Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่1.ความหมายองค์ประกอบศิลป์

บทที่1.ความหมายองค์ประกอบศิลป์

Published by priyachat4737, 2020-03-16 08:42:46

Description: บทที่1.ความหมายองค์ประกอบศิลป์

Search

Read the Text Version

หนว่ ยท1ี่ ความหมายองคป์ ระกอบศิลป์ หวั ข้อเร่อื ง (Topics) 1.1 ความหมายขององค์ประกอบศิลป์ 1.2 ความสาคัญขององคป์ ระกอบศลิ ป์ 1.3 ทศั นศิลป์ 1.4 ทัศนธาตุ แนวคดิ สาคัญ (Main ldea) ในปจั จบุ นั เทคโนโลยีก้าวเขา้ สกู่ ารนาสมัย ไมว่ ่าจะมองไปทางใด จะพบวา่ คอมพิวเตอรไ์ ด้เขา้ มามบี ทบาทในงานต่าง ๆ มากยงิ่ ขึ้นรวมไปถงึ งานดา้ นกราฟิกทีไ่ ดม้ ีการนาเอาคอมพวิ เตอร์เข้ามา สร้างสรรคใ์ นชน้ิ งานการออกแบบและเกดิ พัฒนาอยา่ งต่อเนอื่ ง ซง่ึ ในหน่วยการเรียนนจ้ี ะศกึ ษาและทา ความเขา้ ใจกับคอมพิวเตอร์ที่ใชใ้ นงานกราฟิก สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency) แสดงความรูเ้ กย่ี วกับความหมายองค์ประกอบศลิ ป์ จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives) 1. บอกความหมายขององคป์ ระกอบศลิ ป์ 2. อธิบายเกยี่ วกบั หลกั การขององคป์ ระกอบศิลป์ 3. อธบิ ายเก่ียวกบั ทัศนศิลป์ 4. อธบิ ายเกย่ี วกับทศั นธาตุ

หน่วยที่ 1 ความหมายองค์ประกอบศลิ ป์ 1.1 ความหมายขององคป์ ระกอบศลิ ป์ คาวา่ องค์ประกอบ ตามความหมายพจนานกุ รมราชบณั ฑิตยสถาน คือส่วนต่างๆ ที่ประกอบ กันทาใหเ้ กิดรูปรา่ งใหม่ข้ึนโดยเพพาะ องคป์ ระกอบศลิ ป์ หมายถงึ สง่ิ ที่ศิลปินและนักออกแบบใช้เปน็ สื่อในการแสดงออกและสร้าง ความหมาย โดยนามาจดั เขา้ ดว้ ยกันและเกิดรูปรา่ งอันเด่นชัด องค์ประกอบศิลป์ ยงั เปน็ เครือ่ งหมายหรอื รูปแบบท่ีนามาจัดรวมกันแลว้ เกิดรปู รา่ งตา่ งๆที่ แสดงออกในการส่ือความหมายและความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละเปน็ ศิลปะท่มี นษุ ย์สร้างขนึ้ เพ่ือแสดงออก ทางอารมณ์ ความรูส้ กึ ความคดิ หรอื ความงดงามซึง่ ประกอบด้วยสว่ นที่มนษุ ยส์ รา้ งขนึ้ และส่วนทเ่ี ปน็ การแสดงงออกอันเปน็ ผลทีเ่ กิดจากโครงสร้างทางวตั ถุต่างๆส่วนประกอบตา่ งๆของศลิ ปะ เช่น จุด เส้น รปู ร่าง ขนานสัดส่วน นา้ หนกั แสงเงา ลกั ษณะพนื้ ผิว ทีว่ า่ ง และสี 1.2 ความสาคญั ขององคป์ ระกอบศลิ ป์ ในการสรา้ งสรรค์ผลงานศิลปะในสาขาต่างๆไมว่ า่ จะเปน็ สาขาวจิ ิตรศิลป์หรอื ประยกุ ตศ์ ลิ ปผ์ ู้ สร้างสรรค์ต้องมคี วามรเู้ บอ้ื งต้นดา้ นศิลปะมากอ่ น และศกึ ษาถึงหลักการองค์ประกอบพืน้ ฐาน 1.2.1 องค์ประกอบทส่ี าคญั การจัดวางองค์ประกอบเหลา่ น้นี น้ั รวมถงึ การกาหนดสี ในลักษณะต่างๆ เพ่มิ เติมให้เกดิ ความ เขา้ ใจ เพอื่ เวลาท่ีสรา้ งผลงานศลิ ปะจะได้ผลงานท่ีมคี ณุ คา่ ความหมายและความงามเป็นทน่ี ่าสนใจแกผ่ ู้ พบเหน็ หากสร้างสรรคผ์ ลงานโดยขาดองค์ประกอบศิลป์ ผลงานน้ันอาจดูด้อยค่า หมดความหมาย หรือไม่หนา้ สนใจไปเลย ดังน้ันจะเห็นได้วา่ องค์ประกอบศิลป์น้นั มคี วามสาคัญอย่างมากในการสรา้ ง งานศิลปะ องค์ประกอบศลิ ป์ เป็นเสมอื นหัวใจดวงหน่ึงของการทางานศลิ ปะ เพราะในงานองค์ประกอบ ศิลปห์ นง่ึ ช้ินจะประกอบไปดว้ ย การร่างภาพ(วาดเสน้ ) การจดั วางให้เกิดความงาม (จัดภาพ) และการ ใช้ส(ี ทฤษฎีส)ี ซึ่งแตล่ ะอย่างจะต้องเรียนร้สู รู่ ายละเอยี ดลึกลงไปอกี องค์ประกอบศลิ ปจ์ งึ เปน็ พืน้ ฐาน

สาคัญทรี่ วบรวมความรู้หลายๆอยา่ งไว้ด้วยกัน จงึ ตอ้ งเรียนรูก้ ่อนท่จี ะศึกษาในเร่ืองอนื่ ๆ (อนนั ต์ ประภาโส) องคป์ ระกอบศลิ ป์ จดั เปน็ วชิ าท่มี ีความสาคัญสาหรับผศู้ กึ ษางานศลิ ปะ หากวา่ ความรู้ความ เข้าใจในวชิ านี้แลว้ ผลงานทส่ี ร้างขน้ึ มากย็ ากทป่ี ระสบความสาเรจ็ โดยเพพาะอยา่ งยิ่งงานศิลปะ สมัยใหม่ที่มกี ารแสดงเพพาะ เสน้ สี แสง เงา นา้ หนัก พ้นื ผวิ จงั หวะ และบรเิ วณที่ว่าง มคี วามจาเปน็ อย่างยงิ่ ต้องนาหลักกรองค์ประกอบศลิ ป์มาใช้ 1.2.2 หลักการจดั องค์ประกอบพื้นฐาน 1. เอกภาพ(Unity) หมายถงึ ความเปน็ อันหนงึ่ อนั เดียวกนั ความสอดคล้องกลมกลนื เป็น หน่วยเดียวกนั ด้วยการจัดองคป์ ระกอบให้มีความสมั พนั ธ์เกยี่ วขอ้ งกนั เป็นกล่มุ ก้อนไมก่ ระจัด กระจาย โดยการจดั ระเบียบของรปู ทรง จงั หวะ เนอื้ หาใหเ้ กดิ ดุลยภาพจะได้สือ่ อารมณ์ ความรูส้ ึก ความหมายได้ง่ายและรวดเร็ว ภาพท่มี เี อกภพ ภาพทีไ่ ม่มเี อกภาพ รูปท่ี 1.1 การจดั องค์ประกอบ 2. ดุลยภาพ (Balance) ความสมดุลหรือดุลยภาพ หมายถึง ความเทา่ กันเสมอกนั มีนา้ หนกั หรอื ความกลมกลนื พอเหมาะพอดี โดยมแี กนสมมตทิ าหน้าทีแ่ บง่ ภาพให้ซา้ ยขวา บน ลา่ ง ใหเ้ ทา่ กัน การเทา่ กันอาจไมเ่ ท่ากันจริง ๆ ก็ได้ แตจ่ ะเทา่ กนั ในความรูส้ ึกตามท่ตี ามองเหน็ ความสมดุล แบง่ เป็น 2 ประเภท ดงั น้ี

(1) ความสมดุล 2 ขา้ งเท่ากัน (Symmetrical Balance) หมายถึง การจัดวางองค์ประกอบ ตา่ ง ๆ ของศลิ ปะใหท้ ้งั 2 ข้างแกนสมมติมขี นาด สัดส่วน และนา้ หนักเท่ากนั หรอื มรี ูปแบบเหมอื นกัน คลา้ ยกนั (2) ความสมดลุ 2 ขา้ งไมเ่ ทา่ กนั (Asymmetrical Balance) หมายถึง การจดั องค์ประกอบ ของศลิ ปะ ทงั้ 2 ขา้ งแกนสมมตมิ ีขนาดสดั สว่ นน้าหนกั ไม่เท่ากัน ไมเ่ หมือนกนั ไม่เสมอกัน แต่สมดุล กนั ในความรูส้ กึ ความสมดุล 2 ข้างไมเ่ ทา่ กนั คือภาพมีความสมดุลของเนอื้ หาและเรือ่ งราวแตไ่ ม่ เทา่ กนั ในเร่ืองขนาด น้าหนกั 3. จุดเด่น (Dominance) หมายถึงสว่ นสาคัญท่ีปรากฏชดั สะดดุ ตาท่ีสุดในงานศลิ ปะ จดุ เดน่ จะช่วยสรา้ งความนา่ สนใจในผลงานให้ภาพเขยี นมีความสวยงาม มีชวี ติ ชีวาย่งิ ข้นึ จุดเดน่ เกิด จากการจัดวางท่ีเหมาะสม และรู้จกั การเนน้ ภาพ (Emphasis) ท่ีดี จดุ เดน่ มี 2 แบบ คือ (1) จุดเด่นหลกั เป็นภาพท่มี คี วามสาคญั มากที่สดุ ในเร่อื งที่จะเขยี น แสดงออกถงึ เร่ืองราวท่ี ชัดเจน เด่นชัดท่สี ดุ ในภาพ (2) จุดเด่นรอง เป็นภาพประกอบของจุดเด่นหลกั ทาหนา้ ที่สนบั สนนุ จุดเด่นหลกั ใหภ้ าพมี ความสวยงามย่ิงขึน้ เช่น ในภาพจดุ เดน่ รองไดแ้ ก่ รปู เรอื 4. ความขัดแยง้ (Contrast) ขดั แยง้ ด้วยรปู ทรงขัดแย้งดว้ ยขนาดขัดแย้งด้วยเสน้ ขัดแย้งดว้ ย ผวิ ขัดแยง้ ดว้ ยสคี วามขัดแย้งทก่ี ลา่ วมาถกู จัดวางเพ่อื ให้เกิดความงามทางศลิ ปะ 5. ความกลมกลืน (Harmony) ภาพด้านล่างเป็นความกลมกลนื ด้านเร่ืองราวที่สอดคลอ้ ง เป็นเรอื่ งราวเกย่ี วกับธรรมชาติ และเป็นความกลมกลนื ในเรอื่ งสีวรรณะเดยี วกัน 1.3 ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ คอื กระบวนการถ่ายทอดผลงานทางศลิ ปะ การทางานศิลปะอยา่ งมจี ิตนาการ ความคดิ สรา้ งสรรคม์ ีระบบระเบียบเปน็ ขนั้ เปน็ ตอนการสรา้ งสรรค์งานอย่างมปี ระสิทธิภาพสวยงาม มี การปฏิบตั งิ านตามแผนและมกี ารพฒั นาผลงานให้ดีข้นึ ตอ่ เนอ่ื ง ทัศนศลิ ป์คอื การรับรู้ทางจักษุประสาท โดยการมองเหน็ สสาร วตั ถุ และสรรพส่งิ ต่าง ๆ ท่ีเขา้ มากระทบ รวมถงึ มนุษย์ และสัตว์ จะด้วยการหยดุ น่งิ หรอื เคลอื่ นไหวกต็ าม หรือจะดว้ ยการปรุงแต่ง

หรือไมป่ รงุ แต่งก็ตาม ก่อให้เกดิ ปัจจยั สมมุติตอ่ จิตใจ และอารมณข์ องมนุษย์ อาจจะเปน็ ไป ในทางเดียวกันหรือไมก่ ต็ าม ทัศนศิลป์เปน็ การแปลความหมายทางศลิ ปะ ทีแ่ ตกต่างกนั ไปแต่ละมุมมอง ของแตล่ ะบุคคล ในงานศิลปะชิ้นเดยี วกัน ซึ่งไรข้ อบเขตทางจนิ ตนาการ ไม่มกี รอบท่แี น่นอน ขน้ึ กบั อารมณ์ของบุคคล ในขณะทศั นศ์ ิลปน์ ้ัน แนวคดิ ทัศนศิลปเ์ ป็นศลิ ปะที่รบั รไู้ ดด้ ้วยการมอง ไดแ้ ก่รูปภาพววิ ทวิ ทัศนท์ ัว่ ไป เปน็ สาคญั อันดบั ต้นๆ รปู ภาพคนเหมอื น ภาพล้อ ภาพสงิ่ ของตา่ งๆก็ลว้ นแลว้ แต่เปน็ เร่อื งของ ทัศนศิลปด์ ้วยกันทง้ั ส้ิน ซงึ่ ถ้ากลา่ วว่าทศั นศิลป์เป็นความงามทางศลิ ปะท่ีไดจ้ ากการมอง หรอื ทศั นา น่ันเอง รปู ท่ี 1.3 ภาพทัศนศลิ ปแ์ บบไทย

1.4 ทัศนธาตุ 1. จุด (Dot) หมายถงึ รอยหรือแต้มท่มี ีลักษณะกลมๆ ปรากฏทผี่ วิ พนื้ ไม่มขี นาด ความ กวา้ ง ความยาว ความหนา เปน็ สิง่ ทเ่ี ล็กที่สุดและเปน็ ธาตุเรมิ่ แรกทีท่ าให้เกิดธาตอุ ืน่ ๆ ขนึ้ จุด เป็นตน้ กาเนิดของเส้น รูปร่าง รูปทรง แสงเงา พ้นื ผิว ฯลฯ เช่น นาจุดมาวางเรยี งต่อ กนั จะเกิดเปน็ เสน้ และการนาจดุ มาวางใหเ้ หมาะสมกจ็ ะเกิดเป็นรูปรา่ ง รูปทรง และลกั ษณะผวิ ได้ 2. เสน้ (Line) คือ จดุ หลาย ๆ จดุ ต่อกนั เปน็ สาย เปน็ แถวแนวไปในทิศทางใดทศิ ทางหนึง่ เป็นทางยาวหรอื จดุ ที่เคลือ่ นท่ไี ปในทิศทางใดทิศทางหน่ึงดว้ ยแรงผลักดัน หรอื รอยขดู ขีดเขยี นของ วัตถเุ ป็นรอยยาว เส้นนอน ใหค้ วามรู้สกึ กว้างขวาง เงยี บสงบนิ่ง ราบเรยี บ ผอ่ นคลายสายตา เสน้ ต้ัง ใหค้ วามรูส้ กึ สูงสง่า มั่นคง แข็งแรง ร่งุ เรือง เสน้ เพียง ให้ความรู้สึกไม่มน่ั คง เคล่ือนไหวรวดเร็ว แปรปรวน เสน้ โค้ง ให้ความรสู้ ึกออ่ นไหว สภุ าพออ่ นโยน สบาย นุ่มนวล เย้ายวน เส้นประ ––––––– ใหค้ วามรสู้ ึกไมต่ ่อเนื่อง ไมม่ ั่นคง ไมแ่ นน่ อน 1.4.2 รูปร่างและรูปทรง รูปร่าง (Shape) หมายถงึ เส้นรอบนอกทางกายภาพของวตั ถุ ส่งิ ของเครอ่ื งใช้ คน สตั ว์ และ พืช มีลักษณะเป็น 2 มติ ิ มคี วามกว้างและความยาว รปู ร่าง แบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท คือ 1.รปู รา่ งธรรมชาติ (Natural Shape) หมายถึง รูปร่างท่เี กดิ ขน้ึ เองตาม ธรรมชาติ เช่น คน สตั ว์ และพชื เป็นต้น

2.รูปร่างเรขาคณิต (Geometrical Shape) หมายถงึ รปู ร่างท่มี นุษย์สรา้ งขึน้ มโี ครงสรา้ ง แน่นอน เช่น รปู สามเหลี่ยม รูปสี่เหล่ียม และรูปวงกลม เป็นต้น 3.รปู รา่ งอิสระ (Free Shape) หมายถึง รปู รา่ งทีเ่ กดิ ขน้ึ ตามความตอ้ งการของผู้ สร้างสรรค์ ใหค้ วามรสู้ ึกท่เี ปน็ เสรี ไม่มีโครงสร้างทแ่ี น่นอนของตัวเอง เป็นไปตามอิทธพิ ลของ ส่ิงแวดล้อม เช่น รปู ร่างของหยดนา้ เมฆ และควัน เปน็ ตน้ รปู ที่ 1.4 รปู ร่างและรูปทรงเลขาคณิต รปู ทรง (Form) หมายถึง โครงสร้างทั้งหมดของวัตถุทป่ี รากฎแก่สายตาในลกั ษณะ 3 มติ ิ คอื มีทง้ั ส่วนกว้าง สว่ นยาว สว่ นหนาหรอื ลกึ คือ จะใหค้ วามรสู้ ึกเป็นแท่ง มีเน้อื ที่ภายใน มี ปริมาตร และมนี า้ หนกั รปู ท่ี 1.5 รปู มิตแิ ละเงา

1.4.3 สี พ้ืนผิว การใช้ผิว น้าหนกั ออ่ น-แก่ (Value) หมายถงึ จานวนความเข้ม ความออ่ นของสตี า่ ง ๆ และแสงเงา ตามทปี่ ระสาทตารับรู้ เมอ่ื เทียบกับน้าหนกั ของสขี าว-ดา ความอ่อนแกข่ องแสงเงาทาให้เกิดมติ ิ เกดิ ระยะใกลไ้ กลและสมั พนั ธ์กบั เรอ่ื งสีโดยตรง สี (Color) หมายถึง สงิ่ ทปี่ รากฏอยทู่ ่ัวไปรอบ ๆ ตัวเรา ไม่วา่ จะเปน็ สีที่เกิดขึ้นเองใน ธรรมชาติ หรือ สง่ิ ท่มี นษุ ยส์ ร้างข้ึน สที าให้เกิดความร้สู ึกแตกต่างมากมาย เชน่ ทาใหร้ ้สู ึกสดใส รา่ เรงิ ต่นื เตน้ หมน่ หมอง หรือเศรา้ ซมึ ได้ เป็นต้น สแี ละการนาไปใช้ 1.วรรณะของสี (Tone) จากวงจรสธี รรมชาติ ในทางศลิ ปะไดม้ กี ารแบง่ วรรณะของสี ออกเป็น 2 วรรณะ คอื สีวรรณะร้อน ไดแ้ กส่ ีที่ใหค้ วามรู้สกึ อบอุน่ หรือร้อน เชน่ สเี หลือง ส้ม เหลือง ส้ม สม้ แดง แดง มว่ งแดง เปน็ ตน้ สว่ นสวี รรณะเยน็ ไดแ้ ก่ สีท่ีให้ความร้สู กึ เย็น สงบ สบาย เช่น สเี ขยี ว เขยี วเหลอื ง เขียวนา้ เงนิ น้าเงิน มว่ งนา้ เงนิ มว่ ง เปน็ ตน้ 2.ค่าของสี (Value of color) หมายถึง สใี ดสหี น่ึงทาให้คอ่ ย ๆ จางลงจนขาวหรอื สว่าง และทาให้ค่อย ๆ เขม้ ขน้ึ จนมืด 3.สีเอกรงค์ (Monochrome) หมายถึง สีทแ่ี สดงอทิ ธพิ ลเดน่ ชัดออกมาเพียงสเี ดยี ว หรอื ใช้เพียงสีเดียวในการเขยี นภาพโดยให้ค่าของสอี อ่ น กลาง แก่ คล้ายกบั ภาพถา่ ย ขาว ดา 4.สสี ว่ นรวม (Tonality) หมายถึง สใี ดสหี น่ึงที่ใหอ้ ิทธิพลเหนอื สอี นื่ ทงั้ หมด เช่น การ เขยี นภาพทิวทัศน์ ปรากฏสสี ว่ นรวมเปน็ สเี ขยี ว สีนา้ เงิน เปน็ ตน้ 5.สที ่ปี รากฏเด่น (Intensity) 6.สีตรงขา้ มกันหรอื สีตัดกัน (Contrast) หมายถงึ สที ี่อยตู่ รงกันขา้ มในวงจรสี ธรรมชาติ เชน่ สีแดงกับสเี ขยี ว สีนา้ เงินกับสสี ม้ สีมว่ งกับสีเหลอื ง 1.4.4 บริเวณวา่ ง (Space) หมายถงึ บริเวณท่ีเปน็ ความว่างไม่ใช่ส่วนทเี่ ป็นรปู ทรงหรอื เน้อื หาในการจัดองค์ประกอบใดก็ตามถ้าปลอ่ ยให้มพี ืน้ ทว่ี า่ งมากและให้มีรปู ทรงนอ้ ย การจดั นน้ั จะให้ ความรู้สกึ อ้างอ้าง โดดเดี่ยว

1.4.5 พน้ื ผิว (Texture) หมายถึง พ้นื ผวิ ของวัตถตุ ่าง ๆ ที่เกิดจากธรรมชาติและมนุษย์สรา้ งสรรค์ ขน้ึ พื้นผิวของวตั ถทุ ี่แตกตา่ งกนั ย่อมให้ความรสู้ ึกที่แตกต่างกนั ด้วย สรุปสาระสาคัญ การจดั องค์ประกอบศิลป์ การจะวางวตั ถุ การใชพ้ น้ ที่ สดั สว่ น การกาหนดเสน้ สี แสง เงา การ จัดวางตาแหน่งวัตถุ และการใชช้ นิดของการจดั วัตถุแบบตา่ ง ๆ ลว้ นแลว้ แต่เป็นองคป์ ระกอบศิลป์ กอ่ ใหเ้ กิดการลงตวั ของชน้ิ งาน

แบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 1 ความหมายองคป์ ระกอบศลิ ป์ คาส่ัง จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ีให้สมบรู ณ์ 1. ธาตุหมายถึงอะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………… 2.ทัศนศิลป์หมายถงึ อะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………… 3.องคป์ ระกอบศลิ ป์คืออะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………… 4. เอกภาพหมายถึงอะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5.ทศั นศิลปก์ ับทศั นธาตตุ ่างกนั อยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………..................

แบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยหนว่ ยท่ี 1 ความหมายองคป์ ระกอบศลิ ป์ คาสัง่ จงทาเครื่องหมายกากบาท (×) ทับขอ้ ท่ถี กู ต้องทส่ี ุด 1. ข้อใดเปน็ หลักการออกแบบในงานกราฟิก ก. มเี อกภาพ ข. ความเปน็ ปัจจุบนั ค. ความทันสมยั ง. ความล้าลึก 2. ข้อใดไมใช่หลกั การจดั องค์ประกอบศลิ ป์ ก. จุดเด่น ข. เอกภาพ ค. จุดสมดุล ง. จุดรอง 3. หลักองค์ประกอบศลิ ปห์ มายถึงข้อใด ก. การนาองค์ประกอบต่างๆ ของศลิ ปะมาแยกเพ่ือสรา้ งคณุ ค่า ข. การนาองคป์ ระกอบตา่ งๆ ของศลิ ปะมาสมั พันธก์ นั เพื่อให้เกดิ คุณคา่ ทางความงาม ค. ผสมกลมกลนื ให้เกดิ มติ ใิ หม่ ง. ถกู ท้งั ขอ้ ข. และ ค. 4. จุดเดน่ ตรงกับขอ้ ใด ก. Harmony ข. Contrast ค. Dominance ง. Unity 5. ความกลมกลืนตรงกับขอ้ ใด

ก. Harmony ข. Contrast ค. Dominance ง. Unity 6. ความสมดลุ ตรงกบั ข้อใด ก. Harmony ข. Contrast ค. Dominance ง. Unity 7. ลักษณะโดดเด่นของเอกภาพคืออะไร ก. ความเด่นชัด ข. ปรากฏชดั ค. ความเปน็ หนง่ึ เดยี ว ง. สรา้ งจดุ สนใจ 8. Contrast ตรงกบั ขอ้ ใด ก. ความขัดแยง้ ข. เอกภาพ ค. ความสมดุล ง. ความกลมกลืน 9. สมดลุ แบง่ ออกไดท้ ้งั หมดกป่ี ระเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท

10. จดุ เดน่ แบ่งไดเ้ ปน็ ก่ปี ระเภท ก. 2 แบบ ข. 3 แบบ ค. 4 แบบ ง. 5 แบบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook