Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_ระดับภาษา_(1)

สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_ระดับภาษา_(1)

Description: สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_ระดับภาษา_(1)

Search

Read the Text Version

ระดบั ภาษา (๑)



ขอ้ ความที่ ๑ บอยพาพอ่ กับแมไ่ ปเที่ยวเมอื งชล

ขอ้ ความที่ ๒ ถา้ เราช่วยกันคนละไมค้ นละมือ เราก็จะแกไ้ ขปลดเปลอ้ื งความทุกข์ยาก ใหค้ นในชาตไิ ด้

ขอ้ ความท่ี ๓ การเลือกสรรและเรียบเรียงถ้อยคา เป็นลกั ษณะสาคญั ของการแต่งวรรณคดี

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. อธิบายการใช้ระดับภาษาไดถ้ กู ตอ้ ง

ระดับของภาษา หมายถงึ ความลดหลั่นของถอ้ ยคา และการเรยี บเรียงถอ้ ยคาทีใ่ ช้ โดยพิจารณาตามโอกาส หรอื กาลเทศะ ความสมั พนั ธ์ระหว่างบุคคลทเ่ี ปน็ ผ้สู ือ่ สาร และตามเนอ้ื หาทสี่ อ่ื สารการศกึ ษา

การศึกษาเรอื่ งระดบั ภาษาอาจพิจารณา ไดห้ ลายวธิ ตี ามหลกั เกณฑ์ต่าง ๆ เช่น พจิ ารณา ตามฐานะของบคุ คล ตามเน้อื หา และตามกาลเทศะ ทีส่ อ่ื สาร

ประเภทของการใชร้ ะดับของภาษา ๑. ภาษาระดบั พิธกี าร เป็นภาษาทส่ี มบรู ณแ์ บบ รูปประโยคถกู ต้องตามหลกั ไวยากรณ์ มีความประณตี งดงาม อาจใช้ประโยคท่ซี บั ซอ้ นและใช้คาระดบั สูง

ประเภทของการใชร้ ะดบั ของภาษา ภาษาระดับน้ี จะใช้ในโอกาสสาคัญๆ เชน่ งานราชพธิ ี วรรณกรรมช้นั สงู เปน็ ต้น

ตวั อย่างการใชภ้ าษาระดบั พิธกี าร (๑) “...ขอพระบรมเดชานุภาพมหึมาแห่งสมเด็จพระบุรพ มหากษัตริยาธิราช จงคุ้มครองประเทศชาติ และประชาชาวไทย ให้ผ่านพ้นสรรพอปุ ัทวพิบัติทั้งปวง อริราชศัตรูภายนอกอย่าล่วง เข้าทาอนั ตรายได้ ศัตรูหมู่พาลภายในให้วอดวายพ่ายแพ้ภัยตัว บันดาลความสุขความม่ันคงให้บังเกิดท่ัวภูมิมณฑล บันดาล ความร่มเยน็ แก่อเนกนิกรชนครบคามเขตขอบขณั ฑสมี า...” (ภาวาส บนุ นาค, “ราชาภิสดุดี.” ในวรรณลักษณวจิ ารณ์เล่ม ๒ หน้า ๑๕๙.)

ประเภทของการใชร้ ะดบั ของภาษา ๒. ภาษาระดบั ทางการ หรอื ภาษาทางการ / ภาษา ราชการ เปน็ ภาษาทส่ี มบูรณ์แบบ รปู ประโยคถกู ต้อง ตามหลกั ไวยากรณ์ เนน้ ความชดั เจน ตรงประเดน็

ประเภทของการใชร้ ะดบั ของภาษา ใชใ้ นโอกาสสาคัญที่เป็นทางการ เช่น หนังสอื ราชการ วทิ ยานพิ นธ์ รายงานทางวชิ าการ การกล่าวปราศรัย การกล่าวเปิดงานสาคัญ ๆ เปน็ ต้น

ตัวอย่างการใชภ้ าษาระดับทางการ (๒) “... บทละครไทยเป็นอีกรูปแบบหนึ่งของวรรณกรรมไทย เป็นวรรณกรรมที่ประพันธ์ข้ึนท้ังเพื่ออ่านและเพื่อแสดงรูปแบบ ท่ีนิยมกันมาแต่เดิมคือบทละครรา ต่อมามีการปรับปรุงละครรา ให้ทันสมัยข้ึนตามความนิยมแบบตะวันตก จึงมีรูปแบบใหม่ เกดิ ขนึ้ ไดแ้ ก่ ละครดึกดาบรรพ์ ละครพนั ทาง เปน็ ตน้ ” (กนั ยรตั น์ สมติ ะพนั ทุ, การพัฒนาตัวละครในบทละครพระราชนพิ นธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว ในบทความ วชิ าการ ๒๐ ปี ภาควิชาภาษาไทย หน้า ๑๕๘)

ประเภทของการใชร้ ะดบั ของภาษา ๓. ภาษาระดับกง่ึ ทางการ เป็นภาษาท่ยี งั คง ความสุภาพแตไ่ ม่เครง่ ครัดแบบภาษาทางการ บางคร้ังอาจใชภ้ าษาระดับสนทนามาปนอยู่ดว้ ย

ประเภทของการใช้ระดับของภาษา ใชใ้ นการตดิ ตอ่ ธุรกิจการงาน หรือใช้สื่อสาร กบั บุคคลท่ีไม่คนุ้ เคยหรอื มคี ุณวุฒิ และวยั วุฒิ สูงกวา่ หรอื การบรรยายการประชุมต่างๆ

ตวั อย่างการใช้ภาษาระดับกง่ึ ทางการ (๓) “... ฉะน้ันในช่วงเรียนอยู่ระดับมัธยม ผู้ที่ขยันมุ่งมั่นจะเข้า มหาวิทยาลัยให้ได้จะไม่สนใจสิ่งแวดล้อมรอบกายทั้งสิ้น ยกเว้นส่ิงท่ี เขาคิดว่าจะสามารถทาให้เขาสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้ ชีวิตนักเรียน มัธยมจึงมีแต่ติวติวและติว กีฬาฉันไม่เล่น กิจกรรมฉันไม่มีเวลาทา และยิ่งห้องสมุดฉันไม่ทราบว่าจะเข้าไปทาไมเพราะเวลาท้ังหมด จะต้องใช้ท่องตาราอย่างเดียวแล้วก็มักจะประสบความสาเร็จตามท่ี คิดเสียดว้ ย คอื สอบเขา้ มหาวิทยาลัยได้...” (เปลง่ ศรี องิ คนินนั ท์ ตอ้ งขอใหอ้ าจารยช์ ว่ ย กา้ วไกล ปที ่ี ๒ ฉบบั ท่ี ๔ หนา้ ๒๗)

ประเภทของการใช้ระดบั ของภาษา ๔. ภาษาระดบั ไม่เป็นทางการ ภาษาท่ไี ม่เครง่ ครดั ตามแบบแผนใชใ้ นการส่ือสารทัว่ ไปในชีวติ ประจาวนั หรือโอกาสทั่วๆ ไป ท่ไี มเ่ ป็นทางการ

ตวั อย่างการใชภ้ าษาระดับไม่เปน็ ทางการ (๔) “...จากกรณีที่หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ เกจิดังแห่งวัดบ้านไร่ ต.กุดพิมาน อ.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา ได้อาพาธลงอย่างกะทันหัน มีอาการอ่อนเพลียอย่างหนัก เนื่องจากต้องตรากตราทาพิธีปลุกเสก วัตถุมงคล และเคาะหัวให้กับบรรดาศิษยานุศิษย์จนไม่มีเวลา พักผ่อน เกิดอาการหน้ามืดจนกระทั่งลูกศิษย์ต้องหามส่งโรงบาล มหาราช นายแพทย์เจ้าของไข้ได้ตรวจร่างกายแล้วแจ้งให้ทราบว่า เป็นไข้หวดั ” (เดลนิ วิ ส์ ๒๗ มีนาคม ๒๕๓๙)

ประเภทของการใช้ระดับของภาษา ๕. ภาษาระดับกันเองหรอื ภาษาปาก เป็นภาษาพูด ที่ใช้สนทนากับบคุ คลท่ีสนทิ ค้นุ เคย ใช้สถานทสี่ ่วนตวั หรือในโอกาสทตี่ ้องการความสนุกสนานครืน้ เครง

ประเภทของการใชร้ ะดบั ของภาษา ภาษาท่ีใชเ้ ป็นภาษาพดู ที่ไม่เครง่ ครดั อาจมีคาตัด คาสแลง คาตา่ คาหยาบปะปน โดยท่ัวไปไมน่ ิยมใช้ ในภาษาเขียน ยกเวน้ งานเขยี นบางประเภท เช่น เรื่องส้ัน นวนิยาย ภาษาขา่ วหนงั สอื พมิ พ์ ฯลฯ

ตวั อยา่ งการใช้ภาษาระดบั กันเองหรอื ภาษาปาก (๕) “.... มึงจะไปไหนไอ้มนั่ กูสง่ั ใหป้ ลอ่ ยมันไวอ้ ยา่ งนัน้ ไม่ตอ้ งสนใจ กูอยากน่งั ดมู ัน มองมนั ตายช้า ๆ เลอื ดไหลออก จนหมดตัว และหยุดหายใจในทสี่ ดุ ถึงจะสมกบั ความแค้น ของก…ู ” (วราภา, นางละคร, สกลุ ไทย ปีที่ ๔๒ ฉบับท่ี ๒๑๖๒ หนา้ ๑๐๗)