Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือประวัติ-ตำบลนาสาร

หนังสือประวัติ-ตำบลนาสาร

Published by alongkonnasan, 2021-11-29 01:52:21

Description: หนังสือประวัติ-ตำบลนาสาร

Search

Read the Text Version

คำนำ ประวัตศิ าสตร์เป็นส่ิงที่นา่ สนใจ น่าค้นหา และเป็นสงิ่ ที่บอกเรื่องราวต่าง ๆ ในอดีตว่ามีเหตุการณ์ใด เกิดข้ึนบา้ ง ทั้งวิถีชีวติ วิถีชมุ ชน ความเป็นไปของสภาพแวดลอ้ ม ซึ่งขอ้ มลู ที่ผู้จดั ทำได้นำมาเผยแพรน่ ี้ เปน็ ประวตั ิของตำบลนาสาร อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ซง่ึ ตำบลนาสาร เปน็ ตำบลทมี่ คี วามสำคญั ทางดา้ นประวตั ิศาสตรอ์ ันยาวนานรว่ มร้อยปี ประวตั ิความเป็นมาของชุมชน วฒั นธรรมท้องถิ่นซ่ึงมีความ นา่ สนใจเป็นอยา่ งมาก ผู้จดั ทำจงึ ไดเ้ รยี บเรยี งข้อมูลต่าง ๆ ทน่ี า่ สนใจเกีย่ วกับตำบลนาสาร เพอ่ื เป็นการเผยแพ ร่คว ามรู้ และเป็นการบนั ทึกเร่ืองราวต่าง ๆ ทีเ่ กิดข้นึ ในตำบลนาสารให้คงอย่ตู ลอดไป ผจู้ ัดทำหวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ หนังสอื เล่มนี้จะสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไปในอนาคต หากเกิดข้อผิดพลาดประการใดต้องขออภยั มา ณ ทนี่ ้ดี ้วย คณะวศิ วกรสงั คมตำบลนาสาร ผู้จดั ทำ

กติ ติกรรมประกาศ หนังสือประวตั ติ ำบลนาสารน้สี ำเร็จไดด้ ้วยดดี ้วยความกรุณาอยา่ งย่ิงจากเทศบาลเมอื งนาสาร และ คุณลักษณะหญงิ เพชรชติ ท่ใี ห้ยืมหนังสือ 77 ปีบา้ นนาสารมาคัดลอกเรอ่ื งราวประวตั ิลงในหนังสือป ระวัติ ตำบลนาสาร รปู ภาพประกอบหนังสือโดยคุณ พจนนั ท์ สทุ ธิรกั ษ์ หนงั สอื เลม่ นี้หวังว่าจะมปี ระโยชนอ์ ยไู่ มน่ ้อยตอ่ ประชาชนในตำบลนาสารและประชาชนทส่ี นใจทำให้ ทราบถึงเรอื่ งราวประวตั ิอดีตความเปน็ มาของแต่ละชมุ ชนในตำบลนาสาร คณะวศิ วกรสังคมตำบลนาสาร ผ้จู ดั ทำ

สารบญั หน้า เรอ่ื ง ก คำนำ ข กติ ติกรรมประกาศ สารบัญ ค ตำบลนาสาร 5 ลักษณะภมู ปิ ระเทศ 5 แม่น้ำสำคัญ ภมู อิ ากาศ 5 ทรัพยากรธรรมชาติ 5 ลักษณะของแหลง่ น้ำ,ลกั ษณะของไม้และปา่ ไม้ 5 การคมนาคม ประวตั คิ วามเปน็ มาของชมุ ชน 6 โครงสรา้ งของชุมชน 6 โครงสร้างดา้ นเศรษฐกิจและอาชีพ สภาพทางเศรษฐกจิ ในปัจจบุ นั 7 ความเชือ่ ประเพณีและพิธีกรรม 19 สถานทส่ี ำคญั 20 การเปลีย่ นแปลงทางสงั คมและวฒั นธรรม การดำเนินงานโครงการยกระดับเศรษฐกจิ และสงั คมรายตำบลแบบบูรณาการ 28 การพฒั นาสมั มาชพี และสรา้ งอาชีพใหม่ (การยกระดบั สินคา้ OTOP/อาชพี อน่ื ) 29 30 คณะทำงาน และจัดทำหนงั สอื ประวตั ติ ำบลนาสาร 34 38 40 46

ตำบลนาสาร ขนาดและทีต่ ้ัง มพี ื้นที่ 67.13 ตารางกโิ ลเมตร อาณาเขต ทศิ เหนือ จดตำบลควนสุบรรณและอำเภอบ้านนาเดมิ ทิศใต้ จดตำบลคลองปราบ ทศิ ตะวันออก จดตำบลลำพนู ทศิ ตะวันตก จดตำบลน้ำพู ลักษณะภูมปิ ระเทศ ลักษณะของพื้นท่ีโดยทั่วไป เป็นที่ราบลุ่มและทีร่ าบเชิงเขา มีภูเขาภายในบริเวณเขตเทศบาล มลี ำหว้ ยหลายแหง่ และมลี ำคลองฉวางไหลผ่านกลางตัวเมอื ง จากทศิ ตะวนั ออกไปสทู่ ิศตะวนั ตก สว่ นทีร่ าบสงู มเี พยี งเล็กน้อย แมน่ ำ้ สำคญั คลองฉวาง มีต้นกำเนิดมาจากเขาหนองไหลผา่ น 4 ตำบล ผา่ นตำบลเพ่มิ พนู ทรัพย์ เขตเทศบาลเมือง นาสาร ไปทางทศิ ตะวนั ตกสูต่ ำบลนำ้ พุ ไปออกสู่แม่นำ้ ตาปีทบ่ี ้านปากหวาน ตำบลทา่ ชี ความยาว ประมาณ 50 กโิ ลเมตร ภูมิอากาศ พนื้ ทีข่ องเทศบาลเมอื งนาสาร ต้ังอยทู่ างทศิ ตะวันตกของจังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี ไดร้ ับอิทธิพลจากลม มรสมุ ตะวันออกเฉียงเหนือทพ่ี ดั ผา่ นอา่ วไทย และมรสุมตะวนั ตกเฉยี งใต้จากมหาสมุทรอินเดีย จึงท ำให้มชี ว่ ง ฤดูฝนที่ยาวนานระหวา่ งเดอื นพฤษภาคมถึงเดอื นมกราคม ทรพั ยากรธรรมชาติ ลักษณะของดิน มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแกก่ ารเพาะปลกู พืชทางการเกษตร เชน่ เงาะ ทุเรียน มงั คุด ปาลม์ และอน่ื ๆ และประกอบกับเปน็ ดินที่อดุ มไปด้วยแรธ่ าตุต่าง ๆ เช่น แร่ดบี กุ แร่ยิปซั่มเป็นตันโดยมี พื้นที่เหมืองแร่เก่า ส่วนใหญ่อยู่บริเวณชมุ ชนห้วยมุด ปัจจุบนั ได้เลิกกิจการมีชาวบ้านเข้าครอบครอง ตั้งบา้ นเรอื นอยู่อาศัยและปลูกยางพารา บางสว่ นเทศบาลได้สงวนไว้เพื่อใช้เป็นสาธารณประโยชน์ เช่น สร้างสวนสาธารณะสร้างสนามกีฬา เป็นต้น

ลักษณะของแหล่งนำ้ 1. หนอง บงึ จำนวน 3 แหง่ - หว้ ยมุด คดิ เปน็ พ้ืนทีก่ ักเก็บนำ้ ประมาณ 400,000 ล้านลกู บาศกเ์ มตร - เหมืองแกะ คิดเปน็ พื้นที่กกั เกบ็ น้ำประมาณ 440,000 ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร - ขุนทองหลาง คิดเป็นพ้ืนท่กี กั เกบ็ น้ำประมาณ 120,000 ลา้ นลูกบาศก์เมตร 2. คลอง ลำธาร หว้ ย จำนวน 2 แหง่ ไดแ้ ก่ คลองฉวาง และหว้ ยนาโตน ลักษณะของไมแ้ ละป่าไม้ พื้นทีป่ ่าได้แก่ ป่าห้วยมุด ป่าเหมืองแกะ ซึ่งเป็นพ้ืนทีห่ มดสภาพป่า มีราษฎรเข้าครอบครองปลูกยางพาราและสวนไม้ผล ตั้งอยู่บริเวณชุมชนห้วยมุด ชุมชนเหมืองแกะ ชุมชนวงั หลอ้ การคมนาคม เทศบาลเมืองนาสารมคี วามสะดวกในการคมนาคมขนส่งติดตอ่ ทั้งภายในเขตเทศบาลและต ำบล ใกลเ้ คยี ง ตลอดจนอำเภอและจงั หวดั อ่นื ๆ โดยทางรถยนต์และทางรถไฟ คือ ทางรถยนต์ โดยทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 4009 ไปอำเภอเมอื งสรุ าษฎรธ์ านี อำเภอเวียงสระ ทาง หลวงแผ่นดินหมายเลข 41 (ถนนสายเอเชีย) ไปอำเภอทงุ่ สง จังหวัดนครศรีธรรมราช อำเภอพนุ พนิ จงั หวัด สรุ าษฎร์ธานี จงั หวัดชุมพร ทางรถไฟ ในเขตเทศบาลมีรถไฟผ่านและมสี ถานรี บั – สง่ ผโู้ ดยสารถงึ 2 สถานี คอื สถานรี ถไฟนาสาร และสถานรี ถไฟห้วยมดุ (นาสารเป็นตำบลเดยี วในประเทศไทยที่มสี ถานีรถไฟถงึ 2 แหง่ )

ประวัตคิ วามเป็นมาของชมุ ชน นาสาร เปน็ ตำบลแห่งหน่ึงอยใู่ นท้องที่อำเภอบ้านนาสาร จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี เน่ืองจากเป็นท้องท่ี ที่อุดมสมบูรณไ์ ปด้วยพืชพันธธุ์ ญั ญาหาร และแรธ่ าตุ จึงมีประชากรต่างถนิ่ เคลือ่ นยา้ ยมาตัง้ บา้ นเรือนทำมาหา กิน เช่น ทำกจิ การเหมอื งแร่ ทำสวนยางพารา สวนผลไม้ ทำใหต้ ำบลนาสารมีประชากรหนาแน่น การค้า เจริญรุง่ เรือง เศรษฐกจิ โดยร่วมดีข้ึนตามลำดบั พร้อมทั้งยังเปน็ ท่ตี ้งั ของส่วนราชการและสถานศึกษ าด้วย องคป์ ระกอบดังกล่าวในปี พ.ศ. 2483 ได้มพี ระราชกฤษฎีกาจัดตัง้ เทศบาลตำบลนาสารข้นึ เพอื่ ความสะดวก ในบรหิ ารและการปกครอง แต่เนื่องจากมีพ้ืนที่กวา้ งขวางเกนิ กว่าที่จะปกครองควบคุมดแู ลได้ทั่วถงึ ดงั นั้นในปี พ.ศ. 2484 มีพระราชกฤษฎีกาเปล่ียนแปลงเขตเทศบาลตำบลนาสาร คงเหลอื พื้นท่ีทั้งหมดจนถึง ปัจจุบัน 67.13 ตารางกิโลเมตร ต่อมาเมือ่ วนั ที่ 13 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2547 ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทย เปลี่ยนแปลงฐานะเทศบาลตำบลนาสารเป็น เทศบาลเมืองนาสาร ตำบลนาสาร แบ่งเปน็ 25 ชุมชน ดงั นี้ 1. ชุมชนเหมอื งแกะ ประวตั ชิ มุ ชนเหมอื งแกะ ชุมชนเหมืองแกะ เปน็ 1 ใน 25 ชุมชนของเทศบาลเมอื งนาสาร อ.บ้านนาสาร จ.สุราษฎร์ ธานี เรมิ่ กอ่ ตัง้ มาไมท่ ราบแนช่ ัด ประมาณเกอื บ 100 ปี เหน็ จะได้ โดยใชช้ ่ือ “เหมืองแกะ” มาต้ังแต่ ต้น ท่มี าของชอ่ื ชุมชนในอดีตมีการทำเหมืองแรด่ ีบุก โดยชาวจนี มาเลเซยี พ้ืนทีโ่ ดยรวมเคยเป็นป่า เมอื่ มกี ารก่อต้งั เหมืองแร่จะตอ้ งมกี ารเซน่ ไหวด้ ้วย หมู ไก่ เปด็ แตช่ าวบ้านมคี วามเชื่อว่าเจ้าที่ไม่รับ ของเซ่นไหว้ จึงต้องเซ่นไหว้ด้วย “แกะ” จึงเป็นท่ีมาของชอ่ื “เหมอื งแกะ” คนกลมุ่ แรกที่เขา้ มาตั้ง หมู่บ้านกค็ อื คนทม่ี าทำงานในเหมอื งแร่นัน้ มที ง้ั คนในทอ้ งถ่นิ และคนทางภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

2. ชมุ ชนขนุ ทองหลาง ประวตั ิความเป็นมา เดมิ ทีการหกั ร้างถางป่า เพ่ือทำไรป่ ลูกข้าว ทำสวนยางพารา สวนผลไม้ มีคนมาอาศัยใน ชมุ ชนไม่ก่คี รัวเรอื น หาไมฟ้ นื ของปา่ ไปขาย ตอ่ มามกี ารใหส้ มั ปทานเหมืองแร่ดีบกุ จงึ มีกลมุ่ คนจาก ตา่ งถนิ่ เขา้ มาทำมาหากิน รบั จ้างเปน็ คนงานในเหมือง เม่อื หยดุ การทำเหมืองแรแ่ ล้ว บางคนกไ็ ด้จับ จองทีด่ ินในละแวกใกล้เคียงทำสวนยางพารา ทำสวนผลไม้ สร้างความเจริญในชุมชนข้นึ เรอ่ื ย ๆ ตาม ความเช่ือและการเล่าต่อ ๆ กันมา แต่ขาดการบันทกึ ไวเ้ ปน็ หลักฐาน ชมุ ชนขนุ ทองหลาง มีส่งิ ท่ชี าว ชมุ ชนและคนละแวกใกล้เคียงเคารพนบั ถอื และใหค้ วามศรัทธา ความเช่ือในสง่ิ ศักดิส์ ทิ ธ์ คอื “พอ่ ตา ขนุ ” เลา่ กนั ว่า ใครมีเรือ่ งเดือดร้อน หากว่าไม่ผิดทำนองคลองธรรมแลว้ ไปบนบานศาลกล่าวกับทา่ น แลว้ จะประสบผลสำเร็จ ทุกวนั นไี้ ด้มกี ารสรา้ งศาล “พอ่ ตาขนุ ” ไว้ในชมุ ชนขุนทองหลาง มีผคู้ นไป สกั การะเสมอมา เมื่อมกี ารเลิกสมั ปทานเหมืองแร่ ผูค้ นทเ่ี คยทำงานและอาศัยอยู่ในชุมชนกพ็ ากันไปหาทท่ี ำกนิ ประกอบกิจการคา้ ขายในตลาดนาสาร เหลือเพียงบางครวั เรอื นที่ประกอบอาชพี ทำสวนย างพ ารา และสวนผลไม้ และมีผู้คนอพยพมาจากจังหวัดนครศรีธรรมราช มาจับจองท่ีดนิ ทำการเกษตรและตั้ง รกรากเป็นครวั เรือนในชมุ ชนจนถงึ ปจั จบุ ันนี้ มคี ณะกรรมการบริหารชมุ ชนหลายสมยั ชว่ ยกันบริหาร ชมุ ชน สร้างความเจรญิ สบื ต่อกันมา ขณะน้ีบ้านเมอื งเจริญข้นึ จากการพัฒนาของเทศบาลเมืองนาสาร ชุมชนขนุ ทองหลางจงึ เป็น แหลง่ เศรษฐกจิ ทางการเกษตรทสี่ ำคัญของเมอื งนาสาร 3. ชุมชนซอยร่วมใจ ประวตั ิ ชมุ ชนซอยร่วมใจ ประมาณปี พ.ศ. 2465 ไดม้ ชี าวจนี เชื่อสายไทย ชื่อนายเจยี กลุ ซอ หยุกซอ้ ย และครอบครวั ไดม้ าอาศยั อยู่ในบริเวณท่เี ปน็ ชมุ ชนซอยรว่ มใจในปัจจุบนั เขา้ มาทำมาหากิน เลีย้ งชีพด้วยการปลกู ผกั และทำการเกษตร ซง่ึ ดินในชมุ ชนซอยรว่ มใจในอดีตเป็นดนิ ท่มี คี วามอดุ มสมบูรณ์เหมาะใ นก าร เพาะปลูกเป็นอย่างมาก พืชผกั ที่นายเจียกุลซอปลูก จงึ มคี วามอดุ มสมบูรณ์เปน็ ท่ีต้องการของตลาด เปน็ อย่างมาก ต่อมา นายเจียกุลซอไดช้ กั จูงเพื่อน ๆ เข้ามาอาศัยอย่อู กี หลายครอบครวั ซึง่ สมยั น้ันมี ร้อยโทเขยี ว พูลศริ ิ เป็นนายกเทศมนตรตี ำบลนาสาร เหน็ ว่าในบริเวณดงั กลา่ วนี้ มีประชาชนเข้ามา อาศัยอย่เู ป็นจำนวนมาก จงึ ไดป้ ระชมุ ชาวบา้ นเพ่ือจดั ตั้งชอื่ ซอยถนนหรอื ซอย ชาวบ้านท่ีเข้าร่วม ประชุมเหน็ วา่ พน้ื ทีท่ ีต่ นอาศยั อยูจ่ ะมารวมตัวรวมใจกันเพื่อทำการพฒั นากนั อยู่เป็นประจำ จงึ มีมตใิ ห้ ชื่อวา่ “ซอยร่วมใจ” ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2529 นายนกุ ูล เวียงวีระ นายกเทศมนตรใี นสมัยนั้น ได้แตง่ ตั้ง ใหเ้ ป็นชุมชนซอยร่วมใจต้ังแต่นัน้ มาจนถึงปจั จุบัน โดยมี นายชม สนิ ไชย เปน็ ประธานชมุ ชนคนแรก

4. ชุมชนอ่มู าด ประวัติชุมชนอมู่ าด ความเปน็ มาของ “บ้านอ่มู าด” คนเฒ่าคนแก่เลา่ ต่อกนั มาว่า เดมิ บรเิ วณบ้านอู่มาดมีหนอง นำ้ ขนาดใหญ่อย่แู หง่ หน่งึ ซง่ึ เชอ่ื มตอ่ กบั คลองฉวาง และไดม้ ีเรือมาลำหน่ึงแลน่ มาตามลำคลองฉวาง เขา้ มาในหนองนำ้ และได้เกิดล่มในหนองนำ้ แหง่ นีช้ าวบ้านจึงได้เรียกบริเวณน้วี ่า “บา้ นอูม่ าด” ซึ่ง หนองน้ำดงั กลา่ วยงั ไดป้ รากฏร่องรอยอยู่ แต่กลายสภาพเปน็ ป่าสาคแู ละต้นื เขินมาก เดมิ บา้ นอู่มาด จะมีอาณาเขตบรเิ วณครงึ่ หน่งึ ของพืน้ ทีช่ ุมชนสวนมงั คุดในปัจจบุ ัน ตอ่ มาได้ขยับขยายบกุ เบิกพ้นื ทไ่ี ด้ ทำนา ทำสวน ออกไป ในบรเิ วณท่ีเปน็ ปา่ รกรา้ งเดิม เรียกว่า “บ้านหัวนอน” โดยครอบครวั แรกทเี่ ข้าไปบกุ เบิกคือ ครอบครัวนายโรย รกั ชาติ และได้มคี รอบครวั อื่น ๆ ตามกนั มา จนกลายเป็นชมุ ช นอู่ม าดมาถึง ในปจั จบุ นั 5. ชุมชนหนา้ สถานรี ถไฟ ประวตั ขิ องชุมชนหนา้ สถานรี ถไฟ ชมุ ชนหน้าสถานีรถไฟ เปน็ ช่ือท่ที างการตง้ั ขนึ้ ตามชอื่ ถนน เน่อื งจากเป็นชมุ ชนอย่หู น้าสถานี รถไฟบ้านนาสาร ชาวบา้ นจงึ เรียกกนั เร่อื ยมา ชุมชนหนา้ สถานีรถไฟ มีเงาะโรงเรียนตน้ แรก เม่ือปี พ.ศ. 2468 โดยชาวจีน สญั ชาตมิ าเลเซยี ช่ือนายเค หว่อง มีภูมลิ ำเนาอยู่ท่ีปีนัง ได้นำเมล็ดพนั ธเ์ุ งาะ มาปลกู ขา้ งบา้ นพัก ปรากฏว่ามีเงาะตน้ หน่ึงมีลกั ษณะต่างออกไป นั่นคือ รปู ผลคอ่ นข้างกลม เนื้อ หวาน กรอบ ล่อน เปลือกบาง หอม รสชาติอร่อย ในปี พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว ภูมิพลอดลุ ยเดชได้เสด็จพระราชดำเนิน เพ่ือเยยี่ มเยียนพสกนกิ รจังหวดั สรุ าษฎร์ธานี นายชชั อตุ ตมาง กูร ผนู้ ำชาวสวนเงาะไดท้ ลู เกลา้ ฯ ถวายเงาะโรงเรียน และขอพระราชทานชื่อพันธเ์ุ งาะนีเ้ สียใหม่ จงึ ได้ ชื่อว่า “เงาะโรงเรียน” อย่างเป็นทางการ เมื่อนายเค หว่อง เลิกล้มกิจการเหมืองแร่ไป ในปี พ.ศ. 2497 ได้ขายท่ีดนิ จำนวน 18 ไร่ พร้อมบ้านพักแกก่ ระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งไดใ้ ช้ปรบั ปรุงเป็น สถานทเ่ี รยี น เรียกว่า “โรงเรยี นนาสาร” ต้ังแต่เมือ่ วนั ที่ 17 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2479 ชุมชนหนา้ สถานีรถไฟ เดมิ มีโรงพยาบาลบ้านนาสารอยใู่ นละแวกเดยี วกัน แตเ่ ม่อื วนั ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2527 ไดเ้ กิดเหตุการณ์เพลงิ ไหมโ้ รงพยาบาล จากนนั้ โรงพยาบาลกไ็ ด้ย้ายไปตัง้ อยู่ท่ี ชุมชนคลองหา ถนนนาสาร - สุราษฎร์ธานี และไดจ้ ัดต้งั หนว่ ยควบคมุ โรคติดตอ่ แมลงท่ี 4 และ สาธารณสุขอำเภอบ้านนาสารจากนนั้ ในปี พ.ศ. 2537 บรษิ ทั ทพี ไี อ โพลนี จำกดั (มหาชน) ไดเ้ ข้า มาดำเนินการกอ่ สร้างศูนย์จำหน่ายปูนตราทีพีไอขึ้นและเมือ่ ปี พ.ศ. 2547 ทางชุมชนได้เสนอ โครงการของบประมาณจากทางเทศบาลตำบลนาสาร ในการจัดสรา้ งศาลาอเนกประสงค์ชุมชนหน้า สถานีรถไฟ เพ่อื ใช้ทำกจิ กรรมต่าง ๆ ของชมุ ชน

6. ชมุ ชนคลองหา ประวตั ชิ มุ ชนคลองหา ชมุ ชนคลองหาเดิมทเี ป็นพนี้ ท่ปี า่ ทบึ ยังไม่เปน็ หมูบ่ ้าน เรมิ่ จากเกิดหมู่บา้ นนาเตรียะขึ้นก่อน เมื่อคนในหมบู่ ้านนาเตรยี ะแตง่ งานมคี รอบครัวหลาย ๆ ครอบครวั จึงแยกออกมาทำมาหากินในพน้ื ท่ี ป่าทบึ (ชมุ ชนคลองหาในปจั จุบนั ) ตรงสามแยกหว้ ยมดุ เดิมเป็นจุดรวมของหมูบ่ ้านในอดตี ชาวบ้าน พบลำคลองหน่ึงสายซ่ึงเปน็ ปลายคลอง ชาวบา้ นสงสยั วา่ ตน้ นำ้ คลองสายนม้ี าจากทใ่ี ดเพ ราะมีภเู ขา กัน้ อย่จู งึ ช่วยกนั ตดั หญ้า หาลำคลองทเ่ี ปน็ ตน้ น้ำ จงึ ใช้ช่ือหมบู่ า้ นวา่ “บ้านคลองหา”ในอดตี ตรงสาม แยกห้วยมุดมีศาลาหลงั ใหญเ่ ปน็ ที่ประชุมของประชาชนในหมู่บา้ น เมอื่ มหี มู่บา้ นนาเตรียะและหมบู่ ้าน คลองหาขน้ึ แตย่ งั ถอื วา่ เปน็ หมูบ่ า้ นเดยี วกัน ตอ่ มาตั้งเปน็ ชมุ ชนเดียวกัน ใช้ชอื่ วา่ “ชุมชนคลองหา – นาเตรียะ” ประธานชมุ ชนคนแรกคอื “นายสนิ ยังพัฒน์” เมอื่ มีการประชมุ ก็จะใชส้ ถานที่โรงเรียน บ้านคลองหา – นาเตรยี ะ (โรงเรยี นเทศบาล 3) เปน็ ศูนยก์ ลางการประชมุ ตอ่ มาหลายคนในชุมชน เหน็ วา่ ชมุ ชนคลองหา – นาเตรียะเปน็ ชุมชนทก่ี วา้ ง และมจี ำนวนประชากรมาก คณะกรรมการชุมชน และประชาชนในชุมชน จงึ ลงความเหน็ ว่าควรแยกเป็น ๒ ชมุ ชน คอื ชุมชนคลองหา และชุมชน นาเตรยี ะจนถึงปัจจุบนั 7. ชมุ ชนห้วยมดุ 1 ประวัตชิ ุมชนหว้ ยมุด 1 เดมิ ชมุ ชนห้วยมุดเปน็ เขตป่าสงวนเส่อื มโทรมและได้รบั สัมปทานใหท้ ำอาชีพการทำเหมืองแร่ ดบี กุ โรงเล่ือยบญุ ชัย โรงงานอาบน้ำยางไม้หมอนรถไฟ ป่าไม้ ประชาชนในพ้ืนทีม่ าจากการอพยพจาก หลายจงั หวดั เข้ามาอยู่เพือ่ ประกอบอาชพี ซ่งึ ประชาชนส่วนใหญ่มาจากอำเภอปากพนงั จังหวัด นครศรธี รรมราช อำเภอไชยา จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี และอำเภอหลังสวน อำเภอฉวี จงั หวัดชุมพร รวมทั้งประชาชนภาคอสี าน มารวมตัวกันเพอ่ื ประกอบอาชพี รับจ้าง ทำใหเ้ กดิ เป็นชุมชนใหญ่และมี หลากหลายอาชีพ และต่อมาไดม้ ีการแบ่งเขตการปกครองจากห้วยมุดท่เี ปน็ ชมุ ชนใหญ่ เปน็ 3 ชุมชน น่นั คือ ชุมชนห้วยมดุ 1 ชมุ ชนหว้ ยมุด และชมุ ชนห้วยมดุ 3 ในวนั ท่ี 17 พฤศจกิ ายน 2547 8. ชมุ ชนห้วยมดุ 2 ประวตั ิชุมชนหว้ ยมดุ 2 เดมิ ชมุ ชนหว้ ยมดุ เป็นเขตป่าสงวนเสือ่ มโทรมและได้รบั สมั ปทานใหท้ ำอาชพี การทำเหมืองแร่ดีบุก โรงเลอื่ ย บญุ ชยั โรงงานอาบนำ้ ยางไมห้ มอนรถไฟ ปา่ ไม้ ประชาชนในพ้นื ท่มี าจากการอพยพจากหลายจังหวัดเข้ามาอยู่ เพื่อประกอบอาชพี ซ่งึ ประชาชนส่วนใหญม่ าจากอำเภอปากพนัง จงั หวดั นครศรีธรรมราช อำเภอไชยา จงั หวัด สุราษฎรธ์ านี และอำเภอหลังสวน อำเภอฉวี จงั หวัดชมุ พร รวมท้งั ประชาชนภาคอสี าน มารวมตัวกันเพ่ือ ประกอบอาชีพรับจา้ ง ทำให้เกิดเปน็ ชุมชนใหญ่และมีหลากหลายอาชีพ และต่อมาได้มีการแบ่งเขตการ ปกครองจากห้วยมุดที่เปน็ ชมุ ชนใหญ่ เป็น เป็น 3 ชุมชน นั่นคือ ชุมชนหว้ ยมุด 1 ชมุ ชนห้วยมุด และชุมชน ห้วยมดุ 3 ในวันท่ี 17 พฤศจกิ ายน 2547

9. ชมุ ชนหว้ ยมดุ ๓ ประวัตชิ มุ ชนหว้ ยมดุ ๓ เดิมชมุ ชนห้วยมุดเป็นเขตปา่ สงวนเสอื่ มโทรมและได้รบั สมั ปทานใหท้ ำอาชีพการทำเหมืองแร่ ดบี กุ โรงเลอ่ื ยบุญชัย โรงงานอาบนำ้ ยางไมห้ มอนรถไฟ ป่าไม้ ประชาชนในพ้ืนทม่ี าจากการอพยพจาก หลายจงั หวัดเข้ามาอยเู่ พื่อประกอบอาชพี ซึ่งประชาชนสว่ นใหญ่มาจากอำเภอปากพนัง จังหวัด นครศรธี รรมราช อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธ์ านี และอำเภอหลงั สวน อำเภอฉวี จงั หวัดชุมพร รวมทง้ั ประชาชนภาคอีสาน มารวมตัวกันเพ่ือประกอบอาชีพรับจา้ ง ทำใหเ้ กิดเป็นชมุ ชนใหญ่และมี หลากหลายอาชพี และตอ่ มาได้มกี ารแบ่งเขตการปกครองจากห้วยมุดท่เี ป็นชมุ ชนใหญ่ เป็น ๓ ชุมชน นัน่ คือ ชุมชนหว้ ยมุด ๑ ชมุ ชนห้วยมดุ ๒ และชมุ ชนหว้ ยมดุ ๓ ในวนั ท่ี ๑๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๗ 10. ชมุ ชนพลู ศิริ ประวตั ิชมุ ชนพูลศริ ิ ชุมชนพลู ศิริ ต้ังอยทู่ างทศิ ใต้ของทีว่ ่าการอำเภอบา้ นนาสาร ระยะทางประมาณ ๒ กโิ ลเมตร มถี นนรถไฟถนนสายหลัก นาสาร – บา้ นส้อง ชือ่ ถนนพูลศริ ิ ผ่านกลางชมุ ชน คำว่า “พูลศิร”ิ เป็น นามสกุลของร.ท.เขยี ว พลู ศริ ิ อดีตนายกเทศมนตรีตำบลนาสาร ซึ่งเป็นผู้ดำเนินการสร้างถนนสายนี้ ในขณะนั้น เดมิ ชมุ ชน พลู ศริ มิ ีช่อื เรยี กวา่ บา้ นสะพานสอง และบ้านสะพานหนึง่ (ปจั จุบันบ้านสะพาน หนึ่งแยกเป็นชุมชนใหม่ชื่อว่า ชุมชนสะพานหนึ่ง) ต่อม าสมัยที่ นายนุกูล เวียงวีระ เป็น นายกเทศมนตรีตำบลนาสาร ไดม้ กี ารจดั ตัง้ ชมุ ชนต่าง ๆ ข้ึนในเขตเทศบาลตำบลนาสาร จึงมชี ุมชน พูลศริ เิ กิดขึ้น มกี ารแตง่ ตัง้ ให้ นายผนิ ปลอดอักษร เป็นประธานชมุ ชนคนแรก ต่อมามกี ารแตง่ ตั้ง และ เลือกตัง้ ประธานชุมชนมาโดยตลอด 11. ชมุ ชนสะพานหน่ึง ประวัตชิ ุมชนสะพานหน่งึ ชมุ ชนสะพานหนึ่ง เปน็ ช่ือท่ปี ระชาชนในชุมชนสะพานหนง่ึ ต้ังขึน้ เนือ่ งจากอดตี พนื้ ทบ่ี รเิ วณ นี้มคี ลองแวะไหลผ่าน ประชาชนในพื้นที่เรยี กว่า “สะพานหนึ่ง” ซงึ่ เดิมอย่ใู นชมุ ชนพลู ศิริ ต่อมา จำนวนประชากรเพมิ่ มากข้ึน นายโกศล ศทุ ธางกูร เป็นนายกเทศมนตรีเมอื งนาสาร จึงจัดต้งั ชุมชน ในเขตเทศบาลเมอื งนาสารขึ้นใหม่อีก ๘ ชุมชน รวมท้งั ชุมชนสะพานหน่ึงดว้ ย ซึ่งเดมิ มีเพียง ๑๖ ชมุ ชน รวมชมุ ชนใหม่ดว้ ยเป็น ๒๔ ชมุ ชน ในส่วนของชุมชนสะพานหนึง่ ได้แยกมาจากชุมชนพูลศิริ และเรยี กช่อื ชมุ ชนใหม่ตามช่อื คลองสะพานหนงึ่ วา่ “ชุมชนสะพานหน่งึ ” มกี ารแตง่ ตง้ั ประธานและ คณะกรรมการบรหิ ารชุมชนสะพานหน่งึ โดยมี นายพนม แซ่โคว้ เป็นประธานคนแรก ประชากรในชุมชนสะพานหน่งึ ส่วนมากเปน็ คนในท้องถ่นิ เดิม อีกสว่ นหนึ่งเปน็ คนทอ้ งถ่นิ อ่ืน ทม่ี าอาศัยอยู่และประกอบอาชพี หลายอาชีพในชุมชน ซึง่ ส่วนใหญ่เปน็ อาชีพรับจา้ ง อาชพี ก่อสร้าง และคา้ ขายเปน็ สว่ นใหญ่ มีวฒั นธรรมและประเพณีท่ีหลากหลาย

12. ชุมชนนายาง ประวตั ิชุมชนนายาง บ้านนายางกอ่ ตงั้ เมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๔๘๐ พืน้ ที่บา้ นนายางเป็นปา่ ไมค้ มุ้ ครอง เปน็ พื้นที่ ราบประมาณ ๒/๓ ของพน้ื ท่ที ัง้ หมด มีต้นไมใ้ หญ่มากมาย มีไม้ยางประมาณ ๖๐ % ของพื้นท่ีป่า มไี มต้ ะเคียน ไม้ตะแบก อนิ ทนนิ และอื่น ๆ อีกมากมาย มีสัตว์ปา่ มากมาย เชน่ เสอื และช้างอยเู่ ป็น โขลง ชาวบา้ นตำบลท่าชเี ข้ามาแผว้ ถาง ปลกู ข้าว ทำไรเ่ ล่อื นลอย ต่อมาทางราชการเปิดให้มีการสัมปทานป่าไมใ้ นเขตพ้ืนที่ นายพร้อม แก้วอำรตั น์ ได้สมั ปทาน และทำการถอนต้นไมใ้ นเขตพ้ืนท่ีนี้ การนำไม้ออกจากพ้ืนท่ี ต้องชกั ลากดว้ ยชา้ ง (เรียกว่าทางชัก) ไปลงที่คลองฉวาง ล่องไมไ้ ปผูกแพท่แี ม่น้ำตาปี เพอ่ื นำไปขายทตี่ วั เมืองสุราษฎรธ์ านี ต่อมาทาง ราชการไดเ้ ปดิ ใหม้ กี ารจองพื้นทบ่ี ริเวณน้ีคนละ ๑๒ ไร่ และเข้ามาอาศยั อยูใ่ นพ้ืนท่ีประมาณ ๑๐ ครวั เรือน และตงั้ ชอ่ื ว่าบ้านนายาง พืน้ ที่สว่ นใหญ่เป็นพืน้ ที่ราบมีหนองนำ้ ใหญ่นอ้ ย เดิมคือ หนองน้ำ นายาง หนองลำเจยี ก หนองชุมแสง หว้ ยหม่ืนณรงค์ และคลองนกไข่ ประชากรสว่ นใหญ่มีอาชพี ทำนา และปลกู ยางพารา เมือ่ มีประชากรเข้ามาอาศัยอยู่มากขึ้น ไดม้ ีการตดั ถนนเขา้ มาในหมู่บา้ นประมาณ ปพี .ศ. ๒๕๐๐ โดยการนำของ พระครพู ิศาลคุณาภรณ์ รว่ มกับชาวบ้านช่วยกนั ทำถนน ต่อมานายฉาย คงท่ี ไดบ้ ริจาคท่ดี ินประมาณ ๗ ไร่ เพอ่ื สร้างโรงเรียน บ้านนายาง ชาวบ้านได้รว่ มกนั สรา้ ง ๔ หอ้ งเรียน เม่อื ปพี .ศ. ๒๕๐๒ ปัจจุบันโรงเรยี นไดถ้ กู ยุบไปแลว้ 13. ชุมชนทงุ่ คาเกรยี น ประวตั ิชุมชนทุง่ คาเกรียน คนในอดตี การสรา้ งเมืองหรือการสร้างถิ่นฐานที่อย่อู าศัยและทำมาหากนิ จะยึดเน้นใหอ้ ย่ใู กล้ แหล่งน้ำธรรมชาตหิ รอื แม่นำ้ ลำคลอง ซงึ่ เปน็ ยทุ ธศาสตรใ์ นการกอ่ สร้างเมือง เพราะน้ำเป็นปัจจัย หลกั ในการดำรงชีวติ การคมนาคม การเกษตรและนำ้ ยงั เป็นส่วนสำคัญในการทำยทุ ธศาสตร์ เพอื่ การ รบและปอ้ งกันประเทศดว้ ย บ้านทุ่งคาเกรยี นก็เปน็ ชุมชนนึ่งที่ตัง้ ถนิ่ ฐานอยตู่ ิดกับคลองสายหนง่ึ ชื่อวา่ “คลองฉวาง” ซ่ึง ลำคลองสายนีไ้ หลจากเทือกเขาบรรทัดผ่านหมูบ่ ้านหลายหมบู่ ้านในอำเภอบ้านนาสาร คนในอดีต ไมไ่ ดบ้ ันทกึ ไวเ้ ปน็ หลักฐานอยา่ งชดั เจน แตม่ ีการเล่าขานกันมาจากผเู้ ฒ่าผ้แู กท่ ย่ี ังมีชวี ิตอย่วู า่ ราษฎร ในบา้ นทุ่งคาเกรยี นกม็ ีการคมนาคมทางน้ำในอดตี ซงึ่ ใชเ้ รอื ทอ่ เปน็ พาหนะ และมที ่าเทียบเรืออยู่ที่ บา้ นนายปนิ่ บุญอินทร์ (หลงั สำนกั งานการไฟฟา้ บา้ นนาสารปจั จุบัน) แตต่ อ่ มาเมอ่ื มีการทำเหมืองแร่ จึงทำให้แมน่ ำ้ แหง่ นี้ตื้นเขินไปการคมนาคมทางนำ้ จงึ ถกู ยกเลกิ เมื่อมีการทำเหมืองแรถ่ นนสายแรกท่ี ตัดผ่านบ้านทุ่งคาเกรียน คอื ถนนเหมืองทวด เพราะพอ่ ค้าเหมอื งแรใ่ ชถ้ นนสายนเี้ ปน็ เสน้ ทางในการ ขนส่งแรด่ บี กุ จากเหมืองแรเ่ หมืองทวด และเหมอื งแรท่ ี่บา้ นวงั หิน ส่วนถนนสายท่ี ๒ คอื ถนนเหมือง ขุนทองหลาง และมกี ารทำเหมอื งแร่ทีบ่ ้านขนุ ทองหลางเช่นกัน ความเป็นมาของทุ่งคาเกรยี นน้ัน ในอดตี เปน็ พื้นทีร่ าบ มคี วามอดุ มสมบรู ณเ์ หมาะสำหรับ การเกษตรและเลีย้ งสตั ว์ มีการทำนา ๓ แห่ง คือ นาน้อย (บรเิ วณตรงขา้ มปา่ ช้าจีนปัจจุบัน) ทุ่ง นาพัฒเซีย (บรเิ วณตรงข้ามโรงเรยี นเทศบาล ๔ ปัจจุบัน) และนาพัง สว่ นทีด่ นิ ทีเ่ ปน็ ทุ่งหญ้ากว้าง เหมาะแก่การเลี้ยงสัตว์ ต่อมามีชาวบา้ นหรือคนลำพูน (คนลำพูนคือ ชาวบา้ นหมาก) ชาวบ้าน

กอบแกบ ชาวบา้ นวงั หิน ซง่ึ ตอนเชา้ มักจะนำฝูงวัว ฝูงควายมาเลี้ยงในทุ่งหญา้ น้ีและทุ่งหญ้านี้มีหญ้า คาเล็ก ๆ เมือ่ วัว ควายจำนวนมากกนิ หมดแลว้ กจ็ ะมองเห็นท่งุ หญ้าคาเหยี้ นเตียน จึงเปน็ ที่เรียกกัน ของคนสมัยนัน้ วา่ “ทุง่ คาเกรยี น” พอตกบา่ ยก็จะต้อนฝงู ววั ฝูงควายไปกนิ นำ้ ท่ีนาพัง เพราะนาพัง เปน็ แหลง่ น้ำขนาดใหญ่ อดุ มสมบรู ณ์ทป่ี ลาหลากหลายชนิด เช่น ปลามดั (ตัวคล้ายปลาดกุ ) แต่สูญ พันธไุ์ ปแลว้ และยังมีตำนานเก่ียวเน่อื งกบั บ้านทงุ่ คาเกรียน คอื เรือ่ ง “ หนองหัวเรอื ” ต่อมาเม่ือมกี ารอพยพเข้ามาตัง้ ถิ่นฐาน คนกลมุ่ แรกทเ่ี ข้ามาก่อน คอื สกุลเพชรเมือง บุญ อินทร์ เดชเสนห่ ์ และพันธ์ุทองดี บา้ งกอ็ พยพมาจากกอบแกบ บา้ นนาเดมิ และท่งุ เตา เมื่อมีการ ก่อสร้างท่อี ยอู่ าศยั และการจับจองท่ดี นิ การเพิ่มของจำนวนประชากรเป็นจดุ เร่ิม การจดั ตงั้ หมูบ่ ้านจึง เกิดขนึ้ สำหรบั “บา้ นทุ่งคาเกร้ียน” ไดม้ กี ารเรียกชอ่ื เพ้ยี นไปจากเดมิ เป็น “บา้ นทงุ่ คาเกรียน” จน เกิดความเคยชิน เพราะคำว่า เกรย้ี น ออกเสียงยาก สำหรบั การเมืองการปกครอง สมัยนั้น ไดม้ นี ายคล้าย เพชรเมือง เป็นผู้ใหญบ่ า้ นคนแรก และ มีทา่ นขนุ นาสาร เปน็ เจ้าตำบลนาสาร ตอ่ มาตำบลนาสารไดย้ กฐานะเป็นเทศบาลเมอื งนาสารและบ้าน ท่งุ คาเกรียน ก็ไดจ้ ดั ตั้งเป็น “ชุมชนทงุ่ คาเกรยี น” ตงั้ แต่นั้นมา มีการเล่าขานกนั ว่า ก่อนการจดั ตง้ั ชมุ ชนทงุ่ คาเกรียน ได้มพี ระธดุ งค์ ๒ องค์ เดินทางมาธดุ งค์ และมีความประสงค์เดินธุดงคม์ าท่วี ัดโฉลกศิลาราม ได้พัฒนาศาสนสถานดงั กลา่ ว พระธุดงค์ ๒ องค์น้ี คอื พอ่ ท่านครูเขยี ว และพอ่ ทา่ นจอมเพชร ซง่ึ เปน็ ที่สักการบชู า เคารพนับถือและเป็นสง่ิ ยดึ เหน่ียว ทางจติ ใจของพี่น้องประชาชนตลอดมา ดา้ นการศกึ ษา มีการศกึ ษาเกิดขึ้นคร้ังแรกทีว่ ดั โฉลกศลิ าราม โดยมีนกั เรยี นประมาณ ๕๐ คน โดยมี ครแู ยม้ พวงทิพย์ และครูถวิล หนูศรแี ก้ว เปน็ ครูผู้สอน ตอ่ มามีการเปดิ โรงเรียนขนึ้ ๒ แห่ง คือ โรงเรยี นบา้ นทงุ่ คาเกรยี น และโรงเรยี นขนุ ทองหลาง กอ่ นทจี่ ะมกี ารเปิดเรียนนน้ั ครูและนกั เรยี นต้อง ย้ายไปเรยี นกันที่ใต้ถุนบ้านนายเริ่ม เดชเสนห่ ์ เพราะโรงเรียนบ้านทุ่งคาเกรยี นยังสรา้ งไม่เสร็จ ส่วน โรงเรียนขุนทองหลางน้ันเป็นโรงเรยี นประชาบาล มนี ักเรยี นของลูกหลานคนงามเหมือ งแร่ทั้งหมด โดยเทศบาลตำบลนาสารได้จัดสรรงบประมาณก่อสร้างอาคาร สว่ นเงนิ เดอื นครูผู้สอนต้อ งไปรับที่ อำเภอบ้านนาสาร หลงั จากน้ันเม่ือการทำแรไ่ ดห้ ยุดกิจการไป โรงเรียนแหง่ นกี้ ็ถูกปดิ ไปด้วย เมอื่ เศรษฐกิจเฟ่อื งฟู ความอุดมสมบูรณข์ องทรพั ยากรธรรมชาตมิ มี ากมาย ผ้คู นก็มคี วามโอบ อ้อมอารีมคี วามรักความสุขและความอยูด่ มี สี ุข จงึ มกี ารชกั จูง การอพยพ การย้ายถ่นิ เข้ามาทำมาหา กนิ และต้งั ถนิ่ ฐาน ซึง่ กลุม่ คนเหล่านไ้ี ดย้ า้ ยมาจากเพชรบรุ ี ราชบรุ ี นครปฐม และนครศรีธรรม ราช สว่ นใหญ่ประกอบอาชีพสานเข่ง จักรสานอ่นื ๆ และทำสวนยางพารา ไดต้ ้งั ถ่นิ ฐานตามแนวถนนสาย ขุนทองหลาง และเป็นท่เี รยี กขานกนั ว่า “ถนนฝั่งลาว” ตอ่ มาเมอื่ เทศบาลตำบลนาสารได้ยกฐานะขึ้น เปน็ เทศบาลเมืองนาสาร ชมุ ชนท่ีตง้ั ตามแนวถนนสายขุนทองหล างกไ็ ดแ้ ยกไปเป็นชุมชนใหม่ คือ “ชุมชนทงุ่ คาเกรยี นใหม่”

14. ชุมชนศรเี วียง ประวตั ชิ ุมชนศรเี วยี ง เดิมชุมชนศรีเวยี ง เปน็ ส่วนหน่งึ ของชมุ ชนซอยร่วมใจซง่ึ เปน็ ชมุ ชนท่มี ีขนาดใหญ่มาก และมี จำนวนประชากรเป็นจำนวนมาก ในปี พ.ศ.๒๕๔๗ คณะผูบ้ ริหารเทศบาลเมืองนาสาร ภายใต้การนำ ของนายกเทศมนตรีเมอื งนาสาร ชอ่ื นายโกศล ศทุ ธางกรู มนี โยบายท่ีจะแยกชุมชนในเขตเทศบาล เพอื่ ให้ประชากรในพ้ืนท่ดี ังกล่าวได้รบั การสวสั ดิการอย่างทั่วถงึ กัน ซง่ึ ไม่เฉพาะแต่ชุมชนศรีเวียง เท่านน้ั เนื่องจากเดิมชุมชนในเขตเทศบาลเมืองนาสารมีเพียง ๑๖ ชมุ ชน ดังนั้นการแบ่งเขตก าร ปกครองใหม่ เพ่อื ใหป้ ระชาชนไดร้ ับสวัสดกิ ารและการดูแลอย่างทวั่ ถึง จึงแบ่งเขตการปกครองใหมใ่ น เขตเทศบาลเมืองนาสาร อำเภอบา้ นนาสาร จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี ไดเ้ ปน็ ๒๔ ชุมชน ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ชมุ ชนศรเี วยี ง มีประธานชมุ ชนคนแรก คือนายตกั สนิ สุขสิรสิ วัสดิ์ อยู่ใน วาระ ๒ ปี และต่อมาในสมัยที่ ๒ มปี ระธานชุมชน คือนายประสาน สมแก้ว ในสมยั ต่อมาคือ นาย ไชยยศ สขุ โศม ซงึ่ ดำรงตำแหนง่ ประธานชมุ ชนจนกระท่งั ปจั จุบัน ชมุ ชนศรเี วียง จดั เปน็ ชุมชนตลาดของเทศบาลเมืองนาสาร ประชากรของชุมชนส่วนใหญ่ ประกอบอาชพี คา้ ขายเป็นหลกั ซ่งึ พ้ืนที่ของชมุ ชนศรีเวยี งประกอบด้วยตลาดถึง ๒ แหง่ นน่ั คอื ตลาด เทศบาลเมอื งนาสารและตลาดอุดมสนิ ทำให้รายไดข้ องชมุ ชนมาจากการค้าขายเปน็ ส่วนใหญ่ อาณาเขตของชุมชนศรเี วยี ง นบั ต้ังแต่ปากซอยร่วมใจตดิ กบั ถนนพชิ ัยเดชะ จนกระทัง่ ถงึ สาม แยกบา้ นอาจารย์นพรตั น์ และรวมถงึ ถนนเทศบาล ๒ และถนนศรีเวยี งท้งั สาย 15. ชมุ ชนนาสารนอก ประวตั ิชุมชนนาสารนอก ดว้ ยชุมชนนาสารนอก ได้รบั การจัดตั้งขน้ึ ตามนโยบายของเทศบาลเมืองนาสาร เมอ่ื วนั ท่ี ๑๗ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๔๗ เพอื่ สร้างใหช้ มุ ชนมีความเข้มแขง็ และมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมต่าง ๆ เช่น ด้านวัฒนธรรม ประเพณี สุขอนามัย และการศกึ ษา พรอ้ มทั้งให้ศูนยก์ ลางประสานงาน พฒั นาแกไ้ ข ปัญหาของชุมชน โดยแยกตัวมาจากชมุ ชนตลาด ซง่ึ เปน็ ชมุ ชนทมี่ ขี นาดใหญ่ มปี ระชากรจำนวนมาก เพอ่ื ความสะดวกในการบริหารงาน เทศบาลเมอื งนาสารจงึ ไดแ้ บ่งชุมชนตลาดออกเป็นชมุ ชนย่อยอีก ๔ ชมุ ชน และชมุ ชนนาสารนอก เปน็ ชุมชนหน่ึงทีแ่ ยกตัวออกมาจากชมุ ชนตลาด 16. ชมุ ชนคลองฉวาง ประวตั ิชมุ ชนคลองฉวาง ก่อนปีพุทธศักราช ๒๔๙๐ ทิศเหนอื ของเขตเทศบาลเมอื งนาสาร ข้ามคลองฉวาง เชน่ เป็น ทต่ี งั้ ของวัดนาสารเป็นสถานทรี่ วมจติ ใจ เป็นสถานทศี่ กึ ษา และให้การรักษาดว้ ยยาสมนุ ไพร โดยหลวง พ่อชม เจ้าอาวาสวดั นาสาร ยังมีถนนผ่านวดั นาสารไปสู่หมูบ่ า้ นนาเตรียะ บ้านคลองหา (นายวิจิตร ดำรงธรรม, ๒๕๕๐: ๑๑) ประมาณปีพุทธศกั ราช ๒๔๙๘ ยังเปน็ ท่ีตัง้ ของโรงไฟฟา้ ท่จี า่ ยกระแสไฟ แสงสวา่ งบางเวลาของนายสำลี ต่อมาถนนสายดังกลา่ วพฒั นามาเปน็ ถนนสาย ๔๐๐๙ ของกรมทาง หลวง สายนาสาร - สรุ าษฎรธ์ านี และถนนคลองหา ๑ ของเทศบาลเมอื งนาสาร เปน็ ทีต่ ัง้ ของชุมชน คลองฉวางในปจั จุบัน

ชุมชนคลองฉวาง ลกั ษณะทางกายภาพเป็นชมุ ชนเมือง ท่มี กี ารพัฒนามาอย่างต่อเน่อื ง มี สภาพภูมิศาสตร์ท่ีเปน็ ธรรมชาติ ในสว่ นของพชื สวน และการเกษตร โดยภาพรวมเป็นชุมชนเมืองและ แหล่งธุรกจิ การกำหนดยทุ ธศาสตร์ ซง่ึ เก่ียวกับพนั ธกจิ ของชุมชนคลองฉวาง และสภาพเศรษฐกิจใน ชุมชนคลองฉวางเปน็ สำคัญ ทั้งน้ียังต้องต้งั อยูก่ ับศกั ยภาพขององคก์ รทอ้ งถิ่น ทกุ ๆ ระดับ สรุปการกำหนดยุทธศาสตร์ เพ่อื ไปสกู่ ระบวนการแผนแม่บทของชมุ ชนคลองฉวาง จะเป็น รูปธรรมทส่ี ร้างสรรคต์ อ่ สังคมในระดับใดน้ัน จึงขนึ้ อยู่กบั ความพร้อมองค์กรท้องถิ่น ในภาระของ ชุมชนคลองฉวาง เปน็ เพียงการได้มสี ่วนรว่ มในการนำกระบวนการทางปัญญา สู่วิธีคิดของเทศบาล เมอื งนาสารเท่านั้น 17. ชมุ ชนประชาสามคั คี ประวตั ชิ มุ ชนประชาสามคั คี ชุมชนประชาสามคั คี กอ่ ตัง้ ขึน้ เม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๗ แบง่ แยกจากชมุ ชนตลาด เนื่องจากเทศบาล ตำบลนาสาร ไดร้ ับการยกฐานะ ข้นึ เป็นเทศบาลเมอื งนาสาร เพอื่ ให้การปกครอง ดูแลทกุ ขส์ ุขภายใน เขตพ้ืนทขี่ องเทศบาลเมืองนาสาร สามารถดำเนินการไดท้ ่วั ถงึ จงึ แบ่งแยกชมุ ชน จาก ๑๖ ชุมชน เปน็ ๒๔ ชุมชน ชุมชนประชาสามคั คี จึงได้แยกออกจากชมุ ชนตลาด พร้อมกับชุมชนนาสารใน ชุมชน นาสารนอก ชุมชนคลองฉวาง ชุมชนศรเี วียง เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ 18. ชมุ ชนปลายรางพัฒนา ประวัตชิ มุ ชนปลายรางพัฒนา ชมุ ชนปลายรางพฒั นา แตเ่ ดิมนน้ั ชาวบา้ นขนานนามว่า “บา้ นปลายราง” บา้ ง “บ้านบน ควน”บา้ ง เพราะบริเวณทตี่ ัง้ ของชมุ ชนนั้นเป็นพ้ืนที่เนินดินขนาดใหญ่และสูงกว่าพื้ นท่ีใกล้เคียง สภาพท่ัวไปสมัยก่อนเป็นป่าสงวน รกทบึ และมผี คู้ นอาศัยอยไู่ มก่ ี่ครวั เรือน ซง่ึ ปา่ สงวนแห่งน้ีก็เป็ น พ้ืนทีท่ ่กี ารรถไฟใชต้ ดั ตน้ ไม้ เพอื่ ใช้ส่วนหน่งึ ไปทำเป็นไมห้ มอนรองรางรถไฟ และอีกสว่ นหน่งึ ใช้เป็น เช้อื เพลิงเพอื่ ขบั เคลอื่ นหัวรถจกั รไอนำ้ ลากโบกร้ี ถไฟในสมยั นัน้ ดงั นั้น ทางการรถไฟจงึ ไดก้ ่อสร้างราง รถไฟซึ่งแยกกออกมาจากสถานรี ถไฟห้วยมุด เขา้ มาในพื้นที่ปา่ สงวนแหง่ นแี้ ละรางรถไฟ นั้นได้ทอด ยาวออกมาสน้ิ สุดลงทบ่ี รเิ วณบา้ นปลายรางแหง่ น้ี ซึ่งยงั มหี ลกั ฐานเป็นร่องรอยปรากฏจนถงึ ปัจจุบัน ตอ่ มาเมื่อรถไฟไดพ้ ัฒนามาเปน็ หวั จกั รดเี ซลทางการรถไฟจึงไดเ้ ลิกใช้รถไฟสายดงั กล่าว และได้ปล่อย ให้เป็นทีร่ กรา้ งวา่ งเปล่าเปน็ เวลานาน เมือ่ เวลาผา่ นไปได้มชี าวบ้านอพยพมาจากต่างถน่ิ ไดม้ าจับจอง พน้ื ท่แี ละบุกรุกแผว้ ถางป่าสงวนแหง่ นี้เพอื่ ทำมาหากิน และต่อมาอกี ไมน่ านกม็ ผี อู้ พยพมาอาศัยอยู่จน เตม็ พืน้ ท่บี ้านปลายราง แตเ่ ดิมบา้ นปลายรางเป็นพืน้ ท่สี ว่ นหนึ่งของชมุ ชนวงั หล้อ เทศบาลตำบลนาสาร ตอ่ มาเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๔๗ เทศบาลตำบลนาสารไดร้ ับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองนาสาร คณะผู้บรหิ ารจึงได้มี นโยบายแบ่งเขตการปกครองใหม่ จากเดิม 16 ชมุ ชน เป็น 24 ชมุ ชน และเป็น 25 ชุมชน ซง่ึ บา้ นปลายรางก็ไดแ้ บ่งแยกออกมาตั้งเปน็ ชุมชน และใหช้ ือ่ ใหม่ว่า “ชุมชนปลายรางพัฒนา”

19. ชมุ ชนหนองมว่ ง ประวตั ิชุมชนหนองม่วง ชุมชนหนองม่วง แต่เดมิ ขึน้ กับชมุ ชนอู่มาด เนื่องจากพ้นื ทด่ี ังกล่าวกวา้ งมาก ข่าวสารตา่ ง ๆ จึงไม่ค่อย กระจายอย่างทวั่ ถึง หนองม่วงปัจจบุ นั นัน้ พน้ื ที่สว่ นใหญเ่ ป็นพน้ื ทส่ี วนผลไม้ และนาขา้ วของพี่น้องชาวอู่มาด เรียกวา่ “ทุ่งนาฝาด” อยทู่ างทศิ ใตข้ องชุมชนอูม่ าด เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๑ ชมุ ชนหนองม่วง (นาฝาดเดิม) แยก จากชุมชนอู่มาด และมีการเลอื กตง้ั ประธานคณะกรรมการบริหารชมุ ชนเป็นครง้ั แรก โดยมีนายชำนาญ อินชู เป็นประธานคนแรก นายบรรจง พลายแก้ว นายวริ ชั ช่วยชูชาติ นายไสว แดงเพชร นายบรรจง พลายแกว้ นางทพิ ยส์ ุดา ช่วยพัฒน์ นายโชค เพชรประเสริฐ นายวริ ัช ชว่ ยชชู าติ (คนปจั จุบนั ) ตามลำดับ อนงึ่ คำวา่ “หนองมว่ ง” นั้น ใจกลางหนองมว่ งประกอบดว้ ยทุ่งนา และหนองน้ำขนาดใหญ่ อุดมสมบูรณ์ ไปด้วยสตั วน์ ้ำนานาชนิด โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงมีปลาชุกชุมมากมาย ภายในหนองน้ำดงั กล่าวมีต้นมะม่วง (มว่ งคนั ) ตน้ ใหญ่ ๑ ต้น มีผลกลมคลา้ ยผลมะกอก รสชาติเปรย้ี วมากมาย มลี กั ษณะเฉพาะ คอื ผลแก่จะมยี าง ออกมา เมื่อถูกผิวหนังจะไหมแ้ ละคันมาก ปัจจุบันพื้นทีด่ ังกล่าวเปล่ียนแปลงไปตามสภาพกาลเวลา ระบบนิเวศนถ์ กู ทำลาย พน้ื ทส่ี ่วนใหญถ่ ูกประชาชนบุกรกุ ทำเปน็ พืน้ ที่ทำกินจนถงึ ปัจจุบันนี้ 20. ชมุ ชนสวนมังคดุ ประวตั ิชมุ ชนสวนมงั คดุ “ชมุ ชนสวนมังคุด” เปน็ ชุมชนเกา่ แกต่ งั้ ขึ้นมาประมาณ ๕๐๐ กว่าปีทผ่ี า่ นมาซ่งึ สันนิฐานว่าไดต้ ง้ั ชอื่ ตามผู้ ท่มี าอยู่อาศัยและดูแลชมุ ชนแห่งนี้ คือ กรมหมนื่ ขดุ ราชกจิ ชุมชนสวนมงั คุดเป็นชุมชนทมี่ พี นื้ ท่รี าบเหมาะแก่การทำเกษตรและปศุสตั ว์และพืชเศรษฐกิจทส่ี ำคัญและมี ชอ่ื เสียงทำรายได้ใหแ้ กค่ นในชมุ ชน คือ มงั คุด ซง่ึ เป็นท่ีนิยมและปลูกเปน็ ทแี่ พรห่ ลายซ่ึงปัจจบุ นั นั้นยงั เห็นได้ ท่ัวไป ประชาชนในชมุ ชนประกอบอาชพี หลักทางดา้ นการเกษตรและเปน็ แหลง่ รายไดส้ ำคัญของประชาชนใน ชมุ ชน แตใ่ นปัจจุบันประชาชนประสบปญั หาราคาสนิ ค้าเกษตรตกต่ำสร้างความเดือดรอ้ นใหแ้ ก่ประชาช น เปน็ อย่างยงิ่ ปัจจบุ นั ชุมชนสวนมังคุดได้รบั การปรบั ปรงุ ภูมทิ ศั นแ์ ละสภาพแวดล้อมที่ดขี ึ้น ประชาชนไดร้ ับการบริการ ขนั้ พื้นฐานไม่วา่ จะเปน็ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ไฟฟ้าถนน แหล่งน้ำ ฯลฯ เยาวชนในชมุ ชนได้รบั การศกึ ษา พน้ื ฐานอยา่ งเทา่ เทยี มกัน ภายใต้การกำกบั ดแู ลของเทศบาลเมืองนาสารและคณะกรรมการบริห ารชุมชนท่ี ได้รบั การเลอื กตัง้ จากประชาชนแตย่ งั ส่งผลกระทบเนอ่ื งจากชุมชนมีประชากรเพิ่มข้นึ 21. ชุมชนทา่ พลา ประวตั ชิ มุ ชนทา่ พลา ทา่ พลา เป็นชอื่ ทต่ี ง้ั ข้นึ ตามชอ่ื ของถนน กลา่ วคอื ชมุ ชนท่าพลามีถนนสายหลัก ๑ สาย คอื ถนนท่าพลา มีคลองฉวางไหลผ่าน สภาพนำ้ เปน็ น้ำลกึ ปา่ อุดมสมบูรณ์ ฤดูฝนนำ้ หลากมาก มตี น้ ไม้ชนิดหนึ่งท่ขี ึ้นบรเิ วณริม คลองคอื ต้นพลา ซง่ึ ในอดีตเวลาประชาชนสัญจรไปมาบริเวณคลองฉวางจะมสี ะพานไม้พรอ้ มศาลาพกั รอ้ นและ ต้นพลาซ่งึ มีจำนวนมาก สามารถพักเหน่อื ยได้ ทำใหป้ ระชาชนเรียกชื่อชมุ ชนว่า “ทา่ พลา” จนถึงปัจจุบนั

22. ชมุ ชนนาเตรยี ะ ประวตั ิชุมชนนาเตรยี ะ บ้านนาเตรียะ เป็นหมูบ่ ้านทีร่ าษฎรเรียกตามสภาพในอดตี เพราะในพื้นที่บริเวณนี้ ประกอบดว้ ย ต้นเตรยี ะเป็นจำนวนมาก ซงึ่ เป็นพชื ในตระกูลปาลม์ ชนิดหนึ่งคลา้ ย ๆ กับตน้ คอ้ และต้นทงั ตน้ โตเต็มท่ีขนาด ไล่เล่ียกบั ตน้ มะพร้าว ใบกว้างคลา้ ยกบั ใบตาล แต่ใบแตกเป็นรวิ้ กา้ นใบมหี นาม ชาวบา้ นใช้ใบของมันมาเย็บ คล้ายใบจากสาคูทำเปน็ หลังคามุงบา้ น สมัยก่อนหมู่บ้านนาเตรียะ อยูภ่ ายใตก้ ารปกครองของอำเภอ บ้านนาสาร มผี ู้ใหญ่บ้านปกครองรวม ๓ ทา่ น คอื ๑.ผใู้ หญเ่ กต เผือกหนู ๒.ผู้ใหญ่กล่อม อนิ เตรยี ะ ๓.ผใู้ หญอ่ ำ่ มีดี ตอ่ มาไดเ้ ปล่ยี นสถานะจากหม่บู า้ นมาเปน็ ชมุ ชนตามการยกฐานะการปกครองท้องถนิ่ ในรูปแบบเทศบาล ซ่งึ แตเ่ ดิมเปน็ ชุมชนคลองหา ต่อมาในปพี .ศ. ๒๕๔๑ จึงได้แยกการปกครองมาเป็นชมุ ชนน าเตรีย ะจนถึง ปจั จุบนั และมกี ารปกครองชมุ ชนในรูปแบบของคณะกรรมการบรหิ ารชมุ ชน โดยประธานชมุ ชนคนแรก แต่เดิมสภาพทั่วไป เป็นป่ารกทึบ มีบ้านเรือนไม่มากนกั ชาวบ้านมีอาชีพในการทำสวนยางพารา สวนผลไม้ และทำนา เพราะพ้ืนท่ีทง้ั สองด้านของชมุ ชนขนาบไปด้วยทลี่ ่มุ ทางด้านทิศตะวนั ออกมที ่งุ นาโหลน ติดกับเขานาสาร เป็นที่ลุ่มกว้างใหญ่ เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุสัตว์น้ำหลายชนิด เช่น ปลา , เต่า, หอย, กงุ้ ซงึ่ ชาวบา้ นไดอ้ าศยั เป็นแหลง่ อาหารมาเป็นเวลาช้านาน คลองเชงิ หมอระบายน้ำออกไปทางชุมชนคลองหา ทิศตะวนั ตกมที ุง่ นาสาร เป็นทล่ี ุ่มกวา้ งใหญ่ ชาวบ้านใชเ้ ป็นทีท่ ำนาขา้ ว เพราะดินอดุ มสมบูรณ์ ขา้ วจึงเจริญ งอกงาม เลยได้ชื่อว่า ทุง่ นาสาร มีลำคูเหมอื งใชร้ ะบายน้ำออกไปทค่ี ลองฉวางใกล้ ๆ กับสะพานโค้ง เป็นแหล่ง ท่ีมปี ลาชุกชุมมาก ตอ่ มาเทศบาลตำบลบา้ นนาสาร ไดร้ บั การยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองนาสาร อยภู่ ายใต้การ บริหารงานของนายกเทศมนตรี 23. ชุมชนทงุ่ คาเกรียนใหม่ ประวัติชุมชนท่งุ คาเกรียนใหม่ บ้านทงุ่ คาเกรียนไม่มใี ครทราบแนช่ ัดว่าตั้งขึ้นเมือ่ ครงั้ ใด แตเ่ ม่อื มาดูสภาพแวดล้อมถงึ แม่น้ำ ลำคลอง หนองนำ้ ภูเขา กส็ ามารถพิจารณาถึงที่มาทีไ่ ปใกล้เคยี งความจรงิ และมปี ระจักษห์ ลักฐานได้เปน็ อยา่ งดี บ้านทงุ่ คาเกรียนต้ังอย่บู นรมิ ฝง่ั คลองฉวางทางทศิ เหนือ ซ่งึ ชาวบ้านเรียกขานลำคลองน้วี ่า “คลองหวาง” ต้นนำ้ เกดิ จากภูเขาบรรทดั ซึ่งเปน็ ภูเขาสงู เป็นลำคลองไหลผ่านที่ราบลมุ่ บ้านเหมอื งทวด บ้านวังหิน บ้าน หมาก ในตำบลลำพนู ไหลผา่ น บา้ นทุง่ คาเกรยี น บ้านอ่มู าดในตำบลนาสาร และไหลผ่านน้ำพุ ท่าชี ไหลลงสู่ แม่น้ำตาปี จะเหน็ ไดว้ า่ หม่บู ้านตา่ ง ๆ ตงั้ อยรู่ ิมฝง่ั คลองเปน็ ส่วนมาก หมู่บ้านทงุ่ คาเกรียนเปน็ หม่บู ้านหน่ึงใน ตำบลนาสาร หมู่บา้ นนเ้ี ปน็ ทงุ่ โล่งอุดมไปด้วยหญ้าคา เหมาะสำหรบั การเล้ียงสัตว์ เชน่ ววั ควาย หมู่บ้าน ใกล้เคียงเม่อื หมดฤดทู ำนา ราษฎรไดน้ ำสัตว์เหล่านัน้ มาเลี้ยง เพราะทงุ่ หญา้ แหง่ นม้ี หี นองนำ้ ใหญ่ ซง่ึ ต้ังอยูเ่ ชงิ ภูเขาสามยอด เรียกวา่ “หนองน้ำนาพัง” หนองน้ำน้นี อกจากใชเ้ ลย้ี งสัตว์แล้วยังอุดมสมบูรณ์ไปด้วยปล า นานาชนดิ ในชว่ งแรกได้นำสัตวม์ าเลีย้ ง เมอ่ื เห็นวา่ ที่ดนิ ในทงุ่ นอี้ ดุ มสมบูรณ์กค็ อ่ ย ๆ อพยพมาตั้งถิ่นฐาน บ้านเรือนมากขน้ึ หมบู่ ้านทงุ่ คาเกรียนมีผใู้ หญ่บ้านคนแรก คอื นายคลา้ ย เพชรเมือง ตอ่ มาบา้ นเมืองเจริญขึ้น ทางราชการไดย้ กฐานะตำบลนาสารข้ึนเป็นเทศบาลตำบลนาสาร และหมู่บา้ นต่าง ๆ ในตำบลนย้ี กฐานะเป็น ชมุ ชน ชมุ ชนบ้านทุ่งคาเกรยี นมถี นนจากนาสารผ่านเข้าชุมชนเป็น ๒ สาย สายแรกเรยี กวา่ ถนนเหมืองทวด แยกไปในลำพนู ไปเหมอื งแรบ่ ้านกอบแกบ เหมืองทวด สายท่ี ๒ เรยี กวา่ ถนนขุนทองหลาง แยกไปเหมือง

วิวาทและเหมืองขนุ ทองหลาง มีโรงเรยี น ๒ แหง่ คอื โรงเรยี นบา้ นนาสาร เปดิ สอนต้ังแต่ชั้นมัธยมศึกษา ปีท่ี ๑ – ๖ และโรงเรียนเทศบาล ๔ ( บ้านทงุ่ คาเกรียน ) เปดิ สอนต้ังแตอ่ นบุ าล ๑ – ประถมศึกษาปที ่ี ๖ และ ตอ่ มาราษฎรเหน็ วา่ ชุมชนบ้านทุง่ คาเกรียนเป็นชุมชนใหญม่ าก บริการไมท่ ัว่ ถึง จงึ ไดแ้ ยกออกเป็น ๒ ชุมชน เรียกวา่ ชมุ ชนบา้ นทุ่งคาเกรียนใหม่ ไปทางถนนขุนทองหลาง 24. ชมุ ชนวงั หลอ้ ประวัติชมุ ชนวงั หลอ้ พ้นื ที่ในสมัยโบราณ มีคำบอกเลา่ ต่อกันมาวา่ ณ บรเิ วณลำคลองฉวาง ถดั ลงมาจากวัดสวา่ งประชารมย์ มาตามสายน้ำประมาณ ๔๐๐ เมตร ซง่ึ อยทู่ างทศิ ใต้ของชุมชนวังหลอ้ ในปจั จบุ นั มแี อง่ น้ำขนาดใหญ่ รัศมี ประมาณ ๒๐๐ เมตร มคี วามลกึ เป็นอย่างมาก ขนาดท่วมหลงั ช้าง ชาวบา้ นเรียกแอง่ น้ำลกึ นีว้ ่า “วงั ” และ บรเิ วณรมิ ตลง่ิ ของแอ่งน้ำนนั้ มีต้นหลอ้ ข้ึนอย่เู ปน็ จำนวนมาก ชาวบ้านจึงเรียกบริเวณนั้นว่า วังหลอ้ และต่อมา ได้ใช้เปน็ ชอื่ เรียกชมุ ชนวงั หลอ้ จนถึงปัจจบุ นั 25. ชุมชนหม่บู า้ นมนั่ คง ประวตั ชิ มุ ชนหมู่บ้านมนั่ คง เดือน สิงหาคม 2547 ผู้นำชมุ ชน นกั พัฒนาชุมชนเทศบาลเมอื งนาสาร ไดว้ างแผนออกสำรวจประชาชนผูม้ ปี ญั หาดา้ นที่อยู่อาศัย เดือน กันยายน 2548 ผนู้ ำชุมชน นกั พัฒนาชมุ ชนเทศบาลเมอื งนาสาร ได้ทำการออกสำรวจกลุม่ เปา้ หมายท่มี คี วามป ระสง ค์ จะขอเข้าร่วมโครงการ เพ่ือให้เทศบาลเมืองนาสาร แก้ปญั หาความเดือดร้อนใหต้ ามสภาพความเดือ ดร้อ น ของประชาชนในพน้ื ที่ตามทไ่ี ดส้ ำรวจมาในเบื้องต้น โดยท้ังนี้มผี ปู้ ระสงค์ขอเข้าร่วมแกป้ ัญหาในโครงการรวม ทั้งสน้ิ จำนวน 474 ครวั เรือน โดยแยกออกได้เปน็ ประเภทของปญั หาดังตอ่ ไปนี้ 1. ประเภทซอ่ มแซมบา้ น 177 ครัวเรือน 2. ประเภทสร้างบา้ นใหมใ่ นที่ดินเดมิ 91 ครวั เรอื น 3. ประเภทสร้างบ้านใหม่ในทีด่ นิ ใหม่ 206 ครวั เรือน รวมทง้ั สิ้น 474 ครัวเรอื น เดอื น พฤศจิกายน 2548 กล่มุ ประชาชนทม่ี ีปัญหาด้านทอ่ี ยู่อาศยั และมคี วามประสงค์ขอเข้ารว่ มโครงการ ไดร้ วมตัวกันจัดกลุ่ม ตา่ ง ๆ ตามประเภทของปญั หาในชุมชน โดยไดจ้ ดั ตง้ั กลุ่มในรปู แบบของกลุม่ สหกรณ์ตามคว ามส ามารถ ของวงเงนิ ออม โดยดำเนนิ การแบ่งกลุ่มออกเปน็ โซนได้ 4 โซน โดยไดก้ ำหนดให้มชี ุมชนอยู่ภายในโซนแตล่ ะ โซนเท่า ๆ กัน 1 มถิ นุ ายน 2549 ได้ดำเนินการขอจดทะเบยี นเปน็ สหกรณ์ ฯ ในรูปแบบของสหกรณ์ฯ ประเภทสหกรณบ์ ริการ โดยใช้ชอ่ื ใน การจดั ต้ังสหกรณ์ ฯ “สหกรณเ์ คหสถานบรกิ ารบ้านม่นั คงเมืองนาสาร จำกดั ” 6 มิถนุ ายน 2559 ประกาศจดั ต้งั เป็นชุมชนใหม่ เปน็ ชมุ ชนท่ี 25

โครงสร้างของชุมชน ด้านการปกครอง เทศบาลเมอื งนาสาร ครอบคลมุ พ้นื ทตี่ ำบลนาสารทั้งหมด เมื่อตำบลนาสารได้ยกฐานะเปน็ เขตเทศบาล ตำบลซ่งึ เปน็ เทศบาลตำบลแหง่ แรกในจงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี เม่อื พ.ศ. ๒๔๘๓ ไดผ้ นวกเอาตำบลพรุพีและตำบล ทา่ ช้ีในขณะนนั้ เปน็ เขตเทศบาลตำบลนาสารดว้ ย นบั ว่าเป็นพืน้ ทีใ่ นเขตเทศบาลต ำบลที่กว้างข วางมาก ในประเทศไทย เกนิ กำลังท่ีจะปกครองดูแลพัฒนาใหเ้ จริญได้ท่วั ถึง จึงไดท้ ำเร่ืองราวขอแกไ้ ขให้เหลือเพียง ตำบลนาสารเพียงตำบลเดยี ว ก่อนปี พ.ศ. ๒๔๗๒ ตำบลนาสารมีท่ที ำการกำนันอยทู่ ีบ่ า้ นพรุพี มีกำนนั ช่อื ขุนนาสารสาธร (กลิน่ หนูศรี แก้ว) ตอ่ มาเมือ่ ขุนนาสารสาธรเสยี ชีวติ นายเฟ่ือง หนศู รีแก้ว เป็นกำนันตำบลพรุพี ในเวลาต่อมา ในส่วน ตำบลนาสาร มีนายพลับ โพธเิ์ พชร เปน็ กำนันตำบลนาสาร มนี ายเบยี ด บญุ ษร เป็นผ้ใู หญ่บา้ นตำบลนาสาร เป็นคนสุดท้าย การประกาศพระราชกฤษฎีกายกฐานะตำบลนาสารข้ึนเป็นเทศบาลตำบลนาสาร เขตเทศบาลนาสาร รวมถึงบ้านพรุพี บ้านท่าชี ซึ่งเป็นเขตปกครองที่กวา้ งขวาง จึงมีการขอแก้ไขเขตเทศบาลตำบลนาสาร ไม่รวมบ้านพรพุ ี บา้ นท่าซี จึงมีประกาศพระราชกฤษฎกี ายกฐานะตำบลนาสารเป็นเทศบาลต ำบล นาส าร ถึงสองฉบบั ดา้ นประชากร จำนวนประชากรในเขตเทศบาลเมืองนาสาร มีจำนวนประชากรท้ังส้นิ 19,447 คน แยกเป็นชาย 9,505 คน หญงิ 9,942 คน จำนวนครวั เรือน 7,589 ครวั เรอื น ดา้ นการศกึ ษา ประชากรในเขตเทศบาลเมอื งนาสาร เปน็ ประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองซึ่งเปน็ ศูนยก์ ลางการศกึ ษา 1. สถานศกึ ษาสังกดั สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 11 ไดแ้ ก่ - โรงเรียนบ้านนาสาร 2. สถานศึกษาสงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาสรุ าษฎรธ์ านี เขต 3 ได้แก่ - โรงเรียนนาสาร 3. สถานศึกษาสงั กดั การศึกษาเอกชน ได้แก่ - โรงเรียนจงฮวั้ - โรงเรยี นพุทธยาศรม - โรงเรียนอนุบาลนวพร ๔. สถานศึกษาสงั กดั เทศบาลเมืองนาสาร ได้แก่ - โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ห้วยมุด) - โรเรียนเทศบาล ๒ (อูม่ าด) - โรงเรยี นเทศบาล ๓ (คลองหา) - โรงเรยี นเทศบาล ๔ (ทุ่งคาเกรยี น) - โรงเรยี นเทศบาล ๕ วสนุ ธราภวิ ตั ก์ - วิทยาลัยอาชวี ศึกษาเทศบาลเมืองนาสาร

ดา้ นศาสนา ประชากรในเทศบาลเมืองนาสารส่วนใหญ่ 99.0 % นับถือศาสนาพุทธ นอกเหนือจากนั้นนบั ถือศาสนา อสิ ลาม ครสิ ต์ และศาสนาอ่ืนรวมกนั ประมาณ 1.0 % มีวดั 4 แห่ง สำนกั สงฆ์ 2 แหง่ โบสถ์คริสต์ 2 แห่ง ประชาชนยังยึดม่นั ในวฒั นธรรมประเพณีทางศาสนา เช่น ประเพณสี งกรานต์ เทศกาลขนึ้ ปใี หม่ วันสำคญั ทาง ศาสนาต่าง ๆ เปน็ ตน้ โครงสรา้ งด้านเศรษฐกจิ และอาชพี เศรษฐกิจ ในอดตี อำเภอบ้านนาสารมีพ้นื ที่มาก มีความอดุ มสมบรู ณ์ ตามสภาพภูมศิ าสตร์ ก่อนมีการแบ่งแยก การปกครองเป็นก่ิงอำเภอหลังปี พ.ศ. ๒๕๑๐ ตลาดนา สารมคี วามเจรญิ ด้านเศรษฐกิจสงั คมวัฒนธ รรมมีก าร ทำเหมืองแร่มาก่อนปี ร.ศ. ๑๑๒ การทำป่าไม้ สวน ยางพารา ในตลาดนาสาร ทีย่ า่ นธรุ กิจมรี ้านค้า โรงแรม ร้านภตั ตาคาร โรงยาฝ่ิน ร้านโกป้ี โรงหนงั โรงงานและโรงงานผลติ น้ำอดั ลม ขนม แปรรูป ร้านขายเครือ่ งสีข้าว การทำเหมืองแร่ดีบุกยุคแรกก่อน ร.ศ. ๑๑๘ ข ณ ะ นั ้ นบ ้ านนาส ารย ั ง เ ป็ นอำเ ภ อลำพ ู นขึ ้ นก ับ การ ปกครองมณฑลนครศรีธรรมราช ปีพ.ศ. ๒๔๖๗ นายฮอ่ ม่งุ หล่องจีนแคะชาวมาเลเซยี มาทำเหมืองหลุม ที่เหมืองแกะและรับเหมาทำทางรถไฟ ตำบลนาสาร นายเคหวอ่ งและนายตันวันไหล ทำเหมืองหลุมท่ี บ้านขุนทองหลางและบ้านเหมอื งทวดตำบลนาสารและบา้ นเหมืองแกะ

1. นายตนั วันไหล มาจากอโิ ปจังหวดั ปนี ังมาทำเหมอื งหลุมยคุ ท่ี ๒ ในตำบลนาสาร 2. นายตนั เกงชนั บตุ รชายนายตนั วันทำเหมืองฉดี ในนาสารยุคสุดท้าย 3. นางก้ยุ เฮียน พ่ีสาวนายฮอ่ สิ่งหล่อ ชาวปีนังมาทำเหมอื งแรห่ ลมุ ยุคแรกและรบั เหมากอ่ สรา้ งทางรถไฟ สายใต้ 4. เอกสารขอใบแทนสัมปทานบัตรของนายเค หว่อง 5. “โรงสูง อาคารไมส้ ไตลช์ ิโน – โปรตกุ ีส แบบท้องถนิ่ นยิ มทชี่ าวนาสารเรยี กว่า โรงสงู ” สร้างโดย นายฮอ่ มุ่งหล่อง กอ่ นปี พ.ศ. ๒๕๕๔

การทำเหมืองยคุ แรก การทำเหมอื งแร่ คอื การทำเหมือง ในแหล่งท่ีอย่บู นเนนิ ควน หรอื ไหล่เขา โดยใช้แรงงานคนหรือระเบิดพัง ดิน ทรายปนแรจ่ ากหนา้ เหมืองแลว้ ปล่อยให้ ดินทรายปนเนอ้ื แรล่ งรางกู้แรเ่ หมอื งเจาะ งัน เป็นวิธีทำเหมืองในที่ทางแร่โดยใช้ แรงงานคน ระเบิด ขุด เปิดเปน็ รอ่ งหรือ อุโมงค์เขา้ ไปในภเู ขา เพอ่ื ตามสายแร่ใน แนวดิ่งและแนวขนาน แลว้ นำหนิ ปนแร่ จากสายแร่ขน้ึ มาทุบยอ่ ย แล้วลา้ งเลือก เอาแต่กอ้ นแรท่ ีม่ ีปรมิ าณสูงหรือ นำเข้า เครื่องแต่งแร่ มีการทำเหมืองแร่แบบ หลมุ เจาะงนั ทเี่ หมืองขุนทองหลางเหมือง แกะในยคุ แรก

การทำเหมืองยคุ แรกก่อนญ่ีป่นุ เกิดข้นึ ทีบ่ ้านเหมอื งทวด ใช้วิธเี ดิน ถา้ มีของต้องใชเ้ กวียนหรือน่ังช้างจาก ตลาดนาสารไดเ้ ฉพาะเดือน ๔ เดอื น ๕ เท่าน้นั การทำเหมืองหลุมท่ีบ้านขนุ ทองหลางต้องเดินข้ามเขามา หรือ เดนิ ทางจากตลาดนาสารเพอ่ื ไปเหมืองขุนทองหลางไปรถไฟลงสถานีพรุพี \"การทำเหมอื งหลมุ ยคุ แรกทบ่ี ้านเหมืองทวดและบ้านขุนทองหลาง ก่อนญ่ปี ุน่ ข้ึนใช้วธิ ีเดินเท้าถ้ามีของ อปุ กรณต์ ้องใชเ้ กวียนหรอื น่ังช้าง ซ่ึงมีชา้ งของแพทย์สายพ่อของน้าแผ้ว เจา้ หน้าทีป่ า่ ไม้หลายเชือกรับจา้ งจาก เหมอื งทวดมาเหมืองขุนทองหลาง เดนิ ข้ามเขามาทางปละตก หรือจากตลาดนาสารถา้ มสี งิ่ ของและหลายคนไป โดยรถไฟลงสถานีพรพุ ีเดนิ ขึน้ ทางปละออกไปทางเหมืองขนุ ทองหลางสะดวก นายตันเกงซนั ไดน้ ำรถจักรยานมาจากอโิ ป จังหวัดปนี ัง มาใช้เปน็ คนั แรกออกจากตลาดในหวั เช้าพร้อมปืน ลกู ซองเปน็ ประจำกลับมาบ้านมืดค่ำทุกวัน ถ้าวันไหนมเี สือดำมาขวางทางก็ไม่ไปบ้านทงุ่ คาเกรียนจะเป็นป่ามี เสอื ดำชุกชมุ ” หลังสงครามญีป่ ุน่ แพ้ คนญี่ปุ่นทมี่ าทำเหมืองแรบ่ า้ นกอบแกบถูกสง่ ตัวกลบั เมืองไดข้ ายรถยนต์ให้นายตัน เกงซัน ไดใ้ ชข้ นสมั ภาระไปเหมอื งทวด จนเลิกการทำเหมอื งเหมอื งทวดตอ่ มาเปน็ พน้ื ทที่ ำเหมืองแร่ของ บรษิ ัท ฟลู ไิ ก จำกดั ไดม้ าทำเหมอื งฉดี ท่ีเหมืองขนุ ทองหลาง ตงั้ แตย่ ุคกลางจนยุคสดุ ท้ายกอ่ นปี พ.ศ. ๒๕๒๘ ไดห้ ยุด ทำเหมอื งแร่ เพราะแรด่ ีบุกไมม่ ีราคา

การทำเหมอื งแร่และการคา้ ในนาสารหลังปพี .ศ. 2560 การทำเหมืองแร่ยุคแรก ๆ ในนาสารคอื การทำเหมือง หลุม โดยมีชาวจีนแคะย้ายภูมิลำเนามาจากรัฐเคดะ ประเทศมาเลเซยี เขา้ มาทำเหมอื งแร่ในพ้ืนที่เหมืองทวด เหมืองวิวาท เหมอื งขนุ ทองหลาง เหมอื งหินถาก เหมืองหว้ ย จงปะ เหมอื งสามศพ เหมืองแกะ ก ารท ำเ ห ม ื อง ในแ หล่ งล านแร่ และ แร่ ใ นแหล่ งแร่ จบ เปลือกดนิ ใช้วธิ พี ังหน้าดินและลา้ งแร่ตอ้ งใชน้ ำ้ จำนวนมาก เช่น การทำแร่เรือขดุ โดยใช้เครื่องจกั รและของ แร่ป นดิน ทราย โดยใชเ้ ครือ่ งตัก แลว้ นำแร่ในดนิ ทรายไปเข้าเครอื่ งกู้แร่ ของบรษิ ทั ไซมีสตนิ เซนตเิ กรด จำกดั ที่บ้านห้วยมุดปัจจบุ นั ไม่มแี ลว้ การทำเหมืองฉดี ด้วยการเปดิ หนา้ ดินหรือ พังห น้าดิน โดยใช้เครื่องจักรฟงั หนา้ ดนิ ด้วยการใช้แรงเช่นเดียวกับ เหมืองสบู แล้วใช้เคร่ืองดดู นำ้ ดนิ ทรายแร่เขา้ ส่รู างกูแ้ ร่แล้ว แปรเป็นเนอ้ื แร่ดบี ุกบรสิ ุทธ์ิ เช่น การทำแรย่ คุ ปลาย ของ บริษทั เหมืองแร่สรุ าษฎร์ธานี ทำแรท่ ี่บ้านเหมอื งแกะ เฉยี งพรา้ เหมืองทวด ฯลฯ

การทำธรุ กิจในตลาดนาสารหลงั ปี พ.ศ. 2588 ภาพหมอเขียว พนู ศิริ หมอชู ศริ ิรกั ษ์ โรงหมอ หมอเขยี ว พูนศริ ิ ย้ายมาจากจงั หวัดราชบรุ ีตั้งอยู่ทถี่ นนนาสารในอดีตทา่ นเปน็ หมอทหารเสนารักษ์ เปดิ โรงหมอรักษาโรคท่ัวไปในตลาดนาสารยคุ แรก ๆ ก่อนหมอกอบกลุ และหมอสวัสด์ิ ศรีสกลุ เมฆ โรงหมอชู ศิริรักษ์ หมอแผนไทยทา่ นยา้ ยครอบครวั มาจากอำเภอพุนพินกอ่ นปี พ.ศ. ๒๔๘๒ ต้งั อย่ถู นนวเิ วก รกั ษาโรคเกย่ี วกบั เดก็ กวาดซางคอ กวาดตาลปากและยาต้มสมนุ ไพรทุกชนดิ จนปัจจุบนั รา้ นเครือ่ งยาจนี “ ชุนแซตึง” เป็นของนายว่องฉุน่ แซห่ วอ่ ง เปน็ ชาวจนี แคะภูมลิ ำเนาเดิมมาจากจงั หวัดปีนัง ประเทศมาเลเซีย มาอยตู่ ลาดนาสารประมาณปี พ.ศ. ๒๔๘๖ ต้ังร้านอยู่ถนนนาสารในขายยาสำเร็จรูปทกุ ชนิด มีสมุนไพรไทย-จีน มียาทนั ใจ ยาปะสะนอแรด ยาสตรีนิสงิ เหและสมุนไพรตามสั่งทุกชนดิ เปน็ โอกาสทผ่ี ้ปู ่วย ท่ีมารกั ษาร้านหมอเขียวแลว้ รา้ นปิดกจ็ ะมาใช้บริการท่ีรา้ นขุนแซตงึ เพราะรา้ นอยเู่ ยอ้ื งกัน ร้านค้า เจียเล่ยี งกี่ เปน็ รา้ นคา้ ทันสมยั ย้ายภมู ิลำเนามาจากทานพอจังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. ๒๕๕๔ จำหน่ายเส้ือยดื ตราห่าน กางเกงแพรขายาว อปุ กรณต์ ัดไม้ เครอื่ งก่อสร้าง พ.ศ. ๒๕๕๐๒ ย้ายจากถนน นาสาร ออกไปสร้างอาคารไม้ ๒ ข้ัน อยู่ถนนวเิ วกเปน็ รา้ นคา้ ปลีก สง่ อาหารสัตวใ์ นปจั จบุ นั ร้านโกวเล่งกี่ เป็นรา้ นขายตะเกยี งเจ้าพายุ อปุ กรณ์ตาช่ัง เคร่ืองไหว้ เครอ่ื งปรุงอาหารจีนเท ศและเป็น โรงงานผลติ นำ้ อดั ลม น้ำซาส่ี นำ้ เขยี วแดง โซดาจืด รา้ นตงั้ เมยี ก่ี เป็นเตยี่ ของถา้ แกท่ ่งหยู๋ (โกยาว) เปน็ รา้ นทำขนมหวาน งาดำ งาขาว จนั อบั ขนมเปี๊ยะทุกชนิด ร้านตั้งอยู่ถนนนาสารนอกข้างตรอก “ ร้านน้ำปลา” มีโรงงานแป้งมันอยู่สะพาน ๑ และทำการเกษตร นายท่งหยู๋ (โกยาว) คอื นายธำรง ช้ินดรนริ ตั น์ ชาวนาสารผทู้ รงคณุ วุฒทิ างการเกษตรและเป็นนักวิช าก าร ทอ้ งถน่ิ นาสาร ร้านโกปี้ “ กวงเม้ง” ตง้ั อยู่หลังสถานรี ถไฟตดิ กบั รา้ นขายจักรชิงเกอร์ของน้านิคม อึง้ มณี ลูกชายป้ากิมตั้ง ทเ่ี ปน็ ตัวแทนจำหน่ายจักรซิงเกอรใ์ หญใ่ นเขตอำเภอรอบนอก

รา้ นโกปี้ “ ซนิ ฮกง้วน” เปน็ รา้ นนายโกปี้ ทมี่ ลี กู ค้าประจำของนายอำเภอขา้ ราชการ นกั การเมอื งมากมาย แซล้งโอยวั ะ ใสก่ ระป๋องนมรอ้ ยหดู ว้ ยเชอื กกล้วย หน้ารา้ นทกุ เช้ามีจาโก้ยทอด โรตบี งั โหมด กลางคืนมีขนม หวาน ข้าวเหนียวหน้า ปา้ สมขายตง้ั รา้ นอยู่ใต้โรงแรมก๊วงเจา เปน็ ทน่ี ัดพบของผนู้ ำในนาสารทกุ คนในอดีต ร้านขา้ วมนั ไก่รา้ นแรกในนาสาร ตงั้ งว่ นฮ้งั ต้ังอยูถ่ นนนาสารนอก ข้างตรอกป้าหน่าว แมข่ องโกภู่เวียงวีระ เป็นของนายเหงียนฮี เซ่ียงฉนิ (แชต่ ้ัง) เกิดท่ีหมู่บ้านถา่ ยเหลยี งเชา่ มณฑลกวางตุง้ เมืองซวั เถา เดินทางมา ประเทศไทยตอนอายุ ๑๗ ปี มาอยู่ที่จังหวัดราชบุรี ทำไร่ยาสบู หลงั ปี พ.ศ. ๒๔๔๐ ย้ายมาอยู่พนุ พนิ ปีพ.ศ. ๒๔๙ ย้ายครอบครัวมาอยอู่ าศัยในอำเภอบา้ นนาสารอาศัยทด่ี ินของลุงสวสั ด์ิ เนียมสุวรรณ คุณพ่อ ของพ่ีประสพ เนยี มสุวรรณ ทด่ี ินหนา้ ถ้ำทราย ปลูกขงิ ผักทุกชนดิ เล้ยี งหมแู ละขายเต้าหทู้ อด เตา้ ฮวย เดือย หน้าวกิ หนัง หลัง ปพี .ศ. ๒๔๙๕ มาขายข้าวมันไกก่ ว๋ ยเตีย๋ ว บา้ นเลขท่ี ๕๘ ถนนนาสารนอก โรงแรมในตลาดนาสาร ธุรกิจในตลาดนาสารก่อนปี พ.ศ. ๒๔๙๖ นอกจากนายเหมืองมาคุมงานยังมีอาชีพที่ตอ้ งใชโ้ รงแรม เป็นท่ีพกั มหี นงั กลางแปลง นักพากษ์หนัง การทำธรุ กจิ ขายส่งสินค้า ท่ีต้องมีสนิ ค้าตัวอย่างเป็นห าบห รือ เปน็ กระเปา๋ ใบใหญบ่ รรจุสนิ ค้าตวั อย่างมานำเสนอหรอื กลุ่มคนทีม่ าตดิ ตอ่ ทำกิจกรรมในตลาดนาสาร ก่อนปี พ.ศ. ๒๔๙๖ มโี รงแรมกว๊ งเจา ตอ่ มามโี รงแรมปิก๊ ฮวด มาเป็นโรงแรมนิรั นดรใ์ นกลุ่มชินธเนศ โรงแรมศรีสงา่ ของนางทองม้วน ศรีสวสั ด์ิ ในปพี . ศ. ๒๕๑๔ โรงแรมคลิฟท่สี รา้ งด้วยงบประมาณท้องถ่ิน โดยเทศบาลตำบลนาสาร สมยั นายนกุ ูล เวยี งวีระ เป็นนายกเทศมนตรจี นถงึ ปจั จุบนั ขนมหวานป้าสม ก่อนพ. ศ. ๒๕00 ขนมหวานในตลาดนาสาร เช่น ขนมถั่วตัด ขนมจั นอับ ขาวแดง ขนมงาขาวงาดำ ขนมเปี๊ยะ มโี รงงานในตลาดนาสารผลิตส่งออกไปตา่ งตำบล คือ รา้ นหย่งู ว้ นจ่นั ตลาดนาสาร แต่ถา้ ขนมหวาน ข้าวเหนียวและขา้ วเหนยี วดำ ขา้ วเหนยี วเหลอื ง มขี ายในตลาดเช้า แตข่ นมหวานทุกชนดิ ตำรบั ภาคกลางต้อง ขนมหวานปา้ สม้ พ.ศ. ๒๔๔๔ นางสมศรี บุญมี นายสมัย บุญมยี า้ ยครอบครวั มาจากจังหวดั กาญจนบรุ ี พรอ้ ม ลูกสาวสองคนมาขายขนมหวาน นางสาวมลฑา บุญมี นางสาวมาลี บญุ มี เป็นแมค่ า้ ขนมหวานวยั ๑๖ ท่ีสวยทสี่ ดุ ในขณะนัน้ เรม่ิ เข็นขนม หวานทกุ ชนิดมาขายหวั มมุ รา้ นน้ำชา ชินฮกง๊วน ขายตง้ั แตห่ ัวคำ่ จนหนงั เลกิ มีลูกเถ้าแก่โรงเล่อื ย เถ้าแก่ใน

ตลาดนัน้ หมายปองจนไดแ้ ต่งงานกับโก้ ใชเ้ ลง้ ลกู ชายเจา้ ของร้านโกวเล่งก่ี โรงงานผลิตโซดานำ้ จืด น้ำเขียว น้ำแดง ร้านทองยคุ แรกในตลาดนาสาร นายเต็กหย่งุ แซจ่ ิ้ว นายเต็กหยุง่ แซ่จวิ้ เปน็ ชาวจนี ไหหลำ พ.ศ. ๒๕๕๑ ยา้ ยมาอยอู่ ำเภอบ้านนากับเพ่อื น จากประเทศจีนมา รับจา้ งทำสวน พ.ศ. ๒๔๘๔ ยา้ ยไปทำนาท่ีบา้ นเขาหลักอำเภอทงุ่ ใหญ่ ได้หัดทำเครอื่ งเงินเครือ่ งทองรปู พรรณ พ.ศ. ๒๕๔๓ ย้ายไปเปน็ ช่างทองที่จงั หวดั ตรังแล้วแต่งงานกับนางสาวสุเอ้ง ทองหวาน เปน็ ลกู สาวร้านขายยา และรับซอื้ ยางพาราในอำเภอกนั ตัง แล้วยา้ ยมาอำเภอบ้านนาสาร พ.ศ. ๒๔๙๕ เปิดรา้ นทองรูปพรรณและขาย ทองทต่ี ลาดนาสารทถี่ นนนาสารนอก ซ้อื ทองและจำหลอมมเี ทคนิคสกดั ทองจนได้คุณภาพทอง เน้ือบ ริสุทธิ์ พเิ ศษ เป็นที่นยิ มของลูกคา้ มากและเปิดร้านรบั จ้างเย็บเสอ้ื ผา้ เลีย้ งคอกหมูดว้ ยเจเ้ อง้ ภรรยา พ.ศ. ๒๕๐๕ เร่ิมทำงานเกษตรปลูกเงาะโรงเรียนนาสารแปลงแรก พ.ศ. ๒๕๐๖ ทำสวนยางพาราทีบ่ า้ นวังหนิ ตำบลลำพูน โกหนา้ ปาน ทีถ่ ูกเรยี กขานของชาวนาสารเป็นผทู้ ำธุรกิจทำทองทใ่ี ช้ความมุง่ มานะซื่อสตั ยแ์ ละมคี วามโอบ อ้อมอารีเป็นทีร่ ักและนับถอื จนเป็นภาพลักษณข์ องร้านทองหน้าปาน นายเต็กหยุง่ แซจ่ ้วิ เปน็ โกหน้าปานและ เป็นนายทวีชยั สขุ านนท์สวัสด์ิ ท่มี ชี ือ่ รา้ น “ ทองดศี ิลป์” คบู่ ้านนาสารจนถงึ ปจั จุบัน ยง่ กิม เจา้ ของตำนาน ไกท่ อด ปาท่องโก๋ ตำนานปาทอ่ งโก๋ เป็นขนมแปง้ น่งึ คลา้ ยขนมถว้ ยฟูเน้ือแป้งนม่ิ มรี สหวานมสี ีขาวสแี ดงใส่ถาดไมไ้ ผ่ คลุมผ้า ขาวสะอาดวางขายบนโต๊ะหน้าบ้านและเปน็ เจา้ ตำรบั ไก่ทอดนาสาร เน้ือบาง ชบุ แป้งทอดกรอบรสชาตมิ ันเผ็ด พอดี มีรสเครือ่ งเทศผสมอาหารจนี แคะ ตับด้วยไม้ไผ่ผกู เชือกกลว้ ย ทอดดว้ ยน้ำมนั รอ้ นจนเนื้อไกแ่ ห้งแป้งแดง กรอบ แยกชนิดและราคา มีหวั ไกต่ ดั ปากผ่าซกี พร้อมตนี เครอ่ื งในตบั หวั ใจ กระเพาะ ไส้ ขาไก่ รสชาติเดียวกบั ไก่ทอดสมิ เก้ียว ไก่ทอดบนสถานีรถไฟนาสาร ทีย่ า้ ยครอบครัวมาจากจังหวดั ตรงั มารับสิทธิ์ขายของบนรถไฟ เช่น ข้าวทงใบตอง ใบสปั ปะรด ชอ้ นกา้ น ไก่ทอดสมิ เกยี้ ว ก็เป็นอาหารรสเลศิ พเิ ศษของผโู้ ดยสารรถไฟและ การด์ รถทกุ ขบวน

สภาพทางเศรษฐกิจในปจั จบุ นั เทศบาลเมืองนาสาร มีพนื้ ท่สี ่วนใหญ่ทำการเกษตรปลูกพชื เศรษฐกิจที่สำคัญได้แก่ สวนไม้ผลต่าง ๆ เช่น เงาะ ทุเรียน มังคดุ ลองกอง เป็นต้น และผลไม้ทข่ี ึน้ ชือ่ ของนาสาร คือ \"เงาะโรงเรียน\" มีถิ่นกำเนิดอยูใ่ นบริเวณ โรงเรยี นนาสาร เนอื่ งจากเทศบาลเมืองนาสาร มลี ักษณะพื้นที่โดยท่ัวไปเป็นทร่ี าบล่มุ และทรี่ าบเชิงเขา พ้ืนดินมีความ อุดมสมบูรณ์ ประชากรสว่ นใหญ่มอี าชีพด้านเกษตรกรรม จึงตง้ั บา้ นเรือนกระจัดกระจายไปต ามที่ดินที่ตน ถอื ครองในเขตชุมชนต่าง ๆ ทง้ั 24 ชุมชน มีชุมชนทีป่ ระชากรอาศยั อยู่หนาแน่น คือ พ้ืนที่ในเขตเมือง ซ่งึ เปน็ ศูนย์กลางการคา้ ขาย ไดแ้ ก่บรเิ วณตลาดนาสาร บริเวณชมุ ชนห้วยมุด ชมุ ชนทงุ่ คาเกรียน และชุมชน หน้าสถานรี ถไฟ ดงั ทกี่ ล่าวแล้ววา่ พ้ืนที่เทศบาลเมืองนาสารตลอดจนวถิ ชี ีวติ ของประชากรเป็นลักษณะก่ึงเมืองกึ่งชนบท ดังนัน้ อาชพี ส่วนใหญข่ องประชากรจงึ แตกต่างจากที่อื่น ซึ่งสามารถแสดงให้เหน็ ดังนี้ 1. เกษตรกรรม 65.0 % 2. ค้าขาย 15.0 % 3. รบั ราชการ 10.0 % 4. รับจ้าง 5.0 % 5. อน่ื ๆ 5.0 % การเกษตรกรรม เทศบาลเมอื งนาสารมพี ื้นท่สี ่วนใหญท่ ำการเกษตรปลูกพชื เศรษฐกิจทสี่ ำคญั ได้แก่ ยางพารา และสวนผลไม้ มแี หลง่ น้ำทสี่ ำคญั ในการเพาะปลูกจากน้ำใต้ดิน และน้ำจากคลองฉวางซ่ึงมอี ย่ตู ลอดปี การพาณชิ ยกรรมและบรกิ าร เทศบาลเมืองนาสาร มีพื้นท่ีทีเ่ ปน็ เขตการพาณิชยเ์ พียงเล็กน้อย เฉพาะในเขตตลาดนาสารเท่านน้ั ประมาณ 280 ไร่ มีตลาดสด 2 แหง่ สำหรับประชาชนซ้ือขายสินคา้ อปุ โภคบรโิ ภคทวั่ ไป มีรา้ นค้าประมาณ 445 รา้ น มธี นาคาร 5 แหง่ ได้แกธ่ นาคารออมสนิ ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์ ธนาคารทหารไทย จำกดั (มหาชน) ธนาคารไทยพาณชิ ย์ จำกดั (มหาชน) และธนาคารกรงุ ไทย จำกดั มหาชน ) สถานธนานุบาล 1 แห่ง โรงฆา่ สัตว์ 1 แหง่ การอุตสาหกรรม เนื่องจากประชากรสว่ นใหญ่ของเทศบาลเมืองนาสาร ประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรม มีจำนวน โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่นอ้ ยราย เช่น โรงงานก่อสรา้ งเสาเขม็ คอนกรีตอดั แรง นอกนั้นเปน็ อุตสาหกรรม ขนาดยอ่ ยในครัวเรอื นไดแ้ ก่ การทำนำ้ ดมื่ บรรจุขวด ทำเสน้ ขนมจีน ซอ่ มรถยนต์ จกั รยานยนต์ เป็นต้น

ความเชือ่ ประเพณแี ละพิธกี รรม ชาวนาสารมีความเช่ือสืบทอดกนั มากอ่ นปพี .ศ. 2500 โดยมีความยึดมนั่ ความเชอ่ื น้ัน จะชว่ ยให้ปลอดภยั มีความสุขในชวี ติ เช่น ความเชือ่ เรอื่ งผสี างเทวดา ไสยศาสตร์ เชน่ ผเี จา้ ท่ี ผีเจ้าท่งุ ผเี จา้ ปา่ ผีแมซ่ ้อื หมายถึง ผีของทารกในชาตกิ อ่ น ติดตามลกู ของตนในชาติน้ี ชาวบา้ นสมัยก่อนมกั วติ กว่า ทารก แรกเกดิ อาจเสียชวี ิตในช่วง 3 วนั เนื่องจากผแี มซ่ อื้ จะนำลูกของตนกลับไป แตห่ าก 3 วนั ลว่ งแล้ว ทารกยังมี ชวี ติ แสดงวา่ ผแี มซ่ ้อื ปล่อยใหเ้ ป็นลูกของตนในชาตนิ ้ี มคี ำกลา่ วแต่โบราณว่า “สามวนั ลกู ผี สี่วันลูกคน” ผีครูหมอ หมายถึง ครผู ู้มีความชำราญในคาถาศิลปะวทิ ยาการ เม่ือตายไปแล้วลูกศิษย์ยังคงเคารพนับถอื จะเรียกวา่ ผคี รูหมอโนรา ผีครูหมอหนงั ลุง ผคี รูหมอรกั ษาโรค มีการบชู าตามเวลา หรือการบนบานศาลกล่าว ต่อครหู มอโนรา แกบ้ นด้วยเครือ่ งสังเวย และพิธแี ก้บนครูหมอจัดขนึ้ ทกุ ปใี นวนั จบปจี บเดอื น มีการรำ โนรา ถวาย เชญิ ครหู มอโนรามาประทบั ทรงซ่ึงเรียกวา่ “ลงคร”ู หรือโนราโรงครู ปัจจบุ ันยงั มที ีว่ ัดควนศรี ตำบลพรุพี วัดโฉลกศลิ าราม ตำบลนาสาร วดั กอบแกบ วัดปลายนำ้ อำเภอบ้านนาสาร ผตี ายาย หมายถงึ ผีบรรพบุรุษทช่ี าวนาสารโบราณใหค้ วามสำคญั แกเ่ ครอื ญาติฝ่ายแมม่ ากกว่าฝา่ ยพอ่ และ มักเช่ือวา่ ผีตายายคอยเฝา้ ดูแลลูกหลาน บางบา้ นมหี ้ิงตายายเอาไวบ้ ูชากราบไหว้ มีความเช่ือวา่ เมือ่ ถึงวันสารท หรอื เดอื นสบิ จะกลบั มาเยี่ยมมาพบลกู หลานประจำทกุ ปี ถอื เป็นงานบุญหมรบั – ส่งตายาย ประเพณีวันสารทเดือนสิบ วันรบั – ส่งตายาย เปน็ วันที่ชาวนาสารปฏบิ ัติมาตอ่ เน่ืองแตโ่ บราณ เพ่อื รวม เครอื ญาตทิ ำบุญระลกึ ถึงบรรพบุรุษทีเ่ ช่ือว่า “ตายาย” เป็นความเชอ่ื จากคติ ปพุ เปตพลี ในชว่ งวันแรม 1 ค่ำ เดอื น 10 เปน็ วนั รบั ตายาย ถึงวันแรม 15 คำ่ เดือน 10 จะเปน็ วันตัง้ ร้านเปรตส่งตายาย กอ่ นวนั ทำบญุ ส่งตา ยายจะมกี ารร่วมกันทำขนมเดอื น 10 เชน่ ขนมลา (แทนเสอ้ื ผ้า) ขนมข้าวพอง (แทนแพใหต้ ายายข้ามแมน่ ้ำ) ขนมกง (แทนเครอ่ื งประดบั ) ขนมสะบ้า (แทนลูกสะบา้ ไวเ้ ล่นวนั สงกรานต์) ขนมดซี ำ (แทนเงินเบยี้ ไวใ้ ช้จ่าย) ลกู หลานจัดเตรยี มอาหาร ขา้ วของเครือ่ งใชส้ ำหรบั ให้ตายาย โดยจดั ลงสำรับ ทีเ่ รียกว่า “หมรบั ” บางท่ีเรียกวา่ “จาด” จะมีการตั้งรา้ นเปรต โดยวางขนมนมเนยบนหลาเปรต หรอื ร้านเปรต เม่ือพระสงฆ์สวดบงั สุกุลเสร็จ เด็ก ๆ กส็ นุกกับการ “ชิงเปรต” หรือแย่งของบชู า ซ่ึงเมอื่ ได้มาแล้วถือว่าเสมือนได้พรจากตายาย หลงั ปพี .ศ. 2455 แผ่นดนิ นาสารมีชาวจีนอพยพเข้ามาอยู่อาศยั ทำธุรกจิ เหมืองแร่ และทำทางรถไฟ มี นายฮ่อ สุงหล่อง นายเต็งลี นายต้นวันไหล นายหวัง ซเ่ี จ้ิน นายหยบั เส็ง ชาติอาสา นายเต็งกี่ มาทำการเกษตร ปลูกขิง แซ่ แต่ต้ึง ชาวจีนแคะ กวางตุง้ ฮกเก้ียน ไหหลำ ตลาดนาสารมีวัฒนธรรมประเพณีของชาวจีน วัฒนธรรมการแตง่ งาน งานฉลองเทศกาล และประเพณี ประเพณีเทศกาลตรุษจีน ตรงกับวันท่ี 1 เดือน 7 ตามปฏทิ ินจีน หรือประมาณเดอื นกุมภาพนั ธ์ หรือต้น เดือนมนี าคมของไทย ก่อนวันตรุษจีนมีการทำความสะอาดบา้ นเรือน ร้านค้า ท่ีอยู่อาศยั วนั สำคญั คือ วนั ไหว้ เซ่นไหวเ้ ทพเจ้า เจ้าท่ี และวิญญาณบรรพบรุ ุษ ชว่ งบ่ายของวันไหว้เปน็ การเลีย้ งฉลองสังสรรค์ระหวา่ งญาตมิ ติ ร มกี ารแจกองั่ เปาเป็นซองแดงบรรจธุ นบตั ร รงุ่ ขึ้นเปน็ วันทอ่ งเที่ยวพกั ผอ่ น ประเพณีเช็งเมง้ เปน็ เทศกาลเซ่นไหวด้ วงวิญญาณบรรพบุรษุ ทีห่ ลมุ ฝงั ศพ มีการทำความสะอาดฮวงซุ้ย ตกแต่งใหส้ วยงาม ตรงกับวนั ท่ี 5 เดอื น 3 ตามปฏิทนิ จนี หรอื ตรงกบั วันที่ 5 เดอื นเมษายนของทุกปี ประเพณี เช็งเมง้ เป็นการแสดงถงึ ความกตัญญรู ะลกึ ถงึ พระคุณบรรพบุรษุ นอกจากนช้ี าวจนี ในนาสารยังมีประเพณสี ารท จนี ประเพณีไหว้พระจนั ทร์

สถานทส่ี ำคัญ ถ้ำเหม็น(ถ้ำขมนิ้ ) ต้ังอย่ใู นเขตอทุ ยานแหง่ ชาติใตร้ ่มเย็น ใน เขตอำเภอบา้ นนาสาร จงั หวดั สรุ าษฏรธ์ านี อยู่ ในเขตเทศบาลนาสาร เปน็ ถ้ำหนิ ปูนทีม่ ีขนาด กว้างใหญ่มาก มีหินงอกหินย้อยที่มีความ สวยงามและเป็นที่อยอู่ าศัยของคา้ งคาวจำนวน มาก ภายในถ้ำจัดให้มีเส้นทางการศึกษา ธรรมชาติ ระยะทาง 1250 เมตร ห่างจาก ตลาดนาสารไปทางถนนสาย 4009 นาสาร – บา้ นดอน ประมาณ 3 กิโลเมตร ถ้ำเหม็นเป็นชื่อทีป่ ระชาชนในท้องถิ่น คลองหา – นาเตรยี ะ เรียกขานมาแต่โบราณ ดว้ ยเปน็ สถานทเี่ กย่ี วพันกับวิถีชีวิตท างด้าน เศรษฐกิจและศาสนา ก่อนปีพ.ศ. 2500 ถ้ำเหมน็ เปน็ แหล่งผลิตปุย๋ ธรรมชาตดิ ้วยเป็นทอี่ าศัยของค้าง คาว “ขคี้ ้างคาว” จงึ เปน็ วัสดุทางการเกษตร การปลูกพชื เกษตรทั้งยนื ต้นและพืชล้มลกุ ที่มีปลกู โดยท่วั ไป จงึ ทำให้ นาสารเปน็ แหล่งผลติ ขิงสง่ ออกไปขายในท้องถ่ินรอบนอก โดยการบรรจุเขง่ ไมไ้ ผ่สง่ ทางรถไฟ สู่หาดใหญ่ นครศรธี รรมราช ตรงั ชมุ พร ถำ้ เหม็นเคยเป็นแหล่งเศรษฐกิจอันสำคญั ท้ังในสว่ นแรงงานในท้องถิ่นและการทำธุรกิจขี้ค้างค าว ซ่ึงมี จำนวนมากภายในถ้ำ นอกจากจะซื้อขายใช้ในตำบลนาสารแลว้ การทำเกษตรในเขตภาคใตค้ ือการปลูกข้าว ในเขตอำเภอไชยา มะลวน หัวไทร รอ่ นพบิ ูลย์ ปากพนัง พทั ลุงและจากอำเภอภาคใต้ตอนบ นจนภ าค ใต้ ตอนล่าง กอ่ นปีพ.ศ. 2517 นายเรียง เกาไสยานนท์ และนายเหือม ชใู จ ไดท้ ำการส่งออกขคี้ า้ งคาวจากถ้ำ เหม็น โดยใชแ้ รงงานในทอ้ งถนิ่ นับสบิ ชีวติ บรรจกุ ระสอบกก ขนด้วยเกวียนไปสง่ สถานีรถไฟ หลงั ปี 2517 มีการแยกชน้ิ ส่วนรถจิ๊บเล็กนำขน้ึ ไปบนถ้ำเพือ่ บรรทกุ ข้ีคา้ งคาวจากถำ้ ดา้ นในออกสปู่ ากถ้ำ แทนการแบกหามโดยแรงงาน ถ้ำเหม็น จงึ เป็นแหลง่ ผลติ ปุ๋ยธรรมชาติที่ผูกพัน กับวถิ ชี วี ติ ของชาวนาสาร เป็นการอยู่ รว่ มกันดว้ ยภมู ปิ ญั ญาและธรรมชาติ ถำ้ เหม็นถกู เปลีย่ นช่ือเป็นถ้ำขมิ้น ใชเ้ รียกชือ่ เป็นทางการทเ่ี ผยแพรอ่ ย่าง แพร่หลาย เป็นสถานที่ท่องเท่ยี วท่ี สำคัญของอำเภอบ้านนาสาร จงั หวัด สรุ าษฎร์ธานี

คลองฉวาง คลองฉวางมตี น้ กำเนิดมาจากเขาหนองไหลผ่าน 4 ตำบล ผ่านตำบล เพม่ิ พนู ทรพั ย์ เขตเทศบาลเมือง นาสาร ไปทางทิศตะวนั ตกสู่ตำบลนำ้ พุ ไปออกสู่แมน่ ำ้ ตาปที ่บี ้านปากหวาน ตำบลท่าชี ความยาวประมาณ 50 กโิ ลเมตร คลองฉวางในอดตี เคยเป็นเสน้ ทางคมนาคม และการเดินทางของหลวงสิทธิปลัดเมอื งนครศรีธ รรมราช ท่ีตั้งตวั เป็นเจ้าไม่ยอมขนึ้ ดว้ ยกรงุ ธนบรุ ี กรงุ ธนบรุ ไี ด้ให้หลวงศักด์ิเปน็ แมท่ ัพยกกำลังมาปราบ กรุงธนบุรียกทพั ข้ามแม่น้ำตาปีท่บี า้ นท่าขา้ ม นายหลวงสทิ ธิปลัดเมอื งนครศรีธรรมราชมาตง้ั ทัพรบั ทบ่ี ้านท่าหมาก นาสาร การ มาครงั้ แรกกรงุ ธนบุรตี อ้ งถอยทพั ไปรวมกบั เมอื งไชยา แลว้ กลบั มาทำการรบท่ีบ้านท่าข้าม จนปลัดเมือง นครศรีธรรมราช ต้องถอยทัพกลบั อกี หลกั ฐานทางประวัติศาสตรท์ เี่ ชือ่ ได้วา่ คลองฉวางกับความสำคัญของกา รเป็ น เส้นทางคมนาคมมาแตโ่ บราณ เมื่อคร้ังเป็น แขวงอำเภอลำพนู ทีอ่ ย่ใู นการปกค รองของ เมืองนครศรีธรรมราช กรุงธนบุรีให้พระยา จักรี (แขก) เป็นแม่ทัพใหญ่คุมกำลังพล 5,000 ย ก มาต ีเมือง นค รศรีธ รร มราช กองทัพยกลงมาถงึ แมน่ ้ำหลวง (แมน่ ำ้ ตาปี) มาถงึ บ้านทา่ หมาก แขวงอำเภอลำพนู แดน เมืองนครศรธี รรมราช มีกำลังข้าศึกตง้ั ค่ายสกัด กองทัพกรุงธนบรุ พี ่ายแกข่ า้ ศกึ พระยาศรพี พิ ฒั นแ์ ละพระยา เพชรบรุ ตี ายในทีร่ บ คลองฉวางในชื่อเรียกภาษาทอ้ งถิน่ ทเี่ รยี กวา่ “คลองหวาง” มีสองนัยยะอนั สำคญั ทีม่ ีส่วนสมั พันธ์กับวิถี ชวี ิตคนในทอ้ งถ่ิน ประการแรกการเรียกชื่อคลองหวาง จากวถิ ชี ีวติ โบราณกอ่ นมีการคมนาคมที่เปน็ ถนน คือ การสญั จรเพ่อื การติดต่อกับสว่ นราชการหรอื การคา้ ขายของประชาชนที่มาจากตำบลทุ่งเตา บา้ นเฉียงพร้า หรอื เขตหมบู่ ้านใกลเ้ คียงจะตอ้ งออกจากบา้ นมาในเวลาคำ่ คืน เมื่อมาถงึ คลองหวางตามภาษาท้องถิ่นทแ่ี ปลวา่ สวา่ ง หรือรงุ่ เชา้ ท่มี ีรอ่ งรอยก่อน พ.ศ. 2435 คอื รอยเหยยี นใตบ้ ริเวณหวั สะพานวัดนาสาร

วัดอภยั เขตตาราม (วดั ใหม่) สร้างขน้ึ โดยพระครูอภยั เขตนคิ มเจา้ อาวาสวดั บา้ นส้อง เม่ือปี ๒๔๘๒ โดยมีพระมหาบญุ มเี ปน็ เจา้ อาวาสองค์แ รก จนถึงปี ๒๔๙๖ อาจารยพ์ นั ธ์ พระครูพศิ าลคุณาภรณ์ ฉายา สุจิณโณ เปน็ เจ้าอาวาสจนถงึ ปัจจุบัน ท่ตี ั้งวดั ใหม่เดิมเป็น ที่ดนิ ของ นางซว้ น เสียงสุวรรณ ตง้ั อย่ฝู ั่งตะวนั ตกริมทาง รถไฟ มีพนื้ ทป่ี ระมาณ ๑๐ ไร่ โรงพระจีน หัวเฉยี วฉือสา้ นเสื้อ ก่อนสงครามโลกครง้ั ท่ี ๒ กอ่ นปพี .ศ. ๒๔๔๐ มีการสรา้ งทางรถไฟสายใต้ ไดม้ ีหวั หนา้ จับกังทม่ี าควบคุม การก่อสร้างได้ตงั้ ศาลบชู าเจ้าที่ ตามความเช่อื บรเิ วณริมคลองฉวางหวั สะพานโค้งฝั่งทิศเหนือจนเป็นศาลเจ้าที่ ชาวจนี ในตลาดนาสารเคารพบูชามาแตโ่ บราณ จนปพี .ศ. ๒๕๐๕ เกดิ อุทกภยั และวาตภยั ในภาคใต้ ชาวจนี โดย คณะกรรมการได้ก่อสร้างศาลเจ้า “หัวเฉยี วฉือส้านเสื้อ” ในที่ดินบริเวณสี่แยกถนนนาสาร – บ้านดอน ในกโิ ลเมตรที่ 1 ถนนสาย ๔๐๐๙ ในทด่ี ินถอื ครองของนายชิงฟู แซอ่ ู้ บดิ านายชัช อุตมางกูร ได้มอบให้ คณะกรรมการโรงพระ ฯ ตอ่ มาคณะกรรมการซง่ึ มีนายฮ่อเกว นายจชู อ้ ยและนายยิดสือ ได้ตดิ ต่อขออนุญาต ก่อต้งั เปน็ “สมาคมกุศลสงเคราะหบ์ ้านนาสาร”

วัดนาสาร เปน็ วัดประจำอำเภอบา้ นนาสาร ในความรบั ผิดชอบสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทศิ เหนอื จดหม่บู ้านพัชริน ทิศใตจ้ ดคลองฉวาง ทิศตะวนั ออกจดเขานาสาร ทศิ ตะวนั ตกจดทุง่ นาสาร วัดนาสารต้ังเมือ่ ปี พ.ศ. 2455 เป็น วัดทีเ่ คารพบชู าของประชาชน โดยชาวนาสารและชาวสรุ าษฏรธ์ านี จุดเดน่ ของวัด คือ ภายในวัดติดกับเขา นาสาร ซ่งึ มีถำ้ ขนาดใหญ่และมเี อกลักษณท์ ่ีสวยงาม คงความเป็นธรรมชาติ เหมาะสำหรบั นักท่องเทยี่ วทสี่ นใจ ไหวพ้ ระและทอ่ งเท่ยี วทางธรรมชาตขิ องถ้ำ ภเู ขาทรายเหมืองแกะ เมอื่ ปพี .ศ. 2469 นายเคหว่อง ชาวจีน สญั ชาติมาเลเซยี จากเมืองปีนัง ได้เข้ามาบกุ เบิกทำเหมืองแรด่ ีบกุ ในขั้นตอนของการขดุ แร่ดบี กุ น้นั จะต้องดดู ทรายขน้ึ มาเพ่ือแยกรอ่ นแรอ่ อก นานวันเขา้ กองทรายที่ดูดข้ึนมา ก็ไดก้ ลายเป็นเนนิ ทรายกองมหมึ าเท่าภเู ขา จนกลายเปน็ สถานทท่ี อ่ งเที่ยวทนี่ า่ สนใจในปัจจบุ นั

การเปลยี่ นแปลงทางสงั คมและวฒั นธรรม สถาปัตยกรรมแนวชิโน-โปรตุกีสชโิ น (SINO) แปลว่าจีน สว่ นโปรตกุ สี คือประเทศโปรตเุ กส - รูปแบบสถาปัตยกรรมชิ โน-โปรตุกสี เริม่ มีในภาคใต้ข อง ประเทศไทยประมาณปี พ.ศ. ๒๔๕๖ แถวเมืองชายทะเลจาก ก ล ุ่มผ ู้ทำเหมือ งแร่ชาวจีน ชาวตะวันตกในยุคโคโลเน่ยี น - มีลกั ษณะท่เี ปน็ เอกลักษณ์ ทางสถาปตั ยกรรมทีม่ ีรปู แบบ เฉพาะ ถ้าเป็นอาคารที่ เป็น ตกึ แถวบริเวณท้องถิ่นเกาะภเู กต็ เรียกว่า “เตี๊ยมฉู่” ถ้าเป็น คฤหาสนเ์ รยี กวา่ “อ้ังม้อหล่าว” - ถ้าเป็นอาคารคอนกรตี จะมีชอ่ งลมเป็นลวดลายและมีกระจกประดบั มคี ว้ิ บัว มีลายปูนปัน้ ตามรปู แบบ ประโยชน์ใช้สอยและสญั ลักษณ์ มีเสาด้านหนา้ อาคาร เว้นเปน็ ทางเดินใตช้ ายคาอาคาร - ภายในอาคารมรี าวบนั ได ราวเฉลยี งและลกู กรง กลางบ้านท่ีพักอาศัยจะมโี ถงโลง่ จะมีบอ่ น้ำหรือลาน ภายในบ้าน ประดับปูพ้ืนดนิ เผาท่ีมีลวดลาย สถาปตั ยกรรมชิโน-โปรตุกีสแบบทอ้ งถ่นิ นิยมในบา้ นนาสารยคุ แรก นบั ว่าเป็นรปู แบบอาคารทพ่ี ักอาศัยท่ี ไดร้ ับความนิยมมาก นอกนน้ั เปน็ บ้านพกั ของคนทำเหมืองแร่ สถานทร่ี าชการมใี ห้เห็นในตลาดนาสาร อาคารที่ อยอู่ าศัยจะมีบอ่ น้ำสว่ นตัวอยู่กลางบา้ น ถา้ เปน็ อาคารร่วมจะมีบ่อน้ำใช้ระหว่างอาคาร การตกแต่ งภายใน จะเป็นแบบวินเทจ เช่น ผ้าปูโต๊ะ ม่านหน้าต่าง มีลายลูกไม้สวยงาม ราวบันได เก้าอี้ โต๊ะ เป็นไม้กลึง “แนวเชคโค\" ใชต้ ะเกียงเจ้าพายุให้แสงสวา่ ง อาคารแบบชโิ น–โปรตกุ สี ในบ้านนาสารยงั มใี นถนนนาสารนอก – นาสารใน ถนนวิเวก ชโิ น-โปรตกุ ีส เป็นสถาปัตยกรรมผสมผสานตะวันออก – ตะวนั ตกยคุ จกั รวรรดนิ ยิ มอังกฤษมีอิทธพิ ลจาก มลายรู ุง่ เรืองและมมี ากในภาคใต้เมอื งทา่ รมิ ฝ่งั ทะเลมาเกือบ ๑๐๐ ปี คนนาสารเคยมีความเข้มขน้ ทางคา่ นิยมอาคารชิโน-โปรตุกีส สถานทีร่ าชการ ท่วี ่าการอำเภอบา้ นนาสาร กอ่ นปีพ.ศ. ๒๔๘๔ จะมีเสาหน้ารว่ มกันตามคา่ นิยมในยุคน้นั ต่อมามกี ารลดเสาออกคงไว้แต่ทางเทา้ อาคารมี ช่องลมเพ่อื ระบายอากาศชั้นบนและชัน้ ล่าง อาคารฉลเุ ป็นลายเครอื เถาว์สวยงามมีคำยนั ประดบั หวั เสา หรอื ใช้ เปน็ ไมค้ ำ้ ยันเป็นรปู ทรงเรขาคณิต ก่อนปี พ.ศ. ๒๕๐๐ อาคารไม้แปรรูปแบบท้องถน่ิ นยิ มชิโน–โปรตกุ ีสของบ้านนาสารได้หมดไปเม่ือมีก าร ก่อสรา้ งอาคารพาณชิ ยต์ ามแบบของการทางรถไฟแหง่ ประเทศไทยและการชำรุดตามสภาพ

ประตมิ ากรรมพระบรมราชานสุ รณ์ ปพี .ศ. 2558 จากความคิดนายธรี ะพล ช่วยเรียง อดีตนายอำเภอบ้านนาสาร นัก ปกครองผ้มู วี สิ ัยทศั น์ ไดม้ องเห็นพนั ธกจิ อัน สำคัญทม่ี ีตอ่ การปกครองท้องถนิ่ และความ จงรักภักดไี ด้รวบรวมกำลังศรัทธาจากกำนัน ผู้ใหญบ่ ้านในแต่ละตำบลและนกั ธุรกิจใน ตลาดนาสารได้ทำการกอ่ สร้าง โดยมพี ระ บรมรูปรัชกาลที่ 5 สูง 1.50 เมตร หล่อ โลหะรมดำ มีประติมากรรมนนู สงู ด้านหลงั พระบรมรูปมเี ร่ืองราวพระราชกรณยี กิจของ พระบาทสมเดจ็ พระปิยมหาราช รัชกาลท่ี 5 และประวัตเิ รอ่ื งราวของอำเภอบ้านนาส าร ด้านเศรษฐกิจแตโ่ บราณ ป่าไม้ ยางพารา เหมอื งแร่ และเงาะโรงเรียนนาสาร มนี าย เขี้ยง เกิดนาสาร ออกแบบ นายสมมิตร ประติมากร ตงั้ อยทู่ างทศิ เหนอื ของทวี่ า่ การ อำเภอบา้ นนาสาร ประตมิ ากรรมลอยตวั พระโพธิสตั ว์กวนอิม ตามสภาพภูมิศาสตร์และลักษณะฮวงจยุ้ ตามตำนานฮวง จุ้ยนาสารทีม่ เี ขาวดั นาสารและเขาสามยอด คอื เหตุแห่ง ศาสตร์และความเชือ่ นายสุวรรณ เจนนพกาญจน์ นายก เทศมนตรี พ.ศ. ๒๕๔๒ เขา้ ใจความเชื่อจึงได้สรา้ งสิง่ อันเปน็ มงคลความเชื่อ ดังกล่าว โดยการศึกษารูปแบบพระโพธิสัตวก์ วนอิมจาก หลากหลายสถานที่ เชน่ สมทุ รสงคราม ศาลเจ้าทงุ่ สง วดั ถำ้ เสือจังหวัดกระบ่ี ฯลฯ ได้สรปุ รูปแบษตามคณะกรรมการโดยมีอาจารยค์ ำแหง วิชยั ดิษฐ์ เปน็ ประธาน โดยให้นายเขี้ยง เกดิ นาสาร ออกแบบ อาจารย์เม จากวัดกระเบียด เป็นประติมากรและไดม้ ี คณะกรรมการจากท้องถิ่นมารว่ มมอี าจารย์พิชิต เอ่งฉ้วน และกลุ่มประชาชนนักธุรกิจรว่ มดำเนินการต่อแลว้ เสรจ็ ในปีพ.ศ. ๒๕๔๗ สมัยนายโกศล

สว่ นประกอบเครอ่ื งลำยองหน้าบนั โบสถว์ ดั นาสาร ปีพ.ศ. ๒๔๗๒-๒๔๘๐ประตมิ ากรรมและเครอื งลำยอง วัดนาสาร พระอุโบสถวัดนาสารสรา้ งในปพี .ศ. ๒๔๗๒ โดยชา่ งโบราณในเมืองสุราษฎร์ธานี ตามเวลาการก่อสร้าง เสร็จ ปีพ.ศ. ๒๔๔๐ ท่ีถอื ว่าเป็นศลิ ปะไทยประเภทประติมากรรมและสถาปัตยกรรมที่สวยงามท่ีสุด 1.งานสถาปตั ยกรรมตวั พระอุโบสถ มขี นาดพอดไี ม่ใหญ่ไม่เลก็ เกินในสมยั ปัจจบุ ัน สอดคล้องกับการทำกจิ ของสงฆอ์ ย่างพอเหมาะ 2.ส่วนประกอบอันสำคัญของหน้าบันโบสถท์ ่ีเป็นเครอ่ื งลำยอง ไดอ้ อกแบบสวยงาม เถาวล์ ายกา้ นขดได้ สัดส่วนของช่องไฟ ระยะตวั ลายและบากตัวลาย ความวจิ ิตรของเถาว์ลายทซี่ ับซอ้ นได้จังหวะไม่ขดั ตา 3.ความสวยงามของลายหนา้ กระดานสว่ นรองรับเครอื่ งบน เปน็ ประจำยามลายพล้ิวไม่ขดั ตากระจัง รวน ขนาดพองามบอกคณุ สมบตั ขิ องกระจังรวนได้ชัดเจนท้ังซ้าย - ขวา 4.ช่อฟา้ ออกแบบเป็นนกหัสดายุ ไมเ่ หมอื นซอ่ ฟา้ ทัว่ ไป ของสถาปตั ยกรรมไทยขนบนยิ มขณะนั้นจนถึง นางหงส์ทม่ี ีความวจิ ติ รพสิ ดาร เปน็ สัตว์หมิ พานต์สอดรบั จนตอ้ งยอมรับว่าเป็นฝมี ือช่างทเ่ี รอื งภมู ิรู้ 5.นอกจากลวดลายกา้ นขดท่ีสำคัญคอื การผกู ลายพระนารายณ์ทรงนาคสัดส่วนรูปรา่ งช่างสมส่วนจนไม่มี ทต่ี ำหนิได้ จนการจบยอดลายกา้ นขดเปน็ เทวดา ๘ องค์เป็นส่ิงปกปักรกั ษาชาวนาสารทัง้ แปดทิศ 6.การออกแบบตัวอักษรประกอบหนา้ บนั ทิศตะวนั ออกและทศิ ตะวนั ตกเป็นอักษรไทยประยุกตท์ สี่ วยงาม ลงตวั ของสดั ส่วนและซอ่ งไฟ จนแทบไม่น่าเชอื่ วา่ เป็นการผกู ลายโดยชา่ งในท้องถิน่ สมัยโบราณ สถาปตั ยกรรมและประตมิ ากรรมของนาสารท่ีมีปรากฏมาชา้ นานได้มกี ารจดั ซอ่ มมาสองครัง้ คร้ังแรกหลงั ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ และได้ซอ่ มอกี คร้งั ในปพี .ศ. ๒๕๕๙

โนราสาย สมแก้ว ศิลปนิ ภูมิปญั ญาท้องถิ่น ผู้ดำรงเอกลักษณ์ ศิลปะท้องถิ่นใต้ของนาสาร จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี โนราสาย สมแก้ว เป็นลูกของนายสรวง สม แก้ว คนตีเครื่องโนราในท้องถน่ิ พนื้ เพเป็นชาว ตำบลนาสาร หมู่บ้านวงั หล้อ หดั โนรามาตั้งแต่ อายุ ๑๒ ปี จากครูหมอโนราพุม่ บ้านวังหล้อ และครโู นราขวัญ บ้านคลองหาเหนือ โนราสายมคี วามเข้มข้นในการดำรงวิถีชีวิต และภูมิปัญญาท้องถิ่นบา้ นนาสาร ของชมุ ชน วงั หลอ้ จากอดตี จนปัจจบุ ัน โนราในฐานะทีเ่ ปน็ การแสดงพน้ื บ้านชาวใต้ ทม่ี ีความผูกพนั และมีบทบาทหน้าท่ีต่อวิถีชีวิต ของชาวภาคใต้ ทั้งในด้านความบันเทิง การ ประกอบพิธกี รรมในสว่ นการแสดงพื้นบ้านมี บทบาทในฐานะเปน็ สอ่ื บนั เทงิ ของคนในทอ้ งถ่ิน ในพธิ กี รรมทางความเชื่อและศาสนา เกิดขน้ึ ในแต่ละช่วงของชีวติ ชาวบา้ นตง้ั แต่เกิดจนตาย โนราเป็นวฒั นธรรมพื้นบ้านท่มี ีส่วนชว่ ยให้วัฒนธรรมของชาวบ้านมั่นคง ยงั เป็นภาพสะทอ้ นของสังคม วฒั นธรรมและสภาพแวดล้อมอื่น ๆ โนราเป็นนาฏศิลปท์ ีเ่ ปน็ ตวั แทนของชาวภาคใต้ ทบ่ี อกไดถ้ ึงความแข็ง กรา้ ว บึกบึน ฉับไว และเดด็ ขาด ภาพท่ปี รากฏของลลี าท่าทางในทา่ รำมนี ยั อันสำคญั ที่สัมพนั ธก์ บั บุคลกิ ภาพ ชาวใต้

การดำเนนิ งานโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบรู ณาการ กิจกรรมรกั ษต์ น้ ไม้ฟื้นฟสู ง่ิ แวดล้อมในชุมชน ณ วัดสวา่ งประชารมณ์ ชุมชนสวนมังคดุ ตำบลนาสาร อำเภอบ้านนาสาร จงั หวดั สุราษฎร์ธานี

กจิ กรรมอบรมการให้ความร้พู ัฒนายกระดับสู่ OTOP ผ่านระบบออนไลน์(Google Meet)

การพัฒนาสัมมาชพี และสรา้ งอาชพี ใหม่(การยกระดับสินคา้ OTOP/อาชพี อืน่ ) กจิ กรรมอบรมการตลาดชอ่ งทางออนไลน์ ผ่านระบบออนไลน์ (Google Meet)

กจิ กรรมการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการสตู รมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน และความปลอดภยั ในอาหาร เพอ่ื การยกระดับสู่ มาตรฐานผลิตภณั ฑ์ OTOP (หลกั สูตรสาขาวิชาชวี วทิ ยา สังกดั คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สัมมาชพี การทำกอ้ นเชอ้ื เห็ด) ณ ศาลาอเนกประสงค์ ชมุ ชนศรีเวยี ง ตำบลนาสาร อำเภอบา้ นนาสาร จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี

การอบรมถา่ ยทอดองค์ความรภู้ มู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ โดยปราชญ์ชาวบ้าน สืบสานภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ระบบออนไลน์ (Google Meet)

การอบรมสง่ เสรมิ ผลติ ภณั ฑ์ท้องถน่ิ สรา้ งรายไดใ้ ห้ชมุ ชน(ไตปลาแหง้ ) ผา่ นระบบออนไลน์ (Google Meet)

กิจกรรมหลกั สูตรสาขาวชิ า นวัตกรรมอาหารและโภชนาการสังกัด คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สมั มาชีพกลว้ ยฉาบปรงุ รสในบรรจภุ ณั ฑ์ รสปาปริกา้ บาบิคิว และกลว้ ยกวน) ณ ศาลาอเนกประสงค์ ชมุ ชนศรีเวียง ตำบลนาสาร อำเภอบา้ นนาสาร จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี

กจิ กรรมหลักสตู รสาขาวชิ า นวตั กรรมอาหารและโภชนาการสงั กดั คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สัมมาชพี เต้าฮวยมะพรา้ วออ่ นและวุ้นผลไม)้ ณ ศาลาอเนกประสงค์ ชุมชนศรีเวยี ง ตำบลนาสาร อำเภอบา้ นนาสาร จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี

คณะทำงาน และจัดทำหนงั สือประวตั ติ ำบลนาสาร โครงการยกระดบั เศรษฐกจิ และสงั คมรายตำบลแบบบูรณาการ อาจารยพ์ งศ์พพิ ฒั น์ มากช่วย (อาจารย์ทป่ี รึกษา) 1. นางสาว ชุตินันท์ จนั ทรเ์ ทพ (บัณฑิตจบใหม่) 2. นางสาว สมุ าลี พยคั ฆา (บณั ฑิตจบใหม่) 3. นางสาว ธนญั ญา ห่อเพชร (บัณฑิตจบใหม่) 4. นางสาว สุธดิ าภรณ์ ทศั กลู กจิ (บัณฑติ จบใหม่) 5. นางสาว อนงค์นาฎ หมีคำ (บณั ฑิตจบใหม่) 6. นางสาว พไิ ลวรรณ สงั ขท์ อง (บณั ฑติ จบใหม่) 7. นาย อลงกรณ์ คงทน (บัณฑิตจบใหม่) 8. นางสาว ผกามาศ โพธิรัตน์ (บณั ฑิตจบใหม่) 9. นาย รฐั ภูมิ สุขสวสั ดิ์ (บณั ฑติ จบใหม่) 10. นางสาว วนั วสิ า คชเชนทร์ (บณั ฑิตจบใหม่) 11. นายเกษวิทย์ กั้นเกต (บณั ฑิตจบใหม่) 12. นางสาวจรีรตั น์ หนรู กั ษ์ (บณั ฑติ จบใหม่) 13. นางสาวสจุ ารณิ ี ศรรี ตั นกลุ (บัณฑิตจบใหม่) 14. นางสาว สปุ วณี ์ องคป์ รชั ญากลุ (ประชาชน) 15. นาย รชาวธุ ไทยแท้ (ประชาชน) 16. นางสาว สมัญญา สายทองแท้ (ประชาชน) 17. นางสาว หนึ่งนุช ศรคี งมาก (ประชาชน) 18. นางสาว สุภาภรณ์ จงกล (ประชาชน) 19. นายศวิ กร คงทรัพย์ (ประชาชน) 20. นายรณชัย แกว้ สองเมอื ง (ประชาชน) 21. นางสาว ศจมี าศ สายเสมา (นักศึกษา) 22. นางสาว นิอยั ณา ดือราแม (นกั ศึกษา) 23. นาย บณั ฑติ บุญโยดม (นกั ศึกษา) 24. นางสาว ชาลสิ า พเิ ดช (นักศึกษา) 25. นางสาว วนั วสิ า อนิ ทรโชติ (นกั ศกึ ษา) 26. นางสาว ธิดารตั น์ หลขี าว (นักศึกษา) 27. นายเกยี รติศักดิ์ เกตอุ ักษร (นกั ศึกษา)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook