Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 2 วิชาภาษาไทย เรื่องการพูด

การเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 2 วิชาภาษาไทย เรื่องการพูด

Published by pinky25102529, 2021-12-24 08:19:19

Description: การเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 2 วิชาภาษาไทย เรื่องการพูด

Keywords: กศน.ตำบลหาดเจ้าสำราญ

Search

Read the Text Version

การเรยี นการสอนสปั ดาหท์ ่ี 2 นางสาวชญาณี ณ ถลาง ครู กศน.ตาบลหาดเจา้ สาราญ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมอื งเพชรบรุ ี

การจดั การเรียนการสอนสปั ดาหท์ ่ี 2 ประจาภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 กศน.ตาบลหาดเจา้ สาราญ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอเมอื งเพชรบรุ ี ******************************************************************************** คาอธิบาย 1. การจดั การเรียนการสอนประจาสปั ดาหท์ ่ี 2 เร่ืองหลกั การฟงั และดูท่ดี ี 2. ศึกษาคลปิ การสอนเรอื่ ง หลักการฟงั และดูทดี่ ี ( ตาม QR CODE ด้านลา่ งนี้ ) แสกน QR CODE เพ่ือชมคลิปการสอน คลิปท่ี 1 คลปิ ที่ 2 เรือ่ ง ตัวอยา่ งการพูดในโอกาสต่าง ๆ เรือ่ ง เทคนิคการพดู 3. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน วิชาภาษาไทย เรือ่ งหลกั การฟงั และดูที่ดี โดยแสกน QR CODE ด้านลา่ งน้ี 4. ศกึ ษาใบความรูเ้ ร่ืองหลกั การพูด และทาแบบฝกึ หัดทา้ ยบท ( วธิ ีดาเนนิ การ : ลอกโจทย์ลงในสมุด และถ่ายภาพชิ้นงานสง่ ครูทาง Line / ทาง FB ) 5. ทาแบบทดสอบหลังเรยี น วชิ าภาษาไทย เร่อื งหลักการฟังและดูท่ดี ี โดยแสกน QR CODE ด้านล่างนี้

ใบความรทู้ ่ี 1 วชิ าภาษาไทย เร่อื งหลกั การพดู การพูด เป็นวิธีหนึ่งของการส่ือสาร การถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก หรือ ความต้องการ ด้วยเสียง ภาษา และกิริยาท่าทาง เพ่ือให้ผู้รับฟังรับรู้ เข้าใจได้ตรงตามจุดประสงค์ ของผ้พู ูด การสือ่ สารจึงจะบรรลุผลได้หลกั การพูด ความหมายของการพดู ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 พูด คือ การเปล่งเสียงออกเป็น ถอ้ ยคา, พดู จา การพดู เป็นการส่ือสารดว้ ยภาษา จากตวั ผู้พูดไปยังผู้ฟัง เพ่ือสือ่ ความหมายให้ผู้อื่น ทราบความรสู้ ึกนกึ คดิ และความต้องการของตน รวมทัง้ เปน็ การแลกเปลี่ยนข่าวสาร ความรู้ ความ คดิ เห็น ก่อใหเ้ กิดความเขา้ ใจซึ่งกันและกันช่วยให้กจิ การต่างๆ ดาเนินไปด้วยความเรยี บร้อย องค์ประกอบของการพดู การพดู มอี งค์ประกอบสาคัญอยู่ 3 ประการ ดังน้ี ผู้พดู ผู้พูดเป็นผู้ที่จะต้องถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดเห็น ข้อเท็จจริง ตลอดจนทัศนคติของ ตนสู่ผู้ฟังโดยใช้ภาษา เสียง อากับกิริยาและบุคลิกภาพของตนให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด ผู้พูด จะตอ้ งคานึงถงึ มารยาทและคณุ ธรรม ในการพดู ด้วย สิ่งสาคัญท่ีผู้พูดจะต้องยึดไว้เป็นแนวปฏิบัติคือ ผู้พูดจะต้องรู้จักสะสมความรู้ ความคิด และประสบการณ์ที่มีคุณค่า มีประโยชน์ แล้วรวบรวม เรียบเรียงความรู้ ความคิดเหล่านี้ ให้มี ระเบียบ เพื่อที่จะได้ถ่ายทอดให้ผู้ฟังเข้าใจได้โดยง่าย แจ่มแจ้ง การสะสมความรู้ ความคิดและ ประสบการณ์ ผู้พูดสามารถทาได้หลายทาง เช่น จากการอ่าน การฟัง การสังเกต การกระทาหรือ ปฏิบัติด้วยตนเอง การสนทนากับผู้อื่นนอกจากนี้แล้ว ผู้พูดจะต้องมีทักษะ ในการพูด การคิด การ ฟัง และมีความสนใจท่ีจะพัฒนาบุคลิกภาพอยู่เสมอ ซ่ึงจะช่วยให้ผู้พูด เกิดความมั่นใจในตนเอง สาระหรือเรอ่ื งราวที่พดู คือ เน้ือหาสาระท่ีผู้พูดพูดออกไป ซ่ึงผู้พูดจะต้องคานึงอยู่เสมอว่า สาระที่ตนพูดน้ัน จะต้องมีประโยชน์ต่อผู้ฟัง อีกท้ังควรเป็นเร่ืองที่ใหม่ ทันสมัย เน้ือหาจะต้องมีความชัดเจน ผู้พูด ต้องขยายความคือ ความรู้ท่ีนาเสนอสู่ผู้ฟังให้มีความกระจ่าง ซึ่งอาจขยายความด้วยการ ยกตัวอย่างแสดงด้วยตัวเลข สถิติ หรือยกหลักฐานต่าง ๆ มาอ้างอิง การเตรียมเน้ือหาในการพูดมี ขนั้ ตอน ดงั นี้ 2.1) การเลือกหัวข้อเรื่อง ถ้าผู้พูดมีโอกาสเลือกเรื่องท่ีจะพูดเอง ควรยึดหลักท่ีว่าต้อง เหมาะสมกับผู้พูด คือ เป็นเรื่องที่ผู้พูดมีความรอบรู้ในเร่ืองนั้น และเหมาะสมกับผู้ฟังเป็นเร่ืองท่ี ผูฟ้ งั มคี วามสนใจ นอกจากนีจ้ ะตอ้ งคานงึ ถึงโอกาส สถานการณ์ สถานที่ และเวลา ที่กาหนดให้พูด ด้วย 2.2) การกาหนดจุดมุ่งหมายและขอบเขตของเร่ืองที่จะพูด ผู้พูดจะต้องกาหนด จดุ มุ่งหมายในการพูดแต่ละคร้งั ให้ชัดเจนว่าตอ้ งการให้ความรู้ โนม้ น้าวใจหรอื เพือ่ ความบันเทิงเพ่ือ

จะได้เตรียมเร่ืองให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย นอกจากน้ีผู้พูดจะต้องกาหนดขอบเขตเรื่องท่ีจะพูด ด้วยวา่ จะครอบคลุมเนื้อหาลึกซง้ึ มากน้อยเพยี งใด 2.3) การค้นคว้าและรวบรวมความรู้ ผู้พูดต้องประมวลความรู้ ความคิดท้ังหมดไว้แล้ว แยกแยะให้ได้ว่าอะไรคือความคิดหลัก อะไรคือความคิดรอง สิ่งใดที่จะนามาใช้เป็นเหตุผล สนับสนุนความคิดนั้นๆ และท่ีสาคัญ ผู้พูดจะตอ้ งบันทึกไว้ให้ชัดเจนว่าขอ้ มูลท่ีได้มาน้ัน มีท่ีมาจาก แหล่งใด ใครเป็นผ้พู ดู หรือผูเ้ ขยี น ทั้งน้ีผู้พูดจะได้ อา้ งอิง ที่มาของขอ้ มลู ไดถ้ กู ตอ้ งในขณะท่ีพดู 2.4) การจัดระเบียบเรื่อง คือ การวางโครงเรื่อง ซ่ึงจะช่วยให้การพูดไม่วกวน สับสน เพราะผู้พูดได้จัดลาดับข้ันตอนการพูดไว้อย่างเป็นระเบียบ มีความต่อเนื่อง ครอบคลุมเนื้อหา ทั้งหมดช่วยให้ผู้ฟังจับประเด็นได้ง่าย การจัดลาดับเน้ือเรื่องจะแบ่งเป็น สามตอน คือ คานา เน้ือ เรอ่ื งและการสรุป ผูฟ้ งั ผู้พูดกับผู้ฟังมีความสัมพันธ์กัน โดยผู้พูดต้องเร้าความสนใจผู้ฟังด้วยการใช้ภาษา เสียง กิริยาท่าทางบุคลิกภาพของตน ในขณะเดียวกันผู้ฟังก็มีส่วนช่วยให้การพูดของผู้พูดบรรลุจุดหมาย ได้โดยการตั้งใจฟัง และคิดตามอย่างมีเหตุผล ก่อนจะพูดทุกคร้ังผู้พูดต้องพยายาม ศึกษา รายละเอียดที่เก่ียวกับผู้ฟังให้มากที่สุด เช่น จานวนผู้ฟัง เพศ ระดับการศึกษา ความเช่ือและ ค่านิยม ความสนใจของผู้ฟัง เป็นต้น การวิเคราะห์ผู้ฟังล่วงหน้า นอกจากจะได้นาข้อมูล มา เตรียมการพูดให้เหมาะสมแล้ว ผู้พูดยังสามารถนาข้อมูลนั้นมาใช้ในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ท่ี อาจจะเกิดขนึ้ ไดเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ด้วย จดุ มุง่ หมายของการพดู โดยทว่ั ไปแลว้ การพูดจะมจี ดุ มงุ่ หมายท่สี าคัญ ๆ อยู่ 3 ประการ 1. การพูดเพ่ือให้ความรู้ความเข้าใจ การพูดเพ่ือจุดมุ่งหมายนี้ เราได้ฟังอยู่เป็นประจาไม่ ว่าจะเปน็ ขา่ วสารจากวิทยุ โทรทัศน์ หรือจากวงสนทนาในชีวติ ประจาวนั มีจดุ มงุ่ หมายที่จะให้ผู้ฟัง เกิดความรู้ความเข้าใจในเร่ืองที่ไม่เคยรู้ ไม่เคยมีประสบการณ์หรือมีความรู้ประสบการณ์บ้าง แตก่ ็ ยงั ไม่กระจา่ งชดั การพูดประเภทน้ี ไดแ้ ก่ การรายงาน การพูดแนะนา การบรรยาย การอธบิ ายการชแ้ี จง ดัง ตัวอยา่ งหัวขอ้ เร่ืองทพ่ี ูดเพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ เช่น  ทาอย่างไรจงึ จะเรียนเก่งและประสบความสาเร็จ  ภัยแลง้  ทาไมราคาพชื ผลทางการเกษตรจงึ ตกต่า  งามอย่างไทย  สิง่ แวดล้อมเป็นพษิ

2. การพดู เพ่ือโนม้ น้าวใจ การพูดเพ่ือโน้มน้าวใจ เป็นการพูดท่ีมีจุดมุ่งหมายให้ผู้ฟังเช่ือและมีความคิดคล้อยตาม ทา หรือไม่ทาตามท่ีผู้พูดต้องการหรือมีเจตนา ฉะน้ัน ผู้พูดจะต้องชี้แจง ให้ผู้ฟังเห็นว่า ถ้าไม่เช่ือหรือ ปฏบิ ตั ติ าม ท่ีผู้พูดเสนอแลว้ จะเกดิ โทษ หรือ ผลเสียอย่างไร การพูดชนิดนี้จะประสบความสาเร็จได้ดีมากน้อยเพียงไรน้ัน ขึ้นอยู่กับตัวผู้พูดเองว่ามี บุคลิกภาพดีไหม มีการใช้ถ้อยคาภาษาท่ีง่ายแก่การเข้าใจของกลุ่มผู้ฟังไหม และท่ีสาคัญ คือผู้พูด จะต้องมีศิลปะและจิตวิทยาในการจูงใจ ผู้ฟังได้เป็นอย่างดี การพูดเพ่ือโน้มน้าวใจ จะเห็นตัวอย่าง ได้จากการพูดเพ่ือหาเสียงในการเลือกต้ัง ไม่ว่าจะเพื่อเป็นหัวหน้าชั้น ผู้แทนกลุ่ม หรือองค์การ ต่างๆ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สส.) หรือการพูดเพ่ือรณรงค์ให้ผู้ฟังเลิกบุหร่ี หรือไม่กระทาสิ่งใด สิ่งหนึ่ง เช่น การพูดเพ่ือให้ช่วยกันประหยัดการใช้น้ามัน ไฟฟ้า นอกจากน้ีการพูด เพื่อโน้มน้าวใจ จะนาไปใชม้ ากในด้านธุรกจิ การขาย การโฆษณาเพ่อื ให้ผคู้ นหันมานยิ มใช้หรือซอื้ สินค้าตนุ ตวั อย่างหัวข้อเรอ่ื งที่พดู โนม้ น้าวใจ  บรจิ าคโลหติ ชว่ ยชวี ติ มนุษย์  มาเล้ียงลูกด้วยนมมารดากนั เถอะ  ฟงั ดนตรีเถอะช่ืนใจ  ชว่ ยทาเมอื งไทยใหเ้ ป็นสเี ขยี วดกี วา่  ออกกาลังกายวันละนิดชีวติ แจม่ ใส  เหรียญบาทมคี วามหมายเพ่ือเดก็ ยากไร้ในชนบท 3. การพูดเพือ่ ความบนั เทิง การพูดเพ่ือจุดมุ่งหมายน้ีเป็นการพูดที่มุ่งให้ผู้ฟัง เกิดความเพลิดเพลิน ร่ืนเริง สนุกสนาน ผ่อนคลายความตึงเครียด ในขณะเดียวกันก็แทรกเน้ือหาสาระ ที่เป็นประโยชน์แก่ผู้ฟังด้วยผู้พูด จะต้องเปน็ บคุ คลท่มี องโลกในแงด่ ี มีอารมณข์ นั หน้าตาย้ิมแย้มแจ่มใสไม่เป็นคนเคร่งเครียดเอาจริงเอาจังเกินไป เพราะส่ิงเหล่าน้ีจะมีผลต่อการ สร้างบรรยากาศความเป็นกันเองให้เกิดขึ้นได้ ดังจะเห็นได้จากรายการต่างๆ ทางสื่อมวลชน ไม่ว่า จะเป็นวทิ ยุโทรทัศน์ ตวั อย่างหวั ขอ้ เร่ืองท่พี ดู เพอื่ ความบันเทิง  เราจะไดอ้ ะไรจากการฟังเพลงลกู ทุง่  ทาอะไรตามใจคือไทยแท้  พูดใครคิดวา่ ไม่สาคญั  ท่ีวา่ รกั รักน้ันเปน็ ฉนั ใด

หลกั การพดู ทดี่ ีต้องคานึงถงึ 1. การใชภ้ าษา ต้องเลือกใช้ถอ้ ยคาท่เี ข้าใจงา่ ยเหมาะสมกบั วยั ของผ้ฟู ัง 2. ผู้พูดและผู้ฟังมีจุดมุ่งหมายตรงกัน ผู้พูดมีจุดมุ่งหมายที่ต้องการสื่อความหมายไปยังผู้ฟัง เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจเร่อื งราวต่าง ๆ ผูฟ้ งั กม็ ีความต้งั ใจฟังส่ิงท่ผี ู้พูดสื่อความหมายให้ 3. ออกเสยี งพูดให้ชดั เจน ดงั พอประมาณ อย่าตะโกนหรอื พดู คอ่ ยเกินไป 4. สีหน้า ทา่ ทางยมิ้ แยม้ แจ่มใส เป็นกนั เอง ไม่เคร่งเครยี ด 5. ท่าทางในการยืน นั่ง ควรสง่าผ่าเผย การใช้ท่าทางประกอบการพูดก็มีความสาคัญ เช่น การใชม้ ือ นวิ้ จะช่วยใหผ้ ้ฟู ังเขา้ ใจเรือ่ งราวไดง้ ่ายยิง่ ขึ้น 6. ตอ้ งรกั ษามารยาทการพดู ใหเ้ ครง่ ครดั ในเรื่องเวลาในการพดู พูดตรงเวลาและจบทนั เวลา 7. พูดเรื่องใกลต้ ัวใหท้ กุ คนรเู้ ร่อื ง เปน็ เรือ่ งสนกุ สนานแต่มีสาระ และพูดด้วยท่าทางและกิริยา นุ่มนวล เวลาพูดตอ้ งสบตาผฟู้ ังดว้ ย 8. ไมค่ วรพดู เรอ่ื งเชือ้ ชาติ ศาสนา การเมือง โดยไมจ่ าเป็น และไม่ควรพูดแตเ่ รอ่ื งของตวั เอง 9. ไม่พูดคาหยาบ นนิ ทาผอู้ นื่ ไมพ่ ูดแซงขณะผู้อื่นพดู อยู่ และไม่ชหี้ น้าคสู่ นทนา มารยาทในการพูด การพูดทด่ี ไี มว่ า่ จะเปน็ การพดู ในโอกาสใด หรือประเภทใด ผูพ้ ดู ต้องคานึงถงึ มารยาทในการ พดู ซ่ึงจะมสี ว่ นสง่ เสรมิ ให้ผู้พูดได้รบั การช่ืนชมจากผู้ฟงั ซ่ึงจะชว่ ยใหป้ ระสบผลสาเร็จในการพูด มารยาทที่สาคญั ของการพูดสรุป ไดด้ ังน้ี 1. พูดดว้ ยวาจาสภุ าพ แสดงหนา้ ตาท่ียิ้มแยม้ แจม่ ใส 2. ไม่พูดอวดตนขม่ ผู้อน่ื และยอมรบั ฟังความคดิ ของผอู้ นื่ เปน็ สาคัญ 3. ไม่กลา่ ววาจาเสียดแทง กา้ วร้าวหรือพูดขัดคอบคุ คลอื่น ควรใชว้ ิธที ่ีสภุ าพเมื่อต้องการ แสดงความคดิ เหน็ 4. รักษาอารมณใ์ นขณะพูดให้เปน็ ปกติ 5. ไมน่ าเรอื่ งส่วนตวั ของผ้อู น่ื มาพดู 6. หากนาคากล่าวของบุคคลอื่นมากลา่ ว ตอ้ งระบุนามหรือแหล่งท่ีมาเป็นการให้เกียรติ บคุ คลทก่ี ลา่ วถงึ 7. หากพูดในขณะทผ่ี อู้ นื่ ยงั พดู ไม่จบ ควรกลา่ วคาขอโทษ 8. ไมพ่ ดู คุยกันข้ามศีรษะผู้อน่ื

การเรยี นการสอนสปั ดาห์ที่ 2 ใบงานท่ี 1 วชิ าภาษาไทย เรือ่ ง การพดู ทใ่ี ชใ้ นการประกอบอาชีพ กศน.ตาบลหาดเจ้าสาราญ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองเพชรบุรี ช่ือ – สกลุ .................................................................. ระดบั ช้นั ............................................... รหัสประจาตวั นักศึกษา ...................................................... วัน/เดือน/ป.ี ................................ ************************************************************************* คาอธิบาย : จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ีใหถ้ กู ตอ้ ง 1. การพดู มคี วามจาเป็นในการประกอบอาชีพอยา่ งไรบา้ ง ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. 2. หากต้องการพูดให้ประสบความสาเร็จในวงการธุรกิจต้องฝึกฝนทักษะในการใช้วาทศิลป์ ดา้ นใดบ้าง ( พร้อมยกตวั อยา่ งประกอบ ) ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................

การเรยี นการสอนสปั ดาห์ท่ี 2 ใบงานที่ 2 วิชาภาษาไทย เรือ่ ง การพดู ที่ใชใ้ นการประกอบอาชีพ กศน.ตาบลหาดเจ้าสาราญ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมอื งเพชรบรุ ี ช่อื – สกลุ .................................................................. ระดบั ช้ัน............................................... รหสั ประจาตวั นกั ศึกษา ...................................................... วนั /เดือน/ป.ี ................................ ************************************************************************* คาอธบิ าย : ให้นักศึกษาเขยี นบทพูดในโอกาสตา่ ง ๆ ตามหัวขอ้ ทกี่ าหนดใหต้ ่อไปนี้ ( โดยใน แต่ละหัวข้อใหส้ ร้างสถานการณ์ข้นึ เองในเชิงสรา้ งสรรคต์ ามความเหมาะสม และมคี วามยาวไม่ น้อยกวา่ 5 บรรทัด ) 1. การกลา่ วคาอวยพรในงานมงคลสมรส ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. 2. การกล่าวแนะนาตวั ในโอกาสเขา้ รบั ตาแหน่งใหม่ ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................