Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 3 วิชาภาษาไทย

การเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 3 วิชาภาษาไทย

Published by pinky25102529, 2021-12-24 08:19:53

Description: การเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 3 วิชาภาษาไทย

Keywords: กศน.ตำบลหาดเจ้าสำราญ

Search

Read the Text Version

การเรยี นการสอนสปั ดาหท์ ่ี 3 นางสาวชญาณี ณ ถลาง ครู กศน.ตาบลหาดเจา้ สาราญ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมอื งเพชรบรุ ี

การจัดการเรยี นการสอนสัปดาห์ท่ี 3 ประจาภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 กศน.ตาบลหาดเจ้าสาราญ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมืองเพชรบรุ ี ******************************************************************************** คาอธบิ าย 1. การจดั การเรยี นการสอนประจาสปั ดาหท์ ี่ 3 วชิ าภาษาไทย เร่ืองหลักและกลวิธกี ารอ่านจบั ใจความ 2. ให้นักศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรียน วชิ าภาษาไทย เร่ือง หลักและกลวิธีการอ่านจับใจความ เพอื่ เปน็ การวัดความรพู้ ้ืนฐาน ( ไมม่ ผี ลต่อคะแนนของนักศึกษา ) โดยแสกน QR CODE ด้านล่างนี้ แสกน QR CODE เพอื่ ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 3. ศกึ ษาใบความรู้วิชาภาษาไทย เรอ่ื งการอ่านจับใจความ จานวน 6 ใบความรู้ 4. ทาแบบฝกึ ทกั ษะที่ 1 – 6 ( ลอกโจทย์ลงในสมดุ และถ่ายภาพช้ินงานส่งครทู าง Line / ทาง FB ) 5. ทาแบบทดสอบหลังเรียน วิชาภาษาไทย เรือ่ งหลักและกลวิธีการอ่านจบั ใจความ ( จานวน 10 ขอ้ 10 คะแนน ) โดยแสกน QR CODE ด้านล่างน้ี แสกน QR CODE เพือ่ ทาแบบทดสอบหลังเรยี น

ใบความรูท้ ่ี ๑ การอ่านจับใจความสาคญั การอ่านจบั ใจความสาคัญ คอื การอ่านท่ีมุง่ เนน้ ค้นหาสาระสาคัญของข้อความหรือของหนังสอื เลม่ นัน้ ว่าส่วนใดเปน็ ใจความสาคัญที่ผเู้ ขียนนาเสนอและส่วนใดเปน็ สว่ นขยายใจความสาคัญให้ชดั เจน ยง่ิ ขึ้น ส่วนที่เป็นใจความสาคญั อาจอยู่ช่วงตน้ ช่วงกลาง หรือชว่ งทา้ ยของเร่ืองหรือย่อหน้านนั้ ๆ กไ็ ด้ ใจความสาคัญ คือ ใจความทสี่ าคัญและเดน่ ท่สี ุดในย่อหน้า เปน็ แกน่ ของยอ่ หน้าท่ีสามารถ ครอบคลมุ เนือ้ ความในประโยคอ่นื ๆ ในย่อหนา้ นั้นหรือประโยคทสี่ ามารถเปน็ หัวเรื่องของย่อหนา้ น้ัน ได้ ถ้าตดั เน้ือความของประโยคอ่ืนออกหมด หรอื สามารถเปน็ ใจความหรือประโยคเด่ียว ๆ ได้ โดย ไม่ตอ้ งมีประโยคอ่นื ประกอบ ซ่ึงในแต่ละย่อหน้าจะมปี ระโยคใจความสาคญั เพียงประโยคเดียว หรอื อยา่ งมากไม่เกนิ ๒ ประโยค ใจความรอง หรือ พลความ ( พน – ละ – ความ ) คือ ใจความ หรือประโยคทขี่ ยายความ ประโยคใจความสาคัญ เป็นใจความสนบั สนุนใจความสาคัญให้ชัดเจนขึ้น อาจเปน็ การอธบิ ายให้ รายละเอยี ด ใหค้ าจากดั ความ ยกตัวอย่าง เปรยี บเทียบ หรือแสดงเหตผุ ลอยา่ งถ่ีถ้วน เพ่ือสนับสนุน ความคดิ สว่ นที่มิใช่ใจความสาคญั และมิใชใ่ จความรอง แต่ชว่ ยขยายความให้มากข้ึน คือ รายละเอียด ลกั ษณะของใจความสาคัญ ๑. ใจความสาคัญเปน็ ข้อความทีท่ าหน้าทค่ี ลุมใจความของขอ้ ความอืน่ ๆ ในตอนนั้น ๆ ไดห้ มด ข้อความนอกนั้นเป็นเพียงรายละเอยี ดหรือสว่ นขยายใจความสาคัญเท่านัน้ ๒. ใจความสาคัญของข้อความหนึ่ง ๆ หรือยอ่ หน้าหนึ่ง ๆ ส่วนมากจะมีเพียงประการเดียว ๓. ใจความสาคญั สว่ นมากมีลักษณะเป็นประโยค อาจจะเป็นประโยคความเดียวหรอื ประโยค ความซอ้ นก็ได้ จุดมุง่ หมายของการจับใจความสาคัญ ๑. สามารถบอกรายละเอยี ดของเรื่องราวที่อา่ นได้อย่างชัดเจน ๒. สามารถปฏิบัตติ ามคาสง่ั และคาแนะนาได้ ๓. เพอ่ื ฝึกการอ่านเรว็ และสามารถตอบคาถามไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ๔. สามารถสรปุ หรอื ย่อเรอื่ งทอ่ี ่านได้ ๕. อา่ นแลว้ สามารถคาดการณ์ และหาความจริง แสดงข้อคดิ เห็นได้

ตัวอย่างการจบั ใจความสาคัญ ความรัก ความเข้าใจ คือ สายใยของครอบครัว เปน็ คาขวัญทช่ี นะเลศิ การประกวดคาขวญั ครอบครวั ซง่ึ ตรงกับวันท่ี ๑๔ เมษายน ของทกุ ปี ใจความสาคญั ของเรื่อง ความรัก ความเขา้ ใจ คอื สายใยของครอบครัว เป็นคาขวญั ท่ชี นะเลิศ การประกวดคาขวัญวนั ครอบครัว ใจความสาคญั รอง ซึ่งตรงกบั วนั ท่ี ๑๔ เมษายน ของทกุ ปี ความสมบรู ณ์ของชวี ติ มาจากความเข้าใจชีวิตพื้นฐาน คือ การเขา้ ใจธรรมชาติ เข้าใจความเปน็ มนุษย์ และความสัมพนั ธ์ทเี่ กื้อกลู กันระหวา่ งมนุษย์กบั มนุษย์ และมนุษย์กบั ธรรมชาติ มคี วามรกั ความ เมตตาต่อเพ่ือนมนุษยแ์ ละธรรมชาติอยา่ งจริงใจ ใจความสาคัญของเรอ่ื ง ความสมบูรณ์ของชีวิตมาจากความเข้าใจชวี ติ เปน็ พนื้ ฐาน ใจความสาคัญรอง การเข้าใจธรรมชาติ เข้าใจความเปน็ มนุษย์ และความสัมพนั ธ์ทีเ่ กื้อกูลกัน ระหวา่ งมนษุ ย์กบั มนุษย์ และมนษุ ย์กับธรรมชาติ มคี วามรักความเมตตาต่อเพื่อนมนุษยแ์ ละธรรมชาติอยา่ ง จรงิ ใจ ( เปน็ ส่วนของรายละเอียด ) ผลการวจิ ัยพบวา่ การประทานอาหารเชา้ ทาให้การทางานภายในรา่ งกายเปน็ ไปอย่างมี ประสิทธิภาพ เพราะรา่ งกายได้รับสารอาหารที่เพียงพอและมรี ะดบั นา้ ตาลในเลือดอยู่ในระดับปกติ ใจความสาคัญของเรอื่ ง ผลการวจิ ัยพบวา่ การประทานอาหารเช้ามผี ลดตี ่อระบบการทางาน ภายในร่างกาย ใจความสาคัญรอง ร่างกายไดร้ ับสารอาหารทีเ่ พยี งพอและมรี ะดับนา้ ตาลในเลือดอยใู่ น ระดับปกติ ท่ีมา : ฟองจันทร์ สุขยิ่ง และคณะ. ( ๒๕๕๗ ). หลกั ภาษาและการใชภ้ าษา ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๔.

แบบฝึ กทกั ษะท่ี ๑ คาชี้แจง ให้นักศกึ ษาตอบคาถามตอ่ ไปน้ีให้ถูกต้องได้ใจความ ( ๑๐ คะแนน ) ๑. การอา่ นจบั ใจความสาคัญ คืออะไร ( ๑ คะแนน ) ตอบ ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ๒. จุดมงุ่ หมายของการอ่านจับใจความสาคญั คืออะไร ( ๕ คะแนน ) ตอบ ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................

๓. ลกั ษณะของใจความสาคัญ คอื อะไร ( ๓ คะแนน ) ตอบ ............................................................................................................................. ...................... ....................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ................................... .......................................................................................................................................................... ...... ........................................................................................................................ ........................................ ............................................................................................................................. ................................... .............................................. ..................................................................................................... ............. ............................................................................................................................. ................................... ๔. ใจความสาคญั คอื อะไร ( ๑ คะแนน ) ตอบ ................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ....................................................................................... ............................................................ ............. ............................................................................................................................. ................................... .......................................................................................................................................... ......................

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ขอ้ คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ๑ ๑ คะแนน - อธิบายถูกตอ้ งชดั เจนได้ ๑ คะแนน - อธิบายไม่ถูกตอ้ งได้ ๐ คะแนน ๒ ๕ คะแนน - ตอบถูกประเดน็ ประเด็นละ ๑ คะแนน - ตอบไม่ถูกประเดน็ ได้ ๐ คะแนน ๓ ๓ คะแนน - ตอบถกู ประเดน็ ประเด็นละ ๑ คะแนน - ตอบไมถ่ ูกประเดน็ ได้ ๐ คะแนน ๔ ๑ คะแนน - อธิบายถูกตอ้ งชัดเจนได้ ๑ คะแนน - อธบิ ายไมถ่ ูกตอ้ งได้ ๐ คะแนน

แบบฝกึ ทักษะที่ ๒ คาชแ้ี จง ให้นักศึกษาอา่ นขอ้ ความตอ่ ไปน้ี แล้วตอบคาถามใหถ้ ูกต้อง ( ๑๐ คะแนน ) ๑. อา่ นข้อความต่อไปน้ี แลว้ แยกประโยคท่เี ปน็ ใจความสาคญั และใจความรอง ( ๒ คะแนน ) ใบหมอ่ นเป็นอาหารของตัวไหม ถ้าเราจะเลีย้ งตัวไหมกต็ ้องปลกู ตน้ หมอ่ นเพราะตวั ไหม กินใบหม่อน ทีม่ า : จันทร์ศรี นติ ยฤกษ.์ (๒๕๕๓). รวมบทความทางวชิ าการ. ๑.๑ ประโยคใจความสาคญั คอื …………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………..………………………………………………………………………..……………....… ๑.๒ ประโยคใจความรอง คือ ……………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………..………………………………...……………………………………………….……….. ๒. อา่ นข้อความต่อไปน้ี แล้วแยกประโยคท่เี ป็นใจความสาคญั และใจความรอง ( ๒ คะแนน ) ความรัก ความเขา้ ใจ คือ สายใยของครอบครัว เป็นคาขวัญทีช่ นะเลิศการประกวดคาขวัญ ครอบครวั ซง่ึ ตรงกับวนั ท่ี ๑๔ เมษายน ของทกุ ปี ทม่ี า : แววมยุรา เหมือนนิล. (๒๕๔๑). การอ่าน จับใจความ. ๒.๑ ประโยคใจความสาคัญ คอื …………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………....… ๒.๒ ประโยคใจความรอง คอื ……………………………..………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………….………..………………………………...………………..

๓. อา่ นข้อความต่อไปนี้ แล้วแยกประโยคทเ่ี ป็นใจความสาคัญและใจความรอง ( ๒ คะแนน ) อุรงั อุตังเปน็ ลิงขนาดใหญท่ ่ีมีรปู รา่ งคล้ายคน ขนมีตามลาตัวยาวสีน้าตาลแดง ขาสนั้ และ คอ่ นข้างเล็ก ที่มา : ไทยรัฐ. (๘ กรกฎาคม ๒๕๔๕). ลิงอุรังอุตงั . ๓.๑ ประโยคใจความสาคญั คอื …………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………..……………………………………………………………….……………………....… ๓.๒ ประโยคใจความรอง คอื ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………..………………………………...…………………………………………………..….. ๔. อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วแยกประโยคทเ่ี ป็นใจความสาคญั และใจความรอง ( ๒ คะแนน ) ฤดูนีซ้ อื้ ข้าวเกรยี บมาป้ิงขายตอนเยน็ ตอนค่า คนต้องมาซอ้ื แน่ ๆ เพราะอากาศหนาวคนชอบเดิน เที่ยว และข้าวเกรยี บเป็นอาหารฤดหู นาว กนิ ไดท้ ุกวนั กินได้ทุกวัย ทีม่ า : แววมยุรา เหมอื นนลิ . (๒๕๔๑). การ อา่ นจับใจความ. ๔.๑ ประโยคใจความสาคัญ คอื ………………………………..………………………………………………………… ……………………………………………………………..……………………………………………………………………………….……....… ๔.๒ ประโยคใจความรอง คอื ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………..………………………………...…………………………………………..…………..

๕. อ่านข้อความต่อไปน้ี แล้วแยกประโยคทเ่ี ป็นใจความสาคัญและใจความรอง ( ๒ คะแนน ) ความแตกตา่ งของมนุษย์และสัตวท์ ี่เห็นเด่นชดั คือ เรื่องของการใช้ภาษา มนุษยส์ ามารถถา่ ยทอด ความรู้ความคิดออกมาเปน็ ตวั เขยี น คอื เป็นภาษาหนังสือ แตส่ ัตวใ์ ช้ได้แต่เสยี งเทา่ นนั้ ในการสือ่ สาร แม้แตเ่ สียงหลายท่านก็ยงั มีความเหน็ วา่ สตั ว์จะทาเสยี งเพื่อแสดงความรสู้ ึก เชน่ โกรธ หิว เจ็บปวดเท่าน้นั เสียงของสตั ว์ไม่อาจสอื่ ความหมายไดล้ ะเอียดลออเทา่ ภาษาพูดของมนุษย์ ที่มา : แววมยรุ า เหมือนนลิ . (๒๕๔๑). การอ่านจับใจความ. ๕.๑ ประโยคใจความสาคัญ คอื ………………………………………………..………………………………………… ……………………………………………………………..……………………………………………………………………………………....… ๕.๒ ประโยคใจความรอง คือ ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………..………………………………...………………………………………..……………..

เกณฑ์การให้คะแนน ขอ้ คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน ๑ ๒ คะแนน - อธบิ ายถูกตอ้ งชัดเจนได้ ๒ คะแนน - อธิบายถูกต้องชดั เจนบางส่วนได้ ๑ คะแนน - อธิบายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๒ ๒ คะแนน - อธบิ ายถูกตอ้ งชัดเจนได้ ๒ คะแนน - อธบิ ายถูกตอ้ งชดั เจนบางส่วนได้ ๑ คะแนน - อธิบายไมถ่ ูกต้องได้ ๐ คะแนน ๓ ๓ คะแนน - อธิบายถูกต้องชัดเจนได้ ๒ คะแนน - อธบิ ายถูกต้องชัดเจนบางส่วนได้ ๑ คะแนน - อธิบายไม่ถูกตอ้ งได้ ๐ คะแนน ๔ ๒ คะแนน - อธบิ ายถูกตอ้ งชดั เจนได้ ๒ คะแนน - อธิบายถูกต้องชดั เจนบางส่วนได้ ๑ คะแนน - อธิบายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๕ ๒ คะแนน - อธบิ ายถูกตอ้ งชดั เจนได้ ๒ คะแนน - อธิบายถูกตอ้ งชัดเจนบางส่วนได้ ๑ คะแนน - อธิบายไมถ่ ูกตอ้ งได้ ๐ คะแนน

ใบความรูท้ ี่ ๒ วิธกี ารอ่านจบั ใจความสาคัญ วิธีจบั ใจความสาคัญ การจบั ใจความมหี ลายอยา่ ง ข้ึนอยกู่ ับความชอบว่าอยา่ งไร เชน่ การขีดเส้นใต้ การใช้สตี า่ ง ๆ กนั แสดงความสาคญั มากนอ้ ยของขอ้ ความ การบนั ทึกยอ่ เปน็ ส่วนหน่งึ ของการอา่ นจับใจความสาคญั ท่ีดี แตผ่ ้ทู ี่ย่อควรย่อด้วยสานวนภาษาและสานวนของตนเองไม่ควรย่อด้วยการตดั ข้อความสาคญั มาเรยี งต่อกัน เพราะอาจทาให้ผู้อ่านพลาดสาระสาคญั บางตอนไป อนั เปน็ เหตใุ หก้ ารตีความผิดพลาดคลาดเคล่อื นได้ วิธจี บั ใจความสาคัญมหี ลักดังน้ี ๑. อา่ นเร่ืองราวแล้วพิจารณาทลี ะย่อหน้า หาประโยคใจความสาคญั ของแต่ละย่อหนา้ ๒. เมือ่ อ่านจบให้ตั้งคาถามตนเองว่า เรื่องที่อา่ น มใี คร ทาอะไร ท่ีไหน เมื่อไหร่ และอยา่ งไร ๓. ตดั ส่วนท่เี ปน็ รายละเอียดออกได้ เช่น ตัวอย่าง สานวนโวหาร อุปมาอปุ ไมย (การเปรียบเทยี บ) ตวั เลข สถติ ิ ตลอดจนคาถามหรอื คาพูดของผู้เขียน ซง่ึ เป็นสว่ นขยายใจความสาคญั ๔. สรุปใจความสาคญั ดว้ ยสานวนภาษาของตนเอง ตวั อย่างการจบั ใจความสาคญั ค้างคาวเป็นสตั วท์ ี่ออกหากนิ ในเวลากลางคืน มันสามารถบินผาดโผนฉวัดเฉวียนไปมาโดยไม่ต้อง พ่ึงสายตา มันอาศัยเสียงสะท้อนกลบั ของตวั มนั เอง โดยคา้ งคาวจะสง่ คลืน่ สญั ญาณพเิ ศษซึง่ สั้นและ รวดเรว็ เมื่อสัญญาณไปกระทบสิ่งกดี ขวางด้านหนา้ จะสะท้อนกลบั เขา้ มาทาให้รู้วา่ มีอะไรอยู่ด้านหน้า มนั จะบินหลบเลี่ยงได้ แมแ้ ตส่ ายโทรศัพท์ทร่ี ะโยงระยางเปน็ เสน้ เล็ก ๆ คลืน่ เสียงก็จะไปกระทบแลว้ สะทอ้ นกลับเข้าหูของมนั ได้ ไม่มสี ตั วช์ นดิ ไหนทีจ่ ะสามารถรับคล่ืนสะทอ้ นกลบั ไปได้ในระยะใกล้ แตค่ ้างคาวทาได้และบนิ วนกลับไดท้ ันท่วงที ท่ีมา : เอกรินทร์ สมี่ หาศาล และคณะ. ( ๒๕๕๒). ภาษาไทย . วธิ ีการสรปุ ใจความ ใคร ค้างคาว ทาอะไร ออกหากิน เมื่อไร ตอนกลางคนื อย่างไร โดยไม่ใชส้ ายตา แต่อาศัยเสยี งสะท้อนกลับของตวั มันเอง ผลเป็นอยา่ งไร สามารถหลบส่ิงกีดขวาง ใจความสาคญั ของเรือ่ ง คา้ งคาวจะออกหากินในตอนกลางคืน โดยไม่ต้องอาศัยสายตา แตอ่ าศยั เสียงสะท้อนกลบั ของตัวมันเอง

ความเครียดทาให้เพ่ิมฮอร์โมนอะดรนี าลนี ในเลอื ด ทาให้หวั ใจเตน้ รวั เสน้ เลอื ดบบี ตัว กล้ามเน้ือ เขม็งตึง ระบบย่อยอาหารเกิดผดิ ปกติ เกิดอาการปวดหวั ปวดทอ้ ง ใจสน่ั แขง้ ขาอ่อนแรง ความเครียดจึง เปน็ การทาให้แก่เรว็ ใจความสาคญั ของเรอ่ื ง ความเครยี ดทาให้แกเ่ รว็ โดยทั่วไปผัดท่ขี ายตามท้องตลาดสว่ นใหญเ่ กษตรกรมักใช้สารกาจัดศตั รูพชื หากไมม่ ีความรอบคอบ ในการใช้จะทาใหเ้ กิดสารค้าง ทาให้มีปัญหาสุขภาพ ฉะนัน้ เมอื่ ซ้ือผักไปรับประทานจงึ ควรล้าง นา้ หลาย ๆ คร้งั เพราะจะชว่ ยกาจัดสารตกค้างไปได้บา้ ง บางคนอาจแช่ผกั ไว้โดยผสมโซเดียมคารบ์ อเนต กไ็ ด้ แต่อาจทาให้วติ ามินลดลง ใจความสาคัญของเรอ่ื ง เมอ่ื ซื้อผกั ไปรับประทานจึงควรลา้ งผักด้วยนา้ หลาย ๆ ครง้ั เช้าวนั ร่งุ ขน้ึ เสียงไก่ขนั ฉันและนอ้ งต่ืนขนึ้ แล้วชวนกันไปอาบน้าแต่งตวั เสร็จ ก็ออกไปวงิ่ เล่นท่ี สนามหญ้าหน้าบา้ น ฉนั พบเหด็ ดอกหน่งึ กาลังบาน มีขนาดใหญม่ าก ฉันกับน้องดดู ว้ ยความในใจ คุณน้า ซง่ึ ตน่ื เชา้ เชน่ กนั รบี เดินเขา้ มาหา้ มไมใ่ หไ้ ปเขา้ ใกลเ้ หด็ ใจความสาคัญของเรอื่ ง เห็ดท่พี บอาจเปน็ เห็ดมีพษิ การเดิน การว่ายน้า การฝึกโยคะ การออกกาลังกายดว้ ยอปุ กรณ์ตา่ งๆ ตลอดจนการหายใจลึก ๆ มีสว่ นทาให้สขุ ภาพแขง็ แรง ใจความสาคญั ของเรอื่ ง การทาใหส้ ขุ ภาพแข็งแรงทาไดห้ ลายวธิ ี ที่มา : ฟองจันทร์ สขุ ยิ่ง และคณะ. ( ๒๕๕๘ ). หลักภาษาและการใชภ้ าษา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔.

แบบฝึกทกั ษะท่ี ๓ คาช้แี จง ใหน้ ักศึกษาอา่ นขอ้ ความตอ่ ไปนี้ แลว้ ตอบคาถามให้ถูกต้อง ( ๑๐ คะแนน ) อา่ นข้อความต่อไปน้ี แล้วตอบคาถาม ชา้ งพังเป็นแมท่ ด่ี ีและค่อนขา้ งเขม้ งวดกับลูกของมนั มาก มนั ไมย่ อมให้ลูกงอแงกวนใจเลย มนั ใช้ งวงฟาดเพื่อสงั่ สอนและได้ผลดีทุกครง้ั เพราะมันฟาดค่อนขา้ งแรง ทมี่ า : ทินรัตน์ จนั ทราภินนั ท์ ( ๒๕๕๐ ). แบบฝึกการอา่ นจับใจความสาคัญ. ๑. จากเร่อื งท่ีอา่ นกล่าวถึงใคร ( ๑ คะแนน ) ตอบ ……………………………………………………………………...………….........…………………………………......… ……………………………………...................………........................................................………………………………………… ๒. ทาอะไร ( ๑ คะแนน ) ตอบ ……………………………………………………………………….…….........…………………………………......… ……………………………………...................……….........................................................………...……………………………… ๓. เมอื่ ไร ( ๑ คะแนน ) ตอบ ……………………………………...……………………………….........…………………………………......… ……………………………………...................………........................................................………...……………………………… ๔. อย่างไร ( ๑ คะแนน ) ตอบ ……………………………………...…………...............................…………………………………......… ……………………………………...................………....................………...………………………………….…………………………… ๕. ผลเป็นอยา่ งไร ( ๑ คะแนน ) ตอบ …………………………………………………............................................…………………………………........... ……………………………………...................………....................……….........................................…………………………….

อ่านข้อความต่อไปน้ี แล้วตอบคาถาม นกครี ีบูนเป็นนกที่มาจากตา่ งประเทศ พอ่ ค้านกจะสง่ั มาจากฮอลแลนด์ เยอรมัน ไตห้ วันเป็น สว่ นใหญ่ อยา่ งไรก็ตามเนื่องจากนกครี ีบูนมตี น้ กาเนิดมาจากประเทศแถบรอ้ น ฉะนั้นสภาพอากาศบ้านเรา จึงเหมาะสมท่จี ะเลีย้ งนกครี บี ูนไดเ้ ปน็ อย่างดี แต่ต้องระวงั ในเรื่องยงุ เพราะนกคีรีบูนแพ้ยงุ ถา้ โดนยงุ กัด จะทาใหน้ กอ่อนแอและตายได้ในทส่ี ุด ทม่ี า : ทินรัตน์ จันทราภนิ นั ท์. ( ๒๕๕๐ ). แบบฝกึ การอ่านจับใจความสาคญั . ๖. ใคร ( ๑ คะแนน ) ตอบ ………………………………………………..……………………...………….........…………………………………......… ……………………………………...................………....................………...…………………………………………..…………………… ๗. ทาอะไร ( ๑ คะแนน ) ตอบ …………………………………….................................………….........…………………………………......… ……………………………………...................……….........................................................………...……………………………… ๘. เมือ่ ไร ( ๑ คะแนน ) ตอบ ……………………………………...…………................................…………………………………......… ……………………………………...................………....................………...…………………………………..…………………………… ๙. อยา่ งไร ( ๑ คะแนน ) ตอบ …………………………………………………...............................…………………………………......… ……………………………………...................………....................………………………………….……………………………………… ๑๐. ผลเป็นอยา่ งไร ( ๑ คะแนน ) ตอบ …………………………………………………………………………………..........…………………………………........... ……………………………………...................………..........................................................………...……………………………..

เกณฑก์ ารให้คะแนน ขอ้ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ๑ ๑ คะแนน - อธิบายถูกต้องชดั เจนได้ ๑ คะแนน - อธิบายไมถ่ ูกตอ้ งได้ ๐ คะแนน ๒ ๑ คะแนน - อธบิ ายถูกตอ้ งชดั เจนได้ ๑ คะแนน - อธบิ ายไมถ่ ูกต้องได้ ๐ คะแนน ๓ ๑ คะแนน - อธิบายถูกตอ้ งชัดเจนได้ ๑ คะแนน - อธิบายไมถ่ ูกตอ้ งได้ ๐ คะแนน ๔ ๑ คะแนน - อธิบายถูกตอ้ งชัดเจนได้ ๑ คะแนน - อธิบายไมถ่ ูกตอ้ งได้ ๐ คะแนน ๕ ๑ คะแนน - อธิบายถูกตอ้ งชดั เจนได้ ๑ คะแนน - อธบิ ายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๖ ๑ คะแนน - อธบิ ายถูกตอ้ งชดั เจนได้ ๑ คะแนน - อธิบายไมถ่ ูกต้องได้ ๐ คะแนน ๗ ๑ คะแนน - อธิบายถูกตอ้ งชดั เจนได้ ๑ คะแนน - อธบิ ายไมถ่ ูกต้องได้ ๐ คะแนน ๘ ๑ คะแนน - อธบิ ายถูกตอ้ งชดั เจนได้ ๑ คะแนน - อธิบายไมถ่ ูกต้องได้ ๐ คะแนน ๙ ๑ คะแนน - อธบิ ายถูกตอ้ งชดั เจนได้ ๑ คะแนน - อธบิ ายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๑๐ ๑ คะแนน - อธิบายถูกต้องชดั เจนได้ ๑ คะแนน - อธบิ ายไม่ถูกตอ้ งได้ ๐ คะแนน

แบบฝกึ ทกั ษะที่ ๔ คาชี้แจง ใหน้ ักศกึ ษาอ่านตอ่ ไปนี้ แลว้ ตอบคาถามให้ถูกต้อง ( ๑๐ คะแนน ) อา่ นข้อความต่อไปน้ี แล้วตอบคาถามให้ถูกตอ้ ง ( ๕ คะแนน ) “ อโรคยา ปรมา ลาภา ” การไมม่ โี รคเปน็ ลาภอันประเสรฐิ การมีสขุ ภาพดีไม่มีโรคจงึ เปน็ ความสขุ ซงึ่ ความสขุ นีป้ ระกอบด้วย สขุ กาย สขุ ใจ และสุขทางสงั คม ทมี่ า : ทินรตั น์ จันทราภินันท.์ ( ๒๕๕๐ ). แบบฝึกการอ่านจบั ใจความสาคัญ. ๑. ข้อความนีก้ ลา่ วถงึ เร่ืองใด ( ๑ คะแนน ) ตอบ ……………………………………...………….........…………………………………………………………………......… ……………………………………...................………........................................................………...……………………………… ๒. คาวา่ “ อโรคยา ปรมา ลาภา ” หมายถึงอะไร ( ๑ คะแนน ) ตอบ …………………………………………………………………………………..........…………………………………........... ……………………………………...................………..........................................................………...…………………………….. ๓. นกั เรียนคิดวา่ ระหวา่ งการมสี ุขภาพดกี ับความรา่ รวยเงินทองส่ิงใดเปน็ ความสุขทีแ่ ท้จริง เพราะเหตุใด ( ๑ คะแนน ) ตอบ …………………………………………………………………………………..........…………………………………........... ……………………………………...................………..........................................................………...…………………………….. ๔. การมีสขุ ภาพดไี ม่มีโรค ความสขุ นีป้ ระกอบด้วยอะไรบา้ ง ( ๑ คะแนน ) ตอบ …………………………………………………………………………………..........…………………………………........... ……………………………………...................………..........................................................………...…………………………….. ๕. ให้นกั เรียนสรุปใจความสาคัญของข้อความนี้ ( ๑ คะแนน ) ตอบ …………………………………………………………………………………..........…………………………………........... ……………………………………...................………..........................................................………...……………………………..

อา่ นข้อความตอ่ ไปน้ี แล้วตอบคาถามใหถ้ ูกต้อง ( ๕ คะแนน ) หนูกบั แมวเปน็ ศัตรูกันหวังจะครอบครองความเปน็ ใหญ่เหนือท่งุ นา จนกระทั่งวนั หนงึ่ ทั้งสอง ตา่ งตกลงใจท่ีจะใชด้ าบเขา้ ประหัตประหารกนั ขณะทส่ี องคนกาลังทาหารต่อสู่กนั อยู่อย่างดเุ ดอื ด นกเหยย่ี ว ที่บนิ ผ่านทางมา พบเขา้ กบ็ นิ โฉบเอารา่ งของสัตวท์ ง้ั สองไปกิน ในทส่ี ุดสัตวท์ ้งั สองกจ็ บชีวติ ลง เพราะ ความเขลาโดยแท้ ทม่ี า : ฝ่ายวชิ าการหนงั สอื เดก็ และเยาวชน. ( ๒๕๕๗ ). ๑๐๐ สุดยอดนทิ านอีสปแสนสนกุ ฉบบั ภาษาไทย. ๖. จากเร่ืองท่ีอ่านกลา่ วถึงใคร / อะไร ( ๑ คะแนน ) ตอบ …………………………………………………………………………………..........…………………………………........... ……………………………………...................………..........................................................………...…………………………….. ๗. ทไ่ี หน ( ๑ คะแนน ) ตอบ ……………………………………………………………………………..........…………………………………................. ……………………………………...................………..........................................................………...…………………………….. ๘. ผลเป็นอยา่ งไร ( ๑ คะแนน ) ตอบ …………………………………………………………………………………..........…………………………………......... ……………………………………...................………..........................................................………...…………………………….. ๙. เพราะอะไร ( ๑ คะแนน ) ตอบ …………………………………………………………………………………..........…………………………………......... ……………………………………...................………..........................................................………...…………………………….. ๑๐. ใจความสาคญั ของเร่อื ง ( ๑ คะแนน ) ตอบ …………………………………………………………………………………..........…………………………………......... ……………………………………...................………..........................................................………...……………………………..

เกณฑก์ ารให้คะแนน ขอ้ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ๑ ๑ คะแนน - อธิบายถูกต้องชดั เจนได้ ๑ คะแนน - อธิบายไมถ่ ูกตอ้ งได้ ๐ คะแนน ๒ ๑ คะแนน - อธบิ ายถูกตอ้ งชดั เจนได้ ๑ คะแนน - อธบิ ายไมถ่ ูกต้องได้ ๐ คะแนน ๓ ๑ คะแนน - อธิบายถูกตอ้ งชัดเจนได้ ๑ คะแนน - อธิบายไมถ่ ูกตอ้ งได้ ๐ คะแนน ๔ ๑ คะแนน - อธิบายถูกตอ้ งชัดเจนได้ ๑ คะแนน - อธิบายไมถ่ ูกตอ้ งได้ ๐ คะแนน ๕ ๑ คะแนน - อธิบายถูกตอ้ งชดั เจนได้ ๑ คะแนน - อธบิ ายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๖ ๑ คะแนน - อธบิ ายถูกตอ้ งชดั เจนได้ ๑ คะแนน - อธิบายไมถ่ ูกต้องได้ ๐ คะแนน ๗ ๑ คะแนน - อธิบายถูกตอ้ งชดั เจนได้ ๑ คะแนน - อธบิ ายไมถ่ ูกต้องได้ ๐ คะแนน ๘ ๑ คะแนน - อธบิ ายถูกตอ้ งชดั เจนได้ ๑ คะแนน - อธิบายไมถ่ ูกต้องได้ ๐ คะแนน ๙ ๑ คะแนน - อธบิ ายถูกตอ้ งชดั เจนได้ ๑ คะแนน - อธบิ ายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๑๐ ๑ คะแนน - อธิบายถูกต้องชดั เจนได้ ๑ คะแนน - อธบิ ายไม่ถูกตอ้ งได้ ๐ คะแนน

ใบความรทู้ ี่ ๓ การแยกข้อเทจ็ จรงิ และข้อคดิ เหน็ ขอ้ เท็จจริง ขอ้ คดิ เหน็ ข้อเท็จจริง หมายถงึ ข้อความหรือเหตุการณท์ ่ีมีความเป็นไปได้ มีความสมจรงิ มหี ลกั ฐาน เชื่อถือได้ มีความสมเหตุสมผล ข้อคดิ เหน็ หมายถงึ ขอ้ ความทีแ่ สดงความรสู้ ึก แสดงความคาดคะเนหรือข้อความท่ีแสดง ทรรศนะของผู้พดู ทสี่ อดแทรกเข้าไปในข้อความท่ีพดู เพอ่ื แสดงความคิดเห็นสว่ นตัว ลกั ษณะของขอ้ เทจ็ จรงิ ๑. มีความเป็นไปได้ ๒. มคี วามสมจริง ๓. มหี ลกั ฐานเช่ือถือได้ ๔. มีความสมเหตสุ มผล ลักษณะของข้อคดิ เหน็ ๑. เปน็ ขอ้ ความท่ีแสดงความรู้สกึ ๒. เป็นข้อความทแ่ี สดงการคาดคะเน ๓. เปน็ ข้อความทีแ่ สดงการเปรียบเทียบหรืออปุ มาอุปไมย ๔. เปน็ ข้อความที่เป็นข้อเสนอแนะหรือเปน็ ความคิดของผู้พูดและผเู้ ขียนเอง ความแตกตา่ งระหว่างข้อเท็จจริงกบั ข้อคิดเหน็ ข้อเท็จจริง ขอ้ คดิ เห็น ๑. มีความเปน็ ไปได้เสมอ ๑. แสดงความรสู้ ึก ๒. มคี วามเป็นจริง ๒. แสดงการคาดคะเน ๓. มีหลักฐานอา้ งองิ พิสูจน์ได้ ๓. มีเปน็ ขอ้ เสนอแนะ ๔. มคี วามสมเหตุสมผล ๔. แสดงความคดิ เห็นของผู้เขียนเอง ๕. เปน็ ความเช่ือที่ไมส่ มเหตุสมผล ข้อเทจ็ จริงน้ันต้องสามารถพิสูจนส์ นับสนนุ ยนื ยันได้ ขอ้ คดิ เห็นนั้นไม่สามารถสนับสนนุ ยืนยันได้

ตัวอย่างข้อความทเ่ี ป็นขอ้ เท็จจรงิ ๑. ปลาทะเลมธี าตุไอโอดนี ช่วยปอ้ งกันโรคคอพอก (พสิ ูจนไ์ ดจ้ ากประสบการณ)์ ๒. ดวงตาเป็นอวยั วะท่ีทาให้มองเหน็ (พิสจู นไ์ ด้ดว้ ยหลกั วิชาการ) ๓. ทุกคนหนีไม่พน้ ความตาย (พสิ ูจนไ์ ด้จากประสบการณ์) ตวั อย่างข้อความทเ่ี ปน็ ขอ้ คิดเหน็ ๑. การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยดีท่ีสุด (ไมม่ ีขอ้ วนิ ิจฉัย) ๒. คนเรียนเก่งย่อมประสบผลสาเรจ็ ในชวี ิตเสมอ (ไมม่ ีขอ้ ยืนยัน) ๓. การรับประทานแตผ่ กั ไม่น่าจะเปน็ ผลดตี ่อรา่ งกาย (ไมม่ ขี ้อยืนยัน) ที่มา : วชั รพงศ์ โกมทุ ธรรมวิบลู ย.์ ( ๒๕๔๖). แผนการจดั การเรยี นรู้ภาษาไทย.

แบบฝึกทกั ษะที่ ๕ คาช้แี จง ให้นกั ศกึ ษา ใส่เคร่อื งหมาย  หน้าข้อความท่ีเปน็ ข้อเท็จจรงิ และใส่เครอ่ื งหมาย  หน้าข้อความท่ีเป็นขอ้ คิดเห็น ( ๑๐ คะแนน ) ๑. กรงุ เทพมหานครเปน็ เมืองหลวงของไทย ๒. วติ ามินซี มอี ย่ใู นผักสด ผลไมส้ ด เช่น สม้ มะเขือเทศ และสบั ปะรด ๓. ถา้ เขาขยันมากกว่านีเ้ ขาคงไม่สอบตก ๔. เงนิ สามารถซ้อื สง่ิ ของทุกอย่างที่เราตอ้ งการ ๕. วันน้ีคณุ พ่อไปเยี่ยมคุณปู่ทจี่ งั หวัดหนองคาย ๖. บุษบาและบุษบงแปลวา่ ดอกไม้ ๗. การรับประทานแต่ผักไม่น่าจะเป็นผลดีต่อรา่ งกาย ๘. ทกุ คนหนไี ม่พ้นความตาย ๙. คนเรียนเกง่ ย่อมประสบผลสาเรจ็ ในชีวติ เสมอ ๑๐. การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยเป็นการปกครองทดี่ ที ่สี ุด

เกณฑก์ ารให้คะแนน ข้อ คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ๑ ๑ คะแนน - ใส่เคร่ืองหมายถูกต้องได้ ๑ คะแนน - ใส่เครื่องหมายไมถ่ ูกต้องได้ ๐ คะแนน ๒ ๑ คะแนน - ใสเ่ ครอ่ื งหมายถูกต้องได้ ๑ คะแนน - ใสเ่ ครือ่ งหมายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๓ ๑ คะแนน - ใสเ่ ครอ่ื งหมายถูกต้องได้ ๑ คะแนน - ใสเ่ ครอ่ื งหมายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๔ ๑ คะแนน - ใสเ่ คร่ืองหมายถูกต้องได้ ๑ คะแนน - ใสเ่ ครอ่ื งหมายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๕ ๑ คะแนน - ใส่เครอ่ื งหมายถูกต้องได้ ๑ คะแนน - ใสเ่ ครอื่ งหมายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๖ ๑ คะแนน - ใสเ่ คร่อื งหมายถูกต้องได้ ๑ คะแนน - ใส่เครอ่ื งหมายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๗ ๑ คะแนน - ใสเ่ ครอื่ งหมายถูกต้องได้ ๑ คะแนน - ใสเ่ ครื่องหมายไมถ่ ูกต้องได้ ๐ คะแนน ๘ ๑ คะแนน - ใสเ่ ครื่องหมายถูกต้องได้ ๑ คะแนน - ใสเ่ ครอ่ื งหมายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๙ ๑ คะแนน - ใส่เคร่อื งหมายถูกต้องได้ ๑ คะแนน - ใสเ่ ครอ่ื งหมายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๑๐ ๑ คะแนน - ใสเ่ ครื่องหมายถูกต้องได้ ๑ คะแนน - ใส่เครื่องหมายไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน

แบบฝกึ ทกั ษะท่ี ๖ คาชแ้ี จง ให้นกั ศึกษาพจิ ารณาขอ้ ความต่อไปนี้ แล้ววิเคราะห์วา่ เป็นขอ้ เทจ็ จรงิ หรือขอ้ คิดเห็น ทาเครื่องหมาย  พร้อมทัง้ แสดงความคิดเห็น ( ๑๐ คะแนน) ๑. การสรา้ งสะพานลอยช่วยใหก้ ารจราจรคลอ่ งตัวขน้ึ ข้อคิดเห็น ข้อเทจ็ จริง เหตผุ ล ............................................................................................................................. ๒. ถ้าฝนตกในเวลาที่แดดออก เราจะมองเห็นรุ้งกนิ น้า ข้อคิดเห็น ขอ้ เทจ็ จรงิ เหตผุ ล ............................................................................................................................. ๓. ผู้มีทรพั ยม์ ากสามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้ทุกอยา่ ง ขอ้ คิดเห็น ข้อเทจ็ จรงิ เหตผุ ล ............................................................................................................................. ๔. พดู ไปสองไพเบย้ี นงิ่ เสยี ตาลึงทอง ขอ้ คิดเห็น ขอ้ เท็จจรงิ เหตผุ ล .............................................................................................................................

๔. ชวี ิตทีม่ ีแต่ความสขุ เพียงพยี งเดียว เป็นชวี ิตท่ีนา่ เบื่อหนา่ ยมาก ข้อเท็จจรงิ ขอ้ คิดเหน็ เหตผุ ล ............................................................................................................................. ๖. หากไดย้ ินเสยี งนกแสกร้องแสดงว่าจะต้องมคี นตายในเร็ว ๆ นี้ ขอ้ เท็จจริง ข้อคิดเห็น เหตุผล ............................................................................................................................. ๗. การแหน่ างแมวทาใหฝ้ นตกตอ้ งตามฤดูกาล ข้อคิดเห็น ข้อเทจ็ จริง เหตผุ ล ............................................................................................................................. ๘. คณุ แม่หนักเพียงพสุธา ขอ้ คิดเหน็ ขอ้ เท็จจรงิ เหตุผล .............................................................................................................................

๙. การสรา้ งสะพานลอยช่วยให้การจราจรคลอ่ งตัวขน้ึ ข้อคิดเหน็ ข้อเทจ็ จรงิ เหตุผล ............................................................................................................................. ๑๐. บรรยากาศในตอนอรุณเบิกฟา้ เยือกเยน็ เพราะน้าค้างยงั ไม่เหอื ดหายไปกับการแผดเผาของแสงแดด ขอ้ เทจ็ จรงิ ขอ้ คิดเห็น เหตุผล .............................................................................................................................

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ข้อ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ๑ ๑ คะแนน - ตอบถกู ต้องอธิบายเหตผุ ลชัดเจนได้ ๑ คะแนน - ตอบไมถ่ ูกต้องได้ ๐ คะแนน ๒ ๑ คะแนน - ตอบถกู ต้องอธิบายเหตุผลชัดเจนได้ ๑ คะแนน - ตอบไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๓ ๑ คะแนน - ตอบถกู ต้องอธบิ ายเหตุผลชัดเจนได้ ๑ คะแนน - ตอบไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๔ ๑ คะแนน - ตอบถูกต้องอธิบายเหตผุ ลชัดเจนได้ ๑ คะแนน - ตอบไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๕ ๑ คะแนน - ตอบถูกต้องอธบิ ายเหตผุ ลชดั เจนได้ ๑ คะแนน - ตอบไมถ่ ูกต้องได้ ๐ คะแนน ๖ ๑ คะแนน - ตอบถกู ต้องอธบิ ายเหตุผลชดั เจนได้ ๑ คะแนน - ตอบไมถ่ ูกต้องได้ ๐ คะแนน ๗ ๑ คะแนน - ตอบถกู ต้องอธิบายเหตผุ ลชัดเจนได้ ๑ คะแนน - ตอบไมถ่ ูกต้องได้ ๐ คะแนน ๘ ๑ คะแนน - ตอบถูกต้องอธบิ ายเหตผุ ลชดั เจนได้ ๑ คะแนน - ตอบไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน ๙ ๑ คะแนน - ตอบถกู ต้องอธบิ ายเหตผุ ลชดั เจนได้ ๑ คะแนน - ตอบไมถ่ ูกต้องได้ ๐ คะแนน ๑๐ ๑ คะแนน - ตอบถกู ต้องอธิบายเหตผุ ลชัดเจนได้ ๑ คะแนน - ตอบไม่ถูกต้องได้ ๐ คะแนน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook