Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปทุมเจดีย์

ปทุมเจดีย์

Published by panida42222, 2021-01-09 04:53:56

Description: ปทุมเจดีย์

Search

Read the Text Version

ปทุมเจดยี ์ “เจดยี ์ดอกบวั ” เกษมสุข ภมรสถิตย์ www.kalyanamitra.org

www.kalyanamitra.org

www.kalyanamitra.org

บทนำ� ถอยหลงั ไปเปน็ เวลาเกอื บหรอื กวา่ ยีส่ ิบปที ่ีได้เขา้ ไปสนทิ สนมกับดร.เอเดรียน สนอ้ ดกราส ผู้ได้ช่อื ว่าเป็นนกั เจดีย์วิทยาหรือเป็นผู้ชำ� นาญการทางเจดยี แ์ ตผ่ ูเ้ ดียว ในโลกของนักวิชาการ หนงั สอื และผลงานของดร.เอเดรียนไดร้ ับความสนใจ ได้รับ การแปลสู่ภาคภาษาไทย ท�ำใหด้ ร.เอเดรยี นเปน็ ที่รูจ้ กั กันทว่ั ไปในสายวิชาการเชิงน้ี สำ� หรบั ผเู้ ขียนซง่ึ สนใจในดา้ นน้จี นมโี อกาสไดพ้ บปะสนทิ สนมกับ ดร.เอเดรียน กอ่ นที่ทางวัดพระธรรมกายจะดำ� รสิ ร้างมหาธรรมกายเจดยี ์ และการสรา้ ง มหาธรรมกายเจดีย์ยอ่ มทำ� ใหด้ ร.เอเดรียนใหค้ วามสนใจถึงกับเดนิ ทางมา ประเทศไทย มารว่ มประชุมกบั คณะผ้สู ร้างมหาธรรมกายเจดยี ์อยู่ถงึ สองครั้งสอง ครา และยงั ไดท้ �ำสมั มนาทางวิชาการเชงิ น้กี ับผเู้ ขียน ซง่ึ ไดร้ บั ความสนใจจากนัก วิชาการ นักธรุ กจิ หลายสาขา ด้วยความทีไ่ ด้ศึกษาทางดา้ นน้ี และความท่ไี ด้คลุกคลกี บั ดร.เอเดรียนมาพอ สมควร จงึ ท�ำใหผ้ ู้เขยี นพอจะมีช้นั เชงิ มคี วามเข้าใจในเรือ่ งราวของพระพุทธเจดีย์ เพียงพอทีจ่ ะใหอ้ รรถาธบิ าย ในปรัชญาทีซ่ อ่ นซ้อนอย่ใู นทุก ๆ รปู ทรงของพระพุทธ เจดีย์ ทัง้ โดยทฤษฎขี องดร.เอเดรียน และโดยความเขา้ ใจของตัวเอง ในวนั น้ี เม่ือทางวัดพระธรรมกาย ไดด้ �ำริสร้างพระพุทธเจดยี ์ ท่ีมีรปู ทรงเหมือน ดอกบวั หรอื ปัทมะเจดยี ์ หรือ ปทุมเจดยี ์ ทม่ี ีรปู ลักษณเ์ ฉพาะข้ึนในหลาย ๆ พ้ืนท่ี เป็นเหตุใหม้ ีการพูดคยุ การสอบถามถึงปรัชญาหรือทฤษฎีรองรับรปู ร่างของ ปทมุ เจดยี ์ ทีน่ บั วา่ แปลกตาสำ� หรบั คนในปัจจบุ ัน www.kalyanamitra.org

ผู้เขยี นในฐานะผมู้ คี วามเข้าใจในปรชั ญาของรปู ลักษณะแห่งพระพุทธเจดยี ์บา้ ง จึงคดิ ที่จะเขยี นทฤษฎีหรอื ทีม่ าของเจดยี ์ท่มี รี ูปรา่ งแปลกตานี้ เพอ่ื ความเข้าใจของ พทุ ธศาสนิกชน เพ่ือจะไดบ้ งั เกดิ ผลบญุ บงั เกิดความช่นื ใจ ปีติใจ เมอ่ื มโี อกาสได้ กราบไหว้เจดียท์ ี่มชี ือ่ เรยี กงา่ ย ๆ ตรงตวั กบั รูปลักษณะวา่ “ปทุมเจดยี ”์ ขอทา่ นผอู้ า่ นจงทำ� ความเข้าใจ และได้บุญไปดว้ ยกนั กับผ้เู ขียน ในกาละทไี่ ดเ้ อย่ สรรเสรญิ พระเจดีย์ ทีเ่ ปน็ สญั ลกั ษณข์ องการบังเกิดขึน้ เพือ่ ตรัสรู้ธรรมของ พระพุทธองค์ เกษมสุข ภมรสถติ ย์ www.kalyanamitra.org

๑. พระพทุ ธเจา้ กบั ”ดอกบัวทงั้ หา้ ” สนั้ ๆ งา่ ย ๆ กบั เร่อื งราวทม่ี ปี รากฏอยู่ในพระไตรปิฎก หรอื ทอี่ ยใู่ นประวตั ขิ อง พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าท้งั ปวงในภัทรกัปน้ี “ภทั ร” แปลวา่ หา้ “กัป” แปลวา่ ช่วงเวลาท่ีจะมเี กดิ ขึ้นและดบั ไปของพระพทุ ธ ศาสนา ดงั น้นั ”ภทั รกปั ” จึงมีความหมายตรงตัววา่ เปน็ กปั เปน็ ช่วงเวลาท่ีมีพระ สัมมาสัมพุทธเจา้ ลงมาตรสั รู้ธรรมเป็นจ�ำนวน 5 พระองค์ และอะไรเล่า คือ สงิ่ ทส่ี ่อื ความหมายน้ี เปน็ ทเ่ี ลา่ และจารกึ ตอ่ ๆ กนั มาเปน็ ความรู้ว่า ในวาระทโ่ี ลกบงั เกิดขึ้น และเยน็ สนทิ เพียงพอพร้อมที่จะเป็นทีอ่ บุ ัติขึน้ ของมวลชวี ิต ณ ขณะนัน้ ไดบ้ ังเกดิ ดอกบวั ปทั มา หรือดอกบัวหลวงสีขาวทเ่ี รียกกนั ในภาษาวรรณกรรมว่า “ปุณฑรกิ ” ผุดขนึ้ จาก แผ่นดนิ อยา่ งแขง็ แรง งดงาม เปน็ จ�ำนวน 5 ดอก เป็นสัญญาณและเป็นการบอก กลา่ ววา่ กัปนจ้ี ะปรากฏมพี ระโพธิสตั ว์มาตรสั รู้ธรรมเปน็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ท้งั หมดเปน็ จำ� นวนถึง 5 พระองค์ 1 www.kalyanamitra.org

และกาลกด็ �ำเนินมาเช่นน้ัน จากยคุ ของพระพุทธเจา้ พระองคห์ นง่ึ ซ่งึ จะโลกจะ คอ่ ย ๆ เจริญขึ้นเปน็ ล�ำดบั จนกระทงั่ ถงึ วาระที่พระองคต์ รัสร้สู มั มาสมั โพธญิ าณ จากนน้ั พระองค์ก็จะท�ำนาย หรือทรงบอกถงึ จำ� นวนปที ่พี ระศาสนาของพระองค์ จะจำ� เริญข้นึ และด�ำรงอยู่ถึงจดุ สูงสุด เรียกกนั ว่า “กัปไขขนึ้ ” และจะเรมิ่ เส่ือมสลาย จนส้ินสูญอันเป็นเวลาทโ่ี ลกจะต้องเผชิญกบั ความลำ� บากไปชว่ งระยะเวลาหนึ่ง เรยี กกันวา่ เป็นช่วง “กัปไขลง” จนกวา่ จะถึงเวลาท่ีพระโพธสิ ตั วอ์ งค์ตอ่ ไปจะเสดจ็ ลงมาบงั เกดิ เพื่อบ�ำเพ็ญบารมีสกู่ ารตรสั รธู้ รรม กัปจึงจะเรม่ิ ไขขึ้นอกี คร้ัง ส�ำหรับโลกใบน้ี กาลกจ็ ะเป็นเชน่ กล่าวนี้ ถงึ 5 คร้งั แล้วโลกใบนกี้ จ็ ะถงึ วาระแห่ง การแตกสลาย ดงั นนั้ “ดอกบัว” หรอื ปัทมา หรอื ปทุมา หรือ ปณุ ฑรกิ จึงถือเปน็ สญั ลักษณ์ของ การตรสั รธู้ รรมของพระโพธิสตั วเ์ ข้าสู่ภาวะของการส�ำเร็จเปน็ พระสัมมาสัมพุทธ เจ้า พุทธศาสนิกชนจึงนิยมใช้ดอกบัวเปน็ ดอกไม้ส�ำหรบั บชู าพระพทุ ธองค์ ทง้ั สขี าว และสชี มพู และไมน่ ิยมพับกลีบดอกให้เปลย่ี นรปู ลกั ษณ์ เน่อื งจากตอ้ งการรกั ษา รปู ร่าง รูปลกั ษณะให้เหมือนกับดอกบวั ท้งั หา้ ทป่ี รากฏบนพ้ืนดนิ สำ� แดงสญั - ลักษณแ์ หง่ การตรสั รธู้ รรมของพระพทุ ธองค์ อกี ทงั้ ดอกบัวน้ยี งั ปรากฏอย่บู นจอม กระหมอ่ มของพระธรรมกาย (กายตรสั รู้ธรรม) ภายใน ของพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ อกี ดว้ ย ดงั นั้น “ดอกบัว” จึงถือเปน็ สญั ลกั ษณ์ของพระพุทธองคส์ มั มาสมั พุทธเจา้ โดยแท้ การสรา้ งพระเจดีย์เป็นรปู ทรงดอกบวั จึงเทา่ กบั เป็นสรา้ งสัญลักษณข์ องพระพทุ ธ องคน์ ่ันเอง 2 www.kalyanamitra.org

๒. หลกั การของเจดยี ท์ รงดอกบวั เปรยี บเทยี บกับหลักการของเจดีย์ทว่ั ไป โดยหลกั การ นักเจดียว์ ิทยาจะแบ่งพทุ ธเจดีย์ออกเป็นสองลกั ษณะใหญ่ ๆ คือ เจดยี ท์ เี่ น้นไปในทางกวา้ ง หรือ แนวนอน เรียกว่า “The Plan Stupa” เจดยี ท์ ่ีเนน้ ไปในทางสงู หรือ แนวตงั้ เรยี กว่า “The Pile Stupa” เจดยี ์ท่เี นน้ ในทางกวา้ ง หรอื Plan Stupa มักเป็นเจดียท์ ่สี รา้ งในพ้นื ท่โี ล่งกว้าง หรอื เป็นเจดีย์ที่มลี กั ษณะเน้นไปในทางกวา้ ง คือ เจดียท์ รงกลม เชน่ สาญจเิ จดยี ์ เกสริยาพทุ ธเจดีย์และมหาธรรมกายเจดีย์ ทมี่ กั นิยมเรียกกนั ว่า ทรงสถูป หรอื Thupa มหาธรรมกายเจดยี ์ สาญจิ เกสริยา 3 www.kalyanamitra.org

เจดยี ท์ เ่ี นน้ ไปทางสูง หรือ Pile Stupa คือเจดียท์ ัว่ ไป ท่มี ยี อดแหลม อย่างท่คี ุ้น ตากนั เชน่ ปฐมเจดยี ์ รวุ ันเวฬิเซย่า กระน้นั ในรูปทรงของเจดยี ท์ รงสงู หรอื ทเี่ รยี กกนั วา่ Cetiya กซ็ อ่ นความเป็นจรงิ ที่ เป็นรปู ลกั ษณะของทรงกลมไวใ้ นฐานท่ีเขา้ ใจ ดังภาพข้างล่างนี้ ปฐมเจดีย์ รุวันเวฬเิ ซย่า และยังมีเจดียอ์ กี รูปทรงหน่ึง ที่เรียกรปู ลกั ษณะเฉพาะของเจดีย์ทรงนวี้ ่า Stupa as the Lotus หรอื เจดีย์ทรงดอกบัว เช่น เจดีย์พระธาตุพนม ทัง้ นเ้ี พราะถือว่า “ดอกบวั ” คอื สัญลักษณ์ของพระพทุ ธองค์ หรือ การตรสั รู้ธรรมของพระพุทธองค์ ตามนยั ท่ปี รากฏเป็นดอกบวั หลวงหา้ ดอกตอนตน้ กัป 4 www.kalyanamitra.org

พระธาตุพนม เมอื่ เปน็ เชน่ นี้เจดีย์ทรงดอกบวั จงึ มใิ ชข่ องแปลกใหมแ่ ตอ่ ยา่ งใด เพราะนอกจากจะ เปน็ รูปทรงจ�ำเพาะแลว้ ยงั จัดอยู่ในประเภทของเจดียท์ รงสูง Pile Stupa คอื เนน้ ไปทางแนวตัง้ กระน้นั กส็ ามารถใช้แนวตง้ั มาเป็นรัศมีของการวาดสว่ นโคง้ ได้ ซึง่ สว่ นโค้งนเ้ี อง ทีท่ างทฤษฎีเรยี กว่า The Hidden Sphere คอื ทรงกลมทซี่ อ่ นอยู่หรอื ทรงกลมท่ี มองไมเ่ ห็น ท้งั นีเ้ พราะโดยหลักการ การสร้างพทุ ธเจดยี โ์ ดยพระเจา้ อโศกมหาราช นัน้ ถือวา่ ทรงกลมน้แี ทนดวงธรรมหรือแทนดวงปฐมมรรค แต่การจะสรา้ งเจดีย์ทรง กลมใหม้ ีขนาดใหญน่ นั้ ใชพ้ ื้นทีม่ ากหรอื ตอ้ งสร้างในท่สี งู ทำ� ให้กาลต่อมา รูป ลกั ษณ์ของพระพุทธเจดีย์จงึ จำ� ตอ้ งถูกปรับให้เป็นไปหรอื สอดคลอ้ งไปกับพ้นื ที่ เพราะการสรา้ งเจดีย์ทรงกลมที่มีขนาดใหญ่มาก ๆ น้นั นบั เปน็ เรือ่ งยาก 5 www.kalyanamitra.org

ดงั น้ันเมอ่ื ตอ้ งการความสงู ของเจดีย์ เพ่อื ใหส้ ามารถเหน็ ไดจ้ ากที่ไกล จึงต้องหนั มา เน้นในดา้ นของส่วนสงู จึงทำ� ให้เกิดเจดยี ม์ ีการต่อยอดขึน้ เป็นคร้ังแรกในประเทศ ศรีลังกา คอื รุวนั เวฬเิ ซยา่ จากนนั้ รูปลักษณ์ของเจดยี ก์ ็ถกู พัฒนาไปเรอ่ื ย ๆให้ สอดคล้องกับวัฒนธรรมทอ้ งถ่ินที่รับพระพุทธศาสนาเขา้ ไป ทรงกลมทมี่ องไม่เห็น The Invisible Sphere ทีซ่ อ่ นอยใู่ นเจดีย์ทรงสูงทุกรูปแบบ 6 www.kalyanamitra.org

ทรงกลมทม่ี องไม่เหน็ The Invisible Sphere ท่ีซ่อนอยใู่ นเจดยี ์ทรงดอกบวั (พระธาตุพนม) ดังนน้ั ไมว่ า่ พทุ ธเจดยี จ์ ะถูกสรา้ งออกมาด้วยการเน้นทางแนวต้ังหรือแนวนอน ก็ ยอ่ มส�ำแดงถึงทรงกลมท้งั สนิ้ เพยี งแต่ซอ่ นไว้หรือโดยเปดิ เผยเทา่ นน้ั และทรงกลม น้ี กม็ ไิ ดแ้ ทนแตจ่ �ำเพาะความเปน็ บาตรควำ่� หรือดวงปฐมมรรคเทา่ น้ัน หากหมาย ถงึ ครอบฟ้าทอ่ี านุภาพของพระพุทธองคส์ ัมมาสัมพุทธเจา้ จะสอดสง่ ไปถึงด้วย ดงั นั้น พุทธเจดยี ์แทบทกุ องคจ์ งึ มไิ ดซ้ อ่ นความหมายไวแ้ ต่เพยี งอย่างเดียว ทั้งนัย ทเ่ี น้นส่วนสูง “The Pile” และนัยท่เี น้นส่วนกว้าง “The Plan” 7 www.kalyanamitra.org

๓. ปทุมเจดยี ์ หรอื เจดยี ์ทรงดอกบวั ปทมุ เจดียจ์ ัดอยใู่ นทฤษฎีของ The Pile Stupa และยงั มชี ื่อจ�ำเพาะตามภาษานกั วิชาการอกี ดว้ ยวา่ Stupa as the Lotus จึงนับว่าเปน็ พุทธเจดยี ท์ ม่ี ิได้แปลกแยก แตกต่างออกไปแต่อย่างใด เพยี งแตก่ ารกอ่ สร้างเน้นรูปลกั ษณะของความเปน็ ดอกบัวใหช้ ัดเจนมากข้นึ เทา่ นนั้ อีกทัง้ ยงั มเี สน้ แบง่ นรก มนษุ ย์ สวรรค์ ตามทฤษฎี ชัดเจนคงเดมิ ทกุ ประการ เส้นแบง่ นรก มนุษย์ สวรรค์ นนั้ กค็ ือ บวั ควำ่� และ บัวหงาย ท่ีเปน็ ส่วนฐานของ พุทธเจดียท์ ุกองค์ คือ บัวคว่ำ� แสดงถงึ นรกภูมิ บวั หงาย แสดงถงึ สคุ ตภิ ูมิ คือ สวรรค์ทงั้ หลาย โดยมเี สน้ แบ่งระหว่างบวั คว่�ำ กับ บวั หงายชดั เจน เส้นนช้ี ัดเจน และสำ� คญั นัก นกั เจดยี ว์ ิทยาถอื วา่ เปน็ เสน้ ทีแ่ สดงถงึ “เขตแดนของมนุษย”์ ผมู้ ี ชีวติ อยู่ระหวา่ งนรกกบั สวรรค์ ในปทุมเจดียก์ ็มีเส้นนีช้ ดั เจน น่นั กค็ ือเส้นที่รองรับองคเ์ จดยี ์นั่นเอง สว่ นจะกวา้ ง ใหญ่เพยี งใดแล้วแตว่ ตั ถปุ ระสงค์ เพราะบางทีกต็ ้องใช้เสน้ นี้เปน็ แนวเวียน ประทกั ษณิ แสดงสักการะตอ่ องคพ์ ระเจดยี ด์ ว้ ยไปในขณะเดยี วกัน 8 www.kalyanamitra.org

ลักษณะส�ำคญั ของพทุ ธเจดยี ์มีเพียงเทา่ น้ี คอื ฐานทร่ี องรับองค์เจดยี ์ ทม่ี กั จะเป็นเส้นนิง่ แทนภพมนษุ ย์ ส่วนบัวคว�ำ่ แทนนรกภมู ิ สว่ นบวั หงายแทนสวรรค์ทั้งปวง ส่วนองค์พทุ ธเจดีย์ ว่าจะเนน้ ทางดา้ นกว้างหรอื เน้นทางด้านสงู แต่ทุก ๆ รูปทรงเว้นเจดียท์ รงกลม จะมสี ่วนทมี่ องไม่เหน็ นั่นคือทรงกลมท่ีเกดิ จาก ยอดพุทธเจดียถ์ ึงกึง่ กลางฐาน ท่ีเรยี กกันวา่ The Invisible Sphere น่นั เอง ซง่ึ แมจ้ ะเป็นเจดีย์ทรงกลม ส่วนฐานก็ยังกวา้ งกวา่ องคเ์ จดยี ์ เพราะอย่างไรเสยี ผู้ สร้างก็ไม่สามารถสร้างทรงกลมไดใ้ หญ่โตโอฬารตามความเปน็ จริงได้ จงึ มักท�ำ ส่วนฐานใหก้ วา้ งใหญ่เพ่อื แทนสว่ นโคง้ ทีก่ วา้ งมากขึ้นเท่านนั้ เชน่ สว่ นเชิงลาดของ มหาธรรมกายเจดียเ์ ปน็ ตน้ นอกน้ันจะเป็นการปรบั กนั ไปตามความประสงค์บา้ ง ตามพื้นท่บี ้าง ตามวัฒนธรรม ด้ังเดมิ บ้าง ตามความเชอื่ เดมิ ที่ตกทอดกนั มาบ้าง แตท่ ช่ี ดั เจนทส่ี ดุ น่าจะอยูท่ ี่ความเป็นจรงิ ทีเ่ กิดขน้ึ ตอนต้นกัป เมื่อปรากฏดอกบัว หลวงผดุ ขนึ้ พน้ แผน่ ดนิ เป็นจำ� นวนหา้ ดอก ทแี่ สดงหรือบอกความจริง ให้เทวาท้งั หลายทราบว่า ยคุ นี้ กปั นี้ จะมพี ระโพธสิ ัตว์ มาบังเกดิ เพ่ือตรสั รู้เป็นพระสมั มาสมั พุทธเจา้ ถงึ 5 พระองค์ทีเดียว ดงั นั้น อีกนัยหนง่ึ ปทมุ เจดีย์ ยอ่ มแสดงชดั ถึงความเปน็ พระพุทธองค์ ทีท่ รงลงมา ตรัสรู้ ณ โลกมนุษยแ์ หง่ นี้ ซึ่ง ณ ขณะน้ี พุทธนั ดรน้ี เปน็ ยุคของ เจา้ ชายสทิ ธัตถะ พระสมณโคดมสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ปทมุ เจดีย์ จงึ อาจสามารถส�ำแดงถึงหรือเปน็ สญั ลักษณ์ของพระพุทธ- องค์ พระสมณโคดมสัมมาสัมพทุ ธเจ้าได้อีกนยั หนง่ึ ดว้ ย 9 www.kalyanamitra.org

ดงั นนั้ โดยปรชั ญา และ รปู ลักษณข์ อง”ปทมุ เจดีย์” จงึ สามารถอธบิ ายได้ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. เปน็ พทุ ธเจดยี ์ทรงสงู ทีเ่ รยี กวา่ The Pile Stupa 2. เป็นพุทธเจดยี ท์ มี่ ีรูปลกั ษณะเฉพาะ เรียกกันในภาษาวิชาการว่า “Stupa as the Lotus” หรือเจดยี ์ทรงดอกบวั 3. มคี ุณสมบตั ิ หรอื รูปแบบครบถว้ นตามสาระแห่งพระพุทธเจดีย์ ทุกประการคือ มสี ว่ นฐานที่เรยี กวา่ ฐานปทั ม์ หรอื บวั คว�่ำ บัวหงาย และ เสน้ นงิ่ คน่ั กลางระหวา่ งบัวคว�่ำ/หงาย 4. เปน็ ประหนง่ึ ตวั แทนการปรากฏขนึ้ ของดอกบัวหลวงทงั้ ห้า เมอื่ ต้นภัทรกัปนี้ 5. ดงั นนั้ ปทมุ เจดีย์ จึงสามารถอยู่ในอกี ลกั ษณะหนง่ึ ของพุทธเจดยี ไ์ ด้ นน่ั คือStupa as the Buddha Himself คือ เจดียแ์ ทนพระพทุ ธองค์ ปทุมเจดีย์ ทีป่ รากฏนยิ มสร้างกนั ณ ขณะน้ี ในพน้ื ท่ีตา่ ง ๆ ท่ัวประเทศ จงึ ไมไ่ ด้ ผดิ แผกแตกตา่ งออกไปจากบรรพเจดยี แ์ ต่อย่างใด แตห่ ากเปน็ การน้อมนำ� เหตุผล ทงั้ ปวงของความเป็นพระพทุ ธเจดียม์ ารวมไว้ในทเ่ี ดียวกัน โดยมิไดแ้ ผลงรูปลกั ษณ์ ให้แปลกออกไป ปทมุ เจดีย์ จึงเปน็ สงิ่ ก่อสร้างท่คี วรแก่การสรรเสริญยิ่งในเชงิ ภูมปิ ัญญาของผู้ดำ� ริ สรา้ ง เพอื่ บังเกดิ เป็นบญุ อย่างยง่ิ ตอ่ ผสู้ รา้ ง ผสู้ ่งเสรมิ และผ้เู คารพกราบไหว้ ทำ� ให้ การกราบพระพทุ ธเจดีย์เป็นประดุจได้กราบองค์จรงิ ของพระสัมมาสมั พุทธเจา้ หรอื อีกนัยหนงึ่ เทา่ กับไดก้ ราบพระพทุ ธเจ้าทัง้ หมดทั้งปวง ทัง้ ห้าพระองคข์ องภทั ร กปั นเ้ี ลยทีเดยี ว 10 www.kalyanamitra.org

11 www.kalyanamitra.org

บทสรุป หนงั สือเลม่ นจี้ ดั พิมพ์ขน้ึ เพ่ือเป็นการเพ่ิมความเข้าใจ “ปทุมเจดีย”์ ท่ี ณ ขณะน้ี มี การกอ่ สรา้ งขึ้นในพื้นที่ต่าง ๆ ท่วั ประเทศ แต่เน่ืองจากเป็นเจดียท์ ีร่ ปู ร่างที่ไมค่ ุน้ ตา อาจทำ� ใหผ้ ้ไู ดเ้ ห็นเกดิ ความไม่เข้าใจ เพราะโดยทั่วไปชาวพทุ ธถกู ทำ� ใหเ้ คยชนิ กบั พุทธเจดยี ท์ ่ีมีรปู ทรงทปี่ รบั เปลยี่ นแลว้ โดยประเทศศรลี ังกา คอื ปรบั จากทรงกลม ธรรมดาของสาญจิพทุ ธเจดยี ์ ด้วยการต่อยอดให้สงู ข้นึ เจดียอ์ งค์นน้ั ชือ่ รุวันเวฬิ- เซย่า จากนัน้ ตัวทรงกลมก็ถกู ปรบั ให้มีสว่ นโคง้ เวา้ เขา้ ไป ในรปู ที่ร้จู กั กันท่ัวไปว่า ทรงระฆงั หรือ Bell Shape ซ่งึ เป็นท่แี พร่หลายเปน็ อย่างมาก จนเป็นเหตุชาวพุทธ ทกุ คนพากนั เขา้ ใจว่าทรงระฆงั เปน็ แบบทถ่ี ูกต้องท่ีสดุ สว่ นเจดยี ์ทรงดอกบวั ทช่ี ดั เจนเป็นทีร่ จู้ ักกันก็คือ เจดีย์พระธาตุพนม กระนนั้ กม็ ไิ ด้ มี รปู รา่ งเป็นดอกบัวอย่างชัดเจนแต่กเ็ ปน็ พุทธเจดยี ์ท่มี กี ารยอมรบั กนั ขน้ึ จนบรรจุ เปน็ หน่งึ ในรปู รา่ งของพุทธเจดยี ท์ รงต่าง ๆ เมื่อมกี ารสร้างปทมุ เจดยี ์ ขึน้ ความเขา้ ใจของพทุ ธศาสนกิ ชนจึงยังไม่ชดั แจง้ หลายทา่ นคดิ วา่ เปน็ การออกแบบขึ้นมาเป็นเฉพาะเป็นรปู รา่ งใหมท่ ี่ไม่เคยปรากฏ ผเู้ ขียนจึงตัดสินใจเขียนหนงั สือวา่ ด้วยปทุมเจดยี เ์ ลม่ นีข้ ้นึ เพื่อเป็นหลกั ฐานทาง วชิ าการว่าปทมุ เจดยี ์ มิได้สร้างข้ึนมาโดยปราศจากหลกั การ ตรงกนั ข้ามพทุ ธเจดีย์ ทีเ่ รยี กวา่ ปทุมเจดียน์ ี้ เต็มไปด้วยหลักการและเหตผุ ล และยังสามารถท�ำใหก้ าร กราบปทุมเจดยี ์ เทา่ กับได้กราบพระพุทธเจ้าทง้ั ห้าพระองคข์ องภัทรกัปนี้อกี ด้วย คือได้กราบท้งั พระพุทธเจ้าในอดีต องค์ปัจจุบัน และองค์ในอนาคตอนั แสนไกล นบั เป็นบญุ ลาภอันยง่ิ ใหญ่ทีพ่ ุทธศาสนิกชนพงึ ได้ เพื่อยังบญุ อนั ประเสรฐิ ใหเ้ กดิ ขนึ้ กบั ตนเองและครอบครวั 12 www.kalyanamitra.org

www.kalyanamitra.org

การศึกษา เกษมสุข ภมรสถติ ย์ มธั ยมศกึ ษา โรงเรียนเขมะสิริอนสุ สรณ์ ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบ์ ัณฑติ คณะวทิ ยาศาสตร-์ อกั ษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ (KU 29) การท�ำงาน: ปัจจบุ ันดำ� รงต�ำแหน่ง -ผู้ทรงคณุ วุฒแิ ละทป่ี รึกษาคณะกรรมการพัฒนางานวิชาการการศึกษา สำ� นกั การศกึ ษา เมอื งพัทยา -ประธานมลู นธิ เิ พ่อื การศึกษาและท่อี ย่อู าศยั เยาวสตรีแนวชายแดนภาคเหนอื www.kalyanamitra.org

www.kalyanamitra.org

ปทุมเจดยี ์ “เจดีย์ดอกบัว” เกษมสุข ภมรสถติ ย์ ผ้เู ขยี น มีนาคม 2563 สงวนลขิ สิทธ์ิ ทนั ตแพทย์วชิ ติ กิตตพิ งศโ์ กศล พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1 สชุ าดา พงศพ์ นั ธ์ ภาพประกอบ กัณยพร ช้นั เฟอ่ื งฟู บรรณาธกิ าร ดจุ จันท์ สวนศลิ ปพ์ งศ์ ฝา่ ยผลติ และจัดการทว่ั ไป ปัทม์ปราชญ์ พงศ์หิรัญ ชมรมบ้านมธุระ Email: [email protected] เจ้าของ www.kalyanamitra.org

www.kalyanamitra.org


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook