Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เฉลย บฝ. ภาษาไทย ป.3 (อญ. 2555-2559)

เฉลย บฝ. ภาษาไทย ป.3 (อญ. 2555-2559)

Description: เฉลย บฝ. ภาษาไทย ป.3 (อญ. 2555-2559)

Search

Read the Text Version

กจิ กรรมพฒั นาการเรยี นรู ôหนว ยการเรยี นรทู ี่ แบบฝก หดั ที่ ๑ อานหนงั สือเรยี นภาษาไทย หลักภาษาและการใชภ าษา เรื่อง บยดึานถอืบเาปงนระแจบันบอแยลาวงเแขลียะนปสฏริบุปตั คติ ุณาธมรอรยมา ขงนองอชยา๓วบขาอน(บแนางวตรอะบจ)ันท่ีควร ๑. ความสามัคคี ความกลา หาญ ๒. ความเสียสละ เฉลย ๓. ๔๗

แบบฝก หัดที่ ๒ นําคําศพั ทไ ปเตมิ ในชองวา งใหตรงกบั ความหมาย อนุสาวรยี  ชานเมือง อนุสรณ บําเรอ อนชุ น ประสทิ ธิ์ประสาท หัวเมอื ง ระสํา่ ระสาย วรี ชน ราษฎร ๑. พลเมืองของประเทศ ราษฎร ๒. เครื่องระลกึ ท่รี ะลกึ อนสุ รณ ๓. คนรนุ หลัง คนรนุ ตอ ไป อนุชน เฉลย ๔. พื้นท่ีนอกตวั เมอื ง ชานเมือง ๕. เมอื งอนื่ นอกจากเมืองหลวง หวั เมือง ๖. ปรนนบิ ัติใหเปน ทีช่ อบใจ บาํ เรอ ๗. คผวูทาี่ไมดกร บัลายหกายญองวามี วีรชน ๘. เกสรยีะกจรดั ะพบลวดั นพวรนุายวาย ระสํา ระสาย ๙. อาํ นวยความสาํ เรจ็ ใหเ กดิ ขนึ้ ประสทิ ธิ์ประสาท ๑๐. บสง่ิคุ ทค่สีลรหา รงือไวเหเปตนุกทารีร่ ณะลสกึ ําถคงึัญ อนุสาวรีย ๔๘

แบบฝกหัดที่ ๓ อานหนังสือเรียนภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม เร่ือง นิทาน ของเพื่อน แลวเลือกเขียนแผนภาพโครงเร่ืองเพ่ือสรุปใจความสําคัญ ของนทิ านทนี่ กั เรยี นชอบ ๑ เรอื่ ง จากเรอื่ ง ราชสหี ก บั หนู องึ่ อา งกบั ววั หมาปากับลูกแกะ หรอื กระตายกบั เตา (ตัวอยา งคําตอบ) เรอ่ื ง กระตา ยกับเตา ๑. ตัวละคร ๒. สถานทใ่ี นเร่ือง กระตาย เตา ในปา แหงหนง่ึ และหมาจิง้ จอก ๓. เหตกุ ารณใ นเรือ่ ง ๔. ผลของเหตุการณ เฉลย กระตา ยทาเตาวิ่งแขง กระตา ยเปนฝา ยแพ โดยใหห มาจง้ิ จอกเปน การแขง ขนั เพราะประมาท กรรมการ กระตายหยุด วา เตาเดินชา นอนพัก แตเตาก็คลาน ๕. ขอคิดท่ีไดจ ากเร่อื ง ไปเรือ่ ยๆ อยา ประมาทผทู ดี่ อยกวา เพราะเขาอาจเกง กวา เรา กไ็ ด ๔๙

แบบฝกหดั ที่ ๔ แตง นทิ านส้นั ๆ ที่มีตวั ละครเปนสตั ว ๑ เรอ่ื ง และวาดภาพประกอบ ใหส วยงาม (ตวั อยา ง) เรือ่ ง กบใจสู กบตัวหนึ่งกระโดดเลน ไปมาจนพลดั ตกไปใน บอ โคลนดดู มนั กลวั มาก แตม นั กพ็ ยายามกระโดดเกาะ ก่ิงไมจ นเกาะไดส ําเรจ็ มนั จงึ รอดชีวิต เฉลย -วาดภาพประกอบ- ๕๐

แบบฝก หดั ท่ี ๕ เติมอกั ษรในปรศิ นาอกั ษรไขวใ หเปนคาํ ที่มีความหมายตรงกับ ความหมายทีก่ ําหนดให ๑. ต ๒. ร ะ ห ยิ่ ๓. ก ม ร ๔. ช ะ ล า โ จ ๕. ฉ เฉลย ๖. ไ น ๕๑ พ ๗. ร า ช สี ห คาํ อธิบายศัพท ๑. ดนิ เปย กทเี่ หนียวกวาเลน ๒. กระโดดพงุ ไปโดยเร็ว เผนขา มไป ๓. ครึ้มใจ ภมู ิใจ อม่ิ ใจ ๔. เหิมใจ ไดใจ กําเรบิ กลาลว งเกนิ ๕. ปา ๖. ฉนั ใด เชน ไร อยางไร ๗. พญาสงิ โต

แบบฝก หัดท่ี ๖ เติม ร ล ว ลงในชองวางใหเ ปน คาํ ควบกลา้ํ แทท ่ถี ูกตอง แลว เขียนคํา ลงในกรอบตามกลมุ ตัวอยา ง ก ร ะโป ร ง ๗. โป ร ดป ร าน ๑. เก ลี้ ยงเก ล า ๒. เก ล็ ดป ล า ๘. โป ร ตนี ๓. ข วั กไข ว่ ๙. สงก ร านต ๔. ค ลี่ ค ล าย ๕. ป ล อมแป ล ง ๑๐. ก ว้ างข ว าง เฉลย ๖. เป รี ยบเป ร ย ๑๑. คาํ ข วั ญ ๑๒. พ ลิ กแพ ล ง โกประรโตปีนรง เสปงรกยี รบาเนปตรย โปรดปราน เกลยี้ งเกลา เกลด็ ปลา คลีค่ ลาย ปลอมแปลง พลิกแพลง ขวกั ไขว กวา งขวาง คําขวญั ๕๒

แบบฝกหดั ท่ี ๗ ระบายสีสม ทบั คําควบกลา้ํ แท และระบายสเี ขียวทบั คาํ ควบกล้าํ ไมแท ข พุทขรา ทะเลขทราย ข จรงิ จงั ส พรวสนดนิ ขเศรา สงเสรมิ ปลอดโปรง นางสกวกั เตรียสมตวั ของสขวัญ พลสาสติก เฉลย ข มะพสราว ทรดุ โทรม กอขสราง คําควบกลํา แท = ส คําควบกลํา ไมแ ท = ข ๕๓

แบบฝก หัดท่ี ๘ อานประโยคท่ีกําหนดแลวขดี เสนใตคําทเี่ ปน อกั ษรนํา จากน้นั เขยี นคาํ และคาํ อา น ตัวอยาง พอ วางขนมปง ไวบ นโตะท่อี ยูข างฝาผนงั ขนมปง อานวา ขะ-หนม-ปง อยู อา นวา หยู ผนัง อา นวา ผะ-หนงั ๑. แมฝล รา ่ังงฝร่ังทซ่ี ้อื มาจาอกาตนลวาา ด ฝะ - หรง่ั ตลาด อา นวา ตะ - หลาด เฉลย ๒. คณุ สตมาุนใชไพพืชรสมุนไพรอมาานสวมา านแผสละจ-นหหามยุน - ไพร สมาน อานวา สะ - หมาน ๓. ฝนถตนกนถนนล่นื ทาํ ใหอโ าอนหวกาลม หวั ถเะขา -ถลหอนกน ถลอก อานวา ถะ - หลอก ๔. นิดอกยบั านงอ ยเลน ไลจบั ออายนางวสา นุกสหนยานางในสนาม สนุกสนาน อา นวา สะ - หนุก- สะ - หนาน สนาม อา นวา สะ - หนาม ๕๔

แบบฝกหัดท่ี ๙ อา นคาํ ทีก่ าํ หนด แลว รอบคําท่ีมอี กั ษรนาํ จากนน้ั นาํ คาํ ไป แตงประโยค ๕ ประโยค ปลดั พลาด แผนก ตะครุบ ผลิต ฉลาด ขรุขระ เศรา พุทรา เหงา ทรวงอก อยู ขนมชั้น แผล อยา ตลิ่ง ตรึกตรอง ประกาศ ซาหร่มิ ทลาย แตงประโยค (ตวั อยางประโยค) ๑. ปาซอื้ ขนมชัน้ เฉลย ๒. นองชอบกนิ ซา หร่ิม ๓. บานของฉนั อยใู กลต ลาด ๔. อยา เดินลัดสนาม ๕. พน่ี ่ังอยูทรี่ ิมตล่งิ หมายเหตุ : แบบฝก หัดนีม้ ีคําตอบหลากหลาย ใหค รพู จิ ารณาคาํ ตอบของนักเรียนเปน รายบคุ คลวา ๕๕ แตง ประโยคไดถูกตอ งหรอื ไม

กิจกรรมรวบยอด ๑. เขียนคําควบกล้ําตามท่ีกําหนด อยางละ ๒ คํา แลวนําคําท้ังหมด ไปแตงเร่ืองตามจนิ ตนาการ และตงั้ ช่อื เร่ือง ท ๑.๑ ป. ๓/๑, ท ๔.๑ ป. ๓/๑ ตวั อยางขว ขวิด ขวาง(ตวั อยาง) กร กระแต กระดาษ กล กลอง กลว ย เฉลย กวกั กวางกว เรือ่ ง กลองปริศนา กระแตตัวหน่งึ มกี วางเปนเพอ่ื นรัก วันหนง่ึ สัตวท ง้ั คเู ดนิ เลน อยูในปา แลว พบกลอ งกระดาษใบหน่ึง พวกมนั ยืนจองกลอ งใบน้ัน จนมลี ิงตัวหนง่ึ ผา นมา กระแตจึงกวกั มือเรยี กลิงมาดกู ลอ งดว ยกัน แลวสัตวท ง้ั สามกช็ วยกนั เปดกลอง ซึ่งในกลอ งมกี ลว ยมากมาย สตั วท้งั สามจงึ แบง กลวยกันกนิ อยางมีความสขุ ๕๖

๒. เขียนคําที่มีอักษรนําโดยใชพยัญชนะตัวหนาท่ีกําหนด และใช ง น ม ร ล หรอื ว เปน พยัญชนะตวั ทีส่ อง แลวแตงประโยคจากคํา ตัวอยาง ต มฐ. ท ๑.๑ ป.๓/๑, ท ๔.๑ ป.๓/๑ (ตวั อยา งคาํ ตอบ) ตลาด แมข ายของทต่ี ลาด ๑) อ อรอ ย แมท าํ อาหารอรอย ๒) ห หงอก เฉลย คนทีม่ อี ายุมากมกั มผี มหงอก ๓) ข ขนม พ่ซี ื้อขนมใหนอง ๔) ส สมุด นอ งซ้ือสมดุ ๒ เลม ๕) จ จรวด หญิงวาดรปู จรวด ๕๗

๓. ดโู ทรทัศนรายการทีส่ นใจ แลวปฏบิ ัติกิจกรรมตอ ไปน้ี ๑) บันทึกขอ มูลการดูตามหวั ขอท่กี ําหนด มฐ.ท๓.๑ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๖ รายการ ชอ ง วันท่ดี ู เวลา ถึง น. เฉลย สปารระะโยสผชําลคนกญัทาร่ีไปดฏรบิ ับตั กิ จิ กรรมขน้ึ อยกู บั ดลุ ยพนิ จิ ของผสู อน ๒) ประเมนิ ผลการดูโทรทศั นข องตนเอง โดยขดี  ลงในตาราง ใหต รงตามความเปน จรงิ มารยาทในการฟง และดู ทาํ ไมทาํ ๑. ต้ังใจฟงและดู ๒. สงเสียงดงั รบกวนผูอนื่ ๓. ทํางานอนื่ ๆ ไปดว ยในขณะฟง และดู ๕๘

แบบทดสอบท่ี ๔ วง รอบตวั อักษรหนาคําตอบทถ่ี ูกตอ ง คขําอ ค๑วบ-๔กลคา้ํ าํ ในขอ ใด ไมใช ขอ ๗-๙ ขอ ใด เปน คําทีม่ ี อกั ษรนําทุกคาํ ๑. ก. เกล้ยี ง ข. ขวดิ ๗. ก. เปรียบ ปลีก ค. ปรอท ง. ไพร ข. เฉลียว ไถล ๒. ก. หลาย ข. สรอย ค. สรง สนาม ค. ไซร ง. อนิ ทรี ง. เครอ่ื ง ขวนขวาย ๓. ก. ปลวิ ข. ตลาด ๘. ก. ผลติ ตล่ิง ค. คลอง ง. กลบั ข. ผลัก กลบั ๔. ก. โขลง ข. ตรวจ ค. โผล โทร ค. แทรก ง. สลาย ง. แผล แปล ๕. ขอ ใด เปน คาํ ควบกลาํ้ แทท กุ คาํ ๙. ก. ผลาญ ถลอก เฉลย ก. ทรวงอก จนั ทรา ข. สวา ง กวาง ข. ปรานี ทรพั ยสิน ค. แหม อรอย ค. สรอ ยคอ จริงจงั ง. ไหม ไกล ง. ตรึกตรอง พริกไทย ๑๐. คําในขอ ใด อานไมถ กู ตอง ๖. คาํ ในขอใด อา นไมถ ูกตอง ก. สมอง อา นวา สะ-มอง ก. ทราย อานวา ซาย ข. สมาชิก อานวา สะ-มา-ชกิ ข. เศรา อา นวา ซะ-เรา ค. สนาม อา นวา สะ-หนาม ค. พุทรา อา นวา พุด-ซา ง. สมุด อานวา สะ-หมุด ง. รับทราบ อานวา รับ-ซาบ ๕๙

กจิ กรรมพฒั นาการเรยี นรู õหนว ยการเรยี นรทู ี่ แบบฝกหดั ที่ ๑ อา นหนงั สอื เรยี นภาษาไทย หลกั ภาษาและการใชภาษา เรื่อง ฝน ราย ของกอง แลว ตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ ๑. กองฝนวาอะไร นาํ ในคลองหลงั บา น กอ งฝน วา ของเขาเนา เสยี มยี งุ บนิ วอ น เฉลย และมยี งุ ตวั ใหญบ นิ มาหาเขา ๒. นักเรียนคดิ วา เพราะเหตุใดกอ งจึงฝน เชนนนั้ (แนวตอบ) กอ งอาจรสู กึ ผดิ อยูในใจทน่ี าํ ขยะไปทง้ิ ในคลอง จงึ เกบ็ เรอ่ื งนน้ั มาฝน ๖๐

๓. จากเหตุการณท่ีเกิดข้ึน นักเรียนคิดวากองปฏิบัติตนเหมาะสม หรอื ไม เพราะเหตใุ ด (แนวตอบ) ไมเ หมาะสม เพราะการทง้ิ ขยะลงคลอง เปน สาเหตหุ นง่ึ ทท่ี าํ ใหน าํ เนา เสยี ๔. นกั เรยี นไดข อ คดิ อะไรบา งจากเรอ่ื ง ฝน รา ยของกอ ง เขยี นบอกมา ๓ ขคอ ว(ตรวั อยดางแคู ําลตอบร)กั ษาสง่ิ แวดลอ มใหด ี ๑) ๒) ควรทง้ิ ขยะลงในถงั ขยะ เฉลย ๓) ตง้ั ใจทาํ งานทไ่ี ดร บั มอบหมาย ๖๑

แบบฝก หัดที่ ๒ ดูภาพแลว เขียนคําศัพทท่เี ก่ียวขอ งกบั ภาพ ๓ คาํ ลงในชอ งวาง แลว นาํ คํามาแตง ประโยค เฉลย คําศพั ท (ตวั อยา งคาํ ตอบ) คลอง อิสระ สลาง แตงประโยค (ตัวอยางประโยค) ๑. บานของกองอยูใกลค ลอง ๒. เหลา แมลงบินอยางอิสระ ๓. ดอกบวั บานสลางอยใู นคลอง ๖๒ หมายเหตุ : แบบฝก หัดน้ีมีคาํ ตอบหลากหลาย ใหครูพจิ ารณาคําตอบของนักเรยี นเปน รายบุคคลวา แตงประโยคไดถกู ตองหรือไม

แบบฝกหดั ที่ ๓ เติมคาํ ทม่ี ตี วั การนั ตลงในชองวา งตามคําอานทีก่ ําหนดให และหา ความหมายของคําจากพจนานุกรม ตวั อยาง พ-ิ สดู พิ สู จ น์ ช้ีแจงใหร เู หตุผล เฉลย ๖๓ ๑. กาน-แพด ก า ร แ พ ท ย งานทที่ ําเกย่ี วกบั การปอ งกันและบาํ บัดโรค ๒. คาํ -สับ คํ า ศั พ ท เสียง คาํ คํายากทตี่ องแปล ๓. งาน-ประ-ดดิ ง า น ป ร ะ ดิ ษ ฐ งานที่คดิ สรา งขึ้น

๔. ซอ่ื -สัด ซื่ อ สั ต ย ไมค ดโกงและไมห ลอกลวง ๕. ทิว-ทดั ทิ ว ทั ศ น ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศท่ปี รากฏเห็น ตามธรรมชาติ ๖. นํา้ -มน เฉลย นํ  า ม น ต นําท่ีเสกเพ่ืออาบ กนิ หรือประพรม ๗. ไปร-สะ-นี ไ ป ร ษ ณี ย วิธีการสง จดหมายและสิ่งของ โดยมเี จา หนา ทีร่ บั สง ๘. อา-รม อ า ร ม ณ ความคดิ ความรสู ึก ๖๔

แบบฝกหัดที่ ๔ เขยี นคาํ อา นของคําที่กําหนดให แลว แตง ประโยคจากคํา ตัวอยา ง จดั สรร อา นวา จดั -สนั คุณลงุ ซ้ือบา นจัดสรร (ตวั อยา งประโยค) ๑. กรรไกร อานวา กัน - ไกร พใี่ ชกรรไกรตัดกระดาษ ๒. กรรมการ อานวา กํา - มะ - กาน เฉลย คุณลุงเปน กรรมการตดั สินการประกวดวาดภาพ ๖๕ ๓. บรรทดั อานวา บัน - ทดั นอ งคดั ลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทดั ๔. ธรรมชาติ อา นวา ทํา - มะ - ชาด เราควรชวยกนั อนุรกั ษธ รรมชาติ ๕. วรรค อา นวา วัก นิดคดั ลายมือโดยเขียนเวนวรรคอยางถูกตอ ง หมายเหตุ : แบบฝกหัดนี้มีคาํ ตอบหลากหลาย ใหค รูพจิ ารณาคาํ ตอบของนักเรยี นเปนรายบุคคลวา แตงประโยคไดถกู ตองหรือไม

แบบฝก หัดท่ี ๕ อา นคําท่กี าํ หนดแลว เขยี นคําใหตรงกับภาพ และแตงประโยคจากคํา กระดมุ สะพาน มะระ ตะกรา กะหล่าํ ปลี กระถาง ตัวอยา ง กระดุม แมเยบ็ กระดุมเสื้อ (ตวั อยางประโยค) มะระ ๑. ปา ทาํ แกงจดื มะระกับกระดกู หมู เฉลย ๒. กระถาง พอปลกู ดอกไมในกระถาง ๓. สะพาน ผคู นเดินขามสะพาน ๔. กะหลํา ปลี นาซ้อื กะหลําปลที ต่ี ลาด ๕. ตะกรา ฉันเกบ็ เสอ้ื ผา ทใ่ี สแ ลวไวในตะกรา ๖๖ หมายเหตุ : แบบฝกหดั นีม้ ีคําตอบหลากหลาย ใหค รพู จิ ารณาคําตอบของนักเรยี นเปนรายบุคคลวา แตง ประโยคไดถ กู ตองหรือไม

แบบฝก หดั ที่ ๖ เขียนคาํ ที่ไมป ระวสิ รรชนียจากคําอานท่กี าํ หนด ตวั อยา ง ตุก-กะ-ตา เขียนวา ตกุ ตา ๑. กะ-ตัน-ยู เขียนวา กตัญู เฉลย ๒. จะ-รา-จอน เขียนวา จราจร ๖๗ ๓. ทะ-นา-คาน เขียนวา ธนาคาร ๔. มา-ระ-ยาด เขียนวา มารยาท ๕. อะ-น-ุ บาน เขยี นวา อนุบาล ๖. โท-ระ-ทัด เขียนวา โทรทัศน ๗. พะ-นม-มือ เขียนวา พนมมือ ๘. พัง-ทะ-ลาย เขยี นวา พังทลาย ๙. มะ-แลง-วนั เขียนวา แมลงวนั ๑๐. ลัก-ขะ-โมย เขียนวา ลักขโมย

กจิ กรรมรวบยอด ๑. เขียนคาํ อา นของคําทกี่ ําหนด แลวแตงประโยคจากคาํ มฐ. ท ๑.๑ ป. ๓/๑, ท ๔.๑ ป. ๓/๑ ตัวอยา ง หนังสอื พิมพ อา นวา หนัง-สอื -พิม (ตวั อยางประโยค) พอ อา นหนงั สอื พิมพ ๑) สวรรค อานวา สะ - หวนั เทวดาอยูบ นสวรรค ๒) สปั ดาห อานวา สับ - ดา เฉลย หนง่ึ สปั ดาหมีเจ็ดวัน ๓) หงส อานวา หง หงสเปนสตั วป ก ๔) วนั เสาร อา นวา วนั - เสา ชัยไปตลาดเมื่อวันเสาร ๕) ราชสีห อา นวา ราด - ชะ - สี นิดอา นนทิ านเร่ืองราชสีหก ับหนู ๖) ลกู ศิษย อา นวา ลูก - สิด ครสู อนลูกศิษยใหเปน คนดี ๖๘ หมายเหตุ : แบบฝกหดั น้ีมีคาํ ตอบหลากหลาย ใหครูพจิ ารณาคาํ ตอบของนกั เรียนเปน รายบุคคลวา แตง ประโยคไดถกู ตอ งหรือไม

๒. เติมคําที่มี รร ลงในตารางปริศนาอักษรไขวใหมีความหมาย ตรงกับทีก่ าํ หนด ๑ธ. มฐ. ท ๑.๑ ป. ๓/๑, ท ๔.๑ ป. ๓/๑ รร ๒. อั ศ จ ร ม ย ๓ก. ร ๕. ก ชา ร ๔. ก รร ติ รม ไก ยร ๖. ห ร ร ษ า เฉลย ท อธบิ ายคาํ ศพั ท ๑. สง่ิ ท่เี กิดมแี ละเปน อยูตามธรรมดาของสิง่ นนั้ ๆ ๒. แปลก ประหลาด ๓. เครื่องมอื สําหรบั ตัดโดยใชห นบี มี ๒ ขา ลักษณนามวา เลม ๔. บคุ คลท่ีไดรบั เลือกหรอื ไดแตงตง้ั เขา เปน คณะรว มกนั ทํางาน ๕. กิรยิ าวาจาทถี่ ือวา สุภาพ เรยี บรอย ถูกกาลเทศะ ๖. ความรน่ื เรงิ ความยินดี ๖๙

๓. เขียนคาํ จากพยัญชนะและสระทกี่ าํ หนด และเขียนคําอาน มฐ. ท ๑.๑ ป. ๓/๑, ท ๔.๑ ป. ๓/๑ ตวั อยาง อ ด อ ร ร็ อ เ ย เอรด็ อรอยอานวา อะ-เหรด็ -อะ-หรอ ย ๑) น ต ว ร เ ะ ตระเวน อา นวา ตระ - เวน ๒) ะ เ จ ข ร เฉลย จระเข อา นวา จอ - ระ - เข ๓) ร ะ ติ ป วั ประวัติ อา นวา ประ - หวัด ๔) ต ก หั ร ม ถ ร หัตถกรรม อานวา หดั - ถะ - กํา ๕) ษ ก ร ต เ เกษตร อานวา กะ - เสด ๗๐

๔. อา นเรอื่ งท่ีกําหนด แลว ขีดเสน ใตคาํ ทีป่ ระวิสรรชนีย และวงกลม รอบคาํ ทีไ่ มป ระวิสรรชนยี  จากนั้นเขียนคาํ ลงในชองวางใหถ กู ตอง มฐ. ท ๑.๑ ป. ๓/๑, ท ๔.๑ ป. ๓/๑ กมลกับทวีเปนเด็กผูชายที่มัธยัสถและซื่อสัตย เด็กท้ังสอง ชวยพอแมทํางานบาน และปลูกผักหลายชนิด ไดแก กะเพรา ขม้ิน ตะไคร โหระพา คะนา มะนาว และกะหลา่ํ ปลี พอของกมลและทวีเคยเลาใหเด็กทั้งสองฟงวา เมื่อกอน บรเิ วณหนา บานของพวกเขาเคยเปนคลองมากอน คลองน้ีแยก มาจากแมน า้ํ เจา พระยา มปี ลาหลากหลายชนดิ เชน ปลาตะเพยี น ปลาสวาย และปลาหมอ เปน ตน พอชอบจบั ปลามาใหแมแกง กะทอิ ยูเสมอ คําท่ีประวิสรรชนีย เฉลย กะเพรา ตะไคร โหระพา คะนา มะนาว กะหลําปลี เจา พระยา ปลาตะเพียน กะทิ คําทไ่ี มประวสิ รรชนีย กมล ทวี มัธยสั ถ ชนดิ ขมิ้น สวาย ๗๑

๕. เขยี นคาํ ใหตรงกับภาพทกี่ าํ หนด แลวแตง ประโยคจากคาํ มฐ. ท ๒.๑ ป. ๓/๔ ตัวอยา ง จระเข นอ งดจู ระเขใ นสวนสตั ว (ตวั อยางประโยค) ๑) จรวด นักบนิ อวกาศขับจรวด ๒) แมงกะพรนุ แมงกะพรุนอยใู นทะเล เฉลย ๓) วทิ ยุ พอฟงขาวจากวทิ ยุ ๔) มะพราว แมซ อ้ื มะพรา วมาทาํ ขนม ๕) ตกุ ตา ฉนั เลนตกุ ตา ๗๒ หมายเหตุ : แบบฝก หัดนี้มีคาํ ตอบหลากหลาย ใหครูพิจารณาคาํ ตอบของนกั เรียนเปน รายบุคคลวา แตง ประโยคไดถ ูกตองหรือไม

๖. เขยี นจดหมายลาครโู ดยสมมตุ สิ ถานการณเ อง และเขยี นจา หนา ซอง ใหถ กู ตอง (ตวั อยา ง) มฐ. ท ๒.๑ ป. ๓/๔ ๕๑/๒ ม. ๕ ต.บางศรีเมอื ง เฉลย อ. เมือง จ. นนทบรุ ี ๒๘ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ เรียน คุณครปู ระจาํ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๓/๑ เน่ืองจากกระผมปวดทอง และทองเสีย ไมสามารถ มาเรียนไดตามปกติ กระผมจึงขอลาหยุดเรียนเปนเวลา ๑ วัน คอื วนั ท่ี ๒๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ เมื่อหายดแี ลว กระผมจะมา เรยี นตามปกติ จึงเรยี นมาเพือ่ ทราบ ดว ยความเคารพอยา งสงู ด.ช. ศิลา เหรยี ญชยั ขอรบั รองวา เปน ความจริง ผูป กครอง ๗๓

เรียน คุณครูประจาํ ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๓/๑ แบบทดสอบท่ี ๕ วง รอบตัวอกั ษรหนา คาํ ตอบที่ถกู ตอ ง ขอ ๑- ๔ ควรเตมิ ตวั การนั ตต วั ใด ขอ ๖-๙ คาํ ในขอ ใด เขยี นไมถ กู ตอ ง เฉลย ๑. สมั พัน ค. น ง. ร ๖. ก. ขบวน ข. พแนง ก. ท ข. ธ ค. พยุง ง. สบาย ๒. คณิตศาส ๗. ก. ชะโงก ข. ตะโกน ก. ทร ข. ท ค. ตร ง. ต ค. อะไหล ง. สะไบ ๓. รถยน ๘. ก. ชนิด ข. ตลงิ่ ก. ต ข. ตร ค. ค ง. ห ค. จรเข ง. ถนอม ๔. กา ตูน ๙. ก. สกดิ ข. ชรา ก. ท ข. น ค. ย ง. ร ค. บารมี ง. ธนบัตร ๕. คาํ ทม่ี ี รร ในขอ ใด อาน ๑๐. คาํ ในขอใดอา นไมถกู ตอ ง ออกเสยี ง อะ ตามดว ยตวั สะกด ก. ปฏิบัติ อา นวา ปะ-ติ-บัด ก. กรรมกร ข. สรรหา ข. ราษฎร อานวา ราด-ดอน ค. พระขรรค ง. มรรยาท ค. สโมสร อา นวา สะ-โม-สอน ง. เขยี วขจี อา นวา เขยี ว-ขะ-จี ๗๔

กจิ กรรมพฒั นาการเรยี นรู öหนว ยการเรยี นรทู ่ี แบบฝกหัดที่ ๑ อานหนังสือเรียนภาษาไทย หลกั ภาษาและการใชภ าษา เรือ่ ง ตนเปน ทพ่ี ึ่งแหง ตน แลวตอบคาํ ถามตอไปน้ี และเรียงลําดับเหตุการณสาํ คัญ ใหถูกตอ ง ตัวละครมีใครบา ง เหตุการณเกิดขนึ้ ทีไ่ หน คณุ ครูเพียงเพญ็ อาทร หองเรียนชน้ั ป. ๓/๑ แกว ตา เรยี งลาํ ดบั เหตกุ ารณก อ นหลงั โดยใสเ ลข ๑-๕ ใน หนา ขอ ความ เฉลย ๒ อาทรบอกคณุ ครเู พยี งเพ็ญวา เขาทาํ การบานไมเสรจ็ เพราะไมม เี พ่อื นชว ย ๔ คณุ ครเู พยี งเพญ็ เลานทิ านเรื่อง เทวดากับคนขับเกวยี น ใหนกั เรยี นฟง เพื่อใหน ักเรยี นเขา ใจเร่อื งการพึ่งตนเอง ๑ คุณครูเพียงเพ็ญใหนักเรียนนําการบานมาสง แตอาทรไมนํา มาสง ๕ อาทรรับปากคณุ ครเู พยี งเพ็ญวา จะรีบนําการบานมาสง และจะพยายามทาํ สงิ่ ตา งๆ ดวยตนเอง ๓ แกวตาบอกคุณครูเพียงเพ็ญวา อาทรไมยอมหาขอมูลจาก ท่อี ่นื ดว ยจึงทาํ การบา นไมได ๗๕

แบบฝกหดั ที่ ๒ จากนทิ านเรอ่ื ง เทวดากบั คนขบั เกวยี น เขยี นเตมิ ขอ ความลงในแผนภาพ โครงเรือ่ งตอไปน้ี ๑. ตวั ละคร ๒. สถานทีใ่ นเรอ่ื ง เทวดา ในปา แหง หนึ่ง คนขบั เกวียน ๓. เหตุการณใ นเรอื่ ง ๔. ผลของเหตุการณ เฉลย ชายคนหนึ่ง เทวดาสอนให ขับเกวียนเขา ไปในปา ชายคนนั้นรจู กั ลกู ลอ เกวียนตกหลม พึ่งตนเอง ทาํ ใหค วายลากไมไ หว เขาจงึ บนบานขอให ๕. สรปุ ขอ คดิ จากเรื่อง เทวดาชว ย เราควรพงึ่ ตนเอง ใหเตม็ ที่ กอนจะ ขอใหผอู น่ื ชวย ๗๖

แบบฝกหัดท่ี ๓ ใแหตส ง วเรยอื่งงาสมน้ั ๆ(ตโัวดอยยาใงช)ค าํ ศพั ทท กี่ าํ หนดใหป ระกอบ แลว วาดรปู ระบายสี เทวดา สาเหตุ บนบาน เกวียน เรือ่ ง เรอ่ื ง ชาวนากับชายข้ีเกยี จ ชาวนาคนหนง่ึ ขบั เกวียนไปพบชายคนหนง่ึ กาํ ลังบนบานขอใหเ ทวดาชวย ซ่งึ สาเหตุของเรอื่ ง คือ เขามีฐานะยากจน แตเขาเปนคนขเี้ กยี จ ชาวนา เฉลย จงึ สอนใหเ ขาขยันทํางาน จะไดม ีเงินใช - วาดภาพประกอบ - ๗๗

แบบฝกหัดท่ี ๔ อา นหนงั สอื เรยี นภาษาไทยวรรณคดแี ละวรรณกรรมเรอื่ ง เพลงกลอ มเดก็ แลว ตอบคําถามตอไปน้ี ๑. เพลงนกกาเหวาทีแ่ มข องแพรวารอง เปน เพลงชนดิ ใด เพลงกลอ มเด็ก ๒. เพลงนกกาเหวา มเี น้ือหาเกยี่ วกับอะไร เรอ่ื งราวชวี ติ แมก าทน่ี า สงสาร เฉลย มนั หลงรกั และเลย้ี งดลู กู นกกาเหวา ในทส่ี ดุ แมก ากถ็ กู นายพรานยงิ ตาย ๓. เพลงนกกาเหวา สะทอนใหเห็นสง่ิ ใด ๑) ความรกั ของคนเลย้ี งทม่ี ตี อ เดก็ ๒) ธรรมชาตขิ องนกกาและนกกาเหวา ๓) คณุ ธรรมเรอ่ื งความกตญั ู ๗๘

แบบฝกหดั ท่ี ๕ เตมิ คาํ ใน ใหส ัมพันธกบั ขอความทก่ี ําหนด ๑. ออ นนุม นุม นวล ละมนุ ๒. ใหมากกวา ท่ตี อ งการสาํ หรบั เผอ่ื สวนตัวหรือผูอนื่ คงคา ๓. แมนา้ํ ๔. แบง ปน ๕. ทาํ ใหเรียบรอ ย ทําใหด ี กลอ มเกลา เฉลย ๖. เคยี งชดิ กัน คลอแคล ๗. ทอ ง อุทร à©ÅÂÍ·ً è¹Õ Õè ᵋµŒÍ§àÃÕ§ÅíÒ´ºÑ µÇÑ ÍÑ¡ÉÃãËŒ¶¡Ù µŒÍ§¹Ð¤Ð มุลนะ ผื่อเ งาคค นป ลม กเอลกา แลคอลค ทอรุ ๗๙

แบบฝก หดั ท่ี ๖ บรรยาย เขยี นคาํ จากคาํ อานทกี่ ําหนดให ๑) บนั -ยาย ๒) บนั -ได บนั ได ๓) บนั -ทกุ บรรทกุ เฉลย ๔) บนั -ทกึ บันทกึ ๕) บนั -เลง บรรเลง ๖) บนั -ลือ บันลือ ๗) บัน-ทัด บรรทดั ๘) บนั -ดาน บันดาล ๘๐

แบบฝก หัดที่ ๗ จัดกลุมคาํ ท่มี ี ฤ ฤๅ ตามหวั ขอ ท่กี าํ หนด แลว เขยี นคาํ อา นของคํา ทฤษฎี คฤหาสน ฤกษย าม ฤดกู าล พฤตกิ รรม ศฤงคาร ฤๅษี คําที่มี ฤ อานออกเสียง รึ คฤหาสน อานวา คะ - รึ - หาด ฤดกู าล อานวา รึ - ดู - กาน พฤติกรรม อา นวา พรดึ - ติ - กาํ เฉลย คําทีม่ ี ฤ อานออกเสยี ง ริ ทฤษฎี อานวา ทริด - สะ - ดี ศฤงคาร อานวา สะ - หริง - คาน คาํ ทมี่ ี ฤ อา นออกเสยี ง เรอ ฤกษย าม อานวา เรกิ - ยาม รือ - สี คาํ ท่ีมี ฤๅ อา นวา ษี ๘๑

แบบฝกหดั ท่ี ๘ อานออกเสียงประโยค แลวเขียนคําอานของคําท่ีพิมพตัวหนาลงใน ชองวาง ๑. นกั โบราณคดรี อ้ื ซากปรกั ปะ - หรัก หกั พงั ๒. ปรกั หมายถงึ เงนิ ปรกั เฉลย ๓. เพลารถคันนั้นหกั เพลา ๔. แมกลอมนองนอนเพลา เพ - ลา บาย สะ ๕. พอตักน้ําในสระ สะ - หระ ๖. คุณครูสอนอา นสระใน ภาษาไทย ๘๒

แบบฝกหัดท่ี ๙ เฉลย ๘๓ เลอื กคาํ ทก่ี าํ หนดใหเ ติมลงในชองวางใหถูกตอง ๑. พระสงฆเ ดนิ บณิ ฑ บาต บน บาท วถิ ี บาท บาต ๒. แมเ ดด็ ขว้ั พริก แลวนําไป คัว่ ควั่ ขัว้ ๓. เขา สาน เส่ือขาย แลว นาํ เงนิ ไปซอื้ ขา ว สาร สาร สาน ๔. ลงุ ลืม ไซ ดกั ปลาไวท ี่ใตต น ไทร ไซ ไทร ๕. กาล เวลา ทาํ ใหเ หตุ การณ เปลีย่ นไป การณ กาล ๖. ยายทาํ แกง บวด ในงาน บวช พระ บวช บวด

แบบฝก หัดที่ ๑๐ หาความหมายของคาํ หลายความหมายที่กาํ หนด ตัวอยา ง ขัน หมายถึง ๑) ภาชนะสําหรบั ตกั หรอื ใสน ํา้ ๒) อาการรอ งเปน เสยี งอยางหนึ่งของไก ๑. แกะ หมายถงึ ๑) ชือ่ สตั วชนดิ หนงึ่ มีรูปรางคลา ยแพะ มขี นปุย ๒) เอาเลบ็ มือคอยๆ แคะ เพ่อื ใหหลดุ ออก ๒. หมายถึง ๑) ไมตน ขนาดเล็กชนิดหนง่ึ ใบใชชงเปน เคร่ืองดม่ื เฉลย ชา ๒) อาการทีอ่ วัยวะเปน เหน็บ ๓. ฉัน หมายถงึ ๑) คาํ สรรพนามใชแทนตัวผูพูด ๒) กนิ (ใชแ กภกิ ษุสามเณร) ๔. ฟก หมายถงึ ๑) ชื่อไมเ ถาหลายชนิด ผลใหญรูปกลมรี กินได ๒) กกไขใหเปน ตวั ๕. หก หมายถงึ ๑) จาํ นวนหาบวกหนงึ่ ๒) อาการทีส่ ว นเบ้อื งสงู ของรา งกาย ของภาชนะ ๘๔ หรือส่ิงของเอยี งลง เทลงในทนั ใดจากท่ีอยูเดิม

แบบฝก หดั ท่ี ๑๑ เขียนชื่อภาพ จากนั้นเรียงลําดับคําตามพจนานุกรมโดยนําเลขขอมา ใสใน ใหถ ูกตอง ๑๒๓๔ ๕ หวี องนุ ตุกแก กรรไกร ตกุ ตา ๔ ๓๕ ๑ ๒ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ เฉลย วทิ ยุ กระทะ กระปอ ง สบั ปะรด คางคาว ๗ ๘ ๑๐ ๖ ๙ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ จักรยาน มงั คดุ หมอน กรง รองเทา ๑๔ ๑๑ ๑๒ ๑๕ ๑๓ ๘๕

กจิ กรรมรวบยอด ๑. เตมิ คาํ บนั หรอื บรร ลงในชองวา งใหเ ปนคาํ ท่ถี กู ตอ ง แลว นาํ คํา มาแตงประโยค ๕ ประโยค มฐ.ท ๔.๑ ป. ๓/๑ ๑) บรรยาย ๖) บรรเลง บันได ๗) บรรทุก ๒) บรรทัด ๘) บรรจง ๓) ๔) บรรดา ๙) บนั ทกึ ๕) บนั เทงิ ๑๐) บรรจบ เฉลย แตง ประโยค (ตวั อยา งประโยค) ๑) หนอ งเขียนบันทึก ๒) รถบรรทุกบรรทุกดิน ๓) นักเรยี นเดนิ ลงบนั ได ๔) คณุ ครพู ูดบรรยายความรู ๕) นองคดั ลายมอื ตวั บรรจง หมายเหตุ : แบบฝกหัดนีม้ คี ําตอบหลากหลาย ใหค รูพจิ ารณาคาํ ตอบของนักเรยี นเปน รายบคุ คลวา ๘๖ แตงประโยคไดถ ูกตองหรอื ไม

๒. เขยี นคาํ อา นของคาํ ทกี่ าํ หนด มฐ.ท ๔.๑ ป. ๓/๑ ๑) กฤตยา อา นวา กริด - ตะ - ยา ๒) ฤดี อานวา รึ - ดี ๓) ฤๅสาย อา นวา รือ - สาย ๔) หฤษฎ อานวา หะ - ริด ๕) นฤเบศ อานวา นะ - รึ - เบด เฉลย ๖) พฤศจกิ ายน อานวา พรดึ - สะ - จิ - กา - ยน ๗) องั กฤษ อา นวา อัง - กรดิ ๘) พฤหัสบดี อานวา พะ - รึ - หดั - สะ - บอ - ดี ๙) ฤทัย อา นวา รึ - ไท ๑๐) หฤหรรษ อา นวา หะ - รึ - หัน ๘๗

๓. (ตัวอยา งประโยค) แตงประโยคโดยใหม คี ําพอ งท่กี ําหนดในประโยคเดียวกัน มฐ.ท ๑.๑ ป. ๓/๑ ๑) ยา หญา คณุ ยาน่ังเลนอยูท สี่ นามหญาหลังบาน ๒) สมาธิ (สะ-มา-ท)ิ สมาธิ (สะ-หมาด) คุณปูนง่ั ขัดสมาธใิ นหองพระเพ่ือทําสมาธิ ๓) พรดนกั งารนถเทศบาลขับรถบรรทุกนําเพ่อื ใชรดตนไม เฉลย ที่เกาะกลางถนน ๔) คจ.ณุ สประาบเดุรีิน(จเลงั -น หรวิมดั ส-สระะ-นหํารใะน-บจ-ุ ร.ี)สระบสรรุ ะี นํ้า (สะ-น้ํา) ๕) กวน (คนใหเ ขา กนั ) กวน (รบกวนทาํ ใหเ กดิ ความราํ คาญใจ) คณุ แมไ มใหลกู ๆ มากวนตอนทคี่ ุณแมก ําลงั กวนมะมวง ๖) นกาดิ รวต านู ดก(ชาอื่ รปตลนู าทเปะนเลรชูปนปดิ ลหานกง่ึ )ารตกาูนรกต ํานู ล(ังภวาาพยลนอ ําภาพตลก) ๘๘ หมายเหตุ : แบบฝก หัดน้ีมีคาํ ตอบหลากหลาย ใหครพู ิจารณาคาํ ตอบของนักเรยี นเปนรายบคุ คลวา แตง ประโยคไดถูกตองหรือไม

๔. เรียงลําดับคําที่กําหนดใหตามพจนานุกรม แลวหาความหมาย ของคาํ เขยี นลงในชองวาง มฐ.ท ๔.๑ ป. ๓/๓ เพชร สตู ร บริจาค ธนาคาร เขม็ กลัด หวุดหวดิ เรียงลาํ ดบั คําตาม ความหมายของคาํ พจนานกุ รม ๑) เขม็ กลัด เครอื่ งประดับสําหรบั กลดั ผา หม และเสอื้ เฉลย ๒) ธนาคาร เปนตน ๓) บริจาค นิติบคุ คลทป่ี ระกอบธรุ กิจเกี่ยวกับเงิน ๔) เพชร และธุรกิจหลักทรพั ย ๕) สูตร สละให เสยี สละ การให การแจก ๖) หวดุ หวดิ ชอ่ื แกว ทแ่ี ขง็ ทส่ี ดุ และมนี าํ แวววาว ใชท าํ เครอ่ื งประดบั หรอื ใชใ นอตุ สาหกรรม ขอ ความที่แตงขึ้นเปน แบบ กฎสําหรบั จดจาํ เฉยี ด จวนเจียน เกือบ ๘๙

๕. เขยี นบรรยายภาพท่กี ําหนดให มฐ.ท ๓.๑ ป. ๓/๔ เฉลย (ตวั อยาง) พทุ ธศาสนิกชนที่ดี ควรทําบุญตกั บาตร เปน ประจาํ สมํา เสมอ เพือ่ เปน การสบื ทอด พระพุทธศาสนาใหค งอยตู อ ไป นอกจากนคี้ วร ทาํ ทานดว ย เชน ปลอ ยนก ปลอ ยปลา เปน ตน ๙๐

๖. เขียนบทรองประกอบการละเลนท่ีนักเรียนเคยรองมา ๑ บท และวาดภาพการละเลน ประกอบ (ตัวอยาง) มฐ.ท ๕.๑ ป. ๓/๒ รรี ขี า วสาร รีรขี า วสาร สองทะนานขา วเปลอื ก เลอื กทองใบลาน เกบ็ เบ้ยี ใตถุนรา น คดขาวใสจาน พานเอาคนขางหลังไว เฉลย - วาดภาพประกอบ - ๙๑

แบบทดสอบท่ี ๖ วง รอบตัวอกั ษรหนา คําตอบท่ถี ูกตอ ง ขอ ๑-๒ คําในขอใดเขยี นผิด ขอ ๗-๙ ขอ ใดเรยี งลาํ ดับคํา ถกู ตอ งตามพจนานกุ รม ๑. ก. บนั ดาล ข. บนั ได ๗. ก. ตะกรุด ตรา เตา ค. บันเทงิ ง. บันลัย ข. ตรา ตะกรดุ เตา ๒. ก. บรรทกึ ข. บรรทม ค. ตรา เตา ตะกรุด ค. บรรทุก ง. บรรทัด ง. เตา ตรา ตะกรุด ๘. ก. จอ กแจก จรวด จดจํา ๓. เขา สิ่งของลงในกลอ ง ข. จรวด จอ กแจก จดจาํ ควรเติมคาํ ใด ค. จดจาํ จรวด จอกแจก ก. บรรลุ ข. บรรจุ ง. จรวด จดจาํ จอกแจก ค. บรรเทา ง. บรรทกุ ๙. ก. เบอร ปลก๊ั โปรตีน ข. ธาตุ เทอม ปลอม เฉลย ขอ ๔-๕ คําในขอใด อานตางจากพวก ๔. ก. หฤษฎ ข. หฤทยั ค. ซา หริ่ม พรม ผสม ค. หฤหรรษ ง. หฤโหด ง. เสรมิ เสมอ เสริ ฟ ๕. ก. ทฤษฎี ข. ศฤงคาร ๑๐. เรียงลาํ ดับคําทกี่ าํ หนดให ค. คฤหาสน ง. ตฤณ ตามพจนานกุ รม ๖. คาํ ในขอ ใดอา นไมถูกตอง ก. ฤดู อา นวา รึ-ดู ๑) เครอื่ งมอื ๒)เครอื่ งใช ข. ฤทธิ์ อา นวา รดึ ๓)เชือ้ โรค ค. ฤทยั อา นวา รึ-ไท ก. ๑) ๒) ๓) ข. ๒) ๑) ๓) ง. ฤดี อานวา ร-ึ ดี ค. ๑) ๓) ๒) ง. ๓) ๒) ๑) ๙๒

กจิ กรรมพฒั นาการเรยี นรู ÷หนว ยการเรยี นรทู ี่ แบบฝกหัดที่ ๑ อานหนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา เร่ือง พระมหาชนก (จากเร่ือง ความเพียร) แลวเติมขอความลงในแผนภาพ โครงเรอ่ื งตอไปนี้ (แนวตอบ) ๑. ตวั ละคร ๒. สถานที่ในเรอ่ื ง พระมหาชนก ในมหาสมทุ รแหง หนึ่ง นางมณเี มขลา ๓. เหตกุ ารณท ีเ่ กิดข้นึ ๔. ผลของเหตุการณ เฉลย พระมหาชนกและลูกเรอื นางมณีเมขลามาชวยพา ถูกพายถุ ลม ทาํ ใหเรือ พระมหาชนกไปสงยงั อับปาง ลกู เรือตายหมด เมอื งมิถิลา แตพ ระมหาชนกรอด และทรงวา ยนําเขา หาฝง ๕. สรปุ ขอคดิ จากเรื่อง ดว ยความเพียร เราควรเพียรพยายาม ทําสง่ิ ตา งๆ ใหเต็มท่ี ๙๓

แบบฝก หดั ท่ี ๒ เติมอักษรในปริศนาอักษรไขวใหเ ปน คําทมี่ ีความหมายตรงกับ ความหมายท่กี ําหนดให ๑. ๒. สั ป บุ รุ ษ ๓. ทิ ร ร ทั ๔. พ สะ ู ย ย เ ติ น ๕. ต อั เฉลย ๖. บ า ร มี ป า ง ความหมาย ๑. คนที่มีสัมมาทฐิ ิ ๒. การเกิด การคลอด เกดิ คลอด (คําราชาศัพท) ๓. ตาทพิ ย ๔. ใจ (คาํ ราชาศัพท) ๕. ลม จม แตก (ใชแ กเ รือเดินทะเล) ๖. คณุ ความดที ี่ไดบ ําเพ็ญมา ๙๔

แบบฝก หดั ท่ี ๓ อา นคําตอ ไปนี้ เขยี นความหมาย แลวแตง ประโยค ตวั อยาง ฉวี ความหมาย ผิวกาย พระมหาชนกมพี ระฉวีด่ังทองคาํ (ตัวอยา งประโยค) ๑. จําแลง ความหมาย แปลงตวั เธอสวยเหมอื นนางฟาจําแลง ๒. ประทบั ความหมาย อยทู ่ี อยกู บั ท่ี นง่ั (คาํ ราชาศพั ท) พระอนิ ทรประทับอยบู นอาสน เฉลย ๓. ศิลา ความหมาย หนิ พอขนุ รามคําแหงมหาราชทรงจารกึ ขอความบนหลกั ศิลา ๔. สน้ิ พระชนม ความหมาย ตาย (คาํ ราชาศัพท) พระอริฏฐชนกสนิ้ พระชนมข ณะทําสงคราม ๕. อานุภาพ ความหมาย อาํ นาจ ฤทธิ์เดช ความย่งิ ใหญ ทหารมีอาวุธท่ีมีอานุภาพทําลายลางสงู ๖. อญั เชิญ ความหมาย เชิญดว ยความเคารพนับถอื เสนาอาํ มาตยอ ญั เชญิ พระมหาชนกขน้ึ เปน พระมหากษตั ริย หมายเหตุ : แบบฝก หัดนีม้ คี ําตอบหลากหลาย ใหครูพจิ ารณาคาํ ตอบของนักเรียนเปนรายบคุ คลวา ๙๕ แตง ประโยคไดถ ูกตอ งหรือไม

แบบฝก หัดท่ี ๔ นนั ทนา (เตขวัยี อนยาคงํา)นามทีน่ กั เรียนรูจ ัก หมวดหมูละ ๓ คํา ชือ่ คน ทินกร ฉตั รชัย ชอ่ื สตั ว ปลาทู นกเอย้ี ง เฉลย แมวนํา ชอื่ ดอกไม บานชื่น มะลิ ดาวเรือง ช่อื ส่งิ ของ กระเปา ยางลบ ปากกา ๙๖ หมายเหตุ : แบบฝกหัดนี้มคี ําตอบหลากหลาย ข้ึนอยูกบั วงคาํ ศัพทพ ืน้ ฐานของนักเรยี นแตละคน ใหครตู รวจคําตอบเปน รายบคุ คล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook