1 รายงานการใช้นวตั กรรม ตามแนวทางการจัดกิจกรรมเชงิ รุก Active Learning การพฒั นาผลสมั ฤทธกิ์ ารเรียนเรอ่ื งชนดิ ของคำไทย โดยใช้วธิ สี อน กิจกรรมเป็นฐานของนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4 โรงเรยี นอนุบาลโกสมั พนี คร (บา้ นท่าคณู ) นางสาวพจิ ารนิ เมืองตาแก้ว โรงเรยี นอนบุ าลโกสัมพีนคร (บ้านทา่ คูณ) สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษากำแพงเพชร เขต 1 กระทวงศกึ ษาธกิ าร การพัฒนาผลสมั ฤทธิ์การเรียนเร่ืองชนิคของคำไทย โดยใช้วิธสี อนกิจกรรมเปน็ ฐาน ของนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 4
ก2 คำนำ รายงานการใช้นวัตกรรมเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนเรื่องชนิดของคำไทย โดยใช้วิธี สอนกิจกรรมเป็นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลโกสัมพีนคร (บ้านท่าคูณ) มี วัตถุประสงค์เพอื่ 1) เพื่อเปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ิการเรียนเรื่องชนิคของคำไทยก่อนและหลัง โดยใช้วิธีสอน กิจกรรมเป็นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการเรียนรู้เรื่องชนิดของคำไทยโดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน จัดทำขึ้นเพื่อใช้ ประกอบการเรียนรู้ในรายวิชาภาษาไทย ซึ่งเป็นเนื้อหาที่ได้มาจากการดำเนินการเรียนรู้เรื่องชนิดของคำ ไทยโดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ประกอบในการดำเนินกิจกรรม และในการน้ขี อขอบพระคณุ นางสาวนิศารัตน์ จนั ทรเ์ ล้ยี ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลโกสมั พนี คร (บ้าน ท่าคูณ) ที่ได้สนับสนุนและให้คำแนะนำในการดำเนินกิจกรรม ตลอดจนคณะครูที่มีส่วนร่วมทุกท่านที่มี ส่วนช่วยให้การดำเนินกิจกรรมนี้ลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอขอบใจนักเรียนทุกคนที่ตั้งใจเรียนและให้ความ รว่ มมือในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ผู้จัดทำหวังว่านวัตกรรมเล่มนี้คงมีประโยชน์แก่ผู้ท่ีได้ศึกษาไม่มากก็น้อย และเพื่อเป็นการนำ ผลงานเผยแพรต่อสาธารณชน หากมีขอ้ บกพรอ่ งประการใดต้องขออภยั มา ณ โอกาสน้ี พจิ ารนิ เมืองตาแกว้ ครูชำนาญการ ผจู้ ัดทำ การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิการเรียนเร่ืองชนิคของคำไทย โดยใชว้ ธิ ีสอนกจิ กรรมเปน็ ฐาน ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4
ข3 สารบัญ หนา้ คำนำ ก สารบัญ ข บทคัดยอ่ 5 บทที่ 1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หา 5 1 ความเปน็ มาและความสำคญั 5 2. วตั ถุประสงค์ 7 3. ขอบเขตการดำเนนิ งาน 7 4. นิยามศัพทเ์ ฉพาะ 9 5.ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รบั 10 บทท่ี 2 การพัฒนานวัตกรรม 11 1.หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 : กลุ่มสาระการ 12 เรียนรภู้ าษาไทยระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 2. แนวคดิ และทฤษฎีเก่ยี วกับการเรยี นการสอนแบบการเรยี นรู้เชงิ รกุ 16 (Active learning) 3. แนวคิดเกีย่ วกบั การเรียบโดยใชก้ จิ กรรมเป็นฐาน (Activity-based Learning) 21 4. งานวิจยั ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง 29 5. ข้นั ตอนการพฒั นา 33 บทที่ 3 วิธดี ำเนนิ งาน 35 1. รูปแบบการทดลอง 35 2. กล่มุ เปา้ หมาย 36 3. เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการวิจัย 36 4. การสรา้ งเคร่อื งมือ 36 5. การรวบรวมข้อมลู 38 6. การวิเคราะห์ขอ้ มลู 39 7. การเผยแพรผ่ ลงาน 40 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู 41 บทท่ี 5 สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ 44 บรรณานกุ รม 50 ภาคผนวก 53 ภาคผนวก ก เครื่องมือวจิ ยั 54 ภาพผลงานนักเรยี นที่ไดจ้ ากการสะท้อนคิด 79 การพฒั นาผลสัมฤทธ์กิ ารเรียนเร่ืองชนคิ ของคำไทย โดยใช้วธิ สี อนกิจกรรมเปน็ ฐาน ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
4 รายงานการผลิตและใชส้ ่ือนวตั กรรมทางการศกึ ษา สาระการเรียนรูว้ ิชาภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 ช่ือเร่อื ง การพฒั นาผลสัมฤทธก์ิ ารเรียนเรือ่ งชนิดของคำไทย โดยใช้วิธสี อนกจิ กรรมเป็นฐานของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรยี นอนุบาลโกสัมพีนคร (บ้านทา่ คูณ) ช่อื ผพู้ ัฒนา นางสาวพจิ ารนิ เมอื งตาแก้ว ตำแหน่งครชู ำนาญการ บทคัดยอ่ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ มีวัตถุประสงค์เพือ่ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนเรื่องชนิดของคำ ไทย โดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลโกสัมพีนคร (บ้านท่าคูณ) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนเรื่องชนิดของคำไทยก่อนและ หลังเรียน โดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2) เพื่อศึกษาความคิดเห็น ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการเรียนรู้เรื่องชนิดของคำไทยโดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน กลุ่มเป้าหมาย ที่ใช้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลโกสัมพีนคร (บ้านท่าคูณ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 12 คน ไดม้ าโดยวิธีการสมุ่ โดยวธิ เี จาะจง เครื่องมือทใี่ ช้ ได้แก่ 1) แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน เรื่องชนิดของคำไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือกจำนวน 20 ข้อ 2) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐานในการเรียนรู้เรื่องชนิด ของคำไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการเรียนรู้เรื่องชนิดของคำไทยโดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน โดยดำเนิน กิจกรรมคือ ขั้นตอนแรก ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องชนิดของคำไทยก่อนเรียน ขั้นตอนที่ สอง ดำเนินการจัดกจิ กรรมการพฒั นาผลสมั ฤทธิ์การเรียนเรื่องชนิคของคำไทย โดยใชว้ ธิ ีสอนกิจกรรมเป็น ฐาน และข้ันตอนที่สาม เมื่อสอนครบแล้วให้นักเรยี นทำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิเรอ่ื งชนดิ ของคำไทย ชุด เดียวกันกับก่อนเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็น แล้วนำข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมาวิเคราะห์ด้วยวิธีการ ทางสถติ ิโดยการหาค่าเฉล่ยี ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบคา่ ที ผลการวจิ ัยพบว่านกั เรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลโกสัมพีนคร (บ้านท่าคูณ) ที่ได้รับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียน เรื่องชนิคของคำไทย โดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน มีค่าเฉลี่ยของคะแนนการทำแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์การเรียนเรื่องชนิดของคำไทยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 มี ความก้าวหน้าของคะแนนก่อนเรียนกับหลังเรียน เท่ากับ 2.93 ค่าเฉลี่ยความก้าวหน้าคิดเป็นร้อยละ 24.41 และนักเรียนมีความคิดเห็นมีต่อการเรียนรู้เรื่องชนิดของคำไทยโดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐานอยู่ ในระดับมาก การพัฒนาผลสมั ฤทธก์ิ ารเรียนเร่ืองชนิคของคำไทย โดยใช้วิธสี อนกจิ กรรมเป็นฐาน ของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4
5 บทท่ี 1 บทนำ 1.ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา ในศตวรรษท่ี 21 มีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ตลอดจนความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีทกุ ๆ ดา้ น กระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมทีเ่ กิดข้ึนในศตวรรษที่ 21 สง่ ผลต่อวถิ ีการดำรง ชพี ของทุกคนในสงั คมอย่างท่ัวถึง ครจู ึงต้องมีความต่นื ตัวและเตรียมพร้อมในการจดั การเรียนรู้เพ่ือเตรียม ความพร้อมให้นักเรียนมีทักษะสำหรับการออกไปด ารงชีวิตในโลกในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจาก ศตวรรษที่ 19 และ 20 จากบทความเรือ่ งวิถีการสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ เขียนโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช (2555: 18-21) ได้กล่าวว่าการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่คนทุกคนต้องเรียนรู้ตั้งแต่ชั้นอนุบาลไปจนถึง มหาวิทยาลัยและตลอดชีวิต คือ 3R x 8C ซึ่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จะต้องเป็นการเรียนรู้ภายใต้ บรบิ ทการสอนความรู้วชิ าหลัก ควบคู่ไปกบั การเรยี นร้ทู กั ษะท่ีจำเป็น และหน่ึงในทักษะท่ีสำคญั ใน 8C ทม่ี ี ความจำเป็นและถูกกล่าวถึงในการพัฒนาผู้เรียนไปสู่ศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ รู้เท่าทันสื่อ ความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ มีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และ รู้เท่าทันเทคโนโลยี Active Learning หรือเรียกย่อ AL เป็นแนวคิดใหม่ที่เริ่มเป็นที่นิยมในช่วงปลายศตวรรษที่ 21 โดยรูปแบบนเ้ี ป็นแนวคดิ กว้าง ๆ ทเี่ น้นความมสี ่วนร่วมและบทบาทในการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น ครอบคลุมวิธี กำรเรียนกำรสอนหลำกหลำยวิธี เช่น การเรียนรู้ด้วยการค้นพบ (Discovery Learning) การเรียนรู้จาก กรณีปัญหา (Problem-Based Learning) การเรียนรู้จากการสืบค้น (Inquiry-Based Learning) และ การเรียนรู้จากการทำกจิ กรรม (Activity-Based Learning) เป็นต้น การจัดการเรียนรู้แบบการเรียนร้เู ชิง รุกทั้งกิจกรรม วิธีการหรอื รูปแบบการสอน ทำให้ผู้เรยี น สนใจบทเรียนและทำให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น สูงขึ้น ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือให้นักเรียนเกดิ การเรียนรจู้ ึงควรจัด กจิ กรรมท่ีเป็นการเรียนรู้ เชิงรกุ และเน้นการปฏิบัติใหน้ ักเรียนไดเ้ รยี นรู้จากประสบการณ์โดยตรง เพอ่ื ให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยการ ลงมือปฏิบัติ ( learning by doing ) เพื่อให้เป็นการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ของเด็กไทยให้บรรลุ“ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21” (21st Century skills) ที่เน้นทักษะการใช้ชีวิตและการ เรียนรู้ตลอดชีวิตช่วยให้ ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ หรือสร้างความรู้ให้เกิดขึ้นในตนเอง ด้วยการลง มือปฏบิ ตั ิจรงิ ผ่านสื่อ หรือกจิ กรรมการเรยี นรู้ ทีม่ ีครผู ู้สอนเป็นผู้แนะนำ กระตุ้น หรอื อำนวยความสะดวก ใหผ้ ้เู รียนเกิดการเรยี นร้ขู ึน้ โดยกระบวนการคิดข้ันสูง ผลการทดสอบระดับชาติข้ันพ้นื ฐาน (o-net) โรงเรียนอนุบาลโกสัมพีนคร (บา้ นท่าคูณ) ช่วงช้ัน ท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2562 คะแนนเฉลย่ี ในกล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ของนกั เรยี น มคี ะแนนเฉลยี่ ร้อยละ 43.32 (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2562) และเมื่อพิจารณาดูเป็นสาระการเรียนรู้ พบว่า สาระการเรียนที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย ยังมีคะแนนที่ต่ำและอยู่ในเกณฑ์ไม่น่าพอใจ การจัด การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิการเรียนเร่ืองชนิคของคำไทย โดยใชว้ ิธสี อนกจิ กรรมเป็นฐาน ของนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4
6 กิจกรรมการเรียนการสอนขาดการมุ่งให้ผู้เรียนมีความสามารถด้านหลักภาษาและการใช้ภาษา เพื่อให้ นักเรียนสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเองสามารถนําความรู้ไปใช้ในการพัฒนาตนเองได้อย่างเหมาะสม ดังนั้นกระบวนการจัดการเรียนรู้ของครูควรได้รับการพัฒนาและสอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ของ ผู้เรียน ครูผู้สอนต้องเน้นให้นักเรียนได้คิด ลงมือทำ และการค้นคว้าหาความรู้มากกว่าการสอนที่มุ่งเน้น เนื้อหาเพียง อย่างเดียว โดยเฉพาะการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย หลักภาษาและการใช้ภาษาระดับ ช่วงชั้นท่ี 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เป็นเรื่องที่เข้าใจยากและไม่ค่อยได้ใช้ในชีวิตประจำวัน นักเรียนส่วน ใหญ่เรยี นรู้โดยการจำ ไมไ่ ด้เขา้ ใจอย่างลึกซึ้งว่ามลี ักษณะเป็นอย่างไร แตกตา่ งกนั อย่างไร มคี วามหมาย อยา่ งไร รวมไปถึง ใหน้ ักเรียนสามารถนําไปใช้ไดถ้ ูกตอ้ งตามความหมาย และถูกกาลเทศะด้วย การจัดการเรียนรู้แบบ Learning by Doing นั้นใช้กิจกรรมการเรียนการสอนแบบเชิงรุกหรือ \"กจิ กรรม Activity\"เป็นหลกั โดยการ \"ลงมอื ปฏบิ ัติจริง หรือ Doing\"ในทุกข้นั ตอนของการเรียนรู้เป็นการ เรียนรู้ด้วยตนเอง สว่ นครผู ู้สอนทำหนา้ ทเ่ี ป็นผู้อำนวยความสะดวกในแตล่ ะกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ที่ นำมาใช้นี้ต้องมีประสิทธิภาพในการเรียนรู้เนื้อหานั้น ๆ มีจุดมุ่งหมาย สนุกสนาน และมีความน่าสนใจ ดึงดูดให้ผู้เรียนสนใจกิจกรรม ไม่ซ้ำซากจนก่อให้เกิดความเบื่อหน่าย ดังนั้นครูจึงเป็น\" นักออกแบบ กิจกรรม Activity Designer\" มีออาชีพ ที่สามารถ \"มองเห็นภาพกิจกรรม\"ได้ ทันที เมื่อครูศึกษาเน้ือหา จบลงสิ่งครูต้องลงมือทำ คือ \"สร้าง Constructed\" ให้เกิดมีขึ้นในตัวครู สิ่งที่สำคัญที่สุดคือ \"ความคิด วิเคราะห์ Critical Thinking\" เพื่อจะได้รู้ความต้องการและความคิดแท้จริงของนักเรียน เพื่อเข้าใจความ ต้องการของกลุ่ม พนั สมัยอย่เู สมอ ไมต่ กยคุ ..คณุ ครตู อ้ งมี \"ความคิดสร้างสรรค์ Creative Thinking\" เพื่อ จะได้มีความสามารถสร้างสรรค์กิจกรรมการเรียนรู้ที่ใหม่และน่าสนใจอยู่สมอ การเรียนรู้โดยใช้กิจกรรม เป็นฐาน (Activity-Based Learning) เป็นวิธีการจัดการเรยี นรู้ที่พัฒนามาจากแนวคดิ ในการจัดการเรยี น การสอนท่เี ผยแพรในปลายศตวรรษท่ี 20 ท่เี รยี กวา่ การเรยี นร้ทู ี่เนน้ บทบาท และการมีสว่ นรว่ มของผู้เรียน หรือ \"การเรียนรู้เชิงรุก\" (Active Learning) ซึง่ หมายถงึ รปู แบบการจัดการเรียนการสอน ที่ม่งุ เนนั้ ส่งเสริม ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ และ บทบาทในการเรียนรู้จากกิจกรรมมากที่สุด หรือ \"ใช้กิจกรรมเป็น ฐาน\" หมายถึงการใช้กิจกรรมเป็นที่ตั้งในการจัดการเรียนสอน เพื่อฝึกฝนหรือพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการ เรียนรตู้ ามบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคห์ รอื เป้าหมายท่กี ำหนด (สุทศั น์ เอกา, 2562) สภาพปัญหาที่ผู้วิจัยพบจากประสบการณ์ การสอน เรื่องชนิดและหน้าที่ของคำคือ นักเรียนไม่ พยายามที่จะเรียนรู้และมีข้ออ้างว่าเป็นคำที่ยากแก่การทำความเข้าใจ ทำให้นำชนิดและหน้าที่ของคำมา ใช้อย่างผิดๆ เนื่องจากไม่ทราบความหมายในส่วนของปัญหาที่เกิดจากครู คือ ครูผู้สอนจะบอกว่าเป็น เนื้อหาเพียงเล็กน้อยจึงให้นักเรียนอ่านแล้วผ่านเลย ไม่ได้สอนให้รู้ถึงความสำคัญของชนิดและหน้าที่ของ คำ ครูขาดสื่อการเรียนการสอนที่จะทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมาย ของหลักสูตร ซึ่งเป็นสิ่ง สำคัญเพราะสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 การจัดการ เรียนรู้ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำในระดับชั้นประถมศึกษา เป็นการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนได้นําไปใช้ ประโยชน์ใน การแสวงหาความรู้และนําไปใช้ในการศึกษาระดับสูงขึ้นไป การปรับทัศนคติเกี่ยวกับการ เรยี นหลักภาษาไทยโดยให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคญั ของการเรียนหลักภาษาไทยในเร่ืองคำและชนิด ของคำไมใ่ ช่เรือ่ งยาก แต่ครูผูส้ อควรปรบั กลวธิ ีในการสอนของครเู สยี ก่อน การพัฒนาผลสมั ฤทธกิ์ ารเรียนเรื่องชนิคของคำไทย โดยใช้วธิ สี อนกจิ กรรมเปน็ ฐาน ของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4
7 ดังนั้น ผู้วิจัย จึงได้นำรูปแบบที่จะสามารถให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตัวเองเกิดการพัฒนา ทักษะต่าง ๆ ร่วมกับการบริหารจัดการการทำงานเป็นทีม ในการทำงานร่วมกันให้ประสบผลสำเร็จตาม เป้าหมาย มาปรับใช้กับขั้นตอนในกระบวนการเรียนรู้ โดยการพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Active Learning ใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐานในการเรียนรู้เรื่องชนิดของคำไทย โดยใช้สำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลโกสัมพีนคร (บ้านท่าคูณ) มาปรับปรุงการเรียนการสอนให้เกิด ประสิทธผิ ลและประสทิ ธภิ าพมากท่สี ดุ ซ่ึงเป็นชั้นแรกของช่วงช้นั ที่ 2 ในการจะพัฒนาทกั ษะความรู้ต่าง ๆ เพื่อนำไปใช้ต่อยอดในระดบั ขัน้ สงู สุดของช่วงช้ันนี้ คือ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 และเข้ารับการทดสอบทาง การศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-net) 2. วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ เปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิการเรยี นเร่อื งชนิดของคำไทยก่อนและหลงั เรียน โดยใช้วิธีสอน กจิ กรรมเปน็ ฐานของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 2. เพอ่ื ศึกษาความคิดเห็นของนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4 ทม่ี ตี ่อการเรียนรู้เรอ่ื งชนิดของคำ ไทยโดยใชว้ ธิ สี อนกจิ กรรมเป็นฐาน 3.ขอบเขตของการดำเนินงาน การดำเนนิ งานการพฒั นาผลสัมฤทธกิ์ ารเรยี นเร่ืองชนิดของคำไทย โดยใชว้ ิธีสอนกจิ กรรมเปน็ ฐานของ นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 โรงเรียนอนบุ าลโกสัมพนี คร (บา้ นทา่ คูณ) มีขอบเขตดงั น้ี 1.ขอบเขตด้านเน้อื หา เนื้อหาทใ่ี ช้ในการวิจัยครง้ั นี้มจี ำนวน 3 ชนิดได้แก่ 1. แผนการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชว้ ธิ ีสอนกิจกรรมเปน็ ฐานในการเรยี นรู้เร่อื งชนิดของคำไทย ของ นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 2. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น เร่ืองชนดิ ของคำไทยของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ทเ่ี ปน็ แบบทดสอบปรนยั ชนิดเลือกตอบ 4 ตวั เลอื กจำนวน 40 ข้อ 3. แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ท่ีมีต่อการเรียนรู้เรื่องชนิดของ คำไทยโดยใช้วธิ สี อนกิจกรรมเป็นฐาน 2. ขอบเขตดา้ นกลมุ่ เปา้ หมาย 1. กลุ่มเป้าหมายใชใ้ นการดำเนินกจิ กรรม ได้แก่ นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนบุ าล โกสัมพนี คร (บา้ นทา่ คูณ) สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 จำนวน 12 คน ไดม้ าโดยวธิ ีการสมุ่ โดยวิธีเจาะจง ( Purposive sampling ) การพฒั นาผลสมั ฤทธ์กิ ารเรยี นเร่ืองชนิคของคำไทย โดยใช้วิธีสอนกจิ กรรมเป็นฐาน ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4
8 2. ขอบเขตด้านตวั แปร 1. ตัวแปรต้น ไดแ้ ก่ วิธีสอนกจิ กรรมเปน็ ฐานในการเรยี นรู้เรอื่ งชนิดของคำไทย 2. ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ 2.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน เรื่องชนิดของคำไทยของนกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรียนอนบุ าลโกสมั พนี คร (บ้านทา่ คูณ) 2.2 ความคิดเห็นของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4 ทม่ี ตี ่อการเรียนรู้เร่ืองชนดิ ของ คำไทยโดยใช้วธิ สี อนกจิ กรรมเปน็ ฐาน 3. ขอบเขตดา้ นระยะเวลา ระยะเวลาในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น เร่ืองชนิดของคำไทยของนกั เรยี นช้ัน ประถมศึกษาปที ี่ 4 ผวู้ ิจยั ดำเนินการในภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 จำนวน 6 แผน เป็นเวลา 3 สปั ดาห์ สัปดาห์ละ 3 ชวั่ โมง จำนวน 9 ชว่ั โมง การทดสอบก่อนเรยี น 1 ชั่วโมง ทดสอบหลงั เรียน 1 ชัว่ โมง รวมระยะเวลาทง้ั ส้นิ 11 ช่ัวโมง แบ่งการดำเนนิ การเป็น 2 ระยะ ดงั น้ี 1. ระยะเวลาในการสร้างและพฒั นา ใช้เวลาในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 ดำเนินการ สร้างและพัฒนาเคร่ืองมือคือ 1) แผนการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้วธิ ีสอนกจิ กรรมเป็นฐาน 2) แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ในการเรยี นรู้เรื่องชนิดของคำไทย ของนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 3) แบบสอบถามความคดิ เห็นของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 ที่มีต่อการเรียนรู้เรื่องชนิดของคำไทย โดยใช้วิธสี อนกิจกรรมเปน็ ฐาน และดำเนนิ การสร้างเครือ่ งมือ และตรวจสอบเคร่ืองมือในการเกบ็ รวบรวม ขอ้ มลู 2. ระยะเวลาสำหรบั การนำไปใชก้ ับกลมุ่ เป้าหมาย กำหนดไวใ้ นภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 โดยใชป้ ระชากร ซ่ึงเป็นนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรียนอนุบาลโกสัมพนี คร (บา้ นทา่ คูณ) จำนวน 12 คน ทีส่ รา้ งขึน้ และผา่ นการปรบั ปรุงแก้ไขจากการดำเนินงานในระยะท่ี 1 มาแล้วน้นั แลว้ ดำเนนิ การโดยมขี นั้ ตอนการดำเนินการคือ นำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น ในการเรียนรู้เรอ่ื ง ชนดิ ของคำไทย ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 มาทดสอบก่อนเรยี น จากนัน้ จึงนำแผนการจดั การ เรียนรู้โดยใชว้ ธิ สี อนกจิ กรรมเปน็ ฐานมาใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรกู้ บั กลุ่มเป้าหมาย หลังจากการ สอนเสรจ็ สิ้นแล้วนำแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ในการเรียนรู้เรอื่ งชนิดของคำไทย ของ นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 มาทดสอบ ซ่ึงเปน็ ชดุ เดยี วกบั ก่อนเรียน และสอบถามความคดิ เห็นของ นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ที่มตี อ่ การเรยี นรู้เร่ืองชนดิ ของคำไทยโดยใชว้ ิธสี อนกิจกรรมเปน็ ฐาน การพัฒนาผลสัมฤทธ์กิ ารเรียนเรื่องชนิคของคำไทย โดยใชว้ ิธีสอนกิจกรรมเปน็ ฐาน ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
9 • ปรนัย 4 ตวั เลอื ก 2. วิธสี อนกจิ กรรมเป็นฐาน • ปรนยั 4 ตัวเลอื ก 4.สอบถามความ จาํ นวน 40 ขอ้ จาํ นวน 40 ขอ้ คดิ เห็น 1. ทดสอบกอ่ นเรยี น แผนจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 3.ทดสอบหลงั เรียน จำนวน 9 ชัว่ โมง ความคดิ เห็นต่อการ 1) ขน้ั ทบทวนประสบการณ์ เรยี นรเู้ ร่อื งชนิดของ 2) ขั้นกิจกรรม คำไทย 3) ขน้ั สะทอ้ นความคดิ 4) ขน้ั ประเมนิ และประยุกตใ์ ช้ การพฒั นาผลสมั ฤทธิ์การเรยี นเร่ืองชนิดของคำ โดยใชว้ ธิ สี อน กิจกรรมเปน็ ฐานของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 4. นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 1. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน หมายถงึ ความสามารถจากการนำความรู้ความเข้าใจจากเร่ืองชนดิ ของคำไทย หลังจากท่จี ัดกจิ กรรมใชว้ ิธสี อนกจิ กรรมเปน็ ฐาน มาใชต้ อบแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการ เรียน ในการเรยี นรู้เร่อื งชนิดของคำไทย ของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 ท่ผี ู้วจิ ยั สรา้ งข้นึ ซง่ึ เป็น แบบทดสอบปรนยั ชนิดเลือกตอบ 4 ตวั เลอื กจำนวน 40 ข้อ 2.การจัดการเรยี นร้แู บบกจิ กรรมเปน็ ฐาน (Activity Based Learning; ABL) หมายถึง รปู แบบ การเรียนรูท้ ่มี ุ่งเนน้ ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนมีส่วนรว่ มในการเรยี นรู้ และมบี ทบาทในการเรียนรู้ โดยใชก้ ิจกรรม เป็นฐาน โดยมุง่ เนน้ ให้ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรู้ และทำความเขา้ ใจในเนอ้ื หาบทเรียน ผ่านกจิ กรรมที่ผูเ้ รยี นเปน็ ผู้ ลงมอื ปฏบิ ัติดว้ ยตนเองผา่ นกิจกรรมหลากหลาย ประยุกตใ์ ชใ้ นการจัดการเรียนรใู้ หเ้ หมาะสมกบั ผูเ้ รียน เพ่ือพฒั นาผลสัมฤทธ์ิการเรยี นเรื่องชนิดของคำไทย ของนักเรยี นโดยมีขัน้ ตอน 4 ข้นั ตอน ดงั นี้ 1) ขน้ั ทบทวนประสบการณ์ 2) ขน้ั กิจกรรม 3) ข้นั สะท้อนความคดิ 4) ขน้ั ประเมินผลและประยุกตใ์ ช้ โดยใช้ในการทบทวนความรู้ ในเวลาและนอกเวลา 2.1 ขนั้ ทบทวนประสบการณ์ หมายถึง เปน็ การทบทวนและสำรวจความรเู้ ดิมกระตุ้นให้ นักเรยี นเกิดความสนใจก่อนนำเขา้ สูบ่ ทเรยี น การพฒั นาผลสมั ฤทธก์ิ ารเรียนเรื่องชนคิ ของคำไทย โดยใชว้ ิธีสอนกจิ กรรมเปน็ ฐาน ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4
10 2.2 ขน้ั กิจกรรม หมายถึงการจัดกิจกรรมที่นักเรียนทุกคนมีสว่ นรว่ มในกิจกรรม ทำงานร่วมกนั ตามกิจกรรมที่ครจู ดั เตรียมไว้โดยกิจกรรมทจี่ ัดเตรียมสามารถเปน็ ได้ท้ังกิจกรรมเด่ยี วและกจิ กรรมกลมุ่ มี การสร้างสรรคช์ ิ้นงานซึ่งมาจากทักษะที่จำเป็น 2.3 ขน้ั สะท้อนความคดิ ให้ผ้เู รียนสะทอ้ นความคิดและองค์ความรู้ท่ีไดร้ บั จากการเข้ารว่ ม กจิ กรรมโดยคดิ วเิ คราะหส์ ถานการณ์และกจิ กรรมต่าง ๆ ท่ีเกดิ ขึน้ ในขณะทเ่ี ขา้ ร่วมกิจกรรม และนำเสนอ ผลงานของตนเองหรือของกลุ่ม 2.4 ขน้ั ประเมนิ ผลและประยุกต์ใช้ ประเมนิ ผลการเรียนรมู้ า นำสงิ่ ทีผ่ เู้ รยี นได้เรยี นรู้นำมาใช้ใน สถานการณ์ใหมห่ รือสถานการณ์ใกล้เคียงกับส่งิ ท่ีได้เรียนรู้มา 3. ชนิดของคำไทย หมายถงึ คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา และคำวิเศษณ์ ซงึ่ คำท้ัง 4 ชนิดน้ี จะ ทำหน้าทีต่ า่ ง ๆ ในประโยค เพอ่ื ส่ือความหมายให้ถูกต้อง ชัดเจน คำบางคำมีหลายความหมาย และ สามารถทำได้หลายหน้าท่ี การทจ่ี ะร้คู วามหมายทถ่ี ูกต้องได้ต้องดทู ี่หน้าทีข่ องคำนน้ั ในประโยค โดยผู้วิจัย ไดค้ ดั เลือกเน้ือหาทีเ่ หมาะสมกับระดับชนั้ มาใช้ในการจัดกิจกรรม 4. ความคิดเห็น หมายถึง ความรสู้ กึ นกึ คิดของนกั เรยี นท่มี ีต่อการจดั การเรยี นการสอนโดยใช้วธิ ี สอนกจิ กรรมเป็นฐานทีผ่ วู้ จิ ัยจัดการเรียนการสอนขน้ึ ของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 โดยมีการ สอบถาม ดา้ นเนอ้ื หาสาระทีน่ ำมาทำกิจกรรมตา่ ง ๆ ดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอน ดา้ นการมี ส่วนรว่ มของนกั เรียน และด้านประโยชน์ของการจัดการเรียนการสอนโดยใชว้ ธิ สี อนกิจกรรมเปน็ ฐานโดย วัดจากแบบสอบถามความคดิ เห็น 5. ของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 หมายถึง นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 โรงเรียนอนบุ าล โกสัมพีนคร (บ้านท่าคูณ) สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษากำแพงเพชร เขต 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 จำนวน 12 คน 5.ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะได้รับ 5.1 นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ในการเรียนรู้เรอ่ื งชนดิ ของคำไทย สูงขนึ้ หลงั จากจัดกิจกรรม โดยใช้วธิ ีสอนกิจกรรมเป็นฐาน 5.3 นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เรอ่ื งชนิดของคำไทย ทีส่ ามารถนำไป ต่อยอดไดใ้ นรายวิชาอื่น ๆ หรือในระดบั ชัน้ ต่อไปได้ 5.4 ไดเ้ ทคนิคการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ วชิ าภาษาไทยเรื่องชนดิ ของคำไทย 5.5 แนวทำงในการพฒั นาชุดกจิ กรรมการเรยี นร้แู บบ Active Learning สำหรับรายวิชาอน่ื ๆ 5.6 เปน็ แนวทางสำหรบั ผบู้ ริหาร ครผู ู้สอนวิชาภาษาไทยในการปรบั ปรุงและพัฒนาคณุ ภาพการ เรียนการสอนให้มีประสทิ ธภิ าพขึน้ การพฒั นาผลสัมฤทธกิ์ ารเรียนเรื่องชนคิ ของคำไทย โดยใชว้ ธิ ีสอนกจิ กรรมเป็นฐาน ของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4
11 บทท่ี 2 การพัฒนานวตั กรรม การพฒั นาผลสัมฤทธกิ์ ารเรยี นเร่ืองชนิดของคำไทย โดยใช้วธิ สี อนกิจกรรมเปน็ ฐานของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรียนอนุบาลโกสมั พนี คร (บ้านท่าคูณ) เพื่อนำมาใช้ประกอบการดำเนินการวจิ ยั ดงั มีรายละเอียดต่อไปน้ี 1.หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 : กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 2. แนวคิดและทฤษฎเี ก่ียวกบั การเรียนการสอนแบบการเรียนรู้เชิงรกุ (Active learning) 2.1 ลักษณะของการจัดการเรยี นการสอนแบบการเรียนรู้เชิงรุก (active Learning) 2.2 บทบาทของผูส้ อนในการจดั การเรียนรูแ้ บบการเรียนร้เู ชงิ รกุ 3. แนวคดิ เกยี่ วกบั การเรียบโดยใชก้ ิจกรรมเปน็ ฐาน (Activity-based Learning) 3.1 ความหมายของการเรยี นโดยใช้กิจกรรมเปน็ ฐาน 3.2 ความสำคัญของการจดั การเรยี นกการสอนที่เน้นกิจกรรมเปน็ ฐาน 3.3 ลักษณะของการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ กิจกรรมเป็นฐาน 3.4 กลยุทธ์ของการจัดการเรยี บการสอนที่เน้นกิจกรรมเปน็ ฐาน 3.5 ประเภทของกิจกรรมท่ใี ชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ กิจ กรรมเปน็ ฐาน 3.6 ขั้นตอนในการจัดการเรียบการสอนที่เน้นกจิ กรรมเป็นฐาน 4. งานวจิ ัยทีเ่ ก่ียวขอ้ ง 4.1 งานวจิ ยั ในประเทศ 5. ข้ันตอนการพฒั นา 5.1 นวัตกรรมทไี่ ด้ 5.2 แนวทางการนำนวตั กรรมไปใช้ การพฒั นาผลสมั ฤทธ์กิ ารเรียนเรื่องชนคิ ของคำไทย โดยใช้วิธีสอนกจิ กรรมเปน็ ฐาน ของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4
12 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 : กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทยระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 หลกั สูตรการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544 เปน็ หลักสูตรแกนกลางทกี่ ระทรวงศึกษาธกิ าร ได้กำ หนดขนึ้ เพื่อให้มาตรฐานการเรียนรขู้ องประเทศเปน็ ไปในแนวทางเดียวกันท้งั คา้ นความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ ม เพ่ือกำหนดองค์ความรู้ท่ีเปน็ เน้ือหาสาระให้ครอบคลุม การศึกษาขั้นพ้นื ฐานทงั้ 12 ปี กระทรวงศึกษาธกิ ารจงึ ได้ขัดกล่มุ สาระการเรยี นรแู้ ละมาตรฐานการเรยี นรู้ แตล่ ะกลุม่ สาระเปน็ ช่างช้ัน โคยกำหนดกล่มุ สาระการเรยี นร้ตู ่างๆ ไว้ : กลมุ่ สาระ ทง้ั นี้กล่มุ สาระการ เรยี นร้กู ายาไทย เปน็ กล่มุ สาระการเรยี นรหู้ น่งึ ท่ีจะพัฒนาผู้เรียนใหไ้ ปถึงมาตรฐานการเรียนรู้ขัน้ พืน้ ฐานที่ กระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนดไว้ดงั นนั้ กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ายาไทยจึงได้กำหนดวสิ ยั ทัศน์ไว้ดังนี้ กระทรวงศกึ ษาธิการ , กรมวิชาการ 2545 : 2) ภาษาไทยเปน็ เคร่อื งมือขอ งคนในชาตเิ พือ่ การสื่อสารทำความเข้าใจกนั และใชภ้ าษาในการ ประกอบกิจการงานทั้งส่วนตวั ครอบครัว กจิ กรรมทางสังคมเละประเทศชาติ เป็นเคร่ืองมอื การเรยี นรู้ การบนั ทึกเร่ืองราวจากอคตี ถึงปจั จบุ นั และเป็นวัฒนธรรมของชาติ คังนน้ั การเรียนภายาไทยจงึ ต้องเรยี นรู้ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ทักษะอยา่ งถูกต้อง เหมาะสมในการสอื่ สาร เป็นเคร่อื งมือในการเรียนรู้ แสวงหาความรู้และ ประสบการณ์ เรยี นรู้ในฐานะเป็นวัฒนธรรมทางภายาให้เกิดความชน่ื ชม ชาบซง้ึ และภมู ิใจ ในภาษาไทย โคยเฉพาะคุณคา่ ของวรรณคดี และภูมปิ ัญญาทางภาย1ของบรรพบรุ ุษที่ไดส้ ร้างสรรค์ไว้ ฮนั เป็นส่วน เสริมสร้างความงคงามในชีวติ ภาษาไทยมสี ่วนทเี่ ปน็ เนอ้ื หาสาระ ไดแ้ ก่ กฎเกณฑ์ทางภายา ซ่ึงผู้ใช้ภาษาจะต้องรู้และใช้ภาษา ใหถ้ กู ต้อง นอกจากนน้ั ยังมีวรรณคดแี ละวรรณกรจม ตลอด จนบท ร้องเล่นของเดก็ เพลงกลอ่ มเด็ก ปรศิ นาคำทาย เพลงพน้ื บา้ น วรรณกรรมพ้ืนบ้าน เปน็ ส่วนหนงึ่ ของวฒั นธรรมซึง่ มีคณุ ค่า การเรยี นภายา ไท ยจงึ ต้องเรียนวรรณคดี วรรณกรรม ภมู ปิ ญั ญาทางภาษาทถ่ี า่ ยทอดความร้สู ึกนึกคิด ค่านยิ ม ขนบธรรมเนยี มประเพณี เร่ืองราวของสังคมในอดีตและความงดงามของภายาในบทประพนั ธท์ ง้ั ร้อยแก้ว และรอ้ ยกรองประเภทต่าง ๆ เพ่อื ใหเ้ กิดความซาบซึ้งและความภูมใิ จในส่งิ ทีบ่ รรพบรุ ษุ ได้ส่งั สมและสืบ ทอดมาจนถึงปัจจุบันกล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทยไดก้ ำหนดคุณภาพของผเู้ รยี นเมอ่ื จบการศึกษาข้นั พื้นฐานแลว้ ผเู้ รยี นต้องมีความรู้ ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรมและคา่ นยิ มดงั นี้ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, กรมวิชาการ 2545 : 3) 1. สามารถใช้ภาษาสอ่ื สารได้อยา่ งดี 2. สามารถอ่าน เขยี น ฟัง ดู และพดู ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. มคี วามคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผลและคดิ เป็นระบบ 4. มนี สิ ยั รักการอ่าน การเขียน การแสวงหาความรแู้ ละใช้ภาษาในการพัฒนาตนและสร้างสรรค์ งานอาชีพ การพัฒนาผลสมั ฤทธ์กิ ารเรียนเรื่องชนิคของคำไทย โดยใชว้ ิธสี อนกจิ กรรมเป็นฐาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4
13 5. ตระหนักในวฒั นธรรมการใช้ภาษาและความเป็นไทย ภมู ิใจและชื่นชมในวรรณคดีและ วรรณกรรมซงึ่ เป็นภมู ปิ ัญญาของคนไทย 6. สามารถนำทกั ษะทางภาษามาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวันได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ และถกู ต้อ งตามสถานการณ์และบุคคล 7. มมี นษุ ยสมั พันธ์ทีด่ ี และสร้างความสามัคคีในความเปน็ ชาติไทย 8. มีคุณธรรมจรยิ ธรรม มีวสิ ัยทศั น์ โลกทัศนท์ ี่กวา้ งไกลและลกึ ซึ้ง จากวสิ ยั ทัศนแ์ ละคณุ ภาพผูเ้ รยี นของกล่มุ สาระการเรยี นรู้ภายาไทยซ่ึงกลา่ วโดยสรุปไดว้ ่า ภาษาไทยเป็นวิชาทักษะทต่ี ้องฝกึ ฝนจนเกิดความชำนาญในเร่อื งการใช้ภา ษาเพ่ือการส่ือสาร การอ่าน การฟงั การพูด การเขยี น ซึ่งในการใช้ภาษา ตอ้ งสามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นการรับรู้ข่าวสารข้อมูลได้ อย่างพนิ ิจพิคราะห์ สามารถลอื กใช้คำ เรียบเรยี งความคดิ ความรู้ และใช้ภาษาไดถ้ ูกต้องตามกฎเกณฑ์ และได้ตรงตามความหมาย อีกท้งั การเรยี นรู้วรรณคดแี ละวรรณกรรมตลอดจนบทร้องเล่นขอ งเด็ก เพลง กล่อมเด็ก ปริศนาคำทาย เพลงพ้นื บา้ น และวรรณกรรมพ้ืนบ้าน ดังนัน้ เพื่อให้การขัดการเรียนรูเ้ กิดความ เปน็ เอกภาพและประสบความสำเรจ็ การพัฒนาหลักสูตรการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานพุทธศักราช 2544 ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยจงึ ได้กำหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรขู้ ัน้ พ้ืนฐาน โดยคำนงึ ถึงการจัดการ เรยี นการสอ นใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ และอยู่ในบรรทัดฐานเดยี วกันท้งั ประเทศเปนี หลกั ซึ่งสาระ มาตรฐานการเรียนร้ขู องกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยไดก้ ำหนดไว้ ดังนี้ (กระทรางศึกษาธกิ าร , กรม วิชาการ 2545 ) จดุ ประสงค์กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 1. อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองเปน็ ทำนองเสนาะไดถ้ ูกต้อง 2. อธิบายความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย จับใจความสำคัญจากเร่ืองที่อ่าน 3. นำความรคู้ วามคดิ จากเรอ่ื งที่อ่านไปตดั สินแก้ปัญหาในการดำเนนิ ชวี ิตได้ 4. มมี ารยาทและนสิ ัยรักการอา่ นเหน็ คุณค่าในสิง่ ท่ีอ่าน 5. มีทกั ษะในการคดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัดและครง่ึ บรรทดั 6. เขยี นสะกดคำ แต่งประโยคและเขยี นข้อความตลอดจนเขยี นส่ือสารเชิงสร้างสรรค์โดยใช้ ถ้อยคำชัดเจนเหมาะสม และมีมารยาทในการเขียน 7. พดู แสดงความรู้ ความคดิ เก่ยี วกบั เรื่องท่ีฟงั และดูได้อย่างมีเหตผุ ล มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพูด 8. สะกดคำและเข้าใจความหมายของคำ สำนวน คำพังเพยและสภุ าษิต 9. รแู้ ละเขา้ ใจชนดิ และหนา้ ทข่ี องคำในประโยค ชนิดของประโยคและคำภาษาตา่ งประเทศ ในภาษาไทย 10. ใชค้ ำราชาศัพท์และคำสุภาพได้อย่างเหมาะสม 11. แต่งประโยค บทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสี่ กลอนสภุ าพและกาพย์ยานี 11 12. เขา้ ใจและเหน็ คุณคา่ วรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่ ่าน เลา่ นิทานพนื้ บา้ น รอ้ งเพลงพน้ื บา้ น นำขอ้ คิดจากเรื่องท่ีอ่านไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตจรงิ และท่องจำบทอาขยานตามท่กี ำหนดได้ คำและชนดิ ของคำ การพัฒนาผลสมั ฤทธกิ์ ารเรียนเรื่องชนคิ ของคำไทย โดยใชว้ ิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน ของนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4
14 หนงั สือเรียนวชิ าหลกั ภาษาไทยของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ยดึ ตำราวจวี ิภาคของพระยาอุปกิต ศิลปสารเป็นหลกั โดยปรับปรุงช่อื เฉพาะหรือศัพท์เทคนคิ ต่าง ๆ ให้เป็นคำไทยสามญั เพื่องา่ ยหรอื สะดวก ในการเรยี นรู้ จดจำ และทำความเขา้ ใจของนักเรยี น ดังนัน้ เพอื่ เป็นพนื้ ฐานในการศึกษา หลกั ภาษาไทย ในที่ นจ้ี งึ ยดึ การจำแนกคำตามแนวของนักไวยกรณ์ดั้งคิม กล่าวคอื ตำราไวยากรณ์ไทยของพระยาอปุ กติ ศลิ ปสารเป็นหลกั ซึง่ จำแนกชนดิ ของคำไทยออกเป็น 7 ชนดิ คือ คำนาม คำสรรพนาม คำกรยิ า คำ วเิ ศษณ์ คำบุพบทคำสนั ธาน คำอทุ าน โดยในช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ได้กำหนดไว้เพบี ง 4 ชนิด คอื คำนาม คำสรรพนาม คำกรยิ าและคำวิเศษณ์ ซึง่ มีตัวชวี้ ัดในสาระท่ี 4 หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท .1 เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลังของภาษาภูมิปัญญาทาง ภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัตขิ องชาติ มตี วั ข้ีวัดคือ 1. สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทต่าง ๆ 2.. ระบชุ นิดและหนา้ ทขี่ องคำในประโยค 3.ใชพ้ จนานกุ รมค้นหาความหมายของคำ 4. แตง่ ประโยคไดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั ภาษา 5. แต่งบทร้อยกรองและคำขวัญ 6. บอกความหมายของสำนวน 7. เปรยี บเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถนิ่ ได้ การจัดการเรียนการสอนภาษาไทย การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยเปน็ ส่ิงสำคัญท่ีจะทำให้ผูเ้ รียนเกิดการเรยี นรู้ที่มีประสิทธิภาพ และได้ความรู้สูงสุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการอ่านเป็นทักษะที่สำคัญเพราะเป็นการถ่ายทอดทางวัฒนธรรม คนไทยจึงตอ้ งพฒั นาทกั ษะการเขียนเพื่อจะได้รักษามรดกทางวัฒนธรรมของชาติเอาไว้ รวมทั้งเพ่ือพัฒนา ตนเองและสังคมด้วย เนื่องจากการเขียนเป็นทักษะที่ยากและซับซ้อน ดังนั้นในการสอนเขียนครูต้อง คำนงึ ถึง หลักการสอนดังน้ี ตวั เดก็ ภมู หิ ลงั ของเด็กจำเปน็ ในการพฒั นาทกั ษะการเขียน ดังนี้ 1. ความพร้อมของเด็ก ความสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อมือ ตา และความคิดเด็กจะต้องมีความ พร้อมทางกายและทางสมองความสามารถในการถ่ายทอดและการรบั ร้ขู องเด็กแต่ละคน 2. ความสามารถในการสังเคราะห์ที่แสดงพฤติกรรมสร้างสรรค์ เพราะการเขียนเป็นการ เรียงลำดับความคิดใหม่ ๆ แล้วเขียนแสดงความคิดเห็นเป็นของตนเองให้ผู้อื่นเข้าใจ เด็กที่มีควา มคิด สร้างสรรคท์ ีด่ ีจะสามารถเขียนได้ดี เช่นกนั ดังนัน้ ครูต้องส่งเสริมดา้ นความคดิ สร้างสรรค์ให้นักเรยี น 3. ความสนใจของเด็ก เดก็ จะสนใจส่งิ ที่ใกล้ตวั มปี ระโยชนแ์ ละมีคุณค่าต่อตวั เอง ดงั น้นั กิจกรรม ไม่ควรยากเกินไป การได้รับคำชมเชยจะเป็นสิ่งที่ช่วยเสริมแรงให้เด็กเกิดความสนใจและศรัทธาต่อการ เขยี น ซ่งึ จะช่วยใหพ้ ฒั นาการเขียนไดด้ ี 4. ตัวครู ครูเป็นผู้มีบทบาทสำคัญที่จะทำให้เด็กพัฒนาการเขียนได้มากหรือน้อยนัน้ มีประเดน็ ท่ี เกย่ี วขอ้ งกับครู ดงั น้ี การพฒั นาผลสมั ฤทธก์ิ ารเรยี นเร่ืองชนิคของคำไทย โดยใช้วธิ สี อนกิจกรรมเป็นฐาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4
15 5. ความรู้ตามหลกั ภาษาไทย ครตู ้องมีความรู้เก่ยี วกับตัวอกั ษร เครื่องหมายวรรคตอนตา่ ง ๆ การ สะกดการันต์ วิธเี ขยี นและการใช้คำ ใช้ประโยค ดงั นนั้ ครจู ึงต้องมีความรู้และความเข้าใจเปน็ อยา่ งดีเพราะ เป็นความรู้พ้นื ฐานที่จะต้องร้แู ละเขา้ ใจและนำไปใช้ให้ถูกตอ้ งเหมาะสมกับบุคคล และกาลเทศะ ต่อไป 6. ความรู้เกี่ยวกับจุดหมายการเขียน กล่าวคือ การเขียนบันทึกก็มีจุดหมายเพื่อสรุปสาระสำคัญ ไว้สำหรับเตอื นความจำผู้เขียนการเขียนจดหมาย เพื่อเล่าเรือ่ งราวหรอื สิง่ ที่ผูเ้ ขียนต้องการให้ผู้อื่นรู้ การ เขียนโฆษณาเพือ่ จูงใจใหเ้ ชือ่ และคล้อยตาม เป็นตน้ 7. เจตคติของครูที่มีต่อทักษะการเขียน ความคิด ความรู้สึก ความสนใจและการเห็นคุณค่าและ ประโยชน์ในการเขียนของครูก็จะทำให้เด็กมีความรู้สึกที่ดีไปด้วยเช่นกันจะทำให้เด็กเกิดความสนใจและ ศรัทธาท่จี ะเขยี นเพมิ่ ขนึ้ หลักจิตวทิ ยาในการสอนภาษาไทย ในการจดั การเรยี นรู้ครตู ้องคำนึงถึงหลักจิตวิทยาเพื่อนำไปใช้ในการสอนใหป้ ระสบผลสำเร็จ และ เป็นการจัดสภาพการเรียนให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น สนิท สัตโยภาส (2550 หน้า 90 - 93) ได้กล่าวถึง ความคิดเกย่ี วกับหลักจติ วิทยาการศึกษา ทีเ่ ป็นปัจจยั พนื้ ฐานทีม่ อี ิทธพิ ลในการส่งเสริมการเรยี นรู้ ไว้ดังนี้ 1. ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล (Individual difference) ในการเลือกรูปแบบการจัดการเรียนรู้ครูผู้สอนต้องคำนึงว่านักเรียนแต่ละคนมีความรู้ ความสามารถความถนัด และความสนใจที่แตกต่างกันตามหลักจิตวิทยาโดยรวมแล้วเด็กหญิงจะมีความ ถนัด ความสามารถและทักษะทางภาษาสูงกว่าเด็กชายในวัยเดียวกันแต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสาเหตุหลาย ประการ เช่น สภาพร่างกาย ความสามารถทางสติปัญญา พันธุกรรม สิ่งแวดล้อม ทั้งที่บ้านและชุมชน ฐานะทางครอบครัว การดูแลเอาใจใส่และการปลูกฝังทักษะทางภาษาจากบิดามารดา การเรียนที่ โรงเรยี นและลักษณะนิสยั เฉพาะของตัวเด็กเอง ดังนั้นครูผู้สอนต้องพยายามคิดหาวิธีการที่จะส่งเสริมและพัฒนาเด็กนัก เรียนทุกคนให้ได้ แสดงออกทางความถนัด สติปัญญา ความสนใจและความสามารถ เช่น เด็กที่มีความสามารถสูงก็หา กิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะเพื่อให้พัฒนาดียิ่งขึ้นส่วนเด็กที่มีความสามารถค่อนข้างต่ำก็จัดกิจกรรมการสอน ซอ่ มเสริมใหเ้ ปน็ พเิ ศษ 2. ความพร้อม (Readiness) ความพร้อม หมายถึง สภาพระดับความเจริญเติบโต ทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจและสังคม สตปิ ัญญาความสนใจและความรู้พน้ื ฐานท่สี งู พอท่ีเดก็ จะเกิดการเรยี นรู้ได้อย่างสะดวก หรืออกี ความหมาย หน่งึ คอื วุฒิภาวะและประสบการณ์เดมิ ของผู้เรียนที่มากพอทจ่ี ะทำให้ผู้เรียน เรยี นรไู้ ด้น้ันเอง ความพร้อม สามารถสังเกตได้โดยครูควรปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ 2.1 ก่อนเริ่มสอนควรสงั เกตความพรอ้ มของนักเรยี นทุกครั้ง 2.2 ทดสอบความรู้เดมิ กอ่ นเริ่มบทใหม่ 2.3 ใชส้ ่อื การสอนทีเ่ หมาะสมกับวัยและตรงกับบทเรยี น 2.4 สร้างบรรยากาศในห้องเรยี นใหน้ า่ เรียนและเข้ากบั บรรยากาศ 2.5 จัดกระบวนการเรยี นร้ทู ่ีเรา้ ความสนใจของนกั เรยี น 3. การเรยี นรู้ (Learning) การพัฒนาผลสัมฤทธกิ์ ารเรยี นเร่ืองชนิคของคำไทย โดยใชว้ ิธีสอนกจิ กรรมเป็นฐาน ของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4
16 การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ครูควรจัด สภาพการเรยี นการสอนที่เอ้ือต่อการเรียนรู้และให้ความรูท้ ี่ถูกตอ้ งอยา่ งแทจ้ ริงเพื่อนักเรียนจะได้จดจำใน ส่ิงทถ่ี ูกตอ้ ง ธรรมชาตขิ องการเรยี นร้มู ดี งั น้ี 3.1 การเรียนรเู้ ป็นกระบวนการ คือเม่อื มสี ิ่งเรา้ ทำให้ผเู้ รยี นรับรู้ 3.2 การเรียนรเู้ ป็นการแกไ้ ขเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเมอ่ื ไดร้ บั ประสบการณ์ 3.3 การเรยี นรไู้ ม่มวี ุฒิภาวะ 3.4 การเรียนรเู้ กิดขึ้นได้งา่ ยถ้าสงิ่ ทไ่ี ด้เรยี นมคี วามหมายตอ่ ผู้เรียน 4. การเรียนรู้โดยการกระทำ (Learning by doing) ในการสอนภาษาไทยโดยใช้วิธคี รูเป็นผู้บรรยายตลอดไม่เปิดโอกาสให้นักเรยี นไดล้ งมอื ปฏบิ ัตนิ ั้น นักเรยี นจะไดร้ บั ประโยชนน์ ้อยทสี่ ุด เน่ืองจากภาษาไทยเปน็ วชิ าทักษะ นกั เรียนต้องไดฝ้ กึ ลงมือปฏิบัติจริง ๆ และฝึกฝนบอ่ ย ๆไดป้ ฏบิ ตั ิ คน้ ควา้ ด้วยตนเองให้มากท่สี ุด สำหรบั ครูเปน็ เพยี งผ้ชู ้ีแนะแนวทาง จะทำให้ นักเรียนเกดิ การเรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งแนน่ แฟ้นยิ่งขึ้น 5. การเรยี นรูโ้ ดยมเี ปา้ หมาย (Purposeful Learning) ในการสอนทกุ คร้ัง ควรตงั้ เป้าหมายทแ่ี น่นอนก่อนว่าสอนเร่ืองน้ัน ๆ เพ่ืออะไร จะพัฒนานักเรียน ในด้านใดบ้าง และเวลาสอนกด็ ำเนินการสอนไปตามเปา้ หมายทีว่ างไว้ 6. กฎแหง่ แรงจงู ใจ (Motivation) แรงจูงใจ หมายถึง แรงดันที่ทำให้บุคคลแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ออกมา ดังนั้นใน การจัด กิจกรรมการเรียนการสอน ครูต้องคำนึงถึงผลลัพธ์ที่ตามมาจากเนื้อหา ตลอดจนวิธีสอนที่เกี่ยวข้องกับ ความต้องการ และประสบการณ์ที่มีมาก่อนของผู้เรียนมากน้อยเพียงใด แรงจูงใจแบ่งได้เปน็ 2 ประเภท ดงั นี้ 1. แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic Motivation) 2. แรงจงู ใจภายใน (Intrinsic Motivation) 2. แนวคดิ และทฤษฎีเกี่ยวกับการเรยี นการสอนแบบการเรยี นรูเ้ ชิงรกุ (Active learning) การเรียนรู้เชิงรุก (active Learning) คือ กระบวนการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิด การสรา้ งสรรค์ทางปญั ญา (Constructivism) ทีเ่ น้นกระบวนการเรยี นรู้มากกว่าเน้อื หาวชิ าการทีใ่ ห้ผู้เรียน ได้มีโอกาสลงมือกระทำมากกวาการฟังเพียงอย่างเดียว จัดกิจกรรมใหผู้เรียนที่มีครูผู้สอนเป็นผู้แนะนำ กระตุ้น หรืออำนวยความสะดวก ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้โดยการอ่าน การเขียน การโต้ตอบและการ วิเคราะห์ปัญหาอีกทั้งใหผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิดขั้นสูง ได้แก่ การวิเคราะห์การสังเคราะห์ และการ ประเมินค่าจากสงิ่ ที่ได้รับจากกจิ กรรมการเรียนรู้ ทำใหก้ ารเรียนรเู้ ป็นไปอยา่ งมีความหมายและนำไปใช้ใน สถานการณ์อื่น ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า การเรียนรู้เชิงรุก คือกระบวนการจัดการ เรียนรูที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทำและได้ใช้กระบวนการคิดเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้เรียนได้กระทำลงไป (Bonwell& Eison, 1991) เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรูภายใต้สมมติฐานพ้นื ฐาน 2 ประการคือ การเรยี นรู้เป็นความ พยายามโดยธรรมชาติของมนุษย์และแต่ละบุคคลมีแนวทางในการเรียนรูที่แตกต่างกัน ( Meyers& การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิการเรยี นเรื่องชนิคของคำไทย โดยใชว้ ิธสี อนกจิ กรรมเปน็ ฐาน ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4
17 Jones,1993) โดยผู้เรียนจะเปลี่ยนบทบาทจากผู้รับความรู้ (receive) ไปสู่การมีสวนร่วมในการสร้าง ความรู้ (co-creators) เดชดนัย จุยชุม และคณะ (2559) การจัดการเรียนรู้แบบการเรียนรู้เชิงรุกท้ัง กิจกรรม วิธีการหรอื รูปแบบการสอน ทำให้ผู้เรยี น สนใจบทเรียนและทำให้ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นสงู ขนึ้ อย่างไรก็ตามการใช้รูปแบบการสอนสำเร็จรูปที่นิยมใช้กันอยู่ทั่ว ๆ ไปในปัจจุบันอาจไม่เกิดผลสัมฤทธิ์ เพราะบริบทในห้องเรียนแต่ละห้องมีความแตกต่างกัน ผู้สอนควรใช้หลักการของการเรียนรู้เชิงรุกในการ พัฒนากิจกรรมสำหรับผู้เรียน ทั้งวิธีการสอน อุปกรณ์การสอน การออกแบบรูปแบบการสอนต่าง ๆ ให้ เหมาะกับเนื้อหาผู้เรียนและชั้นเรียนจะส่งผลให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่น และเป็นนักคิดที่ไม่หยุดนิ่ง ทำให้ ผู้เรียนสามารถจดจำเนื้อหาได้นาน และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในบริบทต่าง ๆ ในบรรยากาศการ จัดการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ 2.1 ลักษณะของการจดั การเรยี นการสอนแบบการเรยี นรูเ้ ชิงรุก (active Learning) ไชยยศ เรอื งสวุ รรณ (2553) ไดอ้ ธิบายถึงลกั ษณะสำคญั ของการจดั การเรยี นการสอนแบบการ เรยี นร้เู ชิงรุก ดังน้ี 1. เปน็ การเรียนการสอนทพ่ี ัฒนาศกั ยภาพทางสมอง ได้แก่ การคดิ การแก้ปัญหา และการนำ ความรู้ไปประยุกต์ใช้ 2. เป็นการเรียนการสอนท่ีเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนมีส่วนรว่ มในกระบวนการเรยี นร้สู งู สุด 3. ผู้เรียนสรา้ งองคค์ วามรู้และจดั กระบวนการเรยี นรู้ด้วยตนเอง 4. ผู้เรียนมสี ่วนร่วมในการเรยี นการสอนท้ังในด้านการสร้างองค์ความรู้ การสรา้ งปฏิสมั พันธ์ รว่ มกัน ร่วมมอื กันมากกวา่ การแข่งขัน 5. ผเู้ รียนเรยี นรคู้ วามรับผิดชอบรว่ มกัน การมีวินยั ในการทำงาน และการแบง่ หนา้ ท่ีความ รบั ผิดชอบ 6. เปน็ กระบวนการสรา้ งสถานการณ์ใหผ้ ู้เรยี นอา่ น พูด ฟัง คดิ อยา่ งล่มุ ลึก ผ้เู รียนจะเป็นผู้ จดั ระบบการเรียนร้ดู ้วยตนเอง 7. เป็นกจิ กรรมการเรียนการสอนที่เนน้ ทักษะการคิดขั้นสงู 8. เป็นกิจกรรมทีเ่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนบูรณาการข้อมูลข่าวสาร หรือสารสนเทศ และหลักการ ความคดิ รวบยอด 9. ผสู้ อนจะเป็นผ้อู ำนวยความสะดวกในการจัดการเรยี นรู้ เพ่ือใหผ้ ู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเอง 10. ความรู้เกิดจากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้และการสรุปทบทวนของผู้เรียน ลักษณะ ของการเรียนรู้เชิงรุกเป็นวิธีการทีผ่ ู้สอนสร้างส่ิงแวดล้อมในการเรียนรู้ให้ผู้เรียน เช่น เตรียมตัวอย่างภาพ วิดีทัศน์และวิธีดำเนินการ เมื่อผู้เรียนดำเนินกิจกรรมจะเกิดแนวคิดและสร้างองค์ ความรู้ใหม่ด้วยตนเอง จากความรู้เดิมที่มีอยู่ โดยผู้เรียนทำกิจกรรมในระหว่างเวลาเรียน เช่นการ อภิปราย การปฏิบัติการตอบ คำถาม การอ่าน ซึ่งผู้เรียนต้องศึกษาเนื้อหาที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ ก่อนเข้าชั้นเรียน ดังนั้นต้องเป็นผู้รู้และ เชี่ยวชาญในเนื้อหาที่ทันสมัย รู้กระบวนการที่จะพัฒนาวิธีการเรียนรู้และใช้วิธีการเพื่อที่จะถ่ายทอด เน้ือหา สรา้ งมาตรฐานการเรียนร้แู ละส่ิงแวดล้อมในชัน้ เรียนเปน็ ผู้ให้คำแนะนำ อำนวยความสะดวกในช้ัน เรียนให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ตลอดชวี ติ และมีการสะทอ้ นผลการสอนเพื่อปรับปรุงการเรยี นรเู้ ชิงรุกจึงเป็น การพฒั นาผลสัมฤทธิก์ ารเรยี นเร่ืองชนิคของคำไทย โดยใช้วิธสี อนกิจกรรมเป็นฐาน ของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4
18 การเรียนรู้เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตน (transformative learning) เกิดภาวะผู้นำ มีทักษะในการ นำการเปลี่ยนแปลง (change agent) เน้นการพัฒนาทักษะการเรียนรู้(learning skills) เพื่อนำไปสู่การ เรียนรู้ตลอดชีวิต เน้นเนื้อหาการบูรณา การเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยง และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตจริง ภายใตก้ ิจกรรม วิธีการ และกระบวนการท่หี ลากหลาย สนุกสนาน กระตือรือรน้ มีชีวิตชีวาไม่ น่าเบื่อ โดยมีผู้เรียนเป็น ศูนย์กลางของการเรยี นรู้มสี ่วนร่วมและลงมือปฏบิ ัติด้วยตนเอง และได้ฝึกทักษะ การคิดในระดับสูง ผู้สอนมีบทบาทหน้าที่เป็นผู้ให้คำแนะนำเป็นผู้อำนวยความสะดวก และเป็นผู้กระตุ้น ให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ มีแรงบันดาลใจให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต ซึ่งผลลัพธ์ที่ผู้เรียนได้รับ คือ เกิด ทกั ษะการ เรียนรู้และทักษะการดำรงชีวติ อยา่ งถาวร 2.2 บทบาทของผ้สู อนในการจัดการเรียนรู้แบบการเรยี นรู้เชิงรกุ การจัดการเรยี นรแู้ บบการเรียนรเู้ ชงิ รกุ ผสู้ อนเปน็ ผทู้ ่มี บี ทบาทสำคัญทีจ่ ะต้องเปลยี่ นบทบาท จากการทำหนา้ ทีส่ อนเป็นผ้อู ำนวยความสะดวก แนะนำช่วยเหลอื ดูแล และกระตุ้นผู้เรียนในการเรยี นรู้ โดยมบี ทบาททสี่ ำคญั ดงั น้ี ณัชนัน แก้วชยั เจริญกิจ (2550) 1. จัดใหผ้ ู้เรยี นเป็นศนู ยก์ ลางของการเรียนการสอน โดยผสู้ อนเป็นผ้วู างแผนกิจกรรมหรือ เปา้ หมายทต่ี ้องการพัฒนาผเู้ รียน เนน้ ผลที่ผเู้ รียนสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวติ จริง โดยเปิดโอกาสให้ ผเู้ รยี นมสี ่วนรว่ มในการวางแผน กำหนดวธิ กี ารเรยี นรู้ของตนเอง 2. เปน็ คนสร้างบรรยากาศการมสี ว่ นรว่ ม และการเจรจาโตต้ อบในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อ ส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นมีปฏิสมั พันธ์ท่ดี ีแลกเปล่ียนเรยี นรู้ซึ่งกนั และกนั ระหว่างผสู้ อน และเพื่อน ๆ ใน ชั้นเรียน 3. จดั กจิ กรรมการเรยี นร้สู ง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นมสี ว่ นรว่ มในทกุ กิจกรรมท่สี นใจรวมทั้งกระต้นุ ให้ ผูเ้ รยี นประสบความสำเรจ็ ในการเรียน 4. จดั สภาพแวดล้อมการเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื (Collaboratory learning) ส่งเสรมิ ใหเ้ กิดการ รว่ มมือในกล่มุ ผูเ้ รยี น 5. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการท้ังเนอื้ หาสาระ วธิ ีการและฝึกให้ผ้เู รยี นไดม้ ี การบรู ณาการเนื้อหาสู่การประยุกตใ์ ชใ้ นสถานการณ์จริง 6. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ท้าทายและหลากหลาย แม้รายวิชาท่เี น้นทางด้านการ บรรยาย หลักการ และทฤษฎีก็สามารถจดั กิจกรรมเสริม อาทิ การอภิปราย การแก้ไขสถานการณ์ท่ี กำหนดเสรมิ เขา้ กับกจิ กรรมการบรรยาย 7. วางแผนในเรอื่ งของเวลาการสอนอยา่ งชัดเจน ทั้งในประเด็นเนื้อหา และกิจกรรมในการเรยี น ทง้ั น้เี นื่องจากการเรียนรูแ้ บบการเรียนรเู้ ชงิ รุกใชเ้ วลาการจัดกิจกรรม 8. ใจกวา้ ง ยอมรับในความสามารถในการแสดงออกและความคดิ เห็นทผ่ี ูเ้ รยี นนำเสนอ บทบาทผเู้ รยี นในการจดั การเรียนรู้แบบการเรยี นรู้เชงิ รุก ในการจัดการเรยี นรูแ้ บบการเรียนรูเ้ ชิงรกุ ผู้เรียนไม่ไดเ้ ปน็ ผู้น่ังฟังผ้สู อนบรรยายอย่างเดียว แตเ่ ป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการขบั เคลอื่ นกจิ กรรม เพอ่ื ให้เกดิ การเรยี นร้ดู งั นี้ 1. มคี วามรับผดิ ชอบ เตรียมตัวล่วงหนา้ ให้พร้อมทจ่ี ะเรียนรู้ศกึ ษาในส่งิ ท่ีผ้สู อนมอบหมายให้ ศกึ ษาลว่ งหนา้ การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิการเรยี นเร่ืองชนิคของคำไทย โดยใชว้ ธิ สี อนกจิ กรรมเปน็ ฐาน ของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4
19 2. ใหค้ วามร่วมมอื กับผสู้ อนในการจัดการเรยี นรเู้ รม่ิ จากการวางแผนการจดั การเรยี นรู้การ ดำเนินกิจกรรม และการประเมนิ ผล 3. มสี ว่ นร่วมในการทำกิจกรรมอยา่ งกระตือรือรน้ 4. มีปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างผู้สอนกบั ผู้เรียน เพอื่ สรา้ งองคค์ วามรใู้ หม่ การทำงานเปน็ ทีมและการ ยอมรบั ฟังความคิดเห็นของผู้อ่นื 5. มคี วามกระตือรือร้นทจี่ ะเรยี นรูไ้ ด้ลงมือปฏบิ ัติในสถานการณจ์ รงิ ดว้ ยตนเองเพอื่ ใหเ้ กิดการ เรียนรดู้ ว้ ยตนเอง 6. มกี ารใชค้ วามคิดเชิงระบบ ไดแ้ ก่ การคิดวิเคราะห์การคิดเชงิ เหตุผล การคิดอย่างมี วจิ ารณญาณ การคิดเชอื่ มโยง และการคิดอย่างสรา้ งสรรค์ 7. มที ัศนคติท่ดี ีต่อการเรียนร้เู พราะการเรียนรู้ไม่ใช่เรอ่ื งท่ีน่าเบื่อ แต่การเรยี นแบบสนกุ สนาน มี ชีวิตชวี า ข้อดีของการจัดการเรียนรแู้ บบการเรียนรูเ้ ชงิ รุก 1. เปน็ แรงขับทท่ี ำใหผ้ เู้ รียนอยากเรียนรู้ในเน้ือหาวิชา 2. สง่ เสรมิ และพัฒนาทักษะการสร้างการทำงานเป็นทีม สร้างความแข็งแกร่งของเครือข่ายการ เรียนร้ทู ำใหผ้ ้เู รียนเห็นคณุ ค่าในตนเอง เกิดการแกป้ ัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ 3. สง่ เสริมการเรยี นรูด้ ว้ ยการค้นพบแนวคิดและการสรา้ งองค์ความรู้ด้วยตนเอง 4. ส่งเสริมการเรียนใหส้ นุกสนานมแี บบการเรียนรู้ทีห่ ลากหลายเหมาะสมกับผเู้ รียนท่ีมีความ แตกตา่ งกันในรปู แบบการเรียนรูข้ องแต่ละคน ทำใหก้ ารเรียนสนุก และส่งิ แวดลอ้ มการเรียนร้ทู ต่ี นื่ เต้น เสริมพลังทางบวกและการมสี ่วนร่วมของผ้เู รียนอย่างมชี ีวิตชีวา 5. สามารถนาเน้อื หาทเ่ี รียนไปประยกุ ต์ใช้ในการปฏิบตั จิ รงิ 6. เพ่มิ ช่องการสื่อสารกับผ้เู รียนทีม่ ีความแตกตา่ งกนั 7. ชว่ ยสรา้ งความคงทนในการจดจำข้อมูล และสรา้ งแรงจงู ใจในการเรียนรู้ 8. เปน็ การเตรยี มเสน้ ทางใหผ้ ูเ้ รียนเหน็ คณุ ค่า ยอมรับ และไดร้ ับสิง่ ตอบแทน ข้อจำกัดของการจดั การเรยี นร้แู บบการเรยี นร้เู ชงิ รกุ 1. ตอ้ งใชเ้ วลาจึงอาจทำใหผ้ ูส้ อนไม่สามารถจดั การเวลาท่ีมอี ยู่กบั จำนวนเน้อื หาหลกั สตู รที่มากได้ 2. ต้องใช้เวลาในการเตรียมการ ดังนั้นหากผู้สอนที่มีภาระงานสอนมากจะไม่สามารถใช้การ เรยี นรแู้ บบการเรียนร้เู ชิงรกุ ได้ 3. การใช้การเรียนรู้แบบการเรียนรู้เชิงรุกในห้องเรียนที่มีขนาดใหญ่ จำนวนผู้เรียนมากอาจมี ข้อจำกัดในการดูแล ควบคมุ ใหผ้ ู้เรยี นดำเนินกิจกรรมไปในทศิ ทางทีผ่ ูส้ อนวางแผนได้ยาก 4. ผู้สอนที่มีความเชื่อมั่นในตนเองสูงคิดว่าตนเองเป็นผู้บรรยายที่ดีจะไม่ยอมรับวิธีการ เรียนรู้ แบบการเรยี นร้เู ชิงรุกทใี่ หค้ วามสำคญั กบั กระบวนการมากกว่าผู้สอน 5. ความต้องการวัสดุอุปกรณ์จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการสอนแบบการเรียนรู้เชิงรุกใน ห้องเรียน ตอ้ งมคี วามพรอ้ มในการเร่ืองวัสดุอปุ กรณ์ การพัฒนาผลสมั ฤทธกิ์ ารเรียนเรื่องชนิคของคำไทย โดยใช้วิธสี อนกิจกรรมเป็นฐาน ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 4
20 6. ผู้เรียนต่อต้านวิธีการสอนที่ไม่ใช่การบรรยาย เนื่องจากผู้เรียนจะคุ้นชินกับการเรียนโดย วิธีการมารับความรู้จากผู้สอนมากกว่าการเรียนโดยการลงมือปฏิบัติด้วยตนเองตามคำแนะนำของ ผู้สอน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ รูปแบบของการจัดการเรียนรู้แบบการเรียนรู้เชิงรุก การจัดการเรียนการสอนเพื่อ สนับสนุนการจัดการเรียนรู้แบบการเรียนรู้เชิงรุก สามารถสร้างให้เกิดขึ้นได้ทั้งในและนอกห้องเรียน รวมทั้งสามารถใช้ได้กับผู้เรียนทุกระดับ ทั้งการเรียนรู้เป็นรายบุคคล การเรียนรู้แบบกลุ่มเล็ก และการ เรยี นรูแบบกลุม่ ใหญ่ McKinney (2008) ได้เสนอรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ แบบการเรยี นรู้เชงิ รกุ ได้ดี ได้แก่ 1. การเรียนรู้แบบแลกเปล่ียนความคิด (Think-Pair-Share) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ ผู้เรียนคิดเกี่ยวกับประเด็นที่กำหนดคนเดียว 2–3 นาที (Think) จากนั้นใหแลกเปลี่ยนความคิดกับเพื่อน อกี คน 3–5นาที (Pair) และนำเสนอความคิดเห็นต่อผู้เรยี นท้งั หมด (Share) 2. การเรียนรูแบบร่วมมือ (Collaborative Learning group) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ท่ี ใหผ้ เู้ รยี นไดท้ ำงานรว่ มกับผู้อื่น โดยจัดกลมุ่ ๆ ละ 3 - 6 คน 3. การเรียนรู้แบบทบทวนโดยผู้เรียน (Student - led review sessions) คือการจัดกิจกรรม การเรียนรทู้ ่เี ปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทบทวนความรู้และพิจารณาข้อสงสยั ต่าง ๆ ในการปฏบิ ัติ กิจกรรมการ เรียนร้โู ดยครจู ะคอยช่วยเหลอื กรณีทมี่ ีปัญหา 4. การเรียนรูแ้ บบใชเกม (Games) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทีผ่ ู้สอนนำเกมเข้าบูรณาการใน การเรียนการสอน ซึ่งใช้ได้ทั้งในขั้นการนำเขาสู่บทเรียน การสอน การมอบหมายงาน และ หรือขั้นการ ประเมินผล 5. การเรียนรู้แบบวิเคราะห์วีดีโอ (Analysis or reactions to videos) คือการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ดูวดี ีโอ 5 - 20 นาที แล้วให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น หรือสะท้อนความคิด เกี่ยวกับ สง่ิ ทไี่ ด้ดู อาจโดยวธิ กี ารพูดโตต้ อบกนั การเขียน หรือการรว่ มกนั สรปุ เปน็ รายกลุม่ 6. การเรียนรู้แบบโตวาที (Student debates) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่จัดใหผู้เรียน ได้ นำเสนอขอมูลทีไ่ ดจ้ ากประสบการณแ์ ละการเรยี นรูเ้ พ่ือยนื ยันแนวคิดของตนเองหรือกลุ่ม 7. การเรยี นรูแ้ บบผเู้ รียนสรา้ งแบบทดสอบ (Student generated exam questions) คอื การ จดั กิจกรรมการเรียนรู้ที่ใหผเู้ รียนสรา้ งแบบทดสอบจากสง่ิ ที่ได้เรยี นรมู้ าแล้ว 8. การเรียนรูแบบกระบวนการวิจัย (Mini-research proposals or project) คือการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ที่อิงกระบวนการวิจัย โดยให้ผู้เรียนกำหนดหัวข้อที่ตองการเรียนรู้วางแผนการเรียน เรียนรู้ตามแผน สรุปความรู้หรือสร้างชิ้นงาน และสะท้อนความคิดในสิ่งที่ได้เรียนรู้หรืออาจเรียกว่าการ สอนแบบโครงงาน (project-based learning) หรือการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (problem-based learning) 9. การเรียนรูแบบกรณีศึกษา (Analyze case studies) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ให้ ผู้เรียนได้อ่านกรณีตัวอย่างที่ต้องการศึกษา จากนั้นให้ผู้เรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ หรือ แนวทางแก้ปญั หาภายในกลุม่ แลวนำเสนอความคิดเห็นตอผ้เู รียนทัง้ หมด การพัฒนาผลสัมฤทธิก์ ารเรียนเร่ืองชนิคของคำไทย โดยใช้วิธสี อนกจิ กรรมเปน็ ฐาน ของนกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4
21 10. การเรียนรแู้ บบการเขียนบนั ทึก (Keeping journals or logs) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนจดบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ที่ได้พบเห็น หรือเหตุการณที่เกิดขึ้นในแต่ละวันรวมทั้งเสนอ ความคิด เพิ่มเติมเกย่ี วกับบนั ทกึ ทเ่ี ขยี น 11. การเรียนรู้แบบการเขียนจดหมายข่าว (Write and produce a newsletter) คือ การจัด กิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนร่วมกันผลิตจดหมายข่าว อันประกอบด้วย บทความ ขอมูล สารสนเทศ ขา่ วสาร และเหตุการณท่ีเกดิ ขึ้น แลว้ แจกจา่ ยไปยังบคุ คลอ่นื ๆ 12. การเรียนรู้แบบแผนผังความคิด (Concept mapping) คือการจัดกิจกรรมเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรยี น ออกแบบผนังความคิด เพื่อนำเสนอความคิดรวบยอด และความเชื่อมโยงกันของกรอบความคิด โดยการ ใช้เสน้ เปน็ ตัวเชือ่ มโยง อาจจัดทำเปน็ รายบคุ คลหรืองานกลุ่ม แลวนำเสนอผลงานตอ่ ผเู้ รยี น อ่ืน ๆ จากน้ัน เปิดโอกาสให้ผูเ้ รียนคนอ่นื ไดซ้ ักถามและแสดงความคดิ เหน็ เพม่ิ เติม 3. แนวคดิ เกยี่ วกบั การเรียนโดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน 3.1 ความหมายของการเรยี นโดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใช้กิจกรรมเปน็ ฐาน เป็นการจัดการเรยี นการสอนตาม แนวคดิ การ เรียนรูผ้ า่ นกิจกรรม (Activity-Based Learning : ABL) ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของแนวคดิ การเรยี นรู้ ด้วยการ ลงมือทำ (Learning by doing) ของ John dewy ซ่ึงมีนักวชิ าการและ นักการศกึ ษาส่วนใหญใ่ หค้ ำนิยาม ไว้สอดคล้องกนั คือ เปน็ การเรียนร้ทู ผ่ี ้เู รยี นลงมอื ทำ ผา่ น ประสาทสัมผัสของร่างกายทำใหก้ ารเรยี นรู้มี ประสทิ ธภิ าพมากข้ึน รายละเอยี ด ดังน้ี Bonwell and Eison (1991) ไดอ้ ธิบายวา่ กระบวนการจัดการเรียนรูห้ รอื ประสบการณ์ เรียนรู้ ทผ่ี ู้เรยี นไดล้ งมือกระทำและได้ใชก้ ระบวนการคดิ สัมพนั ธ์กับการลงมือกระทำ Horsburgh (1994) ได้อธิบายวา่ การเรยี นรูห้ รอื ประสบการณเ์ รยี นรู้จากกจิ กรรมท่ีเป็นแนวทางการเรียน การสอนท่ีหลากหลาย ความต้องการท่กี ารเรยี นรู้ของผเู้ รยี นจะขนึ้ อยกู่ บั การกระทำบางอยา่ งในการ ทดลองและกิจกรรม ความคดิ ในการเรยี นรตู้ ามกิจกรรมนน้ั มีพ้ืนฐานมาจากแนวคดิ วา่ นักเรียนคอื ผู้เรียนท่ี ใช้กระบวนการคดิ มากกวา่ ผทู้ ่ีได้รบั ข้อมูลแบบถกู กระทำ passive หากนักเรยี นไดร้ บั โอกาสในการสำรวจ หรอื ลงมือกระทำด้วยตวั เองและมีสภาพแวดลอ้ ม การเรียนรทู้ ่เี หมาะสมมากท่สี ุด การเรียนรจู้ ะเกดิ ความ สนุกสนานและยั่งยืนยาวนาน Buehl (2001) ได้กลา่ วถึงการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ กิจกรรมเป็นฐานวา่ เปน็ การจดั การ เรียนรู้ตามแนวคดิ การเรียนรู้ท่เี น้นกิจกรรมเป็นฐาน ซึ่งเป็นการจดั ประสบการณ์เรยี นรู้ท่ี เปลย่ี นรูปแบบ การจัดการเรียนรู้ไปจากเดิม คอื การนำนักเรียนออกมาจากตารางเรยี น เปลี่ยน จากการใหน้ กั เรยี นนงั่ เรยี นเพียงอย่างเดียวเปน็ กิจกรรมที่ปฏิสัมพนั ธ์หรือกจิ กรรมเชิงรุก บาง กจิ กรรมนำนกั เรียนไปจัด ประสบการณเ์ รียนรนู้ อกช้นั เรียน บางกิจกรรมเป็นการนำผู้เรยี นออก จากกฎ ทฤษฎี หรอื เน้ือหาใน บทเรยี นนอกเหนอื จากส่งิ ท่คี ิดไว้หรือข้อมูลสำเรจ็ รปู โดยการ จัดการเรียนการเรียนรู้ทเี่ น้นกิจกรรมเป็น ฐาน จะเน้นให้ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรผู้ ่านกิจกรรมและทำให้ ผูเ้ รียนมสี ่วนร่วมในการทำให้เกิดการเรยี นร้ขู องทุก คนในชน้ั เรียน โดยสองประเด็นหลกั ท่ีสำคัญ ในการการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ กจิ กรรมเปน็ ฐาน คอื การพฒั นาผลสัมฤทธก์ิ ารเรียนเร่ืองชนคิ ของคำไทย โดยใชว้ ธิ สี อนกจิ กรรมเป็นฐาน ของนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4
22 (1) กลยุทธ์ในการจดั การเรียนการ สอน ไม่วา่ จะเป็นระบบการสอน โครงสร้างของเนอ้ื หา เทคนคิ และ กระบวนการต่าง ๆ ทค่ี รผู ู้สอน ใช้ในการสอนผูเ้ รียน โดยการสอนดว้ ยวธิ ีนี้ครูมีหนา้ ทชี่ ว่ ยเหลอื ใหผ้ ้เู รียน เกดิ การเรียนรู้ (2) กจิ กรรมการเรยี นรู้ ซึ่งครูเปน็ ผดู้ ำเนนิ การช่วยเหลอื ใหค้ ำแนะนำและมอบหมายให้ นกั เรียน ปฏิบัติและใหน้ ักเรียนดำเนนิ กิจกรรม Ayotola and Ishola (2013) ไดอ้ ธบิ ายวา่ การจดั การเรยี นรู้ที่เนน้ กจิ กรรมเป็นฐาน มี พ้ืนฐาน มาจากการจดั การเรยี นรทู้ สี่ ่งเสริมใหผ้ ูเ้ รยี นสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivist Theory) ซงึ่ เช่ือ ว่าการสร้างองค์ความรู้ดว้ ยตนเองจะทำให้การเรยี นรมู้ ีความหมายและมีประสิทธิภาพมากกวา่ การป้อน ความรู้ให้กบั ผ้เู รียน การเรียนรู้ทีเ่ น้นกจิ กรรมเปน็ ฐานจะช่วยให้ ผู้เรียนกล้าลงมือปฏิบตั ิ กล้าคิดและกล้า แสดงออก สามารถค้นคว้าหาความรจู้ ากแหลง่ ต่าง ๆ ได้ ด้วยตนเอง ผ่านการสังเกต การทดลองและการ ลงมือทำ โดยมีครูผ้สู อนเป็นผู้ชแี้ นะแนวทางใน การเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ที่เนน้ กิจกรรมเป็นฐานเป็น สว่ นหน่ึงของการจัดการเรียนรทู้ เ่ี น้น ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Awasthi (2014) ได้อธบิ ายการจดั การเรยี นรู้ทเี่ น้นกิจกรรมเป็นฐานวา่ เปน็ การจดั การ เรยี นรู้ที่ ม่งุ เน้นให้ผ้เู รียนเกดิ ความร้แู ละทักษะต่าง ๆ จากการเขา้ ร่วมกจิ กรรมและการลงมือทำ ซ่ึงกิจกรรมท่จี ัด ข้ึนมที ง้ั เกมการเรียนรู้แบบปกติ เกมการเรยี นรู้แบบแข่งขนั แสดงบทบาทสมมติ การแสดงละคร การร้อง เพลง การวาดภาพ โดยผูเ้ รียนจะไม่ไดเ้ รยี นรผู้ า่ นประสบการณ์การลงมือ ปฏบิ ตั ขิ องตนเองแต่ยังเรียนรู้ ผ่านประสบการณ์ของเพ่ือน ๆ ในกลุ่ม ในห้องเรียน ซึง่ การจดั การ เรียนการสอนตามแนวคิดนีส้ ามารถ ใช้ได้กับทุกวิชาเพราะมสี ่งผลต่อการเรยี นรู้ของนักเรยี นท่ดี ีข้ึนมาก โดยควรระมัดระวงั ในการจดั การเรยี น การสอนตามแนวคิดการเรยี นรูท้ ีเ่ นน้ กิจกรรมเปน็ ฐาน คือ (1) ครูควรวางแผนการจดั กิจกรรมทุกครั้งก่อน เร่ิมจดั กิจกรรม (2) ครูควรเนน้ ให้เกิดการ เรยี นรู้ (3) ครผู สู้ อนควรจดั การเรียนการสอนที่เนน้ กิจกรรมเป็น ฐานควบคู่ไปกับการจัดการเรียน การสอนแบบดั้งเดิม (4) ควรมกี ารประเมนิ การเรยี นรู้ (5) ก่อนและหลงั การเร่ิมทำกจิ กรรมครู ตอ้ งแนะแนวทางถึงความสัมพนั ธข์ องกจิ กรรมกับวชิ าทเี่ รยี นดว้ ย (6) การจัดการ เรียนการสอนทุก แบบมีข้อจำกัด ดงั น้นั ควรจัดตามความเหมาะสมเทา่ นั้น ศศิธร ลิจันทรพ์ ร (2556) ได้ให้ความหมายของการเรียนการสอนโดยใชก้ ิจกรรมเป็นฐาน วา่ เปน็ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรูม้ ุง่ เนน้ ให้ผู้เรยี นได้เรียนรู้ ค้นคว้า ทำความเข้าใจ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมนิ ค่าในเนื้อหาบทเรยี นผา่ นการจดั ประสบการณ์เรียนรูท้ ผ่ี ู้เรยี นเปน็ ผ้ลู งมือ กระทำหรือปฏบิ ตั ดิ ว้ ย ตนเอง จากการการทดลอง การเล่มเกม การสรา้ งสรรคผ์ ลงาน และการ ทำงานรว่ มกบั ผู้อื่น โดยการจัด สภาพแวดลอ้ มการเรียนรู้ทเี่ หมาะสม และมกี ารวางแผนในการใช้ สือ่ ที่ดี จะนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใน ตวั บคุ คลได้อยา่ งเต็มความสามารถ วโิ รจน์ ลกั ขณาอดิสร (2550) ได้ให้ความหมายเกย่ี วกับวธิ กี ารสอนโดยใช้กจิ กรรมเปน็ ฐานวา่ เปน็ การจัดประสบการณ์เรยี นรู้ใหผ้ เู้ รียนตามแนวคิดแบบการเรียนรผู้ า่ นกิจกรรม (Activity-Based Learning) ซึ่งเป็นแนวคดิ ที่มุ่งเน้นใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความรู้ ความเข้าใจและทักษะ ตา่ ง ๆ ผ่านการเล่นเกม กิจกรรมกลมุ่ ซ่ึงเนน้ การกระตุ้นให้ผู้เรยี นได้คน้ พบเน้ือหาสาระใน ระหวา่ งทำกิจกรรม ซึ่งสามารถพัฒนา องค์ความรู้ได้ดว้ ยตนเอง โดยเฉพาะกิจกรรมกลุม่ ทส่ี ามารถ ทำกจิ กรรมร่วมกับเพอ่ื นในห้อง ซ่งึ จะทำให้ นกั เรียนมภี าวะความเปน็ ผนู้ ำมีมนษุ ยสัมพันธท์ ี่ดี ได้ ฝึกการทำงานเปน็ ทีมและสามารถเรยี นรูก้ ารอยู่ใน สังคมได้ การพฒั นาผลสมั ฤทธิ์การเรียนเร่ืองชนคิ ของคำไทย โดยใช้วิธสี อนกิจกรรมเปน็ ฐาน ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4
23 จากความหมายของการเรียนโดยใชก้ จิ กรรมเป็นฐาน สามารถสรปุ ได้ว่า การจดั ประสบการณ์ การเรียนรู้โดยทเ่ี น้นใหผ้ ู้เรยี นได้ลงมือปฏบิ ตั ิ สบื คน้ แสวงหาสร้างองค์ความรู้และ ทักษะด้วยตนเองจาก การทำกิจกรรมเปน็ หลัก เช่น การเลน่ เกม การรอ้ งเพลง บทบาทสมมติ กจิ กรรมกล่มุ การแสดงละครเปน็ ต้นโดยผา่ นประสาทสมั ผสั ทัง้ หา้ เพ่ือใหน้ ักเรยี นไดเ้ กดิ การเรียนรู้ ผา่ นประสบการณต์ รง แตใ่ นการทำ กจิ กรรมยังมีข้อจำกดั โดยที่ครูต้องคำนึงถึงเพ่ือไม่ใหเ้ รยี น เนอื้ หาน้อยเกนิ ไปส่วนใหญ่ทำแต่กจิ กรรม ควร ต้องปรับใหเ้ หมาะสมและสอดคล้องกบั ตัวชี้วดั หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน 2561 3.2 ความสำคัญของการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นกิจกรรมเป็นฐาน การจดั การเรยี นรทู้ ี่เนน้ กิจกรรมเป็นฐาน เปน็ การจัดประสบการณ์สอนทีม่ ีความสำคญั ต่อ การ เรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ซึง่ นกั วิชาการได้ให้ความสำคัญไว้ดังน้ี Limbu (2012) ได้ กลา่ วถึงความสำคัญของการจดั การเรียนรทู้ ีเ่ นน้ กจิ กรรมเป็นฐานว่า การจดั กจิ กรรม การเรยี นรู้ตามแนว ทางการเรยี นรทู้ ่ีเนน้ กิจกรรมเป็นฐานน้ีมีความสำคัญตอ่ ผูเ้ รียนในดา้ นการ อาศยั ประสบการณ์ตรงทางการ เรยี นรู้ เพราะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นได้สมั ผัสสิง่ ต่าง ๆ ที่อยรู่ อบตัวใน ชีวติ ประจำวนั ว่าสามารถนำมาเช่ือมโยงกับ ความรจู้ ากกระบวนการจดั การเรียนร้ผู า่ นการลงมือ ปฏิบัติ คน้ คว้า วเิ คราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่าดว้ ย ตนเอง จดจำและเข้าใจเนอ้ื หาความรจู้ าก การตกผลกึ ทางความคิด นอกจากน้ียังฝกึ ให้นักเรียนได้ทำงาน รว่ มกัน ซึง่ เป็นประโยชนต์ อ่ การเรียนรู้ Limbu ยังกลา่ วตอ่ ไปอีกว่าผู้เรียนเกดิ ทักษะจากการทำกจิ กรรม และช่วยสง่ เสริมในหลายประเดน็ เช่น 1) ช่วยเพ่ิมมุมมองความคิดสรา้ งสรรคจ์ ากประสบการณ์การเรยี นรู้ของผ้เู รียน 2) ช่วยทำให้ประสบการณก์ ารเรียนรู้ของนักเรียนแตกต่างจากเดมิ ทำใหน้ ักเรียนให้ ความสำคัญ ในการเรียนและเห็นคณุ ค่าของการลงมือปฏิบตั ิ 3) ช่วยเสริมสร้างความมั่นใจให้กับผเู้ รียนดว้ ยการแสวงหาองค์ความรู้ด้วยตนเอง และ การ แลกเปล่ียนเรียนรใู้ นกระบวนการกลุ่ม 4) ชว่ ยเพม่ิ ความสุขในการเรียนร้รู ะหวา่ งผเู้ รยี นกับเพ่ือนในชน้ั เรียน และผเู้ รียนกับ ครูผู้สอน 5) ช่วยสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นทไี่ มแ่ สดงออกทางวาจา สามารถแสดงออกทางความคิดไดผ้ ่าน กจิ กรรม McGrath and MacEwan (2011) ไดก้ ล่าววา่ กระบวนการจัดการเรียนการสอนตาม หลกั การเรยี นรู้ท่ี เน้นกจิ กรรมเปน็ ฐาน มีความสำคญั กบั การเรียนรู้ของผู้เรียนเพราะสามารถทำให้ ให้ผูเ้ รียนเกิดความ กระตือรอื รน้ ในกระบวนการเรียนรู้ (Active) ผ่านการทำกิจกรรมท่ผี ูเ้ รยี นได้ลง มอื ปฏบิ ัติเอง ซงึ่ จะทำให้ ผเู้ รยี นเกดิ ความรแู้ ละทักษะที่คงทนย่งั ยืนยาวนาน รวมถึงการจัดการ เรียนการสอนทีเ่ นน้ กจิ กรรมเปน็ ฐานยังสามารถฝกึ ใหผ้ ู้เรียนได้แสดงความเห็นอย่างมวี จิ ารณญาณ จากการทำกจิ กรรม จงึ ทำให้การเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมมีความสำคญั ตอ่ ผูเ้ รียนเปน็ อย่างยิง่ จากความสำคัญของการจดั การเรยี นร้ทู เี่ นน้ กจิ กรรมเป็นฐานสามารถสรปุ ได้ว่า เปน็ กระบวนการ จัดการเรียนรู้จากการจดั กจิ กรรมกระต้นุ ให้นกั เรียนไดเ้ กดิ การเรยี นรดู้ ้วยตัวเอง โดย ใช้ประสบการณ์ ตรงทีน่ กั เรยี นไดร้ บั จากการทำกจิ กรรม ในระหวา่ งจัดกระบวนการเรยี นรู้นักเรียน จะได้ฝึกการทำงาน ร่วมกนั กับผู้อ่ืน เมือ่ พอปัญหาในระหว่างเรียนนกั เรียนจะได้ฝกึ แก้ไขปญั หา เฉพาะหนา้ ทำให้การเรยี นรู้ เกดิ ประสทิ ธภิ าพและคงทน ไม่ใช่เป็นการเรยี นร้แู บบเดมิ โดยการเรียนแบบนักเรียนมหี น้าท่ีรบั ฟงั คำ การพฒั นาผลสมั ฤทธิ์การเรียนเร่ืองชนิคของคำไทย โดยใชว้ ิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4
24 บรรยายแล้วทำแบบฝกึ หดั การเรยี นแบบเดมิ อาจจะเป็นจำ จดระยะส้นั เมื่อเวลาผ่านไปนักเรียนอาจจะลมื บทเรียน 3.3 ลักษณะของการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ กจิ กรรมเป็นฐาน การจัดการเรยี นการสอนโดยใชก้ จิ กรรมเป็นฐาน เปน็ กระบวนการจดั ประสบการณ์เรียนรู้ ทีม่ ี ความแตกต่างจากการจดั การเรียนรู้แบบบรรยายปกติท่วั ไป โดยมีลกั ษณะสำคัญของการจัด กจิ กรรมการ เรียนการสอนโดยใชก้ ิจกรรมเป็นฐานตามทนี่ กั วิชาการและนกั การศึกษาใหไ้ ว้ ดงั นี้ Bonwell and Eison (1991) ได้อธิบายลักษณะของการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ กิจกรรมเปน็ ฐานไวว้ ่า เปน็ การจดั การเรียนรูท้ ใ่ี หผ้ ู้เรียนได้ลงมือปฏิบตั ิบางส่ิงบางอย่างและเรยี นรู้ จากการกระทำบาง สงิ่ บางอย่างนน้ั Okwudishu (2011) ไดอ้ ธบิ ายลกั ษณะของการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ กิจกรรมเปน็ ฐานไว้ วา่ เป็นการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นศนู ย์กลาง ผ่านกจิ กรรมการเรียน การสอนท่ีเน้น ให้ผู้เรยี นได้ลงมือกระทำและเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง โดยครผู สู้ อนมหี น้าท่เี ปน็ ผู้แนะนำ และอำนวยความ สะดวกในการเรยี นรู้ (Facillitator) คือครผู สู้ อนมีหนา้ ท่ีกำกบั ดแู ลชน้ั เรยี นและ ควบคุมการจดั กจิ กรรมให้ นักเรยี นในขณะปฏบิ ัติกจิ กรรมและแนะแนวทางการเรยี นรู้ของนักเรยี น ไปยังจุดมุ่งหมายของการเรยี นรู้ น้ัน ๆ ไดโ้ ดยมลี ักษณะสำคัญคือ 1) การเรียนรทู้ สี่ ำคัญจะเกดิ ขึ้นเมื่อผเู้ รียนได้รับรจู้ ดุ ม่งุ หมายทีค่ รวู างไว้ 2) การเรียนรูไ้ ดม้ าจากการลงมือทำ 3) การเรยี นรู้โดยผู้เรียนมคี วามรับผดิ ชอบตอ่ กระบวนการเรียนรู้ 4) การเรียนรู้ทเี่ ร่ิมจากตนเองโดยเกี่ยวขอ้ งกับความรู้และอารมณ์โดยตรง Festus (2013) ได้อธิบายลักษณะและหลกั การของการจัดการเรยี นการสอน โดยใช้ กจิ กรรม เปน็ ฐานไว้ 3 ประการ คือ 1) ครูและผู้เรยี นต้องมสี ่วนรว่ มในการสอนและกระบวนการเรียนรู้ 2) ผู้เรียน จะตอ้ งค้นพบความรู้ ภายใต้คำแนะนำจากครผู สู้ อน 3) จดจำสง่ิ ทไ่ี ด้รับจากการพบเจอ โดยผ้เู รยี นจะต้อง นำส่งิ ท่ไี ด้เรยี นรู้ ไปใช้ ไชยยศ เรอื งสุวรรณ (2553) ได้อธบิ ายถงึ ลกั ษณะสำคญั ของการจัดการเรยี นการ สอน ตาม แนวคิด Active Learning โดยมีลกั ษณะสำคญั ดังน้ี 1) เปน็ การเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การแกป้ ัญหา การคิด และ การนำ ความรู้ไปประยุกต์ใช้ 2) เป็นการเรยี นการสอนที่เปิดโอกาสใหผ้ ้เู รยี นมสี ่วนรว่ มในกระบวนการเรยี นรู้มากทสี่ ดุ 3) ผู้เรียนสรา้ งและจัดระบบการเรยี นร้ดู ้วนตนเอง 4) ผู้เรียนมสี ่วนรว่ มในการเรียนการสอน 5) ผเู้ รียนไดเ้ รยี นรคู้ วามรับผิดชอบรว่ มกนั 6) เป็นกระบวนการสรา้ งสถานการณใ์ หผ้ ูเ้ รียนฟงั พูด อ่าน เขียนและคดิ ผูเ้ รยี นจะเปน็ ผู้ จัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง 7) เปน็ กจิ กรรมการเรยี นการสอนท่เี น้นทักษะการคิดข้นั สงู 8) เป็นกจิ กรรมทเ่ี ปดิ โอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูล ขา่ วสารสู่การสรา้ งความคดิ รวบ ยอด 9) ผสู้ อนจะเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิการเรียนเร่ืองชนคิ ของคำไทย โดยใชว้ ธิ ีสอนกิจกรรมเปน็ ฐาน ของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4
25 10) ความรู้เกิดจากประสบการณ์ การสรา้ งองค์ความรู้ และการสรุปทบทวนของผู้เรยี น จากลักษณะของการจดั การเรียนการสอนที่เน้นกิจกรรมเป็นฐาน สามารถสรุปไดว้ ่า ลักษณะ สำคัญของการจัดการเรยี นการสอนโดยผา่ นกจิ กรรมท่ีมีลกั ษณะสำคัญ คือ ครูจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ และนักเรยี นปฏิบัติกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามเป้าหมายหรือวัตถปุ ระสงค์ที่ ได้ต้งั ไว้ เป็นการเรียนรู้ที่นกั เรยี น มีบทบาทในกระบวนการเรยี นร้มู ากทส่ี ุด ครผู ู้สอนมหี น้าท่ี แนะนำและช่วยเหลือเม่ือนักเรยี นเกดิ ปัญหา ข้ึนระหว่างเรียน และหาทางแก้ไขร่วมกนั นักเรยี น จะเกดิ ทักษะและกระบวนการเรยี นรดู้ ้วยตน้ เองผา่ น ประสบการณ์ในการทำกจิ กรรม และสามารถ สร้างองค์ความรู้ไดด้ ้วยตนเอง 3.4 กลยุทธข์ องการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ กจิ กรรมเป็นฐาน กลยทุ ธ์การสอน คือ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่นี ำเทคนิคหรือวธิ ีการสอนมา ชว่ ยใน การจัดการเรยี นรใู้ ห้เกิดประสทิ ธภิ าพ ไดม้ ีนักวชิ าการได้ให้ความหมายไว้ดงั น้ี Festus (2013) ไดอ้ ธบิ าย วา่ การจัดการเรยี นการสอนโดยใช้กจิ กรรมเป็นฐาน จะมจี ุดที่ ต้องการเนน้ คือการใหผ้ เู้ รียนได้ลงมือปฏิบตั ิ หรอื มีส่วนร่วมในกจิ กรรมของชน้ั เรยี นเพอ่ื ให้ กระบวนการการเรยี นรู้ของนกั เรยี นเป็นไปอยา่ งต่อเนอ่ื ง โดยมกี ลยทุ ธ์ในการจัดกจิ กรรมดงั นี้ คอื 1) เกิดกระบวนการทางแนวคิดทไ่ี ด้จากการทำกิจกรรม เป็นการค้นพบข้อเท็จจริงหรือ เกดิ แผนผังมโนทัศน์โดยทผ่ี เู้ รยี นไดร้ บั การแนะแนวจากครูผ้สู อนจากการเรยี นร้ใู นกิจกรรมการ เรยี นการสอน 2) ภาระงานทน่ี ักเรยี นได้รบั มอบหมายต้องมีความเหมาะสมกับระดับการเรียนรู้ของ ผเู้ รียนและ สอดคล้องกบั ระยะเวลาการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน 3) ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนรจู้ ักเปา้ หมายและเข้าใจกระบวนการท่ีจะนำไปสเู่ ป้าหมาย โดยใช้ หลักการ ของ Ukeje (1979) ทวี่ ่าลงมือกระทำแล้วความคิดและใช้ความคดิ สร้างความรู้ออกมาซง่ึ การสอนให้ ผเู้ รยี นรูจ้ กั เปา้ หมายจะชว่ ยกระตุน้ ผเู้ รยี นใหส้ นใจและมพี ฤติกรรมในการเรียนรทู้ ่ดี ขี น้ึ 4) การเรยี นรู้แบบรว่ มมือหรือการเรียนรูแ้ บบกลุ่ม (Cooperative Learning or Small Group Learning) การเรยี นรูแ้ บบร่วมมือหรือแบบกลุ่มจะช่วยให้ผู้เรยี นชว่ ยเหลอื กนั เอง และทำ ใหเ้ กดิ การ เรียนรู้ท่ีละเอียดอ่อนมีความหมายและมผี ลต่อกระบวนการเรยี นรู้ 5) มีการอภิปรายในชัน้ เรยี นหลังจากจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ สร็จสิน้ แลว้ เป็นการส่งเสริม และตอ่ ยอดกระบวนการเรียนรจู้ ากสิ่งทีไ่ ด้เรยี นรู้ ช่วยสรา้ งแรงจูงใจทมี่ ตี อ่ การเรียนรู้ และ นักเรียนไดแ้ ลกเปลยี่ น ประสบการณ์ จากกลยุทธ์ของการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ กจิ กรรมเป็นฐาน สามารถสรปุ ได้ว่า เปน็ กระบวนจดั การเรียนการสอนที่มุ่งเน้นใหน้ ักเรยี นคน้ พบข้อเท็จจริงและเกิดองค์ความรู้ด้วย ตนเอง จาก กระบวนการที่ใช้ครเู ป็นผแู้ นะนำผา่ นการลงมือทำกิจกรรม ซึง่ กิจกรรมควรเปน็ กิจกรรมที่เหมาะสมกับ ชว่ งวยั และระดบั ความรู้ของนักเรียน และสง่ เสรมิ ใหน้ ักเรียนมจี ุดม่งุ หมาย ในการเรียน และได้เรียนรู้แบบ รว่ มมอื กิจกรรมกลุ่มตา่ ง ๆ 3.5 ประเภทของกิจกรรมท่ีใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นกจิ กรรมเป็นฐาน การจัดกิจกรรมตามแนวทางการจดั การเรยี นการสอนโดยใชก้ จิ กรรมเป็นฐานสามารถจัด กิจกรรมได้หลายรปู แบบ นักวิชาการสองท่านได้ให้ความหมายทแ่ี ตกต่างกนั ออกไปดงั น้ี Awasthi (2014) ไดแ้ บง่ ประเภทของกิจกรรมออกเปน็ 3 หมวดหมู่ คือ การพัฒนาผลสมั ฤทธิก์ ารเรียนเรื่องชนิคของคำไทย โดยใชว้ ธิ สี อนกิจกรรมเป็นฐาน ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4
26 1) กิจกรรมท่เี น้นการค้นพบ (Exploratory) ทั้งในด้านความรู้ ความคิดและทักษะ 2) กิจกรรมท่ีเนน้ การสรา้ งความรู้ (Constructive) เป็นการไดร้ บั ประสบการณ์ผา่ นการสรา้ ง ผลงาน 3) กิจกรรมท่เี นน้ การแสดงออกทางความคิด (Expressive) โดยจะเน้นไปท่ีการนำเสนองาน ทศิ นา แขมมณี (2536) ได้อธิบายการจัดกิจกรรมใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั การเรียนรแู้ ละการจัดกิจกรรมกลุ่ม สามารถทำได้หลายวธิ ี ดงั นี้ 1) การสอนโดยใช้บทบาทสมมติ (Role-Play) 2) การสอนโดยใชเ้ กม (Game ) 3) การสอนโดยใช้กรณตี วั อย่าง (Case) 4) การใช้กลุม่ ย่อยในการสอนหรอื การเรยี นแบบกลมุ่ ย่อย (Small Group) 5) การสอนโดยใชส้ ถานการณ์จำลอง (Simulation) จากประเภทของกิจกรรมทใ่ี ช้ในการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นกจิ กรรมเป็นฐาน สามารถ สรุปไดว้ ่า การ เรยี นการสอนโดยผ่านกิจกรรมซ่ึงมีกิจกรรมต่าง ๆ เชน่ การสอนโดยใช้เกมการสอนโดยใชบ้ ทบาทสมมติ การสอนโดยใชก้ รณีตวั อยา่ ง การสอนโดยการแสดงละคร การสอน สอนโดยใชก้ จิ กรรมกล่มุ 3.6 ขัน้ ตอนในการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นกจิ กรรมเป็นฐาน โดยทัว่ ไปขน้ั ตอนหรือวิธีจะการประกอบดว้ ย วิธกี ารเป็นข้นั ๆ และมีสว่ นที่ตอ้ งทำแบบ วนซ้ำใน ข้ันตอนตา่ ง ๆ จนกระท่งั เสร็จส้ินการทำงาน สว่ นขน้ั ตอนในการจดั การเรียนการสอนที่ เน้นกจิ กรรมเปน็ ฐาน มีนักวิชาการหลายทา่ นมีความคดิ เห็นท่ีสอดคล้องกนั และได้กล่าวไวด้ งั น้ี Lakshmi (2007) ไดเ้ สนอแนวคิดเทคนคิ ในการจดั การเรยี นการสอนโดยใชก้ ิจกรรมเปน็ ฐาน ซ่งึ มี 6 ขั้นตอนดงั น้ี 1) ขั้นนำ ครูใหโ้ อกาสการเรยี นรแู้ ละชแ้ี นะการเรียนรูใ้ ห้กับนกั เรียน 2) ขนั้ ประสบการณ์ ครูใหส้ ถานการณ์การเรยี นรู้ โดยใหน้ กั เรยี นมีโอกาสที่จะสงั เกต สำรวจให้ ประสบการณเ์ พื่อพัฒนาความเขา้ ใจของตนเอง 3) ขัน้ กจิ กรรม นกั เรยี นทกุ คนมีสว่ นร่วมอยา่ งแข็งขนั ในกิจกรรมทแ่ี ตกตา่ งกนั 4) ขน้ั สร้างความรู้ นักเรียนทุกคนสร้างความรู้ของตัวเองโดยข้ึนอยูก่ ับประสบการณ์ 5) ขัน้ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ นักเรยี นในกลมุ่ พูดคยุ รว่ มกนั แลกเปล่ยี นความคิด 6) ขน้ั ประเมินผล เป็นการประเมนิ ตนเอง ซึง่ เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรยี นรู้ และ การ จดั การเรียนการสอน NCSALL (2006) ไดเ้ สนอโครงสร้างการจดั กจิ กรรมเปน็ ฐาน โดยมีขน้ั ตอน 5 ขั้นตอน ดังน้ี 1) ขั้นนำ คือ การบอกบทบาทหนา้ ที่ของผเู้ รยี น กล่าวถงึ วัตถปุ ระสงค์ของการเรียนรู้และ สนับสนนุ ความสะดวกในการเรียน 2) ขนั้ ศกึ ษาและอภิปราย โดยให้ผ้เู รียนศึกษาเนื้อหาบทเรียนทีผ่ ู้สอนไดจ้ ดั เตรยี มใหแ้ ละ นำมา อภปิ รายร่วมกันเพื่อการแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ 3) ข้นั กจิ กรรม ให้นกั เรียนแบ่งกลุ่มและทำงานรว่ มกนั ตามกจิ กรรมทจ่ี ัดไว้ 4) ขัน้ ผลสะท้อนจากกิจกรรม ใหผ้ เู้ รยี นสะท้อนความคดิ ท่ีไดร้ ับจากการเข้าร่วมกจิ กรรม การพัฒนาผลสัมฤทธ์กิ ารเรียนเรื่องชนคิ ของคำไทย โดยใชว้ ิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน ของนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4
27 5) ขั้นประเมินผล ประเมินผลการเรยี นรู้จากส่งิ ท่ีผูเ้ รยี นไดเ้ รยี นและทำกจิ กรรมมา วีณา วโรตมะวิชญ (2530) ได้กล่าวถึงลำดับข้ันการจดั การเรยี นการสอนโดยใชก้ จิ กรรม เปน็ ฐาน ไว้ดังนี้ 1) ขนั้ ลงมือปฏิบัติ เป็นข้ันทีผ่ ู้เรียนทุกคนมีสว่ นรว่ มในการทำกจิ กรรม 2) ข้ันคน้ พบ เม่ือนกั เรียนได้มีสว่ นร่วมโดยมกี ารลงมอื ปฏบิ ัตดิ ้วยตนเองแล้วเขา จะเกดิ ความรู้สึกและเกดิ ความเขา้ ใจตนเอง ซงึ่ จะนำไปส่กู ารคน้ พบส่งิ ท่ีเรียนรดู้ ้วยตนเอง 3) ขน้ั วเิ คราะห์ เป็นขนั้ ที่สำคัญท่สี ุดคอื เปน็ การใหผ้ ้เู รยี นได้วเิ คราะห์ถงึ สิง่ ที่ได้ กระทำลง ไปโดย ครูผู้สอนเปน็ ผตู้ ั้งคำถามวา่ เกิดอะไรขน้ึ อยา่ งไรจงอธิบาย เพือ่ ให้ 4) ข้นั นำไปใช้ เปน็ ขนั้ ทีผ่ ู้เรยี นสามารถเชือ่ มโยงสง่ิ ทไี่ ดเ้ รียนรู้ดว้ ยตนเองกับส่งิ อื่น ๆ ได้ ทศิ นา แขมมณี (2545) ได้กล่าวถงึ ขั้นตอนในการจดั กิจกรรมกลมุ่ ให้สอดคล้องกับ หลกั การ เรียนรู้ไว้เป็น ขั้นตอน ดงั นี้ 1) ขั้นนำ คือ การเตรยี มความพรอ้ มให้แก่ผู้เข้าร่วมกจิ กรรม เชน่ การทบทวน 2) ข้นั กจิ กรรม คอื การให้ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมไดล้ งมอื ทำกิจกรรมที่ไดเ้ ตรียมไว้ 3) ข้นั อภิปราย คือ การใหผ้ ูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมได้มโี อกาสแลกเปลยี่ นประสบการณ์การเรียนรู้ท่ี เกดิ ขึน้ 4) ข้ันสรปุ และนำไปใช้ คือ การรวบรวมความคิดเหน็ และข้อมูลต่าง ๆ จากข้ัน กจิ กรรม และ อภิปราย ใหผ้ ู้เขา้ ร่วมกิจกรรมนำเอาการเรยี นรทู้ ไ่ี ด้รบั ไปปฏิบตั ลิ ะใชจ้ ริงในชวี ติ ประจำวัน 5) ขนั้ ประเมนิ ผล คือ ผูด้ ำเนินกจิ กรรมต้องประเมินผลการบรรลจุ ุดม่งุ หมายทีต่ ั้งไว้ นฤมล มณงี าม (2547) ไดเ้ สนอการจัดกจิ กรรมโดยใช้วิธีการดำเนินการจัดกิจกรรมการ เรยี นรู้ ตาม หลกั การเรยี นรู้ด้วยการรับใช้สังคม ดังน้ี 1) ขน้ั กระตุ้นและใหป้ ระสบการณ์ เป็นการให้ความรแู้ ละปูพื้นฐานความร้แู ละ กระตุ้นให้ นกั เรียนเกดิ ความสนใจและต้องการท่จี ะศกึ ษาเรอ่ื งดังกลา่ วโดยใช้วิธกี ารสนทนา การถามเพื่อ ชน้ี ำ การ อภปิ รายกลมุ่ 2) ขน้ั เตรียมการ เป็นชัน้ ทีผ่ ้เู รียนกำหนดขอบเขตของการศึกษาเพื่อเรยี นรู้ แลว้ ทำการศึกษา สำรวจ และระบสุ ภาพปัญหาและความต้องการ โดยเลอื กกิจกรรมที่จะรับใช้สงั คม จากนั้นผูเ้ รยี นวาง แผนการรับใช้สังคมในกิจกรรมทีเ่ ลือก 3) ขนั้ ปฏบิ ัตกิ าร เป็นขน้ั ที่ผู้เรยี นลงมอื ปฏบิ ตั กิ ารรับใช้สงั คมตามแผนปฏบิ ัตกิ ารที่ กำหนดไว้ 4) ขั้นผลสะท้อนกลบั เป็นข้นั ทีผ่ ูเ้ รียนคดิ วเิ คราะหเ์ หตุการณ์และสิง่ ต่าง ๆ กลา่ วโดยสรปุ จาก การอธิบายขั้นตอนการสอนของนักวชิ าการ ผู้วจิ ัยได้นำมาสังเคราะห์ รูปแบบ ขั้นตอนการจัดการเรยี น การสอนโดยใชก้ จิ กรรมเปน็ ฐาน ออกมาเป็นขัน้ ตอน 4 ขน้ั ตอน คือ 1) ขัน้ เตรยี ม คือ การเตรยี มความพร้อมใหแ้ กผ่ ู้เขา้ รว่ มกิจกรรม เชน่ การทบทวนคำศัพท์ 2) ขน้ั กจิ กรรมการสอนคำศพั ท์ คือ ผู้สอนเสนอคำศพั ท์ใหม่ในการทำกิจกรรม 3) ขน้ั ปฏบิ ัติกจิ กรรม คือ การให้ผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรมไดล้ งมือทำกิจกรรมทไ่ี ด้เตรียมไว้ 4) ขน้ั สรปุ และประเมนิ ผล คือ เปน็ ข้นั ท่ีผ้เู รยี นสามารถเชอื่ มโยงส่งิ ทีไ่ ด้เรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง กบั ผอู้ น่ื ไดแ้ ละประเมนิ ผลการเรียนรจู้ ากสง่ิ ท่ีผู้เรียนไดเ้ รียนและทำกจิ กรรมมาทั้งหมด การพฒั นาผลสมั ฤทธกิ์ ารเรียนเรื่องชนิคของคำไทย โดยใช้วิธีสอนกจิ กรรมเป็นฐาน ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4
28 จากข้ันตอนในการดำเนนิ การเรียนโดยใชก้ จิ กรรมเป็นฐานที่มผี ูใ้ ห้แนวคดิ น้นั ผู้วจิ ัยได้ทำ การ สังเคราะห์รปู แบบขนั้ ตอนในการดำเนินการเรยี นโดยใช้กจิ กรรมเปน็ ฐานออกมาเป็นขั้นตอน ดำเนินการ เรียนโดยใช้กิจกรรมเปน็ ฐานของผู้วิจัย ดงั ตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงการสงั เคราะห์ขน้ั ตอนของการเรียนการสอนโดยใช้กิจกรรมเปน็ ฐาน ขน้ั ที่ นฤมล มณงี าม ทศิ นา แขม มณี วณี า Lakshmi NCSALL (2006) ผูว้ จิ ยั (2547) (2545) วโรตมะวิชญ (2007) (2530) 1. ขั้นกระตุน้ ขั้นนำ ขนั้ ลงมือ ขัน้ นำ ขนั้ นำ ข้ันทบทวน และให้ ปฏบิ ัติ ประสบการ์ ประสบการณ์ 2. ขนั้ เตรยี มการ ขน้ั กจิ กรรม ขน้ั คน้ พบ ขัน้ ขั้นศึกษาและ ขน้ั กจิ กรรม ประสบการณ์ อภิปราย การสอน 3. ขน้ั ปฏบิ ัตกิ าร ขั้นอภปิ ราย ข้นั วิเคราะห์ ข้นั กจิ กรรม ขน้ั กิจกรรม ขั้นขน้ั สะท้อน ความคิด 4. ขั้นผลสะท้อน ข้ันสรุปและ ข้ันนำไปใช้ ขั้นสร้าง ขั้นผล สะท้อน ขนั้ ประเมินผล กลบั นำไปใช้ ความรู้ จาก กิจกรรม และ ประยกุ ตใ์ ช้ 5. ขนั้ ประเมนิ ขนั้ แลก ขั้นประเมินผล ผล เปลยี่ นเรยี นรู้ 6. ขน้ั ประเมิน ผล จากขั้นตอนการทำกจิ กรรมของนกั วิชาการหลาย ๆ ท่าน จึงไดส้ ุปออกมาดังน้ี รูปแบบการเรียนรู้ ทีม่ งุ่ เน้นสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนมสี ่วนร่วมในการเรยี นรู้ และมบี ทบาทในการเรยี นรู้ โดยใชก้ จิ กรรมเปน็ ฐาน โดย มงุ่ เนน้ ให้ผู้เรยี นได้เรยี นรู้ และทำความเข้าใจในเนอื้ หาบทเรียน ผ่านกจิ กรรมทีผ่ ู้เรียนเป็นผลู้ งมือปฏิบัติ ดว้ ยตนเองผา่ นกจิ กรรมหลากหลาย ประยกุ ต์ใช้ในการจัดการเรยี นรใู้ หเ้ หมาะสมกับผูเ้ รียน เพือ่ พัฒนา ผลสมั ฤทธ์กิ ารเรยี นเรอ่ื งชนคิ ของคำไทย ของนกั เรียนโดยมีขนั้ ตอน 4 ขั้นตอน ดงั น้ี 1) ข้ันทบทวนประสบการณ์ 2) ขน้ั กิจกรรม 3) ขน้ั สะท้อนความคดิ 4) ขั้นประเมินผลและประยุกต์ใช้ โดยใชใ้ นการทบทวนความรู้ ในเวลาและนอกเวลา 2.1 ข้ันทบทวนประสบการณ์ หมายถึง เป็นการทบทวนและสำรวจความรู้เดมิ กระตนุ้ ให้ นักเรียนเกดิ ความสนใจก่อนนำเข้าสูบ่ ทเรยี น การพฒั นาผลสมั ฤทธ์กิ ารเรียนเร่ืองชนคิ ของคำไทย โดยใชว้ ิธสี อนกจิ กรรมเปน็ ฐาน ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4
29 2.2 ขน้ั กิจกรรม หมายถงึ การจัดกจิ กรรมท่ีนักเรียนทุกคนมีสว่ นร่วมในกจิ กรรม ทำงานร่วมกัน ตามกจิ กรรมท่ีครจู ดั เตรียมไว้โดยกจิ กรรมทจี่ ัดเตรยี มสามารถเป็นไดท้ ้ังกจิ กรรมเดีย่ วและกจิ กรรมกลมุ่ มี การสร้างสรรค์ช้นิ งานซ่งึ มาจากทักษะทีจ่ ำเป็น 2.3 ขั้นสะท้อนความคดิ ใหผ้ ู้เรียนสะท้อนความคดิ และองค์ความรู้ทไ่ี ดร้ บั จากการเขา้ รว่ ม กจิ กรรมโดยคิดวเิ คราะห์สถานการณ์และกจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่ีเกดิ ข้นึ ในขณะทเี่ ข้ารว่ มกจิ กรรม และนำเสนอ ผลงานของตนเองหรือของกลุ่ม 2.4 ขนั้ ประเมนิ ผลและประยุกตใ์ ช้ ประเมนิ ผลการเรยี นรู้มา นำสงิ่ ที่ผู้เรียนไดเ้ รยี นรูน้ ำมาใชใ้ น สถานการณ์ใหมห่ รอื สถานการณใ์ กลเ้ คยี งกบั สิ่งท่ีได้เรียนรู้มา 4.งานวจิ ัยทเ่ี กีย่ วข้อง เพ็ญนภา ตลับกลาง (2562) การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้วิธีสอน กิจกรรมเป็นฐานสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดเขียนเขต มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เปรียบเทียบผล สัมฤทธิ์การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษก่อนและหลังเรียนโดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็น ฐานของนักเรียนชั้นป ระถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนวัดเขียนเขต 2) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้น ประถมสึกษาปที ี่ 2 โรงเรยี นวดั เซยี นเขต ท่ีมีต่อการเรยี นรคู้ ำศพั ทภ์ าษาอังกฤษโดยใชว้ ธิ สี อนกิจกรรมเป็น ฐานและ 3) ศึกษาความคงทนในการจำในการเรยี นร้คู ำศัพทภ์ าษาองั กฤษของนักเรียนชนั้ ป ระถมศึกษาปี ท่ี 2 โรงเรียนวัดเขียนเขต โดยใช้สอนกิจกรรมเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 256 1 โรงเรียนวัดเขียนเขต อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี จำนวน 1 หอ้ งเรียน เป็นกลุ่มตัวอยา่ งโดยใช้วิธีส่มุ อย่างง่าย ได้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2/5 จำนวน 42 คน โดย ใช้ระยะเวลาในการทดลองเป็นเวลา 3 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการ เรยี นรโู้ ดย ใชว้ ธิ ีสอนกจิ กรรมเป็นฐานในการเรียนรูค้ ำศัพทภ์ าษาอังกฤษ ของนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2 2) แบบทสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้คำศพั ท์ภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เป็นข้อสอบแบบปรนยั และ 3) แบบสอบถามความคิดเห็นที่มตี ่อก ารเรียนรู้คำศัพท์ภาษ าอังกฤษโดยใช้ วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐานสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบคา่ ที (t- test) แบบ Dependent Sample ผลการวจิ ยั พบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐานของนักเรียนหลัง เรยี นสงู กวา่ กอ่ นเรยี นอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ิ ที่ 0.05 2) ความคิดเห็นที่มีต่อก ารเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐานสำหรับ นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 2 อยู่ในระดบั มาก 3) ความคงทนในการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษหลังเรียนและเรียนไปแล้ว 2 สัปดาห์ของนักเรียน พบว่า นักเรียนมีความคงทนทางการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษหลังเรียนและหลังเรียนไปแล้ว 2 สัปดาห์ แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี ระดับ 0.05 โดยค่าเฉลี่ยหลังเรียนไปแล้ว 2 สัปดาห์ สูงกว่าค่าเฉลี่ย สอบหลงั เรยี น การพัฒนาผลสัมฤทธ์กิ ารเรยี นเรื่องชนิคของคำไทย โดยใช้วิธสี อนกจิ กรรมเปน็ ฐาน ของนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4
30 นารถนารี อนิ ตะสอน (2556) การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาภาษาไทยเร่ืองคำและ ชนดิ ขอ ชงคำ ของนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ที่ได้รับกรสอนโดยการเรียนแบบร่วมมอื เทคนิคTAI กับ การสอนแบบปกติการวิจัยครั้งนี้ มี วัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบผสสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรือ่ ง คำและชนดิ ของคำ ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษปีท่ี ทไี่ ดร้ บั การสอนโดยก ารเรยี นแบบร่วมมือ เทศ นิค TAI กับการสอนแบบปกติ 2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยการ เรียนแบบร่วมมือเทคนิค TAI และ3 )ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ที่มีต่อการ เรยี นแบบรว่ มมือ เทคนคิ กลมุ่ ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั ไดแ้ กน่ กั เรียนชั้นประถมศึกษ าปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2550 โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ห้องเรียน ได้มาจาก การสุ่มอย่างง่าย (simple Random samping) แบ่งเป็นกลุ่มทดลองสอนใดยการเรียนแบบร่วมมือ เทคนคิ TAI จำนวน 32 คนและเป็นกลุม่ ควบคุมสอนแบบปกติ จำนวน 30 คน ระยะเวลาในการทดลอง 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 4 คาบคาบละ 50 นาที รวม 16 คาบ เครื่องมือที่ใช้ในกรวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรแู้ บบรว่ มมอื เทคนิค TAI เร่ืองคำและชนดิ ของคำ 2) แผนการจัดการเรยี นรู้แบบปกติ เรื่อ งคำและชนิดของคำ 3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรืองคำและชนิดของคำ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนแบบร่วมมือ เทคนิค TA1 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ าเฉลี่ย (X ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) กรทดลอบค่าที่แบบอิสระ (t-test Independent) และ การทดสอบคา่ ทีแบบไมเ่ ป็นอสิ ระ(t-test dependent) การวเิ คราะหส์ ูงกว่าก่อนเรยี น ผลการวจิ ัยพบวา่ 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรยี นกล่มุ ที่ได้รบั การสอนโคยวิธกี ารเรียน แบบรว่ มมือ เทคนิค TAI และนักเรียนกลุ่มที่ได้รับการสอนแบบปกติ มีค วามแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ระดับ .01 โดยกลุ่มทีไ่ ด้รับการสอน โดยการเรียนแบบรว่ มมือ เทคนิค TAI มีผลสัมฤทธิ์สงู กว่ากลุ่มท่สี อน แบบปกติ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกลุ่มที่ได้รับการสอนโคยวิธีก รเรียนแบบร่วมมือ เทคนิค TA1 ก่อนและหลังเรยี น แตกตา่ งกนั อย่างมีนยั สำคัญทางสถิตริ ะดบั .01 โดยผสสัมฤทธ์ทิ างการเรียนหลัง เรียน 3) ผลของการตอบแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนแบบร่วมมือ เทคนิค TAI พบ ว่านักเรียนมีความคิดเห็นที่ดีต่อการเรียนแบบร่วมมือ เทคนิค TAIพเยาว์ สิ่งวี (2551) ได้ทำการ วิจยั เร่อื ง ผลการจัดการเรียนรู้แบบรว่ มมือ กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยด้านการอ่านจับใจความ โดยใช้ เทคนคิ CIRC สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรียนวัดดอนไกเ่ ตย้ี สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา เพชรบรุ ี เขต 1 มีวัตถุประสงค์ในการทาวจิ ยั คือ 1) เพอื่ เปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ิในการอ่านจับใจความ ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ด้วยการเรียนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค CIRC กับวิธี การสอนแบบปกติ ก่อนและหลงั เรียน 2) เพอ่ื ศกึ ษาพฤตกิ รรมการทางานกลุ่มของนักเรียน ทเ่ี รยี นแบบรว่ มมือ โดยใช้เทคนิค CIRC กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดดอนไก่เตี้ย สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรี เขต 1 ในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2550 จำนวน 2 ห้องเรียน จำนวน 86 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) และจับฉลากเพื่อกำหนด เป็นกลุ่มทดลอง (Experiment Group) จานวน 43 คน และกลุ่มควบคุม (Control Group) จำนวน 43 คน ซึ่งแต่ละห้องเรียน ของกลุ่มตัวอย่างมีทั้งนักเรียนที่เรียนเก่ง ปานกลางและอ่อนรวมอยู่ด้วยกัน การพฒั นาผลสัมฤทธ์กิ ารเรียนเรื่องชนคิ ของคำไทย โดยใชว้ ิธสี อนกจิ กรรมเปน็ ฐาน ของนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4
31 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค CIRC แผนการจัดการ เรียนรู้ วธิ ีสอนแบบปกติ 2) แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นด้านการอา่ นจับใจความ จำนวน 2 ชุด ชุดละ 20 ขอ้ คือแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและแบบทดสอบหลังเรียน 3) แบบประเมนิ พฒั นาการพฤติกรรม การทำงานกลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมุติฐานเพื่อ เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นทั้งกลมุ่ ทดลองและกลุม่ ควบคมุ โดยใช้ t-test ผลการวิจยั พบว่า 1. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ด้านการอ่านจับ ใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในกลุ่มทดลองก่อนและหลัง ที่ได้รับการสอนแบบร่วมมือโดย ใชเ้ ทคนคิ CIRC ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยก่อนและหลังการทดลองโดยใชค้ ่า t-test มีความแตกต่างอย่าง มีนยั สำคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดบั .00 โดยกลมุ่ ทดลองมีคา่ เฉลย่ี หลงั การสอนสูงกว่ากอ่ นทดลอง 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 6 ในกลุ่มควบคุมก่อนและหลังที่ได้รับการสอนแบบปกติ ความแตกต่างของค่าเฉล่ีย ก่อนและหลังการทดลองโดยใช้ค่า t-test มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติทีร่ ะดับ .01 โดยกลุม่ ควบคมุ มีค่าเฉลย่ี หลังการสอนสงู กวา่ ก่อนทดลอง 3. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 3 ที่ได้รับการสอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค CIRC กับการสอนแบบปกติหลังการ ทดลอง ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยท้ังสองกลุ่มโดยใช้ค่า t-test มีความแตกต่าง อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติ ทีร่ ะดับ .01 โดยกลมุ่ ทดลองมผี ลสมั ฤทธิด์ า้ นการอ่านจบั ใจความสูงกว่ากลมุ่ ควบคุม 4. พัฒนาการของพฤติกรรมการทางานกลุ่มของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอน แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค CIRC เมื่อใช้แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่มซึ่งสังเกตโดยครูพบว่า ภาพรวมพฤตกิ รรมการทางานกลุ่มของนักเรียนอยู่ในระดับปานกลาง เม่ือพจิ ารณาเปน็ รายพฤติกรรมย่อย โดยเรยี งพฤตกิ รรมที่ปฏบิ ัตมิ ากไปหาน้อย คอื พฤติกรรมการมสี ว่ นรว่ มในการปฏิบตั ิกจิ กรรม เป็นลาดับท่ี 1 พฤตกิ รรมการต้ังใจปฏิบัติกจิ กรรมเป็นลาดบั ที่ 2 พฤติกรรมการทางานเสรจ็ ตรงตามเวลาเป็นลำดับท่ี 3 พฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังผู้อ่ืนเปน็ ลาดบั ท่ี 4 และลำดบั สุดท้ายคือพฤติกรรมการ ให้กาลังใจและสนับสนุนความคดิ เห็นเพ่ือน กิดติคม คาวีรัตน์ (2553) ทำการวิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ เพ่ือ สร้างเสริมสุขภาวะสำหรับนักศึกบา มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการ เรียนรู้เชิงประสบการณ์เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะสำหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีการทดสอบก่อน และหลังการทดลองใชร้ ูปแบบที่พัฒนาขึ้นกบั กล่มุ ทคลอง จำนวน 1 14 คน ซ่งึ ไดจ้ ากการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง แบบแบ่งชั้นอย่างเป็นสัดส่วน ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยค่ำร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ ยงเบน มาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาที่ได้จากการสังเกตและการสัมภายณ์ เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัย ได้แก่ คู่มืออาจารย์ แบบทคสอบความรู้แบบประเมินความรับผิดชอบ แบบ ประเมินทักษะกระบวนการ แบบประเมินทักษะมนุษยสัมพันธ์แบบสอบถามเจตคติ แบบสอบถาม พฤติกรรม และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการพัฒนาได้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้เชิงประสบการณ์เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ( KAECPAR Model ประกอบด้วย หลักการ คือการเรียนรู้เชิงประสบการณช์ ว่ ยให้ผ้เู รียนเกิดการเรยี นรู้ โดยการปฏิบัติ การพฒั นาผลสัมฤทธิก์ ารเรยี นเร่ืองชนิคของคำไทย โดยใชว้ ิธีสอนกจิ กรรมเป็นฐาน ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4
32 จริง เป็นการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ใหม่ วัตถุประสงค์ คือ เพื่อให้ผู้เรียนมี ส่วนร่วมในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ร่วมกันทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ขั้นตอนของรูปแบบ 5 ขั้น คือ ขั้นที่ ! การให้ความรู้และการสร้างความตระหนัก(Knowledge and Awarenes : KA) ขั้นที่ 2 การสร้าง เสริมความรู้ (Enhancement : E) ขั้นที่ 3 การสร้างผลงาน (Construction : C) ขั้นที่ 4 การนำเสนอ ผลงาน ความรู้ (Enhancement : E) ขั้นที่ 3 การสร้างผลงาน (Construction : C) ขั้นที่ 4 การนำเสนอ ผลงาน(Presentation : P) และขั้นที่ 5 การประเมินผลการเรียนรู้และการสะท้อนกลับ (Assessment and Rellection : AR) ในทุกขั้นตอนมีการดำเนินการขั้นตอนช่อย คือ ขั้นตอนเตรียมการ(Preparing: ) ขั้นปฏิบัติ (Doing : D) ขั้นสรุป(Summarizing : S) โคยมีเงื่อนไขการนำรูปแบบไปใช้ ประกอบด้วย หลักการตอบสนอง ระบบสังคม และระบบสนับสนุน 2. ผลการประเมินการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ เชิงประสบการณ์ พบว่า 2.1 ความรู้การสร้างเสริมสุขภวะหลังการใช้รูปแบบสูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบ 2.2 พฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาวะหลังการ ใช้รูปแบบสูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบ 2.3 การใช้ทักษะ กระบวนการหลังการใช้รูปแบบสูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบ 2.4 การใช้ทักษะมนุษยสัมพันธ์หลังการใช้ รปู แบบสูงกวา่ กอ่ นการใช้รปู แบบ 2.5 เจตคติการสร้างเสริมสุขภาวะหลังการใชร้ ปู แบบสงู กวา่ ก่อนการ ใช้ รูปแบบ 2.6 ความรบั ผิดชอบของนักศึกษาหลงั การใชร้ ูปแบบนักศึกษามคี วามรบั ผดิ ชอบอยู่ในระดับดีมาก 2.7 ค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรูข้ องอาจารย์อยู่ในระดับมาก ที่สุด กันตาภา สุทธิอาจ (2560) ได้ทำวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบเน้น ประสบการณ์ตามสภาพจริงเพื่อส่งเสริมคุณลักษณะการเรียนด้วยการนำตนเองของนักเรียนชั้น มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ การวิจัยน้เี ป็นวิจัยและพฒั นา มวี ัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารปู แบบการเรียนการสอน แบบเน้นประสบการณ์ตามสภาพจริง เพื่อส่งเสริมคณุ ลักษณะการเรียนด้วยการนำตนเองของนักเรยี นชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น และ 2) ศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนแบบเน้นประสบการณ์ตาม สภาพจริง เพื่อส่งเสรมิ คุณลักษณะการเรียนด้วยการนำตนเอง ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น มีการ ดำเนินการวิจัย 4 ขั้นตอนคือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาข้อมูล แนวคิด ทฤษฎีจากเอกสารและงานวิจัย ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการสอนแบบเนั้นประสบการณ์ตามสภาพ จริง ขั้นตอนที่ 3 การนำรูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นไปทดลองใช้ ขั้นตอนที่ 4 การประเมิน ประสทิ ธิผลของรปู แบบการเรยี นการสอนสำหรับข้ันตอนท่ี 3 การนำรูปแบบการเรยี นการสอนทพี่ ัฒนาข้ึน ไปทคลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสดรี วัคระฆัง สังกัดสำนักงาน เขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต ! ท่ีเรียนพระพทุ ธศาสนา รหัส ส 23105 ในภาเรยี น ที่ 2 ปกี ารศึกษา 2560 จำนวน 2 ห้องเรียน ซง่ึ ไดม้ าโดยการสุ่มแบบกลุ่ม โดยจดั เปน็ กลุ่มทคลอง ซึง่ เรียน โดยใช้กิจกรรมการเรีขนรูต้ ามรูปแบบที่ผู้วจิ ัยพัฒนาข้ึน จำนวน 1 ห้องเรียน 49 คน และกลุ่มควบคุม ซึ่ง เรียน โดยใชก้ จิ กรรมการเรียนแบบปกติ จำนวน 1 หอ้ งเรยี น 50 คน เคร่ืองมือที่ใช้ คอื 1)แผนการจัดการ เรยี นรู้ 2) แบบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น 3) แบบประเมนิ คณุ ลักษณะการเรยี นด้วยการนำตนเองและ 4) แขบสอบถามความพึงพอใจ วิเคราะหโ์ ดยการหาค่าสถิตปิ ระกอบด้วย คา่ เฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบค่าที การพฒั นาผลสมั ฤทธิก์ ารเรยี นเรื่องชนคิ ของคำไทย โดยใชว้ ธิ สี อนกจิ กรรมเป็นฐาน ของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4
33 จากการสรปุ และสังเคราะห์งานวจิ ยั ดงั กลา่ วขา้ งตน้ จะเหน็ ได้วา่ รปู แบบการเรียนการสอนใน ปัจจบุ นั เน้นใหผ้ ู้เรียนได้แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง เชน่ แนวทางการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ รว่ มกับการสอนแบบ Active Learning ซงึ่ วธิ กี ารเรยี นรู้ในลักษณะนี้จะสง่ เสริมใหผ้ เู้ รยี น สามารถสร้างองคค์ วามรูใ้ หม่ ๆ ได้ ดว้ ยตนเอง มีการคดิ วิเคราะห์ แก้ปญั หาตามสถานการณ์ การจัดการเรียนรแู้ บบกจิ กรรมเป็นฐาน คอื รปู แบบการเรยี นรทู้ ่ีมุง่ เน้นสง่ เสริมใหผ้ เู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการเรยี นรู้ และมีบทบาทในการเรียนรู้ โดยใช้ กิจกรรมเปน็ ฐาน โดยม่งุ เน้นใหผ้ ้เู รยี นไดเ้ รียนรู้ และทำความเขา้ ใจในเน้ือหาบทเรยี น ผา่ นกจิ กรรมที่ ผู้เรียนเปน็ ผลู้ งมือปฏิบัตดิ ้วยตนเอง ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรยี นรใู้ ห้เหมาะสมกบั ผเู้ รียน เพ่อื พฒั นา ผลสมั ฤทธิก์ ารเรยี นเรอื่ งชนคิ ของคำไทย ของนกั เรยี นโดยมีขน้ั ตอน 4 ขน้ั ตอน ดงั นี้ 1) ขั้นทบทวนประสบการณ์ 2) ข้นั กจิ กรรม 3) ข้ันสะท้อนความคิด 4) ขน้ั ประเมนิ ผลและประยกุ ต์ใช้ โดยใช้ในการทบทวนความรู้ ในเวลาและนอกเวลา ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้นำวิธีการรูปแบบการสอนแบบกิจกรรมเป็นมาใช้ในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นเรื่องชนิดของคำไทย โดยเลือกรายวชิ าภาษาไทยทีผ่ ู้วิจยั รบั ผดิ ชอบสอนอยู่ 6. ขน้ั ตอนการพัฒนา/การดำเนินงาน จากท่สี งั เคราะหง์ านวจิ ยั และเอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ งจงึ ได้ข้ันตอนการดำเนินงานดังน้ี การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องชนดิ ของคำไทย โดยใชว้ ิธสี อนกิจกรรมเปน็ ฐาน 1. ศึกษาเอกสาร ตำราท่ี 1.แผนจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เกย่ี วขอ้ งเพื่อเตรียมวางแผน 2.แบบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น 2.กำหนดเคร่ืองมือ เน้ือหา 3.แบบสอบถามความคดิ เหน็ กจิ กรรม ส่อื นวตั กรรมท่ีใช้ ประกอบ การจดั การเรียนรู้ 3.ดำเนินกจิ กรรมเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการ เรียนเรื่องชนดิ ของคำไทย ทดสอบก่อนเรียน 6.รวบรวมขอ้ มูลและวเิ คราะห์ สรุปผลการจัดกจิ กรรม 4.ประเมินผลหลังจากจดั กิจกรรมการเรียนร้โู ดย 7.รายงานและเผยแพร่ กจิ กรรมเป็นฐาน เพอื่ เปรียบเทยี บคะแนน ความก้าวหน้าจากแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน 5.สอบถามความคิดเหน็ หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรม การพัฒนาผลสมั ฤทธิ์การเรยี นเร่ืองชนิคของคำไทย โดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
34 6.1 นวตั กรรมท่ีได้ 1.แผนการจัดการเรยี นรโู้ ดยใชว้ ิธสี อนกจิ กรรมเป็นฐานในการเรียนรู้เรื่องชนิดของคำไทย ของ นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 6.2 แนวทางการนำนวตั กรรมไปใช้และการตอ่ ยอด แนวทางการนำนวัตกรรมไปใช้ 1) ควรมีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอนเรื่องชนิดของคำไทยในหลายรูปแบบเพื่อให้เหมาะสมกับ บริบทของนักเรยี น 2) การเลือกกิจกรรม ผู้สอนควรเลอื กใช้กิจกรรมให้เหมาะสมกับระดับความรู้ของผู้เรียน เพราะ จะช่วยใหน้ กั เรยี นเกิดความเขา้ ใจมากกว่า อีกท้ังยงั จะชว่ ยใหน้ กั เรยี นมีความสนใจในเน้อื หาทเ่ี รยี นดว้ ย 3) ในระยะแรกผู้เรียนอาจเกิดความสบั สนเก่ียวกับวธิ ีการเรียนแบบใช้กจิ กรรมเป็นฐาน ครูผู้สอน ควรเอาใจใส่ดูแลและให้นักเรียนฝึกใช้อย่างสม่ำเสมอ ไม่ควรเร่งรัดหรือจำกัดเวลาการทำกิจกรรมของ นักเรียน เพราะอาจไม่ได้รับผลการจัดกิจกรรมเท่าที่ควร ควรให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความต้องการและ ความสามารถของตนเอง 4) ก่อนนำแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐานในการเรียนรู้ เรื่องชนิดของคำ ไทย ของนกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 ไปใช้ประกอบการสอน ครคู วรศกึ ษาวธิ ีการอยา่ งละเอียดเสียก่อน เพื่อให้การปฏิบัติกิจกรรมบรรลุตามวัตถุประสงค์และจะทำให้เกิดประโยชน์ในการจัดการเรียนการ สอน และเพอื่ การเตรยี มสอ่ื นวตั กรรมประกอบได้ 5) ควรนำแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐานในการเรียนรู้ เรื่องชนิดของคำ ไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 จัดทำขึ้นไปใช้กับนักเรียนโรงเรียนอื่น ๆ เพื่อให้ทราบความ แตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเพื่อจะได้พัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่องการอ่านคิดวิเคราะห์ให้มี ประสทิ ธภิ าพดียง่ิ ขนึ้ แนวทางการพฒั นาต่อยอด 1) ในการพัฒนาเรอื่ งชนดิ ของคำไทย ควรปรับเปลย่ี นใชร้ ูปแบบการสอนอน่ื ๆ เพื่อใหส้ อดคล้อง กับความต้องการและสภาพปญั หาทีพ่ บ 2) ส่งเสริมการจัดกิจกรรม Active Leaning ในรายวิชาอื่น หรือกลุ่มสาระอื่น ๆ เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะและความชำนาญ ด้านการคิดแบบเป็นระบบ การร่วมมือ และได้ เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิการเรียนเร่ืองชนิคของคำไทย โดยใช้วธิ ีสอนกจิ กรรมเปน็ ฐาน ของนกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4
35 บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนินการ การพฒั นาผลสมั ฤทธ์กิ ารเรยี นเร่อื งชนิดของคำไทย โดยใช้วิธสี อนกจิ กรรมเป็นฐานของนักเรียน ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรยี นอนุบาลโกสมั พนี คร (บา้ นท่าคูณ) เป็นการวิจัยก่ึงทดลอง มีวตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ 1) เพ่ือเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธกิ์ ารเรยี นเร่ืองชนคิ ของคำไทยกอ่ นและหลงั เรียน โดยใชว้ ธิ สี อน กจิ กรรมเป็นฐานของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 2) เพื่อศึกษาความคดิ เหน็ ของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการเรยี นรเู้ ร่ืองชนิดของคำไทยโดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเปน็ ฐาน โดยผูว้ จิ ัยได้ดำเนนิ การ วจิ ยั ดงั รายละเอยี ดต่อไปน้ี 1.รปู แบบการทดลอง 2. กลุม่ เปา้ หมาย 3. เครอ่ื งมือที่ใช้ในการวจิ ยั 4.การสร้ างเครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั 5. การรวบรวมขอ้ มลู 6. การวเิ คราะหข์ ้อมูล 7. สถติ ิทใี่ ช้ในการวิจยั 8. การเผยแพรผ่ ลงาน 1. รปู แบบการทดลอง การวจิ ยั เรื่อง การพฒั นาผลสมั ฤทธิ์การเรยี นเร่ืองชนิดของคำไทย โดยใชว้ ธิ ีสอนกจิ กรรมเปน็ ฐาน ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรยี นอนุบาลโกสัมพีนคร (บ้านท่าคณู ) เป็นการวิจัยประเภทกล่มุ เดยี วทดสอบก่อนและหลังจากการทดลอง (One Group Pre-test Post-test Design) (อเุ ทน ปัญโญ, 2543 : 47) ดังรายละเอยี ดในตาราง 1 ตาราง 1 รปู แบบการทดลอง pretest treatment posttest ������1 X T X แทน การสอนโดยใช้รูปแบบการสอนแบบกิจกรรมเป็นฐาน ������1 แทน การทดสอบก่อนเรียน ������2 แทน การทดสอบหลังเรยี การพฒั นาผลสมั ฤทธิก์ ารเรียนเร่ืองชนิคของคำไทย โดยใชว้ ิธสี อนกิจกรรมเปน็ ฐาน ของนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4
36 2.กลุม่ เปา้ หมาย กลุม่ เป้าหมาย ได้แก่ นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 โรงเรยี นบ้านอนุบาลโกสัมพนี คร (บ้านท่าคูณ) สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษากำแพงเพชร 1 ทีก่ ำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 จำนวน 1 ช้นั เรยี น รวมทัง้ สิน้ 12 คน ซง่ึ ได้มาโดยวธิ กี ารส่มุ แบบเจาะจง ( Purposive sampling ) 3. เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการวิจยั เครือ่ งมือที่ใช้ในครั้งนี้ เปน็ เคร่อื งมือทผ่ี วู้ จิ ัยสรา้ งขน้ึ มีจำนวน 3 ชนดิ ไดแ้ ก่ 3.1. แผนการจัดการเรยี นรู้โดยใชว้ ิธีสอนกจิ กรรมเปน็ ฐานในการเรียนรู้เรอ่ื งชนดิ ของคำไทย ของ นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 เป็นเครื่องมอื ทผี่ วู้ ิจยั คน้ คว้าสร้างขึ้น ใช้ฝึกให้ผเู้ รยี นเกดิ ความแม่นยำและ เกดิ ความชำนาญในเร่ืองชนิดของคำไทย โดยเลอื กเนื้อหาประเภทรอ้ ยแก้วจากส่ืออื่น ๆ ทีเ่ หมาะสมกับ ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้ประกอบกับการสอนโดยใช้วิธีกิจกรรมเปน็ ฐาน ใช้ในการทบทวน ความรู้ ในเวลาและนอกเวลา จำนวน 6 แผน เป็นเวลา 3 สัปดาห์ สปั ดาห์ละ 3 ชวั่ โมง จำนวน 9 ช่วั โมง การทดสอบก่อนเรียน 1 ช่ัวโมง ทดสอบหลังเรียน 1 ช่ัวโมง รวมระยะเวลาทั้งสน้ิ 11 ชั่วโมง 3.2. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น เรือ่ งชนิดของคำไทยของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปี ท่ี 4 ทเี่ ปน็ แบบทดสอบปรนัยชนดิ เลอื กตอบ(Multiple Choice) 4 ตวั เลอื กจำนวน 40 ขอ้ เป็นแบบ เลือกตอบ 3 ตัวเลอื ก มคี ำตอบท่ถี กู ต้องเพียงคำตอบเดยี ว 3.3 แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 ท่ีมีต่อการเรียนรู้เรื่องชนิดของ คำไทยโดยใช้วธิ สี อนกจิ กรรมเป็นฐาน 4.การสร้างเคร่อื งมือทใ่ี ช้ในการวิจยั 1. การสรา้ งและพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธสี อนกจิ กรรมเปน็ ฐานในการเรียนรู้เร่อื งชนดิ ของคำไทย ของ นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 จำนวน 6 แผน จำนวน 11 ช่ัวโมง แผนการจดั การเรยี นรู้นป้ี ระกอบด้วย สาระสำคญั ผลการเรยี นร้ทู ี่คาคหวงั เนอ้ื หาสาระ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ สือ่ และแหลง่ การเรียนรู้ กระบวนการ วัคและประมินผล และบนั ทึกหลงั การสอน มลี ำคับขัน้ ในการจัดกจิ กรรมดังนี้ 1) ขั้นทบทวนประสบการณ์ 2) ขน้ั กิจกรรม 3) ขน้ั สะท้อนความคดิ 4) ขนั้ ประเมนิ ผลและประยกุ ต์ใช้ แผนการจดั การเรียนรูโ้ ดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐานในการเรยี นรู้เรื่องชนิดของคำไทย ของ นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 มีวิธกี ารสรา้ งดงั น้ี 1.1 ศึกษาหลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานพุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย แบบฝึกหดั จากหนงั สอื เรยี นภาษาพาทีชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 1.2 ศึกษาตำรา เอกสาร คู่มือ ในการสรา้ งแผนการ จัดการเรยี นรู้ การพฒั นาผลสมั ฤทธ์กิ ารเรียนเรื่องชนคิ ของคำไทย โดยใช้วิธสี อนกิจกรรมเป็นฐาน ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4
37 1.3 ศึกษาวิธสี อนและข้ันตอนการสอน โดยการและเอกสารท่ีเก่ียวกับ การสอนเร่ืองคำและชนิคของคำ จากหนังสือแบบเรียนชุดพ้ืนฐานภาษา เล่ม 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ กรมวชิ าการ เอกสารและคำราท่ีเก่ยี วข้อง 14 สรา้ งแผนการจัดการเรียนรู้ เร่อื งคำและชนิดของคำ จำนวน 6 แผน ใช้เวลาสอน 11 คาบ นำแผนการ จดั การเรยี นรูท้ ่ีปรบั ปรงุ แลว้ เป็นฉบับจริง นำไปใช้กบั นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4 2. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น เรอ่ื งชนิดของคำไทยกอ่ นหลังเรียน แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน เร่อื งชนิดของคำไทยของนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 ทเี่ ป็นแบบทดสอบปรนัยชนดิ เลอื กตอบ (Multiple Choice) 4 ตวั เลือกจำนวน 40 ข้อ เป็นแบบ เลอื กตอบ 3 ตัวเลอื ก มคี ำตอบทถ่ี ูกต้องเพยี งคำตอบเดยี วผู้วิจยั ได้ดำเนนิ การตามขนั้ ตอน ดังน้ี 2.1 ศึกษาค้นควา้ วิธีการสร้างแบบทดสอบ การเขยี นข้อสอบ และวิธกี ารผลสัมฤทธ์ิทางการ เรยี น เรอ่ื งชนดิ ของคำไทย จากเอกสารและงานวิจยั ที่เกย่ี วข้อง 2.2 ดำเนนิ การเขยี นแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ืองชนดิ ของคำไทย โดยให้ สอดคล้องกบั เน้ือหาและจดุ ประสงค์ทางการเรียนรู้ จำนวน 40 ข้อ 2.3 พิมพแ์ บบทดสอบวัดวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรอ่ื งชนิดของคำไทย ฉบับจรงิ เพื่อนำไปใช้ 3. แบบสอบถามความคดิ เห็น แบบสอบถามความคิดเหน็ ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 ทมี่ ีต่อการเรียนรู้เร่ืองชนิดของคำ ไทยโดยใชว้ ิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน สำหรบั นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 ทผ่ี วู้ จิ ยั สรา้ งขึ้น ตามแนวคิด ของLikert มีลกั ษณะเปน็ มาตรประเมินคา่ (Rating scale) มี 3 ระดบั ซ่ึงแบ่งเป็น 4 ดา้ น โดยมีขน้ั ตอน ในการสร้างและพัฒนาดังนี้ 3.1 ศกึ ษาแนวทางการสร้างแบบสอบถามและการพฒั นาข้อคำตอบ ข้ึนตามแนวคิดของ Likert ซงึ่ กำหนดค่าระดบั ของข้อความในแบบสอบถาม 3 ระดบั ดังรายละเอยี ดดงั น้ี เหน็ ด้วยมากที่สดุ มคี ่าระดบั เทา่ กับ 3 เหน็ ด้วยปานกลาง มคี า่ ระดับเทา่ กบั 2 เห็นดว้ ยนอ้ ย มีคา่ ระดบั เทา่ กบั 1 โดยผวู้ ิจยั ได้กำหนดการแปลความหมายไว้ดังน้ี คะแนนเฉล่ยี 2.50-3.00 หมายถึง ความคดิ เหน็ ต่อการเรียนรู้เรอื่ งชนดิ ของคำไทยโดยใช้วิธีสอน กจิ กรรมเปน็ ฐานในระดบั มาก คะแนนเฉลี่ย 1.50-2.49 หมายถงึ ความคดิ เหน็ ตอ่ การเรียนรู้เรือ่ งชนดิ ของคำไทยโดยใช้วิธสี อน กจิ กรรมเปน็ ฐานในระดับปานกลาง คะแนนเฉลยี่ 1.00-1.49 หมายถึง ความคดิ เห็นการเรยี นรู้เรอ่ื งชนิดของคำไทยโดยใชว้ ธิ ีสอน กิจกรรมเป็นฐานในระดับน้อย 3.2 สร้างแบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมีต่อการเรียนรู้เร่ืองชนดิ ของคำไทยโดยใชว้ ิธีสอนกจิ กรรม เปน็ ฐานสำหรับนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 สามารถสรปุ กรอบเน้ือหาในการสรา้ งแบบสอบถามได้ 4 ด้านดงั นี้ ดา้ นเน้อื หาสาระ จำนวน 4 ข้อ ด้านกิจกรรมการจัดการเรยี นการสอน จำนวน 3 ขอ้ ดา้ น ประโยชนท์ ีไ่ ด้รับ จำนวน 4 ข้อ และดา้ นการมสี ว่ นร่วมของนักเรยี น จำนวน 6 รวมท้ังหมด 17 ข้อโดย การพฒั นาผลสมั ฤทธกิ์ ารเรยี นเรื่องชนิคของคำไทย โดยใชว้ ธิ สี อนกิจกรรมเปน็ ฐาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
38 กำหนดประเดน็ การสร้างแบบสอบถามให้ครอบคลุมดา้ นเน้ือหา รูปแบบ และการนำไปใช้ สอดคล้องกับ เนอื้ หาและจุดประสงคท์ างการเรยี นรู้ 3.3 นำแบบสอบถามความคิดเห็นทม่ี ตี อ่ การเรียนรู้เร่ืองชนิดของคำไทยโดยใชว้ ธิ สี อนกจิ กรรม เป็นฐานสำหรับนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 มาปรับปรุง แกไ้ ข 3.4 พมิ พ์แบบแบบสอบถามความคิดเห็นท่มี ตี ่อการเรยี นรู้เร่ืองชนดิ ของคำไทยโดยใช้วิธสี อน กจิ กรรมเป็นฐานสำหรบั นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ฉบับจรงิ เพอ่ื นำไปใช้ 5. การรวบรวมขอ้ มลู ผวู้ ิจยั ได้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมลู ดว้ ยตนเองตามลำดับขัน้ ตอนดังน้ี การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนเรื่องชนิคของคำไทย โดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐานของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนอนุบาลโกสัมพีนคร (บ้านท่าคูณ) ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 โดยเริ่มดำเนินการใช้ด้วยการจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็น ฐานในการเรียนรู้เรื่องชนิดของคำไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 6 แผน จำนวน 11 ช่ัวโมง 1. ผู้วิจัยประเมินก่อนเรียน (Pre-test) ด้วยแบบประเมินความสามารถด้านชนิดของคำไทย จำนวน 1 ช่วั โมง 2. ดำเนินการสอนด้วยการใช้แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน จำนวน 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 จำนวน 9 ชว่ั โมง ระหว่างนกั เรยี นดำเนินกจิ กรรมในแต่ละช่วงของ แผนการจัดการเรยี นรู้ผู้วิจยั สงั เกตนกั เรียนและจดบันทกึ 4เมื่อนักเรียนได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐานแล้วผู้วิจัยประเมิน ความสามารถด้านคำศพั ทภ์ าษาองั กฤษหลังเรยี น (Post-test) 5 ผู้วิจัยดำเนินการทดสอบชนิดของคำไทย ของนักเรียนอีกครั้งโดยเว้นช่วงระยะห่าง 3 สัปดาห์ หลังจากประเมนิ หลังเรยี น (Post-test) 6 ผู้วิจัยดำเนินการสอบถามความคิดเห็นหลังจากที่นักเรียนได้เรียนรู้ชนิดของคำไทย โดยใช้วิธี สอนกิจกรรมเป็นฐานด้วยแบบสอบถามความคดิ เหน็ 7. ผวู้ จิ ยั เก็บรวบรวมขอ้ มูลไปวิเคราะหข์ อ้ มูลทางสถติ ิ การพัฒนาผลสัมฤทธก์ิ ารเรียนเรื่องชนิคของคำไทย โดยใช้วิธสี อนกิจกรรมเป็นฐาน ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4
39 6. การวเิ คราะห์ข้อมูล 1.การวเิ คราะหข์ อ้ มลู 6.1.การวิเคราะหผ์ ลการเปรียบเทียบการทดสอบกอ่ นและหลังเรียน ใช้การเปรยี บเทียบโดยการ ใช้ค่า t ( t-test) 6.2. วเิ คราะห์ขอ้ มูลแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนรู้เร่ืองชนิดของคำไทยโดยใชว้ ธิ ี สอนกิจกรรมเป็นฐานสำหรับนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 ซึ่งเป็นแบบปลายเปดิ จำนวน 5 ขอ้ โดยใช้ การวเิ คราะห์เนื้อหา (Content A analysis) 7.สถติ ทิ ีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูลในการศกึ ษาคร้ังน้ี มดี ังต่อไปน้ี 1. วิเคราะห์ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนเรอ่ื งชนดิ ของคำไทย ใช้สูตร การหาคา่ ความกา้ วหน้าของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ดงั นี้ สถาบนั วจิ ยั และพัฒนา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชียงใหม่ (2551) คะแนนทีเ่ พ่ิมข้นึ = คะแนนหลงั เรยี น − คะแนนกอ่ นเรีน × 100 คะแนนก่อนเรยี น 2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่องชนิดของคำไทยของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปที ่ี 4 ใชส้ ูตรดังน้ี บุญชมศรีสะอาด (2545) t= D ND2 −(D)2 N −1 เม่ือ t แทน ค่าสถติ ิทดสอบจากการกระจายแบบที D แทน คา่ ความแตกตา่ งของแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิก่อนเรยี นและหลังเรยี น n แทน จำนวนนักเรียน 3. ร้อยละ (Percentage) ใช้สูตรดงั น้ี บญุ ชมศรีสะอาด (2545) f P= N 100 เมอ่ื P แทน ร้อยละ f แทน ความถี่ทต่ี ้องการแปลงใหเ้ ปน็ รอ้ ยละ N แทน ความถที่ ้ังหมด การพัฒนาผลสมั ฤทธิ์การเรยี นเร่ืองชนิคของคำไทย โดยใช้วิธีสอนกจิ กรรมเปน็ ฐาน ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4
40 4. คา่ เฉลี่ย (Mean) คำนวณจากสูตร สมนกึ ภัททยิ ธนี (2546) X = X N เมื่อ Χ แทน คา่ กลางเลขคณติ หรือคา่ เฉลย่ี ΣX แทน ผลรวมทงั้ หมดของคะแนน N แทน จำนวนคนทง้ั หมด 4. สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใชส้ ตู ร สมนกึ ภัททิยธนี (2546) S.D. = 2 − ( )2 ( −1) เมื่อ SD แทน ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแต่ละตวั N แทน จำนวนคะแนนในกลุม่ Σ แทน ผลรวม 7. การเผยแพรผ่ ลงาน การเผยแพร่ผลงานการพัฒนาผลสัมฤทธ์กิ ารเรยี นเรือ่ งชนิคของคำไทย โดยใช้วิธีสอนกจิ กรรม เปน็ ฐานของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรียนอนุบาลโกสัมพีนคร (บ้านทา่ คูณ) ผูร้ ายงาน ดำเนินการตามขัน้ ตอนดงั นี้ 1.จดั นิทรรศการวชิ าการเผยแพรแ่ กน่ ักเรียน ครใู นโรงเรียนเดียวกัน 2. เผยแพรโ่ ดยการสำเนาเอกสารนวตั กรรมแจ้งไปยังโรงเรียนในกลุ่มโรงเรยี นเดียวกันเดียวกัน และเผยแพร่ให้กบั ผู้มีความสนใจและแจ้งความประสงค์ขอรับไป การพัฒนาผลสัมฤทธกิ์ ารเรียนเร่ืองชนคิ ของคำไทย โดยใช้วธิ ีสอนกิจกรรมเป็นฐาน ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4
41 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล การพัฒนาผลสัมฤทธิก์ ารเรยี นเร่อื งชนิดของคำไทย โดยใช้วธิ สี อนกจิ กรรมเปน็ ฐานของนักเรยี น ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรยี นอนุบาลโกสมั พนี คร (บ้านท่าคูณ) เปน็ การวิจยั ก่ึงทดลอง มวี ัตถปุ ระสงค์ เพ่อื 1) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์กิ ารเรียนเร่ืองชนิดของคำไทยก่อนและหลังเรยี น โดยใช้วธิ สี อน กิจกรรมเปน็ ฐานของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนบุ าลโกสมั พีนคร (บา้ นทา่ คณู ) 2) เพ่ือ ศึกษาความคิดเหน็ ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4 ทมี่ ีต่อการเรียนรู้เร่ืองชนดิ ของคำไทยโดยใชว้ ิธีสอน กจิ กรรมเปน็ ฐาน ผวู้ ิจยั ได้นำเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ดงั นี้ ตอนที่ 1 ผลสมั ฤทธิ์การเรียนเรอื่ งชนิดของคำไทยกอ่ นและหลังเรียนโดยใชว้ ธิ สี อนกิจกรรมเปน็ ฐาน ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนอนบุ าลโกสัมพีนคร (บา้ นทา่ คูณ) ตอนที่ 2 ความคดิ เหน็ ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 ท่ีมีตอ่ การเรยี นรู้เรอื่ งชนิดของคำไทย โดยใชว้ ิธีสอนกจิ กรรมเปน็ ฐาน ตอนท่ี 1 ผลสัมฤทธิ์การเรียนเรื่องชนิดของคำไทยก่อนและหลังเรียน โดยใช้วิธีสอนกิจกรรม เป็นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนบุ าลโกสัมพีนคร (บ้านท่าคูณ) รายละเอียดดังตาราง 2 ตาราง 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธก์ิ ารเรยี นเรือ่ งชนิดของคำไทยก่อนและหลังเรียน โดยใชว้ ิธสี อน กจิ กรรมเป็นฐานของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรยี นอนบุ าลโกสัมพีนคร (บ้านท่าคูณ) ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน N (������̅) S.D. t p-Value ก่อนเรยี น 12 9.34 3.89 19.60 .05* หลงั เรยี น 12 12.31 4.07 * มีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดบั .05 จากตารางท่ี 2 ผลสมั ฤทธ์ิการเรยี นเรื่องชนิดของคำไทยก่อนและหลังเรยี น โดยใชว้ ธิ สี อน กจิ กรรมเปน็ ฐานของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 โรงเรียนอนุบาลโกสัมพีนคร (บา้ นท่าคูณ) พบว่า คะแนนจากการทดสอบผลสมั ฤทธท์ิ างก่อนเรียนและหลัง หลงั จากฝกึ ปฏิบัติกจิ กรรมในครบท้งั 3 เลม่ พบวา่ ค่าเฉลี่ยก่อนเรียน (������̅) มีค่าเทา่ กับ 9.34 สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) อยู่ท่ี 3.89 และคะแนน เฉล่ียหลงั เรียน (������̅) มีค่าเทา่ กับ 12.31 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) อยทู่ ี่ 4.07 โดยคะแนนหลังเรยี นสงู กวา่ กอ่ นเรียนอยู่ท่ี 2.97 คะแนน แสดงใหเ้ ห็นวา่ การเรยี นโดยใช้วธิ สี อนกิจกรรมเป็นฐาน สง่ ผลให้ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนดขี น้ึ อย่างมีนยั สำคญั ทางสถิติท่ี 0.05 การพัฒนาผลสัมฤทธกิ์ ารเรยี นเร่ืองชนคิ ของคำไทย โดยใช้วธิ สี อนกจิ กรรมเป็นฐาน ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4
42 ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ที่มีต่อการเรียนรู้เร่ืองชนิดของคำ ไทยโดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน ตาราง 3 ผลการศกึ ษาความคิดเหน็ ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ทม่ี ตี ่อการเรียนรเู้ รื่องชนิดของคำ ไทยโดยใช้วิธสี อนกิจกรรมเป็นฐาน ลำดับ รายการประเมิน S.D. ระดับ ลำดบั ดา้ นเน้ือหาสาระ 2.93 0.26 มาก 1 1. มกี ิจกรรมมีความหลากหลายไม่น่าเบ่ือ 2.83 0.44 มาก 3 2.69 0.56 มาก 8 2. เนือ้ หาทส่ี อนทนั สมัยนำไปใชไ้ ดจ้ ริง 2.79 0.42 มาก 5 3. เนือ้ หาเข้าใจง่าย 2.83 0.44 มาก 3 มาก 9 4. แบบฝกึ หดั เหมาะสมกับเนอ้ื หา 2.64 0.76 มาก 2 2.86 0.35 ด้านกจิ กรรมการเรียนการสอน มาก 6 5. ครูตง้ั ใจสอน ให้คำแนะนำ ช่วยเหลอื อำนวยความ 2.76 0.53 มาก 4 สะดวกแก่นักเรียนในการทำกิจกรรม 2.81 0.55 มาก 7 6. มีส่งเสรมิ ใหน้ กั เรยี นมคี วามคิดริเริ่มสร้างสรรค์และ 2.74 0.51 มาก 10 รว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ 2.52 0.71 7. นกั เรยี นชอบเกมต่าง ๆ ท่นี ำมาใชป้ ระกอบกิจกรรม มาก 2.74 0.51 7 ด้านประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั 8. นกั เรียนมีความตง้ั ใจเรยี นวชิ าภาษาไทยเพ่มิ ขึ้น 2.76 0.53 มาก 6 9. นกั เรยี นมคี วามรู้ในเร่ืองท่ีเรียนเพิ่มขน้ึ 10. กิจกรรมท่ีสอนส่งเสริมทักษะการคิดเช่อื มโยง 11. เนื้อหาทสี่ อนสามารถนำไปต่อยอดในด้านอื่น ๆ ด้านการมีส่วนรว่ มของนักเรยี น 12. ครสู ่งเสริมให้นักเรยี นทำงานรว่ มกนั เป็นกล่มุ และ รายบุคคล 13. กิจกรรมการเรยี นการสอนเน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคญั ส่งเสรมิ ใหน้ กั เรียนลงมือปฏิบัติจริง การพัฒนาผลสมั ฤทธกิ์ ารเรยี นเร่ืองชนคิ ของคำไทย โดยใช้วธิ สี อนกิจกรรมเป็นฐาน ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4
43 ต่อ ตารางที่ 4 ลำดบั รายการ S.D. ระดับ ลำดับ 14. เปดิ โอกาสนักเรียนซกั ถามปญั หาหรือมีคำถามกระต้นุ 2.83 0.44 มาก การคิด 3 15. นักเรียนมีส่วนรว่ มในการประเมินผลการเรยี น 2.44 0.69 มาก 11 16. มกี ารแจ้งผลการทำแบบทดสอบและแบบฝกึ หัดให้ 2.76 0.58 มาก นักเรยี นทราบความก้าวหน้าของตนเอง 6 17. นกั เรยี นเรยี นรอู้ ย่างมีความสุข เรยี นด้วยความสนุก 2.86 0.35 มาก 2 รวมท้ังหมด 2.74 0.51 มาก จากตารางท่ี 4 ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 ที่มีต่อการเรียนรู้ เรื่องชนิดของคำไทยโดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน สามารถสรุปได้ว่ากลุ่มเป้าหมายมีความคิดเห็นของ นักเรียนต่อการเรียนรู้เรื่องชนิดของคำไทยโดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐานอยู่ในระดับ มาก คือค่าเฉลี่ย ความคิดเห็นทั้งฉบับอยู่ที่ 2.74 และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.51 แสดงให้เห็นว่านักเรียนมีความ คิดเห็นของนักเรียนต่อการเรียนรู้เรื่องชนิดของคำไทยโดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน โดยสามารถแยก สรุปผลเป็น รายข้อคำถามได้ดังนี้ ด้านเนื้อหาสาระ กิจกรรมมีความหลากหลายไม่น่าเบื่อ (������̅ = 2.93, S.D. = 0.26) อยู่ระดับมากที่สุด ส่วนลำดับที่สองมีค่าเฉลี่ยเท่ากัน 2 ข้อ คือ ด้านกิจกรรมการเรียนการ สอน นักเรียนชอบเกมต่าง ๆ ที่นำมาใช้ประกอบกิจกรรม และด้านการมีส่วนร่วม นักเรียนเรียนรู้อย่างมี ความสุข เรียนด้วยความสนุก (������̅ = 2.86, S.D. = 0.35) อยู่ระดับมาก ลำดับที่สามมีค่าเฉลี่ยเท่ากัน จำนวน 3 ข้อ คือ เนื้อหาที่สอนทันสมัยนำไปใช้ได้จริง , ครูตั้งใจสอน ให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ อำนวย ความสะดวกแก่นักเรียนในการทำกิจกรรม, เปิดโอกาสนักเรียนซักถามปัญหาหรือมคี ำถามกระตุ้นการคิด สนุก (������̅ = 2.83, S.D. = 0.44) อยู่ระดับมาก ลำดับต่อมา มีค่าเฉลี่ยเท่ากัน 2 ข้อ คือ กิจกรรมท่ีสอน ส่งเสริมทักษะการคิดเชื่อมโยง และ ครูส่งเสริมให้นักเรียนทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มและรายบุคคล (������̅ = 2.81, S.D. = 0.55) อยูร่ ะดบั มาก จากคา่ เฉล่ยี ที่รากฎแสดงให้เหน็ วา่ ความคิดเห็นของนักเรยี นต่อการเรียนรู้เรอื่ งชนดิ ของคำไทย โดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐานและมีความเห็นให้เพิ่มเวลาการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน เพิ่มขนึ้ ด้วย การพัฒนาผลสมั ฤทธ์กิ ารเรียนเรื่องชนคิ ของคำไทย โดยใชว้ ิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4
44 บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนเรื่องชนิดของคำไทย โดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐานของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนอนุบาลโกสัมพีนคร (บ้านท่าคูณ) ผู้วิจัยได้สรุปอภิปรายผลและ ข้อเสนอแนะดังนี้ วตั ถปุ ระสงค์ในการวิจยั 1. เพื่อเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธกิ์ ารเรียนเรื่องชนิดของคำไทยกอ่ นและหลงั เรยี น แบบ Active leaning โดยใชว้ ธิ ีสอนกจิ กรรมเป็นฐานของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 2. เพือ่ ศึกษาความคิดเห็นของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ท่ีมตี อ่ การเรียนรู้เร่ืองชนดิ ของคำ ไทยโดยใช้วธิ สี อนกจิ กรรมเป็นฐาน กลุ่มเปา้ หมาย กลุ่มเปา้ หมายใชใ้ นการดำเนินกิจกรรม ไดแ้ ก่ นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรยี นอนุบาล โกสัมพีนคร (บา้ นทา่ คูณ) สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษากำแพงเพชร เขต 1 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 จำนวน 12 คน ได้มาโดยวิธกี ารสุ่มโดยวิธเี จาะจง ( Purposive sampling ) เคร่อื งมอื ทีใ่ ช้ในการวจิ ยั เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นครัง้ นี้ เป็นเครอ่ื งมือทีผ่ ู้วิจัยสร้างขน้ึ มีจำนวน 3 ชนดิ ไดแ้ ก่ 1. แผนการจัดการเรยี นรู้โดยใชว้ ิธีสอนกจิ กรรมเปน็ ฐานในการเรยี นรู้เรื่องชนดิ ของคำไทย ของ นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 เป็นเครื่องมอื ท่ีผู้วจิ ยั ค้นคว้าสรา้ งขน้ึ ใชฝ้ ึกให้ผู้เรียนเกิดความแม่นยำและ เกดิ ความชำนาญในเร่ืองชนดิ ของคำไทย โดยเลือกเนื้อหาประเภทร้อยแก้วจากส่ืออ่ืน ๆ ที่เหมาะสมกับ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใชป้ ระกอบกับการสอนโดยใชว้ ธิ ีกิจกรรมเป็นฐาน ใช้ในการทบทวน ความรู้ ในเวลาและนอกเวลา จำนวน 6 แผน เปน็ เวลา 3 สัปดาห์ สัปดาหล์ ะ 3 ชัว่ โมง จำนวน 9 ชัว่ โมง การทดสอบก่อนเรยี น 1 ชั่วโมง ทดสอบหลงั เรียน 1 ชัว่ โมง รวมระยะเวลาทงั้ สน้ิ 11 ชวั่ โมง 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น เร่ืองชนดิ ของคำไทยของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 ท่เี ปน็ แบบทดสอบปรนยั ชนิดเลอื กตอบ (Multiple Choice) 4 ตวั เลอื กจำนวน 40 ข้อ เป็นแบบ เลอื กตอบ 3 ตวั เลือก มีคำตอบที่ถกู ต้องเพยี งคำตอบเดยี ว 3. แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 ทม่ี ตี ่อการเรียนรู้เรื่องชนดิ ของ คำไทยโดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนเร่ืองชนิคของคำไทย โดยใช้วิธีสอนกจิ กรรมเปน็ ฐาน ของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4
45 สถิติทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มลู 1.การวเิ คราะห์ผลการเปรยี บเทียบการทดสอบก่อนและหลังเรียน ทีเ่ รยี นโดยใชว้ ิธีสอนกจิ กรรม เปน็ ฐาน ผูว้ จิ ัยวิเคราะหข์ อ้ มูลโดยใช้ วธิ ีการการหาคา่ เฉลย่ี (������̅), การหาค่าสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.), และการ วเิ คราะหค์ วามแตกต่างของค่าเฉลยี่ ของคะแนนผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นก่อนเรียนและหลังเรยี น (t-test แบบ Dependent Sample) 2. วิเคราะห์คา่ คะแนนความคิดเหน็ ที่มตี ่อการเรยี นรู้ชนดิ ของคำไทยโดยใช้วิธสี อนกจิ กรรมเปน็ ฐานผวู้ ิจยั ใช้วธิ ีการการหาคา่ เฉลย่ี (������̅) และการหาค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) สรปุ ผลการวิจยั จากการศึกษาและวเิ คราะห์ข้อมูล สามารถสรปุ ผลการวิจยั ได้ดงั น้ี 1.ผลสมั ฤทธก์ิ ารเรยี นเรอื่ งชนิดของคำไทยก่อนและหลังเรียน โดยใชว้ ธิ ีสอนกิจกรรมเป็นฐานของ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนอนุบาลโกสมั พนี คร (บา้ นทา่ คูณ) พบว่า คะแนนจากการทดสอบ ผลสัมฤทธิ์หลังเรียน (������̅=12.31 ,S.D = 4.04) สงู กว่าก่อนเรยี น (������̅=9.37 ,S.D = 3.89) แสดงให้เห็นว่า การเรียนโดยใช้วิธสี อนกจิ กรรมเป็นฐาน สง่ ผลใหผ้ ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นดีข้นึ อย่างมีนัยสำคญั ทางสถิตทิ ี่ 0.05 2.ความคดิ เห็นทมี่ ตี ่อการเรยี นรู้เร่ืองชนดิ ของคำไทยของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้วิธี สอนกิจกรรมเปน็ ฐานสำหรับนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 2 อยใู่ นระดับมาก (������̅ = 2.74, S.D. = 0.51) อภปิ รายผล 1. การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนเรื่องชนิดของคำไทยก่อนและหลังเรียน โดยใช้วิธีสอนกิจกรรม เปน็ ฐานของนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรยี นอนุบาลโกสมั พีนคร (บา้ นท่าคูณ) พบวา่ คะแนนจาก การทดสอบผลสัมฤทธิ์หลงั เรียน (������̅=12.31 ,S.D = 4.04) สูงกว่ากอ่ นเรียน (������̅=9.37 ,S.D = 3.89) โดย มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เป็นผลเช่นนี้อาจเป็นเพราะ นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง จึงทำให้เกิด ทักษะ และค้นคว้า ช่วยพัฒนาให้นักเรียนฝึกการทำงานตามลำพัง ส่งเสริมความสามารถและความ แตกต่างของแต่ละบุคคล นักเรียนไม่เคร่งเครียดในการเรียน เนื่องจากไม่ได้กำหนดเวลาในการทำ กิจกรรม เมื่อทำกิจกรรมไม่ถูกต้องสามารถกลับมาทำใหม่ได้อีก และที่สำคัญเป็นการจัดกิจกรรมที่ยึด นกั เรียนเปน็ ศนู ยก์ ลางในการศึกษาค้นคว้า นักเรยี นมสี ว่ นรว่ มในการทำกจิ กรรมครบทุกคน จงึ ทำให้แบบ ฝึกทักษะ เรื่อง การอ่านคิดวิเคราะห์สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด สามารถนำไปใช้ ในการจัดการเรียนการสอนได้เปน็ อยา่ งดีท้ังนีเ้ นื่องมาจากเหตผุ ลดังต่อไปนี้ ประการที่ 1 การเรียนรู้โดยใชว้ ิธสี อนกิจกรรมเป็นฐาน มีกระบวนการสอนท่ีชดั เจน เข้าใจงา่ ย มี การกำหนดวตั ถุประสงคป์ ลายทางไดอ้ ย่างครอบคลุมตวั ช้วี ัด รวมถึงกิจกรรมการเรียนการสอนเร่ิมจากง่าย ไปหายาก มีการใช้คำถามกระตุ้นในการจัดกิจกรรมทุกครั้ง เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกฝนการคิด วิเคราะห์ ท้ัง ยงั มกี ารทำกิจกรรมกลุม่ และเป็นรายบุคคล เนน้ กจิ กรรมที่นักเรยี นได้ลงมือปฏบิ ัติเอง และมีการเรียนด้วย การพฒั นาผลสัมฤทธก์ิ ารเรยี นเร่ืองชนิคของคำไทย โดยใช้วิธสี อนกจิ กรรมเป็นฐาน ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4
46 แบบฝึกทักษะประกอบ เป็นการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทำให้นักเรียนรู้จักคิดและปฏิบัติเป็นขั้นตอน ได้ลง มือปฏิบัติด้วยตนเองตามความสนใจ สามารถควบคุมบทเรียนและลำดับขั้นตอน ได้เรียนตาม ความสามารถของแต่ละบุคคลซงึ่ สอดคล้องกับทฤษฎปี ัญญานิยม ตามแนวคดิ ของ Chomsky ซ่งึ สอดคล้อง กับสาลี ทองประสาร (2551, หน้า 1) ได้ศึกษาการพัฒนาชุดการสอน เรื่องชนิดของคา กลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ผลการวิจัยพบว่า ชุดการสอนวิชาภาษาไทย เรื่องชนิดของคำ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 83.57/87.83 ซึ่งมีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ 80/80 และยงั สอดคล้องกบั ผลงานวิจยั ของ วมิ ลนาฏ วทิ ูรางกูร (2556, หนา้ 1) ได้ศกึ ษาการสร้าง และพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ชนิดของคำกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรยี นดอนแรดวทิ ยาผลการวิจยั พบว่า ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เรอื่ ง ชนิดของคำ กลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทยสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนดอนแรดวิทยา มีประสิทธิภาพ เท่ากบั 87.01/86.47 ซ่งึ ถือวา่ สงู กว่าเกณฑม์ าตรฐาน 80/80 ท่ีกำหนดไว้ 2. การเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนกั เรีย ประการที่ 2 ผลการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนมีองค์ประกอบดังนี้ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบการเรียนการสอน 3) ขั้นการจัดการเรียนการสอน มี 4 ขั้น คือ (1) เรียนรู้ ประสบการณ์ที่จำเป็น (2) ทบทวน และไตร่ตรอง (3) สร้างความคิดรวบยอด (4) ประยุกต์ใช้ตามสภาพ จริง เมื่อประเมินองค์ประกอบของรูปแบบนี้ พบว่ามีความเหมาะสมในระดับมากสามารถนำไปใช้ได้ 4) ประสิทธผิ ลของรปู แบบการเรีนการสอนแบบเนน้ ประสบการณ์ตามสภาพจริง เพื่อสง่ เสรมิ คณุ ลกั ษณะการ เรยี นด้วยการนำตนเอง ส่งผลใหม้ ีผลสัมฤทธกิ์ ารเรียนรูห้ ลังเรยี นสงู กวา่ กอ่ นเรียนอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับ พรพิมล คำนวณศิลป์ (2549 : 8-10) กล่าวว่า การเรียนรู้เชิง ประสบการณ์ช่วยให้ผ้เู รียนเกดิ การเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริงเป็นการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อนำไปสู่การ สรา้ งองคค์ วามร้ใู หม่วัตถปุ ระสงค์ คอื เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนมีส่วนร่วมในการจดั ประสบการณ์เรียนรู้รว่ มกนั ทำให้มี คุณภาพชีวิตที่ดีจุดเด่นขององค์ประกอบนี้ คือ การจัดการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ทำให้ผู้เรียนได้ใช้ ประสบการณ์เดมิ ของผเู้ รียน โดยเชอื่ มโขงกบั ประสบการณ์ใหม่ดว้ ยการปฏิบัติกจิ กรรมท่ีอาจารย์ ประการที่ 3 สูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ที่กล่าวว่า กระบวนการจัดการเรียนรู้ ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทางปัญญา (Constructivism) ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้มากกว่าเนื้อหาวิชา เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ หรือสร้างความรู้ให้เกิดขึ้นในตนเอง ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง ผ่านสื่อหรือกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีครผู ู้สอนเป็นผู้แนะนำ กระตุ้น หรืออำนวยความสะดวก ให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ขึ้น โดยกระบวนการคิดขั้นสูง (Higher order thinking) กล่าวคือ ผู้เรียนมีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินค่าจากสิ่งที่ได้รับจากกิจกรรมการเรียนรู้ ทำให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างมี ความหมาย และนำไปใช้ในสถานการณ์อื่น ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นวิธีที่ดีต่อการเรียนรู้เพราะ กระตุ้นความสนใจได้ดี ช่วยป้องกันไม่ให้เกิดการโต้เถียงกันในกลุ่มและสามารถร่วมกันคิดได้อย่าง สร้างสรรค์ เปน็ การศึกษาที่มุ่งใหน้ ักเรียนรู้จักการยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผู้อน่ื กลา้ คิด กล้าแสดงออก จะช่วยให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของตนเองอย่างเต็มที่สอดคล้องกับ ดารกา ทอง มิตร (2543) นักเรียนจะมีความกระตือรือร้นในการเรียนยิ่งขึ้น รวมไปถึงการที่นักเรียนได้ร่วมปฏิบัติ กิจกรรมจะทำให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหาที่เรียนลึกซึ้ง รวมไปถึงระหว่างการทำกิจกรรมนักเรียนได้ระดม การพฒั นาผลสมั ฤทธกิ์ ารเรยี นเร่ืองชนิคของคำไทย โดยใช้วิธสี อนกิจกรรมเปน็ ฐาน ของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4
47 สมองในการคิด แสดงความคิดเห็นร่วมกับเพื่อน ๆ ในกลุ่มทำให้ได้แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน เป็น การเรยี นร้ทู ่เี นน้ ผเู้ รยี นเป็นศูนย์กลาง กล่าวโดยสรุป การเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน เป็นกระบวนการคิดจะช่วยพัฒนาการ อา่ นของผูเ้ รียนได้ เพราะในแต่ละกระบวนการจะมีข้ันตอนของการคดิ และอา่ นตามลำดบั โดยใช้เหตุผลใน การพิจารณา ซึ่งแตกต่างจากการจัดการเรียนรู้แบบปกติที่ครูผู้สอนเป็นผู้ป้อนข้อมูลให้นักเรียน ส่วนใหญ่ เป็นการตีกรอบความคดิ ของนักเรียน ทำให้นักเรียนไม่มีโอกาสทีจ่ ะฝึกคิดอย่างมอี ิสระเท่าที่ควร นักเรียน จึงคดิ ไดเ้ พียงมมุ เดียวคอื คิดตามท่คี รูผ้สู อนชี้นำเท่าน้นั จึงทำใหบ้ างครั้งนักเรยี นไม่สามารถจะหาเหตุผลมา สนบั สนุนความคิดของตนได้ดเี พยี งพอ การเรียนรู้โดยใช้วธิ สี อนกจิ กรรมเป็นฐาน เป็นการจัดกิจกรรมที่ให้ นกั เรียนไดม้ ปี ฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งผอู้ นื่ รจู้ ักการปรับตวั 2. ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนรู้เรื่องชนิดของคำไทยโดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐานของ นักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 อยู่ในระดับมาก เมือ่ พิจารณาเปน็ รายพบว่า ดา้ นท่มี คี า่ เฉล่ียมากท่ีสุด คือ ด้านเนื้อหาสาระ รองลงมาคือด้านกิจกรรมการเรียนการสอน ด้านประโยชน์ที่ได้รับและด้านการมีส่วน ร่วมของนักเรียน ตามลำดับ ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ที่มีต่อการ เรียนรเู้ รอ่ื งชนิดของคำไทยโดยใชว้ ิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน สามารถสรปุ ไดว้ ่ากลมุ่ เป้าหมายมีความคิดเห็น ของนักเรียนตอ่ การเรียนรู้เร่ืองชนดิ ของคำไทยโดยใช้วิธสี อนกิจกรรมเป็นฐานอยใู่ นระดบั มาก คอื ค่าเฉล่ีย ความคิดเห็นทั้งฉบับอยู่ที่ 2.74 และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ท่ี 0.51 แสดงให้เห็นว่านักเรียนมีความ คิดเห็นของนักเรียนต่อการเรียนรู้เรื่องชนิดของคำไทยโดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน โดยสามารถแยก สรุปผลเป็น รายข้อคำถามได้ดังน้ี ด้านเนื้อหาสาระ กิจกรรมมีความหลากหลายไม่น่าเบื่อ (อยู่ระดับมาก ที่สุด ส่วนลำดับที่สองมีค่าเฉล่ียเท่ากัน 2 ข้อ คือ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน นักเรียนชอบเกมต่าง ๆ ที่นำมาใช้ประกอบกิจกรรม และด้านการมีส่วนร่วม นักเรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข เรียนด้วยความสนุก อยู่ระดับมาก ลำดับที่สามมีค่าเฉลี่ยเท่ากัน จำนวน 3 ข้อ คือ เนื้อหาที่สอนทันสมัยนำไปใช้ได้จริง , ครู ตงั้ ใจสอน ใหค้ ำแนะนำ ช่วยเหลือ อำนวยความสะดวกแก่นักเรียนในการทำกจิ กรรม, เปิดโอกาสนักเรียน ซักถามปัญหาหรือมีคำถามกระตุ้นการคิด สนุก อยู่ระดับมาก ลำดับต่อมา มีค่าเฉลี่ยเท่ากัน 2 ข้อ คือ กิจกรรมที่สอนส่งเสริมทักษะการคิดเชื่อมโยง และ ครูส่งเสริมให้นักเรียนทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มและ รายบุคคล อยู่ระดับมาก ที่เป็นแบบเนื่องจากการพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้เรื่องชนิดของคำไทยโดยใช้ วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ซึ่งเป็นการออกแบบกิจกรรมที่เน้นให้ นักเรียนสามารถเรียนรู้เรื่องชนิดของคำได้ดีมากขึ้นมีส่วนช่วยพัฒนาความเข้าใจและการจำความหมาย และชนิดของคำได้เพิ่มขึ้นซึ่งส่งผลให้นักเรียนมีความคิดเห็นต่อการเรียนรู้ชนิดของคำไทยโดยใช้วิธีสอน กิจกรรมเป็นฐาน อยู่ในระดับมาก โดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐานนี้เป็นการสร้งบรรยากาศที่ส่งเสริมให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ผ่านการลงมือทำและก่อให้เกิดความเพลิด เพลินสนุกสนาน ให้กับทั้งนักเรียนและ สร้างกระบวนการจำคำศัพท์ให้เพิ่มข้ึนจึงเปน็ ท่ีมาของ Activity-Based Leaning และยังเป็นกระบวนการ จัดการเรียนการสอนตามห ลักการเรียนรู้ที่เน้นกิจกรรมเป็นฐาน มีความสำคัญกับการเรียนรู้ของผู้เรียน ราะสามารถทำให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในกระบวนการเรียนรู้ (Active) ผ่านการทำกิจกรรมที่ ผู้เรียน ได้ลงมือปฏิบัติเอง ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้และทักษะที่คงทนยั่งยืนยาวนาน สอดคล้องกับ จรรยา ดาสา (2552, หน้า 42)กล่าวว่า การเรียนเชิงรกุ คือการจัดการเรยี นรูท้ ี่กระตุ้นใหผ้ ูเ้ รียนมีส่วนรว่ ม การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนเร่ืองชนคิ ของคำไทย โดยใชว้ ิธีสอนกิจกรรมเปน็ ฐาน ของนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4
48 และเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้เรียนจะได้เชื่อมโยงความรู้เดิม และความรู้ใหม่ จาก การได้คิด ได้ปฏิบตั ริ ะหว่างการเรียนการสอน ประการที่สองการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนบรรยากาศในชั้นเรี ยนมีส่วนสำคัญในการส่งเสริม ความสนใจใคร่รู้ใคร่เรียนให้แก่ผู้เรียน โดยที่ผู้วิจัยนำเกมมาใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละเพื่อ สร้างความค้นุ เคยกับชนิดของคำไทยให้แก่นักเรียน นอกจากนี้การทบทวนสง่ิ ท่เี คยเรียนมาแล้วบ่อย ๆ จะ ทำใหผ้ ้เู รียนจดจำได้แมน่ ขน้ึ ซึง่ เปน็ วธิ ีช่วยจำเพอื่ ใหเ้ กดิ ความคงทนทางการเรียนรู้ (วรรณี ลมิ อักษร, 2543 : 117) ซึ่งสอดคล้องกับวชิราภรณ์ คำคล้าย (2551 : 30) การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ คือ สถานทที่ ี่ใชใ้ นการเรียนการสอน ไมว่ า่ จะเปน็ ห้องเรียน อาคารเรยี น บรรยากาศบรเิ วณโรงเรียนท่ีสะอาด และมีการจดั บรรยากาศท่ีเออื้ ต่อการเรียนรู้ เช่น การจัดป้ายนเิ ทศโดยป้ายนเิ ทศสามารถเปน็ เนือ้ หาที่ใช้ใน การเรียนการสอนในแตล่ ะบทจะทำให้นกั เรียนเกดิ การเรียนรู้ไดต้ ลอดเวลาจากการดูและสังเกต การจัดมุม วิชาการ การจัดโตะ๊ เกา้ อี้ และการเสริมแรง (Reinforcement) ทำให้นักเรียนแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้ ที่เกิดขึ้นแล้วมีความคงทนถาวรต่อไปเรื่อย ๆ เมื่อได้รับผลที่พึงพอใจ (พาสนาจุลรัตน์, 2548: 129-131) ซ่งึ การเรียนรู้โดยใชก้ ิจกรรมเป็นฐานเป็นการเรียนรู้โดยการเสริมแรงทางบวก ผวู้ จิ ัยออกแบบกิจกรรมต่าง ๆ ให้มีความหลากหลาย สนุกสนาน ไม่น่าเบื่อ ทำให้นักเรียนเกิดความพึงพอใจในการเรียนรู้คำศัพท์ ภาษาอังกฤษผ่านกิจกรรม ซึ่งเป็นปัจจัยหลักที่ทำให้นักเรียนมีความจำเนื้อหาที่คงทนถาวรจึงส่งผลให้ คะแนนสอบหลงั เรยี นหลังผ่านไปแล้ว 3 สัปดาหเ์ พ่มิ ข้ึน ขอ้ เสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะสำหรับการนำผลงานการศึกษาในครั้งนไี้ ปใช้ 1.1 ควรมีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอนเรื่องชนิดของคำไทยในหลายรูปแบบเพื่อให้เหมาะสมกับ บริบทของนักเรียน 1.2 ครูผู้สอนควรเลือกสื่อที่มีความเหมาะสมกับระดับชั้น และช่วงวัยของผู้เรียน ซึ่งจะสามารถ ดึงดดู ความสนใจของผู้เรียนไดม้ าก โดยเฉพาะส่อื ท่ีเปน็ เสียงหรอื เปน็ ภาพเคล่อื นไหว เพราะจะสามารถเร้า ความสนใจของผู้เรียน และสื่อนั้นควรมีเนื้อหาที่ชัดเจนเข้าใจได้ง่าย สอดคล้องและมีความสัมพันธ์กับ เนื้อหาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้และมีเนื้อหาที่ใกล้เคียงกับสถานการณ์จริงมากที่สุด เพื่อให้กิจกรรมนั้นมี ความหมาย นา่ สนใจมากขึน้ 1.3 ในระยะแรกผู้เรียนอาจเกิดความสับสนเกี่ยวกับวิธีการเรียนแบบใช้กิจกรรมเป็นฐาน ครูผูส้ อนควรเอาใจใส่ดูแลและให้นกั เรยี นฝึกใช้อยา่ งสมำ่ เสมอ ไมค่ วรเร่งรัดหรอื จำกดั เวลาการทำกิจกรรม ของนกั เรยี น เพราะอาจไมไ่ ดร้ ับผลการจัดกจิ กรรมเท่าท่ีควร ควรใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รียนรตู้ ามความต้องการและ ความสามารถของตนเอง 1.4 ก่อนนำแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนกิจกรรมเป็นฐานในการเรียนรู้ เรื่องชนิดของคำ ไทย ของนกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 ไปใช้ประกอบการสอน ครคู วรศึกษาวิธีการอย่างละเอียดเสียก่อน การพัฒนาผลสัมฤทธกิ์ ารเรยี นเร่ืองชนิคของคำไทย โดยใชว้ ธิ สี อนกิจกรรมเป็นฐาน ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4
49 เพื่อให้การปฏิบัติกิจกรรมบรรลุตามวัตถุประสงค์และจะทำให้เกิดประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน และเพ่ือการเตรยี มสื่อ นวัตกรรมประกอบได้ 1.5 เพื่อความต่อเนื่องของการทากิจกรรม ครูผู้สอนควรใช้เวลาในการจัดการเรียนรู้ 2 ชั่วโมง ติดต่อกันเน่ืองจากการจดั การเรียนการสอนที่มีการใช้กจิ กรรมและสื่อประสมหลากหลายชนิดเวลาในการ จดั การเรยี นรูเ้ พยี ง 1 ช่ัวโมง อาจไมค่ รอบคลมุ ประเด็นเนอ้ื หาท้งั หมดตามจดุ ประสงค์ 2. ขอ้ เสนอแนะสำหรับการศกึ ษาคร้ังตอ่ ไป 2.1 ในการพัฒนาเรื่องชนิดของคำไทย ควรปรับเปลี่ยนใช้รูปแบบการสอนอื่น ๆ เพื่อให้ สอดคล้องกับความตอ้ งการและสภาพปญั หา 2.2 ส่งเสริมการจัดกิจกรรม Active Leaning ในรายวิชาอื่น หรือกลุ่มสาระอื่น ๆ เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะและความชำนาญ ด้านการคิดแบบเป็นระบบ การร่วมมือ และได้ เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ 2.3 ควรศกึ ษาปจั จยั ตา่ ง ๆ ที่สง่ ผลต่อการเรยี นรู้ของนกั เรยี นโดยใช้กจิ กรรมเป็นฐาน เชน่ ความถนัด เพศ และความสามารถทางดา้ นภาษา เปน็ ต้น 2.4 ควรใหน้ กั เรียนมสี ่วนร่วมในการเลือกเนื้อหาที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้นักเรียน เหน็ ความสาคญั ของเนอ้ื หาความรู้ในเรื่องราวทีใ่ กล้ตัว และอยใู่ นความสนใจของนักเรยี น การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิการเรยี นเรื่องชนิคของคำไทย โดยใช้วธิ ีสอนกจิ กรรมเป็นฐาน ของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
50 บรรณานุกรม กรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2551) การจดั การเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ตาม หลกั สตู รการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์คุรสุ ภา ลาดพรา้ ว. กติ ตคิ ม ครตั น์ . (2553) กรพัฒนารูปแบบการเรยี นรู้เชิงประสบการณเ์ พอื่ สรา้ งเสริมสุขภาวะ. สำหรับนกั ศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภฏั . (ปริญญานพิ นธ์ปรญิ ญาคดษุ ฎบี ัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. เกียรติศักด์ิ เจริญวงศ์ศักด์.ิ (2556)นวตั กรรมและการประเมนิ ผลทางการศึกษา. (เอกสารอัดสำเนา) เกียรติศักดิ์ พนั ธ์ุลำเจียก. (2548) สอนคิด การจดั การเรยี นรเู้ พ่อื พัฒนาการคิด. นครปฐม : เพชรเกษมการพิมพ.์ ไชยยศ เรอื งสวุ รรณ. (2553) .Active Learning. ขา่ วสารวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ประจำเดอื นพฤศจิกายน. 2553. ณชั นัน แกว้ ชัยเจรญิ กจิ . (2550) .บทบาทของครูผ้สู อนในการจัดกจิ กรรมและวิธกี ารปฏิบัตติ าม แนวทางของ Active Learning. สืบคน้ 25 พฤศจกิ ายน 2563, จาก https://www.ite.org เดชดนัย จุย้ ชมุ และคณะ.(2559). การพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น เร่ือง ทกั ษะการคิดของนักศึกษา ในรายวิชาทักษะการคดิ (Thinking Skills) ด้วยการเรียนรู้แบบมีสว่ นร่วม (Active Learning). วารสารมหาวทิ ยาลยั นราธิวาสราชนครนิ ทร์ สาขามนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์, ฐะปะนีย์ นาครทรรพ. (2548) อ่านเป็น : เรียนกอ่ นสอนเกง่ . กรุงเทพฯ : นานมบี ๊คุ สพ์ ับลิเคช่ันส์, ทิศนา แขมมณ.ี (2556) .ศาสตร์การสอน. (พมิ พ์ครัง้ ท่ี 5). กรงุ เทพฯ : สำนักพิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . ธชั กร สุวรรณจรสั . (2553). การพฒั นารปู แบบการจดั การความร้เู ชงิ ประสบการ์บนเครือขา่ ยเพื่อ ส่งเสรมิ ความสามารถในการสร้างนวตั กรรมทางการศกึ ษาของครู สงั กดั สำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน (ปริญญานิพบธป์ ริญญาดุษฎีบัณฑิต), กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . นิลบุ ล วรวชิ ญธ์ นเลศิ . (2555). การเรยี นรโู้ ดยใช้กิจกรรมเปน็ ฐาน (Activity – Base Learning). คน้ เมื่อ 3 ,มกราคม 2564, จาก https://dputhp.wordpress.com/2013/. บญุ ชม ศรีสะอาด. (2548).วิธที างสถิตสิ ำหรบั การวจิ ัย. พิมพ์ครั้งท่ี 2 กรุงเทพฯ : สุวรี ยาสน์ , บุญเลยี้ ง ทุมทอง. (2555). ทฤษฎีและการพัฒนารปู แบบการจดั การเรียนร.ู้ กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์. เอส.พริ้นติ้ง. ปริญญา เทวานฤมติ รกลุ .(2542).เทคนิคการสอนแบบ Active Learning เพื่อการเรียนรอู้ ยา่ ง สรา้ งสรรค์. เอกสารประกอบการบรรยาย โครงการอบรมเพ่ือพัฒนาศักยภาพอาจารยมหา วทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์.สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาต.ิ พระราชบญั ญตั ิการศึกษา แหง่ ชาติ พ.ศ. 2542. การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิการเรยี นเรื่องชนคิ ของคำไทย โดยใชว้ ิธีสอนกจิ กรรมเปน็ ฐาน ของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4
Search