภูมิ ภ า ค เ ข ต 1 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) จังหวัดอุดรธานี และ นางสาวปริศนา คาหลา้ ประธานคณะแม่บ้านและ ครอบครัว กฟฉ.1 พร้อมดว้ ยนายวริษฐ์ รัชตเมธี ผอู้ านวยการฝ่ ายปฏิบัติการและบารงุ รักษาการไฟฟ้ า ส่วนภูมิภาคเขต 1(ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ) จังหวัดอดุ รธาน,ี นายพีร ฮามวงศ์ ผจู้ ดั การการไฟฟ้ า ส่วนภมู ิภาคจังหวัดสกลนคร ในฐานะประธานชมรม ผู้จัดการ,สหภาพแรงงานการไฟฟ้ าส่วนภูมิภาค กฟฉ.1, ผบู้ ริหาร พนกั งานและลกู จา้ ง PEA มอบถงุ ยังชีพให้กับประชาชนท่ีไดร้ ับผลกระทบจากภัยพิบัติ นา้ ท่วม โดยมีนายชัยวัฒน์ แขค้ า ผใู้ หญ่บา้ นป่ าแดง ตาบลโคกสาราญ อาเภอบา้ นแฮด จังหวัดขอนแก่น เป็ นตวั แทนรบั มอบถงุ ยงั ชีพจานวน 300 ถงุ เพ่ือมอบ ใหก้ บั ประชาชนบา้ นป่ าแดงแจง้ กระหนวน, บา้ นป่ าม่วง และบา้ นโนนพันชาด ในพื้นท่ีจังหวัดขอนแก่น ซึ่งเป็ น การใหค้ วามชว่ ยเหลอื เบือ้ งตน้ กอ่ นในการยงั ชีพ และจะ นาถุงยังชีพมามอบเพ่ิมอีกครั้ง จานวน 1,200 ถุง พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือตรวจสอบระบบไฟฟ้ า ภายในครัวเรือนให้พ้นน้า เพื่อความปลอดภัยของ ประชาชน ณ ตาบลโคกสาราญ อ.บา้ นแฮด จ.ขอนแกน่

หนา้ 3 วนั ท่ี 10 ตลุ าคม 2564 นายพีระพล ปรู ณะโชติ ผ้ชู ่วยผ้วู ่าการการไฟฟ้ าส่วนภมู ิภาค เขต 2 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) จงั หวดั อบุ ลราชธานี ลงพ้ืนที่ตรวจสอบระบบจาหน่ายกระแสไฟฟ้ าท่ี ไดร้ บั ผลกระทบจากน้าท่วม บริเวณประตรู ะบาย น้ า ห้วยน้ า เ ค็ ม อ า เ ภ อ โก ส มุ พิ สัย จัง ห วัด มหาสารคาม และตรวจเยี่ยมใหก้ าลงั ใจทีมงานที่ ปฏิบัติ ภารกิจนาเสาไฟฟ้ าที่ไม่ได้ใช้งานมา ก่อสรา้ งเป็ นพนงั กนั้ น้าบรรเทาความเดือดรอ้ น แกป่ ระชาชนในพ้ืนที่ จงั หวดั มหาสารคามไดร้ บั ผลกระทบจากน้าท่วม ในพ้ืนที่ 5 อาเภอ ไดแ้ ก่ อาเภอเมือง อาเภอโกสมุ พิ สัย อาเภอกันทรวิ ชัย อาเภอช่ื นชม และ อาเ ภอ เ ชี ยงยืน ซึ่ งกา รไ ฟฟ้ า ส่วน ภมู ิ ภา ค จงั หวดั มหาสารคาม ไดด้ าเนินการระดมทีมงาน เพื่อยกระดับมิเตอรข์ องผ้ใู ช้ไฟฟ้ าให้พ้นจาก ระดบั น้าท่วมในพ้ืนท่ี รวมกวา่ 500 เครอ่ื ง

หนา้ 4 วันศุกร์ที่ 1 ตุลาคม 2564 นายประสิทธ์ิ จัน ทร์ป ร ะสิทธิ์ ผู้ช่วย ผู้ว่ าการ การ ไ ฟฟ้ า ส่วนภมู ิภาค เขต3 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) จงั หวดั นครราชสีมา นางสภุ าพร จนั ทรป์ ระสิทธ์ิ ประธานคณะแม่บา้ นและครอบครัว การไฟฟ้ า ส่วนภมู ิภาค เขต 3 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) จังหวัดนครราชสีมา พรอ้ มดว้ ยผบู้ ริหารและ พนักงาน ลงพื้นท่ีมอบถงุ ยังชีพ กฟภ. จานวน 100 ชดุ และนา้ ด่ืม ตราสญั ลกั ษณ์ PEA จานวน 1,200 ขวด ให้กับประชาชนบ้านลาเชิงไกร ตาบลโคกสงู อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ทป่ี ระสบปัญหาอทุ กภยั ณ จดุ ชว่ ยเหลือผปู้ ระสบ อทุ กภยั ตาบลโคกสงู จงั หวดั นครราชสีมา

หนา้ 5 “ฟ้ าทะลายโจร” ในมมุ มองการเกดิ โรคหรืออาการตามศาสตร์ การแพทย์แผนไทยนั้น อาการไข้ ไอ เจ็บคอ ช่ือวิทยาศาสตร์ : Andrographis paniculata (Burm.f.) เป็ นอิทธิพลของธาตไุ ฟท่ีเพ่ิมปริมาณสงู ข้ึน Nees (วงศ์ Acanthaceae) ทาใหเ้ กิดอาการดังกล่าว เราจึงสามารถใช้ ช่ืออื่น : ฟ้ าทะลาย หญา้ กันงู นา้ ลายพังพอน เมฆ สมนุ ไพรฤทธ์ิเย็น (สมนุ ไพรฟ้ าทะลายโจร) ทะลาย ฟ้ าสะทา้ น เพ่ือใชใ้ นการรักษาอาการท่ีส่งผลมาจาก ตามศาสตร์การแพทย์แผนไทย“ฟ้ าทะลายโจร” อิทธิพลของไฟท่ีเพิ่มข้ึนได้ พดู ง่ายๆคือ ใช้ จัด เ ป็ น ส มุน ไ พ ร ที่ มี ร ส ข ม อ ยู่ใ น ก ลุ่ม ย า เ ย็ น ความเย็น ปรับหรือลดปริมาณความรอ้ นใน มีสรรพคณุ ทางการแพทยแ์ ผนไทยใชบ้ รรเทาอาการ ร่างกายใหส้ มดลุ นนั่ เอง แตห่ ากใชใ้ นปริมาณ ไขห้ วดั แกไ้ อและเจ็บคอ เป็ นสมนุ ไพรท่ีไดถ้ กู บรรจอุ ยู่ เกินความจาเป็ นก็อาจส่งผลทาให้ ร่างกายมี ในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (บัญชียาจาก ปริมาณความเย็นเกินไป ส่งผลทาให้เกิด สมนุ ไพร) กระทรวงสาธารณสขุ ในรปู แบบยาเด่ียว อาการไมพ่ ึงประสงคต์ ามมาได้ เชน่ อาการชา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจบุ ันไดม้ ีการศึกษาวิจัยเก่ียว ต่างร่างกาย แขน-ขาอ่อนแรง ท้องอืด สมนุ ไพรฟ้ าทะลายโจรกันอย่างแพร่หลายมีขอ้ มลู ทอ้ งเฟ้ อ ทอ้ งเสีย หรือผ่ืนแพต้ ามร่างกาย สนบั สนนุ จากงานวิจัยทางคลินิกพบว่าสมนุ ไพรฟ้ า เป็ นตน้ ทะลายโจรมีส่วนช่วยรักษาอาการของโรคติดเชื้อ เฉียบพลนั ของระบบทางเดินหายใจ(acute respiratory tract infection) เชน่ อาการไอ อาการเจ็บคอไดด้ ี ในปี พ.ศ.2555 ไดม้ ีขอ้ มูลงานวิจัยจากผปู้ ่ วยจานวน 807 คน พบวา่ ผลติ ภณั ฑส์ ารสกดั จากฟ้ าทะลายโจร ร่วมกับสมนุ ไพรอ่ืนๆขนาดรับประทาน31.5-200 มิลลิกรมั ตอ่ วนั รบั ประทานเป็ นเวลา 3-10 วัน มี ผลช่วยลดความถี่และความรนุ แรงของอาการไอ เนอื่ งจากไขห้ วดั (common cold) และอาการอักเสบ ของระบบทางเดนิ หายใจสว่ นบนได้

หนา้ 6 นพ.ธรี ะวัฒน์ เหมะจฑุ า ผอู้ านวยการศนู ยว์ ิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพโรคอบุ ตั ใิ หม่ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลยั โพสตข์ อ้ ความผา่ นเฟซบกุ๊ ธีระวฒั น์ เหมะจฑุ า Thiravat Hemachudha ระบวุ ่า #สถาบนั วิจยั จฬุ าภรณ์ เผยแพรผ่ ลการศึกษาว่า “#ฟ้ าทะลายโจรมผี ลขา้ งเคยี งตอ่ ตบั หรือไม่?” โดยมรี ายละเอียด ดงั นี้ สืบเนอ่ื งจากมีผเู้ ผยแพรข่ อ้ มลู ว่าใชฟ้ ้ าทะลายโจรแลว้ ทาใหต้ บั พงั จากงานวิจยั ฟ้ าทะลายโจรในตา่ งประเทศที่ใชฟ้ ้ า ทะลายโจรทงั้ ชนดิ ผงและสารสกดั ในการรกั ษาอาการหวดั หลอดลมอกั เสบ ไมม่ รี ายงานว่าฟ้ าทะลายโจรกอ่ ใหเ้ กิด ความเป็ นพิษตอ่ ตบั นอกจากนน้ั ในการศึกษาทางคลินกิ เก่ยี วกบั ความปลอดภยั และการเปลยี่ นแปลงสภาพยาของ การใชผ้ งฟ้ าทะลายโจรปริมาณ 12 แคปซลู (4.2 กรมั ) ตอ่ วัน ตดิ ตอ่ กนั 3 วัน (มีปริมาณสาร Andrographolide 97 มิลลกิ รัมตอ่ วนั ) ไมพ่ บว่าการทางานของเอนไซมต์ บั AST (Aspartate Aminotransferase) และ ALT (Alanine Aminotransferase) ผิดปกติ (Suriyo et al., 2017) สาหรบั การศึกษาความปลอดภยั และการเปลี่ยนแปลงสภาพยา ของสารสกดั ฟ้ าทะลายโจรปริมาณ 9 แคปซลู ตอ่ วนั (มปี ริมาณสาร Andrographolide ขนาด 180 มิลลิกรมั ตอ่ วัน) [อย่รู ะหว่างดาเนนิ การศึกษา] ตดิ ตอ่ กนั เป็ นเวลา 7 วัน ซ่ึงเป็ นการเพิ่มทงั้ ขนาดและระยะวันการไดร้ บั ฟ้ า ทะลายโจร ก็ไมพ่ บการเปลยี่ นแปลงการทางานของเอนไซมต์ บั เชน่ กนั แตห่ ากใชส้ ารสกดั ฟ้ าทะลายโจรที่มีปริมาณ สาร Andrographolide ในขนาดสงู ถึง 360 มลิ ลิกรมั ตอ่ วัน ตดิ ตอ่ กนั 7 วัน จะพบการเปลี่ยนแปลงของ AST เล็กนอ้ ย ในอาสาสมคั ร 1 คนใน 12 คน ซึ่งคา่ เอนไซมต์ บั ท่ีสงู ขน้ึ นจี้ ะกลบั เป็ นปกตภิ ายใน 1 สปั ดาห์ สว่ นคา่ เอนไซม์ ALT จะเพ่ิมขน้ึ เล็กนอ้ ยในอาสาสมคั ร 4 คน ซึ่งคิดเป็ น 33.33% แตก่ ารทางานของเอนไซมก์ ็จะกลบั เป็ น ปกตภิ ายใน 1-3 สปั ดาห์ ดงั นน้ั ขนาดของสาร Andrographolide ท่ีเหมาะสม คอื 180 มลิ ลกิ รมั ตอ่ วนั เป็ นเวลา 5 วนั จึงไมค่ วรใชใ้ นขนาดและระยะ เวลานานเกินกว่านี้ เนอ่ื งจากปัจจบุ นั มีผตู้ ดิ เชอ้ื โควิด-19 เป็ น จานวนมากที่ตอ้ งการยารักษาโรคโควิด-19 และยาฟ้ าทะลาย โจรก็เป็ นสมนุ ไพรที่ได้ มีการศึกษาอย่างกวา้ งขวางทง้ั กลไกการ ออกฤทธิ์อาการขา้ งเคียง และการศึกษาในทางคลินกิ ในผตู้ ดิ เช้ือจริงทงั้ ในประเทศไทยและประเทศจีน ซึ่งไดม้ กี ารใชใ้ นรปู แบบ ผง สารสกดั และการพฒั นาสารอนพุ นั ธ์ Andrographolide ให้ อยใู่ นรปู แบบยาฉีด ดงั นนั้ หากมกี ารพบการตดิ เชื้อโควิด-19 จึงควรใชส้ มนุ ไพรฟ้ าทะลายโจรทง้ั รปู แบบผงและสารสกดั ทนั ที ในขนาดและระยะเวลาท่ีถกู ตอ้ ง ซ่ึงจะเป็ นยาที่มปี ระโยชนม์ าก และมีความปลอดภยั ในระดบั ที่รบั ได้ เป็ นการชว่ ยลดภาระของ รฐั บาลและชว่ ยระบบสาธารณสขุ ของชาตไิ ด้

หนา้ 7 PDPA # 2 : เตรยี มตวั อยา่ งไร...ใหถ้ กู ตอ้ งตาม PDPA PDPA ใหค้ วามสาคญั ทงั้ ในดา้ นกระบวนการ พ.ร.บ. ค้มุ ครองข้อมลู ส่วนบคุ คล ดาเนินงานที่เป็ นไปตามกฎหมาย และดา้ นความ พ.ศ. 2562 เนน้ ประโยชนข์ องบคุ คล ปลอดภยั โดยองค์กรจะตอ้ งมีการเตรียมการ เป็ นหลกั ในฐานะที่เราเป็ นประชาชน ดงั น้ี คนธรรมดาคงจะเห็นดว้ ยกบั พ.ร.บ. 1. ศึกษา ทาความเขา้ ใจกบั กฎหมาย ฉบบั น้ี เพราะไม่ตอ้ งกลวั ว่าใครจะเอา 2. พิจารณาการเก็บรวบรวม ใช้ เปิ ดเผยขอ้ มลู ขอ้ มลู เราไปทาให้เกิดความเสียหาย ใน องค์กร กาหนดประเภทของข้อมลู ระบ ุ หรือหากเกิดข้ึนมาจริงๆ หน่วยงานที่ วัตถปุ ระสงค์การประมวลผลขอ้ มลู ผ้รู บั ผิด เ ก็ บ ข้ อ มูล ข อ ง เ ร า จ ะ ต้ อ ง เ ป็ น ชอบขอ้ มลู และแหลง่ ท่ีจดั เก็บขอ้ มลู ทง้ั หมด ผรู้ บั ผิดชอบในการคน้ หาสาเหต ุ แกไ้ ข 3. ทบทวนกระบวนการเก็บ ใช้ เปิ ดเผยขอ้ มลู ปัญหา รวมถึงการเยียวยา ชดเชยต่อ ตั้งแต่แบบฟอรม์ การเก็บขอ้ มลู กระบวนการ ความเสียหายนน้ั ควบคมุ การเขา้ ถึงขอ้ มลู และการเปิ ดเผยขอ้ มลู แตอ่ ีกฐานะหนงึ่ เราทกุ คน คือพนกั งานใน 4. กาหนดนโยบาย ขอ้ กาหนด แนวทางปฏิบัติ องคก์ ร ซ่ึงมีส่วนช่วยในการเตรียมความ เพ่ือให้พนักงานสามารถปฏิบัติตามไดอ้ ย่าง พรอ้ มขององค์กร เพ่ือรองรับการบังคับ ถกู ตอ้ ง ใชก้ ฎหมายเชน่ กนั 5. จดั เตรียมช่องทางและกระบวนการสาหรบั การขอใชส้ ิทธิของเจา้ ของขอ้ มลู “แลว้ องคก์ รตอ้ งเตรยี มอะไรบา้ ง?” 6. สอื่ สาร อบรม ใหค้ วามรกู้ บั พนกั งานเพื่อการ ประยกุ ตใ์ ชก้ บั การทางานไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 7. กาหนดกระบวนการสาหรบั การดแู ลขอ้ มลู ส่วนบคุ คลท่ีมีความละเอียดอ่อน (Sensitive Personal Data) 8. พิจารณาทบทวนกระบวนการ และจดั หา เครื่องมือ อปุ กรณ์ ระบบรกั ษาความปลอดภยั ขอ้ มลู ตามความเหมาะสม 9. พัฒนากระบวนการแจ้งเตือนกรณีข้อมลู รว่ั ไหล (Breach Notification) 10. แต่งตงั้ เจา้ หนา้ ที่คมุ้ ครองขอ้ มลู ส่วนบคุ คล (Data Protection Officer : DPO) เพ่ือทา หนา้ ที่ ใ ห้ค ว า ม เ ห็ น ข้อ เ ส น อ แ น ะ เ กี่ ย ว กับ ก า ร ประมวลผลขอ้ มลู ภายในองค์กร รวมถึงการ ประสานงานกบั สานกั งานคมุ้ ครองขอ้ มลู ส่วน บคุ คล (สคส.)

หนา้ 8 สรปุ ในประเด็นท่ีเราทกุ คนสามารถช่วยใหเ้ ตรียมความ อันดบั ที่สอง ให้ความสาคัญกับ “ขอ้ มลู ส่วน พรอ้ มใหก้ บั องคก์ รไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ดงั นี้ บคุ คลที่มีความละเอียดอ่อน (Sensitive Personal อนั ดบั แรก คือ องคก์ รตอ้ งทราบว่ามีการ “เก็บขอ้ มลู Data) หรือที่เรียกกันว่า “ขอ้ มลู อ่อนไหว” อะไรบ้าง เก็บไว้ที่ไหน การควบคุมการเขา้ ถึง เป็ น เนอื่ งจาก ตาม พ.ร.บ. ฯ กาหนดว่า หากองคก์ ร อย่างไร มีวัตถปุ ระสงคใ์ นการใชข้ อ้ มลู อย่างไร ใครเป็ น จะดาเนินการเก็บ ใช้ เปิ ดเผยขอ้ มลู อ่อนไหว ผรู้ บั ผดิ ชอบขอ้ มลู และมีการเปิ ดเผยขอ้ มลู ใด ชอ่ งทาง จะตอ้ งไดร้ ับความยินยอม จากเจา้ ของขอ้ มลู ใด ระยะเวลาท่ีจดั เก็บ ใช้ เปิ ดเผยขอ้ มลู เป็ นเท่าใด ฯลฯ” กอ่ นเท่านน้ั และถึงแม้ ไดร้ บั ความยินยอมแลว้ ก็ แล้วจึงพิจารณาบริหารจัดการข้อมูล ปรับปรุง ตอ้ งมีกระบวนการคุ้มครองขอ้ มูลอ่อนไหว แบบฟอร์ม กระบวนการ ขั้นตอน ใหค้ มุ้ ครองขอ้ มลู อย่างรัดกมุ ดว้ ย หากพบว่าในงานของเรา หรือ ส่วนบุคคลไดอ้ ย่างเหมาะสม ซ่ึงอาจตอ้ งใชร้ ะยะเวลา ในระบบของเรา ยังคงมีการเก็บหรือใชง้ าน ดาเนินการค่อนขา้ งมากจึงจะรวบรวมและบริหาร ขอ้ มลู อ่อนไหวอยู่ ก็ควรพิจารณา ตามความ จัดการไดค้ รบถ้วน เนื่องจากตามความซับซอ้ นของ จ า เ ป็ น แ ล ะ ก า ห น ด ม า ต ร ก า ร ท้ั ง ด้ า น โครงสรา้ งขอ้ มลู และโครงสรา้ งหน่วยงาน ดงั น้ัน พ่ีๆ กระบวนการและความ ปลอดภยั อยา่ งเหมาะสม นอ้ งๆ อาจจะช่วยตรวจสอบกระบวนการทางานของ ตน และพิจารณาจุดอ่อนพร้อมกับการทบทวน ห า ก มี โ ค ร ง ก า ร ห รื อ ง า น ใ ด ท่ี ว า ง แ ผ น ไ ว้ กระบวนการใหเ้ หมาะสม ล่วงหนา้ แลว้ ก็ควรพิจารณา เกี่ยวกับการใช้ ขอ้ มลู ว่ามีความจาเป็ นตอ้ งใชข้ อ้ มลู อะไรบา้ ง อนั ดบั ที่สาม ใหค้ วามสาคญั กับความปลอดภยั ของขอ้ มลู ขอ้ มลู ใดท่ีมีอย่แู ลว้ ตอ้ งขอจากใคร ขอ้ มลู ใด ที่ ท้ังการดาเนินงานตามนโยบายความปลอดภัย ระบบ ยังไม่มีจะตอ้ งดาเนินการอย่างไร จะตอ้ งขอ สารสนเทศอย่างเคร่งครดั และการปกป้ องคมุ้ ครองขอ้ มลู ท่ี ควา มยิ นยอมหรือไม่ รวมถึ งพิ จา รณา เราสามารถทาไดด้ ว้ ยตวั เอง ตวั อย่างเช่น ส่งงานผ่าน PEA เกี่ยวกบั สทิ ธิการเขา้ ถึง แตล่ ะระดบั การยืนยัน Mail แทน Line หรืออีเมลอ์ ่ืนๆ การเขา้ รหัสไฟลส์ าคัญ ตวั ตนเพ่ือเขา้ ใชง้ าน ความปลอดภยั ของระบบ ศึกษา เรียนรเู้ กี่ยวกับความผิด ปกติที่อาจก่อใหเ้ กิดความ ในขน้ั ตอนการพัฒนากระบวนการหรือ ระบบ เสียหายกับตัวเราและขอ้ มลู ของเรา เช่น อีเมล์หลอกลวง สารสนเทศ Phishing Mail เป็ นตน้ ขอ้ สาคญั เมือ่ องคก์ รไดจ้ ดั ทานโยบาย ระเบียบ สว่ นอนั ดบั ที่ส่ี แมจ้ ะไมไ่ ดร้ ะบไุ วใ้ น 10 ขอ้ ขา้ งตน้ แตเ่ ป็ นสิ่ง แนวทางปฏิบัติแลว้ ก็ควรศึกษาแลว้ นา มา ท่ีควรตอ้ งดาเนนิ การเพ่ือลดความย่งุ ยาก ในอนาคต คือการ พิจารณางานในความรับผิดชอบว่ายังมีส่วน ให้ความสาคัญต่อการคุ้มครองขอ้ มูลส่วนบุคคลตั้งแต่ ใดท่ียงั สมุ่ เสีย่ งตอ่ การละเมิดสิทธิของ เจา้ ของ ขั้นตอนการพัฒนากระบวนการ หรือระบบสารสนเทศ ขอ้ มลู บา้ ง และดาเนินการปรับปรงุ แกไ้ ข และ (Security by design / by default) เพื่อจะไดไ้ มต่ อ้ งกลบั มา หากยังไม่มนั่ ใจสามารถติดตอ่ สอบถาม กจข. ทบทวน ปรบั ปรงุ ใหเ้ ป็ น ไปตามกฎหมายอีกครง้ั หนง่ึ ดงั นน้ั หรือคณะทางาน ผา่ นชอ่ งทาง Line Open Chat นไี้ ดเ้ ลยครบั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook