Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 10 เคล็ดลับสร้างสุข

10 เคล็ดลับสร้างสุข

Published by somying jeasarum, 2018-09-06 22:39:12

Description: ความสุขเป็นสิ่งที่เราแสวงหา

Keywords: ดี,สุข

Search

Read the Text Version

การจดั การขยะ ในระดับชุมชนเหมาะสำ� หรบั : ชุมชนระดบั หมู่บา้ นท่ตี อ้ งการแกไ้ ขปัญหาการจัดการขยะระดบั ครวั เรือน

ปจั จุบันเกดิ การดำเนนิ งาน “การจดั การขยะในระดับชมุ ชน” 125จำนวน โครงการ ท่ัวประเทศครัวเรือนทเี่ ข้าร่วมโครงการ62.65ร้อยละมีการคดั แยกและใชป้ ระโยชน์จากขยะอย่างสมำ่ เสมอขวดแก้ว กระดาษ ของสด พลาสติกปรมิ าณขยะในครวั เรอื นและชุมชนทเี่ ข้าร่วมโครงการสามารถลดลง ได้ถงึร้อยละ66.16

ทม่ี าทไี่ ป สำ� นกั สรา้ งสรรคโ์ อกาสและนวตั กรรม (สำ� นกั 6) หนงึ่ ในหนว่ ยงานของสำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพหรอื สสส. ไดท้ ำ�หน้าท่ีเปิดโอกาสให้ทุกกลุ่มบุคคล ชุมชน องค์กร ได้ริเร่ิมสร้างสรรค์การทำ� งานสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพทเ่ี ปน็ ประโยชน์ ตอบโจทยก์ ารแกป้ ญั หาชมุ ชนและพนื้ ทดี่ ว้ ยการคน้ หานวตั กรรมสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพหรอื ชดุ ความรู้ทเ่ี ปน็ ตวั อยา่ งปฏบิ ตั กิ ารทด่ี ี เพอื่ นำ� ไปตอ่ ยอดและขยายผลในพน้ื ทตี่ อ่ ไป จากจำ� นวนปรมิ าณขยะในชมุ ชนทเ่ี พมิ่ มากขน้ึ และขาดการจดั การทเ่ี หมาะสม ทำ� ใหเ้ กดิ ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มในดา้ นตา่ ง ๆ ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่สขุ ภาวะของประชาชน ในขณะเดยี วกนั ยงั มอี กี หลายพน้ื ทที่ ม่ี ตี วั อยา่ งการจัดการขยะที่ดีสามารถเปล่ียนขยะที่ดูไร้ค่าให้เป็นรายได้และใชป้ ระโยชนไ์ ด้ จนเรยี กไดว้ า่ ไมม่ คี ำ� วา่ ขยะอกี ตอ่ ไป ทำ� ใหส้ ำ� นกั สรา้ งสรรค์โอกาสและนวตั กรรม(สำ� นกั 6) ไดส้ นบั สนนุ การดำ� เนนิ งาน“การจดั การขยะในระดบั ชมุ ชน” เนน้ การจดั การของหมบู่ า้ นในระดบั ครวั เรอื น มเี ปา้ หมายเพื่อให้ชุมชนมีการคัดแยกขยะและการจัดการขยะได้อย่างเหมาะสมโดยเนน้ ใหค้ รวั เรอื นมกี ารคดั แยกขยะและใชป้ ระโยชนจ์ ากขยะไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเพอื่ สรา้ งสขุ ภาวะใหก้ บั ชมุ ชน



บทบาทของ สสส.สสส. ทำ� หนา้ ทจ่ี ดุ ประกาย กระตนุ้ สาน และเสรมิ พลงั เพอ่ื ใหค้ นในชมุ ชนร่วมออกแบบ วางแผน และด�ำเนินการให้เกิดการคัดแยกขยะและการจดั การขยะทีเ่ หมาะสม โดยมีแนวทางในการดำ� เนินการ ดังน้ี สนับสนุนด้านความรู้ ส่งเสริมให้ชุมชนตระหนักและเข้าใจเรื่องการจัดการขยะ รวมท้ังการพัฒนาศักยภาพของแกนน�ำในชุมชนผ่านการอบรมเสริมความรู้ด้านการจัดการขยะและการใชป้ ระโยชนจ์ ากขยะเพอื่ ใหเ้ กดิ การพฒั นาและตอ่ ยอดงานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การขับเคลื่อนทางสงั คม ส่งเสริมการเช่ือมประสานเครือข่ายทุกภาคส่วนในชุมชนผ่าน “คณะท�ำงานการจัดการขยะ” เพ่ือร่วมกันออกแบบ วางแผน และด�ำเนินการ โดยใช้ข้อมูลจากการสำ� รวจสถานการณใ์ นพนื้ ทแ่ี ละขอ้ มลู ความรเู้ ปน็ พนื้ ฐานในการดำ� เนนิ การ รวมทง้ั ส่งเสริมการมีสว่ นรว่ มของทกุ คนในชุมชนเพอ่ื ร่วมหาแนวทางแกไ้ ขปญั หา เชื่อมฝา่ ยนโยบาย สนับสนุนและผลักดันให้เกิดกติกาและข้อตกลงการจัดการขยะในครัวเรือนและชมุ ชน การจดั การขยะในระดบั ชุมชน 5

ขยะกโคารรงจกดั ากราร วัตถปุ ระสงค์ เพอื่ ใหช้ มุ ชนมีการคัดแยก และจดั การขยะอย่างเหมาะสม จดุ เน้น ครวั เรือนมกี ารคดั แยกขยะและใชป้ ระโยชนจ์ ากขยะ จดั ประชมุ คณะท�ำงานอยา่ งน้อย 4 ครัง้ิกจกรรม • การประชาสัมพันธ์ • การสำ� รวจสถานการณ ์ • ตดิ ตามการจดั การขยะ • สรปุ บทเรยี นการดำ� เนนิ งาน เชิญชวนและแต่งตั้ง ปัญหาในชุมชน และสืบค้นข้อมูล • วางแผนขบั เคลอ่ื นการจดั การ คณะทำ� งาน • จดั ประชาคมหมูบ่ ้าน ของชุมชนทุกเดือน ขยะ • อบรมการจัดการขยะ • คัดเลือกและยกย่อง • การศึกษาดงู าน ครอบครวั ทม่ี กี ารคดั แยก • ก�ำหนดกติกาการ ขยะ จัดการขยะ • การประชาสัมพันธ์ กติกา • การปฏบิ ตั กิ ารคดั แยก ขยะผล ัลพ ์ธ เกิดคณะท�ำงาน กชตามุรรเะจชขหัดนา้ นใกมจักาคี ใรแนวขลายมะะ คณะท�ำงานมี แคลคระวััดจใเชแารกป้ยอื ขกรนะยขมโะยกียะาชรน์ ปรมิ าณขยะลดลง การจดั การขยะ • ครัวเรือนชุมชน ใแกนลลกะไาสกรรกคา้ าดังรแแตรยดิงกจตขงาู ยใมจะ • ครัวเรือนร้อยละ • ปริมาณขยะใน • คณะทำ� งานมีการ 50 มีการคัดแยกตัว ีช ัวด ตดิ ตามการจดั การ ขยะ ใช้ประโยชน์ ครวั เรอื น /ชมุ ชน ท่ีต้องจัดการลด ลง รอ้ ยละ 50 • องค์ประกอบของ มี ค ว า ม รู ้ แ ล ะ ขยะในครัวเรือน จากขยะ คณะทำ� งานประกอบ สามารถระบุวิธี ทกุ เดอื น ด้วยกรรมการ การคัดแยกขยะ • มีการเก็บข้อมูล ชุมชน ตัวแทนคุ้ม และประเภทขยะได้ แ ล ะ ป ร ะ ชุ ม คื น และผแู้ ทน อปท. • ชุ ม ช น ร ่ ว ม กั น ข้อมูลการติดตาม • มี ข ้ อ ต ก ล ง ก า ร กำ� หนดกติกา การจดั การขยะใน ท� ำ ง า น ท่ี ชั ด เ จ น • ประเภทของ ชุมชนทกุ เดอื น • มีแผนการปฏิบัติ ขอ้ ตกลง งาน รูปแบบในการดำ� เนินการจดั การขยะในระดบั ชุมชน6 การจดั การขยะในระดบั ชุมชน

5 ขน้ั ตอนในการดำ� เนนิ การ 1. คน้ หาแกนนำ� : “คณะทำ� งานการจัดการขยะ” จัดตั้งคณะท�ำงานการจัดการขยะ ประกอบด้วย ตัวแทนจากกรรมการชุมชนตวั แทนคุม้ ต่าง ๆ ในชมุ ชน และผูแ้ ทนอปท. โดยต้องมขี ้อตกลงการท�ำงานทชี่ ัดเจนและมแี ผนการปฏบิ ตั งิ าน แนวทาง ประชาสัมพันธ์ เชิญชวน และตั้งแกนน�ำจิตอาสาในชุมชน เป็นคณะท�ำงานโดยมปี ระชมุ อย่างน้อย 4 คร้ังใน 1 ปีประชุมคร้ังที่ 1 ช้ีแจง ท�ำความเข้าใจต่อสถานการณ์ปัญหา แบ่งหน้าที่ วางแผนการดำ� เนินงานรว่ มกัน และรวบรวมขอ้ มลู ปญั หาขยะในชว่ งเรม่ิ ต้นประชุมครั้งท่ี 2 และ 3 สรุปความก้าวหน้าการทำ� งานตามแผน เสนอปญั หาทพ่ี บและรว่ มกันหาทางแก้ปญั หา หรือพัฒนาการทำ� งานใหด้ ขี ึน้ประชุมคร้ังท่ี 4 สรุปผลการด�ำเนนิ งานท่ีผา่ นมา และหารือถึงการท�ำงานนต้ี ่อเนื่องเพอื่ ความยง่ั ยนื 2. สรา้ งความตระหนกั และความเข้าใจในการจัดการขยะ- ให้ความรู้ เพื่อให้รู้ จักประเภทของขยะและสามารถคัดแยกและจัดการขยะ ได้อย่างเหมาะสม- เกดิ กติกาและขอ้ ตกลงการจดั การขยะในครวั เรือนและชมุ ชน แนวทาง จัดท�ำข้อมูล ส�ำรวจสถานการณ์ปัญหา ปริมาณ ชนิด และการคัดแยกขยะ แต่ละประเภท เพอ่ื วเิ คราะห์เเละวางแผนการท�ำงาน กำ� หนดกตกิ ารว่ ม กำ� หนดกตกิ าการจัดการขยะในครัวเรอื นและชุมชน ให้ความรู้ การจัดอบรมเสริมความรู้เร่ืองการจัดการขยะและการใช้ประโยชน์ จากขยะ กระตนุ้ ให้มีการคัดแยกขยะและใชป้ ระโยชนจ์ ากขยะ การจดั การขยะในระดบั ชุมชน 7

ตัวอย่างกติกาหรอื ข้อตกลงเรอื่ งขยะลดปรมิ าณขยะ มกี ารตกลงรว่ มกัน ต้องมกี ารคัดแยกขยะ ในครวั เรอื น ในการจดั การขยะ ในครัวเรอื น แต่ละประเภททกุ ครัวเรอื นจะไม่ทิ้งขยะ ทกุ ครวั เรอื นจะนำ� ขยะไปขาย นำ� ขยะกลบั มา ลงในท่ีสาธารณะ หรอื แลกสิง่ ของกับ ใช้ประโยชน์ ธนาคารขยะรไี ซเคลิ 3. ปฏิบตั ิการคัดแยกขยะในครวั เรอื นและชมุ ชน กระตุ้นใหม้ ีการคดั แยกขยะในครวั เรอื นและชมุ ชน และใช้ประโยชน์จากขยะ ต้ังเป้าหมายให้ครัวเรือนร้อยละ 50 มีการคัดแยกขยะและ1ใช้ประโยชน์จากขยะ และลดปริมาณขยะที่ตอ้ งจดั การลงร้อยละ 50 1 1 แนวทางประชาสัมพันธ์และจัดกิจกรรม เพ่ือกระตุ้นให้มีการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะองค์ประกอบของความส�ำเรจ็ การดำ� เนินการ 1 ต้นทาง กลางทาง ปลายทางรวบรวมคดั แยกขยะจาก บริหารจัดการขยะ พฒั นาระบบจงู ใจ หมบู่ า้ นและคุ้มบา้ น เพมิ่ คณุ คา่ และมลู ค่า เติมกิจกรรมสนับสนุนเพ่ือ “หล่อล่ืน” การขับเคลื่อนให้ไปถึงเป้าหมาย เช่น การตั้งกลุ่มเรียนรู้ พัฒนาเครื่องมือจัดการขยะและพัฒนากลไกคอยติดตาม กระตุ้นความสนใจ เป็นต้น 18 การจัดการขยะในระดับชมุ ชน

ตวั อย่างมาตรการสนบั สนุน 111 1 2 3การทำ� ปา้ ยเชดิ ชทู ห่ี นา้ บา้ น การจับฉลากของขวัญ ให้รางวัลร้านขายของช�ำ ของสมาชกิ ครวั เรอื นที่ ให้เปน็ ก�ำลงั ใจแก่สมาชิกท่ี ท่ลี ดการใชถ้ งุ พลาสตกิ คดั แยกขยะตอ่ เนอื่ งสะอาด และขยะไมเ่ พิม่ ขึ้น เขา้ รว่ มโครงการ 4 5ทกุ ครัวเรือนจะไมท่ งิ้ ขยะ กิจกรรมน�ำขยะแลกภาษี ลงในท่สี าธารณะ บ�ำรุงทอ้ งที่ ภาษีโรงเรือน และภาษปี า้ ย หรือแลก คา่ ธรรมเนียมการเกบ็ ขยะ4. ติดตามผลและสร้างแรงจูงใจในการคัดแยกขยะ มีการติดตามผลและสรา้ งแรงจูงใจในการจัดการขยะในครัวเรอื นและชุมชนเป็น ประจำ� ทกุ เดอื น คืนข้อมลู การตดิ ตามผลให้คนในชมุ ชนรบั ทราบในทุกเดือน คัดเลือกและยกยอ่ ง ครัวเรอื นทีม่ กี ารคดั แยกขยะ แนวทาง คณะท�ำงานติดตามการจัดการขยะในครัวเรือน เก็บข้อมูลและประชุมคนื ขอ้ มูล การตดิ ตามการจดั การขยะในชุมชนทกุ เดือน คัดเลือกและยกยอ่ งครวั เรือนที่มีการคดั แยกขยะ 5. สรปุ ผลและหาแนวทางปรับปรุงเพ่อื ใหเ้ กิดความต่อเนอ่ื ง สรุปผลเพ่ือพฒั นาแนวทางการจดั การขยะทเ่ี หมาะสมกับชุมชนต่อไป แนวทาง แลกเปลย่ี นเรยี นรพู้ รอ้ มสรปุ บทเรยี นการดำ� เนนิ งานเพอ่ื สรา้ งความรว่ มมอื ระหวา่ ง คณะกรรมการหมู่บ้าน แกนน�ำ และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง (เช่น อปท. รพสต.) ในการขับเคล่อื นการจัดการขยะตอ่ ไป การจัดการขยะในระดับชุมชน 9

ความสำ� เรจ็ ของการ ลดขยะระดบั ชมุ ชน1. ครวั เรอื นทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการรอ้ ยละ 62.65 มกี ารคดั แยกและใชป้ ระโยชนจ์ ากขยะอย่างสม�ำ่ เสมอ2. ปรมิ าณขยะในครวั เรอื นและชมุ ชนทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการสามารถลดลงไดถ้ ึงรอ้ ยละ66.163. เสกาดิ มนาวรัตถกตร่อรยมอกดาแรจลดัะกตา่อรรขอยงะกเับชคน่ ่าขใชยะ้จแ่าลยกภแาตคม้ รัฐถงั เกชร่นีนโลคดนคก่า�ำจจดััดขเกย็บะข ยะจาก4.เทศบาล5. เกดิ ระบบเศรษฐกจิ ใหมใ่ นชมุ ชน เชน่ กองทนุ ขยะบญุ กองทนุ ฌาปนกจิ จากขยะรไี ซเคิลตัวอยา่ งนวตั กรรมการจัดการขยะในชุมชน ไซดักขยะ ธงสสี ยบปญั หาขยะกรณศี ึกษา ณ บ้านนาดี ตำ� บลโพธ์ิศรี กรณีศกึ ษา ณ ชมุ ชนบ้านเหนอือ�ำเภอปรางคก์ ู่ จงั หวัดศรสี ะเกษ ตำ� บลนาใต้ อ�ำเภอบา้ นนาเดิม จงั หวดั สุราษฎร์ธานี- น�ำผ้าเขียวหรือผ้าแหย่ง (ตาข่ายไนล่อน) ที่มี การใช้ “ธงส”ี สำ� หรบั แบง่ บา้ นเรอื นเปน็ กลมุ่ ยอ่ ยคุณสมบัติเหนียว ทนทาน ไม่ผุง่าย มาท�ำเป็น เพ่ือให้แกนน�ำสามารถดูแลลูกบ้านในกลุ่มได้เครอ่ื งมอื เหมอื นไซดกั ปลา เพอื่ เปน็ ทจ่ี ดั เกบ็ ขยะ อยา่ งทั่วถึง- ผลติ ใหม้ ขี นาดสงู ประมาณ 1 เมตร กวา้ ง 0.5 - แกนน�ำในหมู่บ้านจะเลือกลูกบ้านเข้ากลุ่มเมตร ท�ำหูรดู ไวท้ ี่ก้นถงุ ตนเองสลี ะ 10 หลงั คาเรือน- ไซดักขยะ 1 ชุด จะมี 3 ช่อง คือ จุดท้ิงขยะ - นำ� ธงสีประจ�ำกลุม่ ตดิ ไว้ท่หี น้าบ้าน1) ประเภทขวดแก้ว 2) ขวดพลาสตกิ 3) โลหะ - การด�ำเนินงานเกิดการแข่งขันแบบไม่เป็นซึ่งเป็นขยะท่ีเก็บขายได้และมีมากในชุมชน ทางการ เปน็ การกระตนุ้ การตน่ื ตวั และความรว่ มเม่ือเห็นขยะได้ชัดเจนจะท�ำให้ง่ายต่อการ มอื ของแตล่ ะสีได้เป็นอย่างดีจัดการต่อไป10 การจัดการขยะในระดบั ชมุ ชน

กองทนุ การจัดการขยะ เพ่ือสวัสดิการชุมชน กรณศี ึกษา ณ บ้านแสงนาคร ต�ำบลนาแสง อ�ำเภอศรวี ไิ ล จังหวัดบงึ กาฬ - เทศบาลจดั ตง้ั “ธนาคารขยะ” เพือ่ รับซื้อขยะจากประชาชนทีเ่ ป็นสมาชิก โดยมีกติกาคือ 1) กองทนุ น้ีรบั ฝากเฉพาะขยะ (ประเภทใดก็ได)้ เทา่ น้ัน ไมร่ บั เปน็ เงนิ สด 2) สมาชิกทุกคนต้องขายอย่างนอ้ ย 6 ครั้งข้นึ ไป จงึ จะมสี ทิ ธ์ิได้รบั เงินสวัสดกิ าร 3) หากตอ้ งการเบกิ ถอนเปน็ เงนิ สด ตอ้ งมยี อดในบัญชไี มต่ �่ำกว่า 300 บาท - หากสมาชกิ หรอื คนในครอบครวั เสยี ชวี ติ กองทนุ จะหกั เงนิ สมทบจากบญั ชสี มาชกิ ทข่ี ายขยะ ครบ 6 เดือนแล้ว คนละ 30 บาท เพอื่ มอบเปน็ เงนิ ฌาปนกิจสงเคราะห์ต่อไป• ถังกรีนโคนก�ำจัดขยะ กรณศี ึกษา ณ บา้ นโพธนาราม ต�ำบลสันทราย อำ� เภอแมจ่ ัน จังหวัดเชยี งราย ถังกรนี โคน (Green Cone) อุปกรณช์ ่วยทำ� ปุย๋ หมักจากเศษอาหารแบบตะกรา้ ฝงั ดิน ส�ำหรับ ยอ่ ยสลายขยะอนิ ทรีย์ในครวั เรือน - น�ำถังน้�ำสีดำ� กับตะกร้าผ้ามาประกอบกนั โดยให้ถังน�้ำสดี ำ� ปดิ อย่ดู า้ นบน - น�ำตะกร้าผา้ ฝงั ลงไปในดนิ - ใส่ขยะเปยี ก/อนิ ทรยี ์ หรือขยะย่อยสลายได้ ลงในตะกรา้ ผ้าและปิดด้วยถังน้ำ� สดี �ำ - ท้งิ ไว้ประมาณ 245 วนั จะเกิดเป็นปยุ๋ หมกั จากเศษอาหาร เนื่องจากพลังงานแสงอาทิตย์ช่วยย่อยสลายความร้อนและอากาศภายในที่หมุนเวียนจะท�ำให้ จุลินทรียเ์ จริญเติบโตได้ดี ขณะเดยี วกันการยอ่ ยสลายในดนิ ก็ป้องกนั กลนิ่ และแมลงวนั รบกวน อีกทง้ั อปุ กรณส์ ามารถโยกย้ายได้งา่ ย นวตั กรรมนี้จึงเป็นทไ่ี ด้รับความสนใจ จากชุมชนที่มาเรียนรู้ดูงานเป็นจำ� นวนมาก ปัญหาทุกอย่างไม่ยากเกินไป หากทุกคนในชุมชนร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมสร้าง และต่อยอดสู่วิธีการใหม่ ๆ เพื่อแก้ไข ปัญหาตามความเหมาะสมของบริบทชุมชนจะน�ำมาซ่ึง ความเข้มแข็งและเสริมสร้างสุขภาวะของชุมชนได้อย่างยั่งยืน การจดั การขยะในระดับชมุ ชน 11

ภาคผนวก ประเภทขยะ ประเภทขยะแบง่ ออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ขยะย่อยสลาย คือ ขยะท่ีเน่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว น�ำมาหมักท�ำปุ๋ยได้ เช่น เศษผัก เปลอื กผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ เศษเนอื้ สตั ว์ เปน็ ตน้ ขยะรไี ซเคิล คือ ของเสียบรรจภุ ัณฑห์ รอื วสั ดเุ หลือใชท้ ่ีนำ� กลบั มาใช้ประโยชนใ์ หม่ได้ เช่น แก้ว กระดาษ กระป๋องเครื่องด่ืม เศษพลาสติก เศษโลหะ กลอ่ งเครื่องดื่ม เปน็ ต้น ขยะทว่ั ไป คือ ขยะประเภทอื่น ๆ ท่ีย่อยสลายยาก ไม่คุ้มค่าถ้าน�ำกลับมา ใช้ประโยชน์ใหม่ เช่น พลาสติกห่อลูกอม ซองบะหม่ีก่ึงส�ำเร็จรูป ถงุ พลาสติกเป้ือนเศษอาหาร เปน็ ต้น ขยะอนั ตราย คอื ขยะปนเปื้อนทีก่ ่อใหเ้ กดิ อันตรายตอ่ คนและสิ่งแวดลอ้ ม ได้แก่ ติดไฟง่าย ปนเปื้อนสารพิษ กัดกร่อน มีเชื้อโรคปะปนอยู่ ระเบิด ทำ� ให้ระคายเคอื ง เป็นตน้12 การจัดการขยะในระดับชมุ ชน

การคดั แยกขยะเพอื่ นำ� ไปใชป้ ระโยชน์ กอ่ นนำ� ขยะกลบั มาใชป้ ระโยชนต์ อ้ งมกี ารคดั แยก $ $$$$$ $$$$$$$$$ $$$$$ประเภทขยะภายในบ้าน สะดวกแก่ผู้เก็บขนและ $ $$สามารถน�ำขยะบางชนิดไปขายเพ่ือเพิ่มรายได้และง่ายต่อการกำ� จดั ดงั นี้ขยะอินทรยี ์ ขยะย่อยสลาย คัดแยกเศษอาหาร กง่ิ ไม้ ใบไมแ้ ต่ละชนดิ ใส่ภาชนะทมี่ ฝี าปดิ การนำ� ไปใช้ประโยชน์ : เศษอาหารใหเ้ ลีย้ งสตั ว์ เศษผักผลไมห้ รอื เศษอาหารนำ� ไปท�ำขยะหอมหรือน้�ำหมักจุลนิ ทรยี ์ (EM) ก่งิ ไม้ ใบไม้ผสมกากที่ไดจ้ ากการทำ� ขยะหอมกลายเปน็ปุ๋ยหมกั อินทรยี ์ขยะรไี ซเคลิ แยกชนิดท่ขี ายได้แตล่ ะประเภทเพื่อสะดวกในการหยิบใช้หรือจำ� หนา่ ย การน�ำไปใช้ประโยชน์ : รวบรวมเข้ากิจกรรมของชุมชน น�ำมาใช้ซ้�ำโดยประยุกต์เป็นอุปกรณใ์ นบ้าน เช่น ขวดน�้ำพลาสติกมาตดั เพอ่ื ปลกู ต้นไม้ เป็นตน้ขยะอันตราย (ขยะพษิ ) แยกดว้ ยการนำ� ขยะอนั ตรายออกจากขยะอนื่ ๆ โดยการคดั แยกต้องระวงั ไมใ่ หข้ ยะอันตรายแตกหักหรอื สารเคมที ่ีบรรจอุ ยู่เข้าสรู่ า่ งกาย การน�ำไปใช้ประโยชน์ : ขยะอนั ตรายบางประเภทเท่านัน้ ทน่ี �ำกลบั มาแปรรูปใช้ใหมไ่ ด้เชน่ หลอดฟลอู อเรสเซนตแ์ บบตรง ถา่ นชารจ์ เปน็ ตน้ แตใ่ นปจั จบุ นั ยงั ไมม่ มี ลู คา่ พอทจี่ ะขายได้ขยะท่ัวไป ขยะทั่วไปย่อยสลายยาก แม้จะไม่เป็นพิษ แต่ไม่คุ้มค่าต่อการน�ำไปรีไซเคิลควรคดั แยกออกมาให้ชดั เจน ท้งั พวกพลาสติกหอ่ อาหารและถุงพลาสติกเปอื้ นเศษอาหาร การนำ� ไปใช้ประโยชน์ : ขยะท่วั ไปเป็นขยะประเภทอ่นื ๆ ทย่ี อ่ ยสลายยาก จงึ ไม่คุ้มค่าถ้าจะนำ� กลบั มาใชป้ ระโยชนใ์ หม่ เชน่ พลาสตกิ หอ่ ลูกอม ซองบะหมกี่ ่งึ ส�ำเรจ็ รปู ถุงพลาสตกิเปอื้ นเศษอาหาร โฟมเปอ้ื นอาหาร ฟอยลเ์ ปอื้ นอาหาร เปน็ ตน้13 การจดั การขยะในระดับชุมชน 13

แนวทางการลดขยะ ระดับครัวเรอื น แนวทางการลดขยะระดับครัวเรือนสามารถจัดการขยะอย่างเหมาะสม ดว้ ยแนวทาง 3R ไดแ้ ก่ ลดการใช้ (Reduce) ใชซ้ ำ้� (Reuse) และรไี ซเคลิ (Recycle) เพ่อื ใช้ประโยชนจ์ ากขยะใหไ้ ด้สูงสดุ และลดปรมิ าณขยะในชุมชนลง ลดการใช้ (Reduce) ไดแ้ ก่ ลดการขนขยะเขา้ บา้ น ไม่วา่ จะเปน็ ถุงพลาสตกิ ถงุ กระดาษ ขวดพลาสตกิ เปน็ ต้น ลดปรมิ าณขยะมลู ฝอยอนั ตรายในบา้ น หลกี เลย่ี งการใชส้ ารเคมภี ายในบา้ น เช่น น้�ำยาท�ำความสะอาดต่าง ๆ แล้วไปใช้วิธีทางธรรมชาติ เช่น ใช้ ผลมะนาวดบั กล่ินภายในหอ้ งน้�ำ เปน็ ตน้ หลีกเล่ียงการใช้โฟมและพลาสติกซึ่งก�ำจัดยาก เปลี่ยนเป็นใช้ถุงผ้า ซือ้ ของ ปิน่ โตใสอ่ าหาร ใชซ้ ้�ำ (Reuse) ได้แก่ นำ� สิ่งของท่ใี ชแ้ ลว้ กลบั มาใชใ้ หม่ เชน่ ถุงพลาสตกิ ไมเ่ ปือ้ นใช้ใสข่ องอกี ครัง้ หรอื ใช้เปน็ ถงุ ใส่ขยะในบา้ น เปน็ ตน้ น�ำขยะกลับมาใช้ใหม่และประดษิ ฐข์ องใช้ เช่น เชิงเทียน หมวก ขวดนำ้� ยา ใสช่ วี ภาพ น�ำขยะเปียก/อินทรีย์มาท�ำเป็นปุ๋ย น้�ำหมักชีวภาพ หรือสารไล่แมลงเพื่อ การเกษตรในสวนผกั และผลไม้ รไี ซเคิล (Recycle) น�ำวัสดุท่ีนำ� กลับมาใช้ใหม่ไดม้ าแปรรปู โดยกรรมวธิ ตี ่าง ๆ ไดแ้ ก่ คดั แยก ขยะรไี ซเคิลแตล่ ะประเภท ไดแ้ ก่ แก้ว กระดาษ พลาสตกิ โลหะ นำ� ไปขายเพ่ือจดั ท�ำกองทุนช่วยเหลือชมุ ชนหรอื บริจาคเขา้ ธนาคารขยะ14 การจัดการขยะในระดบั ชมุ ชน



‘การสร้างเสริมสุขภาพ คือ กระบวนการสนบั สนุนให้ประชาชนสามารถ ควบคุมพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง สังคม สิ่งเเวดล้อม เพื่อให้บุคคล ครอบครวั ชมุ ชน มีสุขภาวะ และคุณภาพชวี ติ ที่ด’ี กฎบัตรออตตาวาเพ่อื การส่งเสรมิ สุขภาพ (Ottawa Charter) ค.ศ. 1986สามารถสืบคน้ ขอ้ มูลเพ่ิมเติมไดท้ ห่ี อ้ งสรา้ งปัญญา ศนู ยเ์ รียนรู้สขุ ภาวะส�ำนักงานกองทุนสนับสนนุ การสร้างเสริมสขุ ภาพ (สสส.)หรอื ดาวนโ์ หลดได้ท่ี resource.thaihealth.or.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook