Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อสร้างสรรค์ธุรกิจดิจิทัล (1)

สื่อสร้างสรรค์ธุรกิจดิจิทัล (1)

Published by ชาคริต สามัญ, 2020-10-09 03:33:36

Description: สื่อสร้างสรรค์ธุรกิจดิจิทัล

Search

Read the Text Version

สื่อสรา้ งสรรค์ธรุ กิจดจิ ทิ ลั (Media Business Digital) จดั ทาโดย นายชาครติ สามญั ปวส.1 สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กิจดิจทิ ัล เสนอ อาจารย์อรรญชลี ชาญประไพร วทิ ยาลัยเทคนิควงั นาเย็น

สือ่ สร้างสรรค์ธรุ กจิ ดจิ ิทลั หมายถงึ การนาเสนอในรปู ของเทคโนโลยนี าเสนอตา่ งๆ เช่น คลิปวดี ีโอ หนังสนั ภาพ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว เป็นตน้ มีชอ่ งทางการโฆษณาหลากหลายช่องทาง เชน่ FACEBOOK, YOUTUBE, LINE, INSTAGRAM, รายการโทรทัศน์ เพื่อใหธ้ รุ กจิ เป็นที่รู้จกั ในคนสว่ นมาก และสามารถพัฒนาธรุ กิจได้กา้ วไกล ใหค้ นทสี่ นใจได้เข้ามารว่ ม ลงทุน

สื่อทสี่ ามารถโฆษณาธรุ กจิ ใหเ้ ปน็ ทรี่ จู้ กั 1. FACEBOOK 2. YOUTUBE 3. LINE 4. INSTAGRAM 5. รายการโทรทัศน์ 6. TIKTOK

FACEBOOK Facebook คอื บรกิ ารบนอินเตอรเ์ นต็ บรกิ ารหนึ่ง ที่จะทาให้ผู้ใชส้ ามารถตดิ ต่อส่อื สารและร่วมทากจิ กรรมใดกิจกรรมหน่งึ หรือหลายๆกิจกรรมกับผใู้ ช้ Facebook คนอน่ื ๆได้ ไม่ว่าจะเป็นการก่อตังประเด็นถามตอบในเรอื่ งท่ีสนใจ โพสรูปภาพ โพสคลปิ วดิ ีโอ เขียนบทความหรอื บล็อก แชทคยุ กันแบบสดๆ เล่นเกมแบบเปน็ กล่มุ และยังสามารถทากจิ กรรมอืน่ ๆผ่านแอ พลิเคช่ันเสริมทีม่ ีอยู่

FACEBOOK Facebook คอื เว็บไซตท์ ่ใี ห้บรกิ ารเครอื ค่ายสงั คมออนไลนผ์ ่าน Internet หรอื เรยี กได้ว่าเป็น Social Network ถกู ก่อตังโดน มารก์ ซกั เคอร์เบริ ก์ Facebook อนุญาตใหใ้ ครก็ได้เข้าสมคั รใช้ Facebook และผทู้ เ่ี ป็นสมาชิกของ Facebook สามารถสร้างพนื ที่สว่ นตัวสาหรบั แนะนาตวั เอง ติดต่อสอ่ื สารกับเพอ่ื นทังแบบขอ้ ความ ภาพ เสยี ง และวิดีโอ โดยผู้ใช้สามารถเลอื กท่จี ะเปน็ หรือไม่เป็นเพ่ือนกับใครกไ็ ด้ใน Facebook

YOUTUBE YouTube (ยทู ูบ) เป็นเวบ็ ไซตแ์ ลกเปล่ยี นภาพวดิ โี อทมี่ ีชอื่ เสียง(www.youtube.com) โดยในเว็บไซต์นี ผใู้ ชส้ ามารถ อัพโหลดภาพวดิ โี อเขา้ ไป เปิดดภู าพวดิ ีโอทมี่ อี ยู่ และแบ่งภาพวิดโี อ เหล่านใี ห้คนอ่นื ดูได้โดยไมเ่ สียค่าใช้จา่ ย ใดๆ ใน YouTube จะมขี ้อมลู เนอื หารวมถึงคลปิ ภาพยนตร์สันๆ และคลิปทีม่ าจากรายการโทรทศั น์ มิวสกิ วิดโี อ และ วิดีโอบล็อกกิง (ซึ่งเปน็ การสร้างบลอ็ กโดยมสี ว่ นของข้อมูลทเี่ ปน็ ภาพ วิดโี อเป็นสว่ นประกอบ โดยเฉพาะเป็นภาพวิดโี อท่ี เกิดจากมอื สมคั รเล่นถ่ายกนั เอง) คลิปวดิ ีโอทเ่ี ผยแพรอ่ ยบู่ นเวบ็ ไซต์ YouTube ส่วนมากเป็นไฟลค์ ลปิ สนั ๆ ประมาณ 1 - 10 นาที ถ่ายทาโดยประชาชนทว่ั ไป แลว้ อัพโหลดขนึ สูเ่ ว็บไซต์ของ YouTube โดยมีการแบง่ ประเภทและจดั อนั ดับคลิป เอาไว้ด้วย เช่น ไฟล์ล่าสุด, ไฟล์ท่ีมผี ูช้ มมากทสี่ ดุ , ไฟล์ทไ่ี ดร้ บั การโหวตมากทสี่ ดุ ฯลฯ

YOUTUBE YouTube เป็นเว็บไซต์ที่ให้บรกิ ารวดิ ีโอผ่านอนิ เทอรเ์ นต็ ทีม่ ยี อดผชู้ มวิดโี อของทางเว็บไซต์ทะลหุ ลกั 100 ลา้ นครงั ต่อวัน หรอื คดิ เป็นราว 29 เปอรเ์ ซน็ ต์ของยอดการเปดิ ดคู ลิปวิดีโอทังหมดในสหรฐั ฯ ในแตล่ ะเดือนมีผอู้ ัพโหลดวิดีโอขนึ เวบ็ กวา่ 65,000 เร่ือง สถติ จิ าก Nielsen/NetRatings ซ่งึ เปน็ ผู้นาวจิ ัยการตลาดและส่ืออินเตอรร์ ะดบั โลกระบวุ ่า ปัจจุบนั YouTube มี สมาชิกเพมิ่ ขนึ เดือนละ 20 ล้านคน นอกจากนี ในปี 2006 นติ ยสารไทม์ ยกย่องใหเ้ ว็บไซต์ YouTube เวบ็ ไซต์ ใหบ้ ริการดาวน์โหลดไฟลว์ ดิ โี อชือ่ ดัง เป็น \"Invention of the Year\" หรอื รางวลั สงิ่ ประดษิ ฐแ์ หง่ ปี อีกด้วย

LINE LINE คอื แอพพลิเคช่ันทผ่ี สมผสานบริการ Messaging และ Voice Over IP นามาผนวกเข้าด้วยกัน จึงทาใหเ้ กิด เป็นแอพพลิชน่ั ทีส่ ามารถแชท สรา้ งกลมุ่ ส่งขอ้ ความ โพสต์รูปตา่ งๆ หรอื จะโทรคุยกันแบบเสียงกไ็ ด้ โดยขอ้ มูลทังหมด ไมต่ ้องเสยี เงนิ หากเราใชง้ านโทรศพั ทท์ ่ีมีแพคเกจอินเทอร์เน็ตอย่แู ล้ว แถมยงั สามารถใชง้ านรว่ มกนั ระหว่าง iOS และ Android รวมทังระบบปฏิบัติการอน่ื ๆ ไดอ้ กี ด้วย การทางานของ LINE นนั มีลักษณะคล้าย ๆ กับ WhatsApp ที่ ต้องใช้เบอร์โทรศพั ท์เพอ่ื ยนื ยนั การใชง้ าน แต่ LINE ไดเ้ พิ่มลูกเลน่ อืน่ ๆ เข้ามา ทาให้ LINE มจี ดุ เดน่ ที่เหนือกว่า WhatsApp มาดูคณุ สมบตั ิเดน่ ๆ ทีน่ า่ สนใจของ LINE กนั

INSTAGRAM Instagram คือ แอพลิเคชั่นบน smartphone และอุปกรณค์ อมพิวเตอร์ โดยแอพพลเิ คชันนจี ะเน้นการแชร์รปู ภาพ บน Social Network ซง่ึ ทาให้เพ่อื นของคุณสามารถเหน็ ภาพถา่ ยของคุณไดแ้ ละยงั สามารถ คอมเมนต์ภาพของคุณได้ ท่ี สาคัญ Instagramยงั สามารถใชแ้ ชรภ์ าพของคณุ ไปยัง Twitter, Facebook ไดอ้ ีกดว้ ย

ความสามารถของ Instagram - สามารถเพม่ิ ฟิลเตอรแ์ ตง่ รปู ใหส้ วยงามกอ่ นอปั โหลดได้ - แชร์กรี่ ปู กไ็ ด้เทา่ ท่ีคุณตอ้ งการโดยไม่เสยี คา่ ใช้จา่ ยใดๆ - คน้ หาและติดตามเพ่อื นๆได้งา่ ย - ระบสุ ถานท่ขี องรูปถา่ ยนนั ๆได้ - แชร์รปู ทีอ่ ปั โหลดไปยัง Twitter, Facebook ได้ - สามารถลงความเหน็ กบั รูปที่ถา่ ยไดแ้ ละกด Like ได้ - ชมรปู ถ่ายทไี่ ดร้ บั ความนิยมจากทั่วทกุ มุมโลกจาก user ของ Instagram

รายการโทรทศั น์ รายการโทรทศั น์ เปน็ ส่วนตา่ ง ๆ ของการออกอากาศทางสถานวี ิทยุโทรทศั น์ การออกอากาศรายการโทรทศั น์ มขี ึน เป็นครงั แรก ในปี ค.ศ. 1536 ในกรุงลอนดอน รายการโทรทศั น์ อาจออกอากาศเพียงแค่ครังเดียว หรือมตี อนตอ่ ที่เรยี กวา่ ภาพยนตรช์ ดุ ทางโทรทศั น์ (TV series) ส่วนมากมักเป็นรายการประเภทละครโทรทศั น์ ภาพยนตรช์ ดุ ทางโทรทศั น์มักแบง่ เปน็ ภาค ๆ โดยในหนึ่งภาค ใน สหรัฐอเมริกาจะเรยี กวา่ ฤดกู าล (season) แต่ในสหราชอาณาจกั รจะเรยี กว่า ชุด (series) แตล่ ะฤดูกาลหรอื ชุดจะมี ความยาวประมาณ 6-26 ตอน

รายการโทรทศั น์ รายการโทรทัศน์ท่อี อกอากาศเป็นพิเศษเพียงครงั เดียว จะเรียกวา่ รายการพิเศษ (special program) และสถานวี ิทยุ โทรทศั น์บางสถานี ยงั มี ภาพยนตรโ์ ทรทศั น์ (TV movies) ที่สร้างขนึ เพือ่ ออกอากาศทางโทรทศั น์โดยเฉพาะ ไมไ่ ดอ้ อก ฉายทางโรงภาพยนตร์ หรอื บันทึกลงในวดิ ีโอ วซี ดี ี ดวี ีดี หรือสอ่ื อ่ืน ๆ ทกุ วันนี การออกอากาศ ภาพยนตรโ์ ฆษณา (commercial advertisement) ถือเป็นสว่ นสาคัญของรายการโทรทัศน์ โดยมขี ้อปฏิบัตเิ ป็นเกณฑว์ ่า ในการออกอากาศรายการโทรทัศน์ 1 ชว่ั โมง จะมภี าพยนตรโ์ ฆษณาไดไ้ มเ่ กิน 15 นาที เหมอื นในโรงภาพยนตร์

TIKTOK ในชว่ ง 2-3 ปีที่ผ่านมา ผอู้ า่ นหลายท่านอาจจะคนุ้ หน้าค้นุ ตากับแอปพลเิ คชั่นสัญชาตจิ นี อยา่ ง TikTok ทีม่ ีการ ปลอ่ ยโฆษณาอย่บู นแพลตฟอรม์ อน่ื ๆ มากมาย เช่น Facebook, YouTube หรือแม้แตใ่ นเกมบนสมารท์ โฟนหลายๆ เกม จนทาใหม้ ีกระแสตีกลับในด้านลบไปช่วงหนงึ่ จากการทผ่ี ูใ้ ช้ในแพลตฟอร์มอนื่ หลายๆ คนรู้สกึ วา่ ไดร้ ับการโปรโมท มากเกินไป อย่างไรก็ตาม ในปัจจบุ ันแอปพลเิ คช่นั TikTok กลบั กลายเปน็ แพลตฟอรม์ มา้ มืดทแี่ บรนดต์ า่ งๆ ไมค่ วรมองข้าม ด้วย สถติ ิผู้ใชแ้ ละยอดดาวนโ์ หลดท่ีพงุ่ สงู ขนึ เป็นอันดับตน้ ๆ ของกล่มุ Social Media ด้วยกัน รวมถึงการเขา้ ถึงคอนเทนตบ์ น TikTok นนั กส็ ามารถเกิดขึนได้ง่ายกว่าแพลตฟอร์มรุ่นพ่มี าก ทาให้คนท่เี ขา้ ใจธรรมชาติของแพลตฟอรม์ นสี ามารถส่ือสาร และทาการตลาดกบั กล่มุ “Mass” ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

สาขาเทคโนโลยสี อ่ื สร้างสรรค์ สรรสรา้ งสู่อนาคต ในทกุ วันนีสือ่ และเทคโนโลยสี ารสนเทศไดก้ า้ วเข้ามาเปน็ ส่วนหนง่ึ ของการดาเนินชีวิตของเรา เรารบั ส่ือจากช่องทาง ออนไลน์ และสอื่ ใหม่มากกว่าทางอื่นๆ และหากเทยี บกนั แล้วระหวา่ งเนอื หาทเี่ ป็นตวั อกั ษรล้วนๆ กบั เนอื หาท่มี ีภาพเปน็ ส่วนประกอบ แน่นอนวา่ เรามกั จะใหค้ วามสนใจกบั เนอื หาที่มีภาพเปน็ ส่วนประกอบมากกวา่ บางครงั เราไมส่ นใจด้วยซาว่า ขอ้ ความประกอบนนั บอกอะไร เราสนเพียงแค่วา่ ภาพพูดอะไร การผลิตและออกแบบส่อื เหล่านจี งึ มีความสาคัญอยา่ งมากใน การทาส่ือเพอื่ การโฆษณา ประชาสัมพนั ธ์ และเพื่อการสือ่ สารไปยังผ้รู บั สาร องค์กรธุรกจิ และบริษัทจานวนมากจึงมีความ ตอ้ งการอยา่ งมากทีจ่ ะหาบุคลากรผูม้ ีความรู้ ความเช่ยี วชาญ ในด้านการทาวดี ีโอ การออกแบบสอื่ การออกแบบกราฟฟกิ ตลอดจนการทางานอนเิ มชนั่ เข้ามาร่วมงาน

สาขาเทคโนโลยสี อ่ื สรา้ งสรรค์ สรรสรา้ งสอู่ นาคต วงการสื่อในประเทศไทยเปล่ียนแปลงไปมากหากเทียบกับอดตี โดยเฉพาะเมอ่ื มกี ารนาระบบ 3G 4G และทีวีดิจติ อล เข้ามาใช้ สื่อและเทคโนโลยจี งึ ก้าวไปอยา่ งรวดเรว็ และย่ิงเมื่อมี อนิ เตอร์แรคทีฟ หรอื สือ่ รปู แบบใหมท่ ่ีโตต้ อบกบั มนษุ ย์ได้ เข้ามาใช้ ซ่งึ ในช่วง 4 – 5 ปีทผ่ี ่านมาไดร้ บั ความนิยมมาก และเริ่มเขา้ มาเปน็ สว่ ยหนึ่งของชวี ิตเรามากขึน เรยี กว่าเดินไป ทางไหน หยบิ จบั อะไรกเ็ ป็น อินเตอร์แรคทีฟ ไปเสยี หมด ไมว่ ่าจะเป็นสมารท์ โฟน ไปจนถึงประตขู องร้ายสะดวกซือทเี่ ปดิ ปดิ ได้เองเมอื่ เราเข้าใกล้ จึงเป็นโอกาสท่ดี ขี องสาขาเทคโนโลยสี ่ือสร้างสรรค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอื่ สาร มหาวิทยาลยั รงั สติ ทีจ่ ะผลติ บุคลากรผูม้ ีความรู้ ความสามารถ เพือ่ ใหอ้ อกไปเปน็ ส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนสู่ อนาคต ท่ีสอื่ และเทคโนโลยจี ะกลายเปน็ สง่ิ ทีข่ าดไมไ่ ด้ในชวี ติ ประจาวัน

สาขาเทคโนโลยสี อื่ สรา้ งสรรค์ สรรสรา้ งสอู่ นาคต เมือ่ เข้ามาเรยี นในสาขาเทคโนโลยีส่ือสรา้ งสรรค์ส่ิงทน่ี อ้ งๆ จะได้ทาเปน็ อนั ดบั แรกเลยกค็ อื การปรับพนื ฐาน อาจารย์ พูนลาภ ตงั อาสนะวิทย์ อาจารยป์ ระจาสาขาเทคโนโลยสี อื่ สรา้ งสรรค์บอกกับเราวา่ ส่วนนจี ะเปน็ การปพู นื ฐานเรื่องการ ออกแบบ ศิลปะ ดา้ นโปรแกรมมิง่ โคช้ ชงิ่ และเทคโนโลยีใหน้ ักศึกษา เมื่อเขา้ สู่ชันปีที่ 2 จะเปน็ การเรยี นการสอนเกย่ี วกับ การออกแบบเพอ่ื ส่ืออนิ เตอร์แรคทีฟ และการออกแบบเพอ่ื งานอีเว้น เป็นต้น พอนกั ศกึ ษาเขา้ สู่การเรียนการสอนในชนั ปีท่ี 3 จะเปน็ การฝกึ ทาโปรเจค การบริหารงาน และการออกไปทางานภาคสนาม เพื่อให้เขา้ ใจวา่ เม่ือเราต้องทาโปรเจคชนิ หนึง่ เราจะต้องใช้ทรัพยากรอะไรบา้ ง เราจะตอ้ งบริหารคนอย่างไร บริหารเงินอย่างไร และบริหารเวลาอยา่ งไรใหง้ าน ออกมามีคุณภาพมากทสี่ ดุ จนกระทังนกั ศกึ ษาเขา้ สู่ชันปที ่ี 4 จะมีการทาปริญญานพิ นธ์ และการฝึกงานตามบริษทั ตา่ งๆ นอกจากนีทางสาขายงั มีความรว่ มมอื กบั Thai Animation&Computer Graphids Association (TACGA) ท่ีจะส่ง นกั ศกึ ษาไปดูงานและหาประสบการณ์ในทกุ ๆ ปีอกี ด้วย

สาขาเทคโนโลยสี อื่ สรา้ งสรรค์ สรรสรา้ งสอู่ นาคต นกั ศึกษาทจี่ บจากสาขาเทคโนโลยีส่ือสรา้ งสรรค์นนั มโี อกาสท่ีจะหางาน และเลือกอาชีพได้อย่างหลากหลายทเี ดียว โดยเฉพาะในบรษิ ัทเทคโนโลยีขนาดใหญ่ ไมว่ ่าจะเป็นตาแหน่งทีท่ าส่ืออนิ เตอร์แรคทฟี นกั ออกแบบ โปรแกรมเมอร์ หรือ แม้แต่การทางานส่ืออนิเมช่ัน สาหรบั เงนิ เดอื นของตาแหน่งเหลา่ นีของผทู้ ี่จบการศึกษาในระดบั ปริญญาตรี อาจารย์ พูน ลาภ บอกกบั เราว่าอยู่ท่เี กือบ 2 หมืน่ บาทเลยทีเดยี ว ทงั นกี ข็ นึ อยู่กับบรษิ ัทที่เข้าทางาน และฝีมือการทางานด้วย หากนอ้ งๆ ร้ตู วั แล้วละก็ว่าเป็นคนทมี่ คี วามสนใจในเทคโนโลยี ชอบศลิ ปะ การออกแบบ และต้องการเรยี นในสาขาท่ี เนน้ การใชค้ วามคดิ สร้างสรรค์ สาขาเทคโนโลยีส่ือสร้างสรรค์ วิทยาลัยเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร มหาวิทยาลัยรังสติ รอต้อนรับน้องๆ อยู่ เปน็ โอกาสดีของน้องๆ ทีจ่ ะได้มีอีกหนง่ึ ทางเลอื กของการเรยี นในระดับอุดมศกึ ษา มหาวิทยาลัย และเตรยี มความพรอ้ มส่กู ารทางานในดา้ นเทคโนโลยี ส่อื และการออกแบบ ทีจ่ ะเป็นรากฐาน เปน็ ท่ี ต้องการของตลาดแรงงาน ตราบที่เทคโนโลยยี งั คงไม่หยดุ ยงั การพฒั นา

วิธคี ดิ สรา้ งสรรคโ์ ฆษณาของนกั สร้างสรรคโ์ ฆษณาในสอื่ ดจิ ทิ ลั 1. ท่ีมาของความคิดสรา้ งสรรค์ จากผลการวิจัยผใู้ ห้สัมภาษณแ์ บ่งการเกิดความคดิ ออกเปน็ 2 แบบ ได้แก่ 1.1 ท่ีมาของความคดิ สรา้ งสรรค์ จากผลการวจิ ยั ผใู้ หส้ มั ภาษณแ์ บง่ การเกดิ ความคดิ ออกเปน็ 2 แบบ ไดแ้ ก่ 1. ความคิดสรา้ งสรรคเ์ กดิ จากโจทยท์ างการสอื่ สาร โดยผู้ให้สัมภาษณ์ 10 ใน 18 คน เหน็ วา่ นกั สรา้ งสรรค์ โฆษณาตอ้ งเข้าใจในขอ้ มูลทกุ อย่างเพอ่ื น าไปตอ่ ยอดความคดิ ในงาน โฆษณา ใหต้ อบโจทยแ์ ละตรงตาม วตั ถปุ ระสงค์ทก่ี าหนดไว้ ซึ่งตรงกับชาญณรงค์ พรร่งุ โรจน์ (2546) กล่าวว่าความคดิ สร้างสรรค์จะชว่ ยในการใน สอื่ สารโฆษณาหรือบอกวตั ถุประสงคข์ อง ผลิตภัณฑ์ โดยเน้นท่กี ลมุ่ เปา้ หมายและผลติ ภัณฑเ์ ป็นประเดน็ ส าคญั ใน การคดิ ตอบโจทยก์ าร ส่ือสารดังนี

วิธคี ดิ สร้างสรรคโ์ ฆษณาของนกั สรา้ งสรรคโ์ ฆษณาในสอ่ื ดจิ ทิ ลั ประเดน็ กลมุ่ เป้าหมาย ผู้ให้สมั ภาษณ์ 5 ใน 10 คน เหน็ ว่าต้องทราบความต้องการของ ผ้บู ริโภค ซง่ึ ปจั จบุ ัน ผบู้ ริโภคจะแบ่งจากพฤตกิ รรมนยิ มทก่ี ล่มุ เปา้ หมายนัน ๆ ให้ความ สนใจ ทาให้นักสรา้ งสรรคโ์ ฆษณาไมส่ ามารถทราบได้ เลยวา่ กลมุ่ เป้าหมายเหลา่ นันเปน็ ใคร ทราบแตเ่ พียงคนเหลา่ นันชอบหรอื สนใจส่งิ ใดซ่งึ ตรงกบั Wells, Burnett & Moriarty (2000) ที่วา่ การศกึ ษาวิเคราะห์ข้อมูลตา่ ง ๆ ล้วนเปน็ เร่อื งของการคิดทอี่ ยู่บน หลักการและเหตผุ ล เป็นความ พยายามของนกั โฆษณาในการคิดสรา้ งสรรคผ์ ลงานที่ สามารถสื่อสารออกมาไดถ้ ูกต้อง ประเดน็ ผลติ ภณั ฑ์ ผูใ้ หส้ มั ภาษณ์อกี 5 ใน 10 คน ตอ้ งเขา้ ใจถึงผลิตภณั ฑท์ ่จี ะทาการ สอ่ื สาร เพ่ือดงึ จุดเดน่ ผลติ ภัณฑเ์ ป็นฐานใหเ้ กิดความคิดสรา้ งสรรค์ สอดคล้องกับผลวิจยั ของพรรณเจริญ วนแสงสกลุ (2539)ที่วา่ นกั สรา้ งสรรคโ์ ฆษณาใชก้ ลยทุ ธก์ ารสรา้ งสรรค์ เปน็ ตัวกาหนดความคิดสรา้ งสรรค์ ซ่ึงเกิดจากการวเิ คราะห์ภมู ิหลงั ทาง การตลาดของ ผลิตภณั ฑ์

วิธีคดิ สร้างสรรคโ์ ฆษณาของนกั สร้างสรรคโ์ ฆษณาในสอื่ ดจิ ทิ ลั 2. ความคิดสรา้ งสรรค์เกดิ จากประสบการณ์ โดยผ้ใู ห้สัมภาษณ์ 8 ใน 18 คน เห็น ว่าขึนอยู่กับสง่ิ แวดลอ้ ม และประสบการณ์ทผ่ี า่ นมา เพือ่ เปน็ การเปดิ มุมมองใหม่ ๆ ท่ีหลากหลาย พร้อมน าออกมาใชป้ ระกอบเปน็ ความคดิ ท่จี ะ สามารถผกู เรอ่ื งราวตา่ ง ๆ ให้เกิดเปน็ ความคิดใหมท่ ่ี สร้างสรรคไ์ ด้ซึ่งตรงกบั Wallach and Kogan(1965) ทีว่ ่า ความคดิ สรา้ งสรรค์ คอื ความสามารถ คดิ สิ่งที่ตอ่ เนื่องสมั พนั ธเ์ ปน็ ลกู โซ่ คือ เมอ่ื ระลกึ ถึงสิ่งใดสงิ่ หน่งึ สงิ่ นนั จะเปน็ สะพาน ช่วยเชอื่ มโยงให้ ระลึกถึงส่ืงอ่นื ๆ ทส่ี มั พนั ธ์กันต่อไปเรอื่ ย ๆ

กระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์โฆษณา ของนกั สร้างสรรคโ์ ฆษณา ในส่อื ดิจทิ ลั กาหนดกระบวนการคิดสรา้ งสรรคโ์ ฆษณาของนกั สรา้ งสรรคโ์ ฆษณาในส่อื ดจิ ทิ ลั ไว้ 4 ขันตอน 1.การทราบข้อมลู พนื ฐาน 2. การคิดแนวคิดหลกั 3. การออกเทคนคิ ความคดิ การทางานของส่ือดจิ ิทลั 4. การสะทอ้ นความคดิ ดา้ นผลติ ภัณฑ์ กลมุ่ เป้าหมาย

กระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์โฆษณา ของนักสร้างสรรคโ์ ฆษณา ในส่ือดิจทิ ลั กระบวนคดิ สรา้ งสรรคโ์ ฆษณาของนกั สรา้ งสรรคโ์ ฆษณาในสอ่ื ดจิ ิทลั 1. การทราบขอ้ มลู พนื ฐาน จากผลการวจิ ยั ผู้ใหส้ ัมภาษณส์ ว่ นใหญค่ ิดว่า ต้องเข้าใจ ข้อมลู ผลิตภัณฑ์ ขอ้ มลู คู่แข่ง พฤตกิ รรมผู้บรโิ ภค หรอื ปัญหาการสอื่ สารที่ผ่านมา รวมไปถงึ วัตถุประสงคก์ ารส่อื สาร ขอ้ มูลเหลา่ นีจะช่วยทราบถึง ปญั หาและประเดน็ ต่าง ๆ ตรงกับ Bovee, Thill, and Wood (1995) ทวี่ า่ การรวบรวมปัญหาทเี่ กดิ จากข้อมูลตา่ ง ๆ จะทาให้เห็นประเด็นอยา่ งชัดเจน เพ่อื ทจี่ ะไดท้ ราบทุกสง่ิ ทุกอย่างของปัญหาก่อนทจี่ ะมีการแกไ้ ข ปญั หาดว้ ยวธิ กี าร สร้างสรรค์โฆษณา ของผลติ ภัณฑ์และสอดคล้องกับผลการวจิ ยั ของ ไตรสทิ ธิ์ อารยี ์วงศ์ (2552) วา่ วิถชี ีวติ วัฒนธรรม รวมถงึ ลักษณะนสิ ัยของประชาชนเปน็ องคป์ ระกอบสาคัญที่ ช่วยใหโ้ ฆษณาไทยประสบความสาเรจ็ แสดงให้เหน็ ว่า จาเปน็ ต้องมขี อ้ มลู พนื ฐานต่าง ๆ เหลา่ นี เพ่ือใหน้ กั สร้างสรรคโ์ ฆษณาเข้าใจถงึ แกน่ แทข้ องปัญหา และนาไปสู่การคิดท่ตี รง ประเด็นในทสี่ ุด

กระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์โฆษณา ของนักสรา้ งสรรคโ์ ฆษณา ในสอ่ื ดิจทิ ลั 2. การคิดแนวคดิ หลกั จากผลการวจิ ัยผู้ใหส้ ัมภาษณส์ ่วนใหญค่ ิดวา่ เมื่อทราบขอ้ มูลตา่ ง ๆ แล้ว จะทาให้ทราบ ประเดน็ ของปญั หา เพื่อนามาพฒั นาเป็นแนวคิดหลัก โดยจะไม่ลง รายละเอยี ดเหลา่ นันว่าจะสอ่ื สารแบบใด แตจ่ ะเจาะจง แนวคิดวา่ ส่อื สารอะไร ตรงกบั กระบวนการคดิ ของ พฒั นา ศริ ิโชตบิ ัณฑติ (2546) ขันตอนการสรา้ งแนวคิด ท่วี ่า เมื่อ ทราบปัญหาทงั หมดแลว้ นามาพัฒนาเปน็ แนวคิด เพอ่ื หาทางเลือกของปญั หาและตรงกบั ผลวจิ ยั ของภทั รดนยั อินทรพงษ์ นุวัฒน์ (2542) ท่ีว่าเคร่อื งดมื่ ประเภทโคลา่ ได้วางตาแหน่งทางการตลาด จากแนวคดิ หลกั

กระบวนการคดิ สร้างสรรค์โฆษณา ของนกั สรา้ งสรรคโ์ ฆษณา ในสื่อดิจทิ ลั 3. การออกเทคนคิ ความคิด จากผลการวจิ ัยผู้ใหส้ ัมภาษณ์สว่ นใหญ่คิดวา่ การแตก ความคดิ ให้ได้มากทสี่ ุดเป็นการ หาทางเลือกของความคดิ ควบคู่ไปกับการคดิ หาเทคนคิ วธิ กี าร น าเสนอความคิดนัน เพอ่ื จะได้พัฒนาต่อยอดเป็นรปู แบบ ของแนวคดิ ท่ีจะน าเสนอออกไป เพ่ือใช้ เทคนคิ นันใหท้ าหนา้ ที่ของตัวมนั เอง ตรงกับหลักกระบวนการคิดของ พัฒนา ศิริ โชติบณั ฑิต (2546) ขันตอนการระดมสมองและ การบ่มเพาะ ที่วา่ ระดมความคิดของสมองต่าง ๆ ออกมาให้ได้มากท่ีสดุ เพ่อื เข้ามาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การแก้ปญั หาและความคดิ จะถูกเลอื กมาใชว้ ธิ กี ารพัฒนารูปแบบแนวคดิ แต่ละแนวคดิ และ สอดคลอ้ งกับทฤษฎกี ารคดิ ขันตอนความคิดกระจ่างชดั ของ วอลลาส (1965) ทว่ี า่ ความคิดได้ผ่านการ เรยี บเรียงและเชือ่ โยงความสัมพนั ธเ์ ข้าดว้ ยกับวิธกี าร เพอื่ เกิดความกระจา่ งชัดและมโนทศั นข์ อง ความคดิ

กระบวนการคดิ สร้างสรรค์โฆษณา ของนกั สรา้ งสรรคโ์ ฆษณา ในสื่อดจิ ทิ ลั เขา้ ใจหลกั การทางานของสอ่ื ดิจทิ ลั แนวคิดจะถูกนามาพัฒนาควบคู่กับรูปแบบ การน าเสนอวา่ จะใชเ้ ทคนิควธิ กี าร แบบใด ซึง่ รปู แบบการน าเสนอบนสอื่ ดจิ ิทัลมีอยมู่ ากมายและทา หนา้ ที่แตกต่างกนั จึงตอ้ งอาศัยจดุ เด่นของสื่อเพื่อใหง้ าน โฆษณาน่าสนใจซงึ่ ตรงกับ ชศู ักดิ์ เดช เกรยี งไกรกุล (2555) ทว่ี า่ ช่องทางการเชอ่ื มตอ่ ของการท าการตลาดทเ่ี พม่ิ มากขึน สามารถใช้ ประโยชนจ์ ากสอ่ื ให้เต็มประสิทธภิ าพและเกิดประโยชนแ์ กง่ านโฆษณา สอดคล้องกับบทความของ Sookie Shuen (2012) ที่วา่ ชอ่ งทางตา่ ง ๆ ของส่ือดจิ ทิ ัล จะช่วยสร้างมลู ค่าเพมิ่ ของ สนิ ค้าใหด้ นู ่าเชอื่ ถอื และจบั ตอ้ งได้โดยจะตอ้ งสามารถสรา้ งแรงบนั ดาล ใจและอานวยความสะดวกใหก้ บั ผูบ้ รโิ ภค และ สอดคล้องกับผลวิจัยของสิรนิ ภา เจรญิ ศิริ (2543) ที่วา่ สนิ ค้าประเภทเดยี วกนั นาเสนอในรูปแบบที่ตา่ งกันย่อมสามารถ เรยี กร้องความสนใจได้ต่างกัน

กระบวนการคดิ สร้างสรรค์โฆษณา ของนกั สรา้ งสรรคโ์ ฆษณา ในส่ือดจิ ทิ ลั 4. การสะทอ้ นแนวคิด จากผลการวจิ ยั ผูใ้ หส้ ัมภาษณ์สว่ นใหญ่คิดวา่ ความคดิ ในยคุ ดิจทิ ัล ต้องสามารถขยายไปเป็น งานสอ่ื สารทางดา้ นตา่ ง ๆ ได้ในวงกวา้ ง โดยประยุกตใ์ ชก้ ับเทคนคิ การ นาเสนอภายใต้สอื่ ตา่ ง ๆ ซ่ึงงานโฆษณาบนสื่อ ดิจิทลั จะมตี วั เลขเปน็ ตวั การันตีมลู ค่าทางความคิด ว่ามีประสิทธิภาพมากนอ้ ยเพียงใดโดยตรงกบั หลกั กระบวนการคิดของ พัฒนา ศริ ิโชตบิ ณั ฑิต (2546) ขันตอนการใหอ้ อกความคิด เป็นขันตอนของการกลบั เขา้ มาเพือ่ เลือกความคดิ ทสี่ าคัญ การสะทอ้ นความคดิ ดา้ นผลติ ภณั ฑ์ ตอ้ งสามารถทาให้เกดิ ความนา่ เช่อื ถือในแบรนดผ์ ลิตภณั ฑ์ เพ่อื ใหผ้ บู้ ริโภคเกิด ความรู้สกึ ไวว้ างใจในตัวผลติ ภัณฑ์ ส่งผลใหผ้ ้บู ริโภคกลบั มาและ ติดตามซอื ใช้สินค้าและบรกิ ารอยา่ งต่อเน่ือง

กระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์โฆษณา ของนกั สร้างสรรคโ์ ฆษณา ในสือ่ ดจิ ทิ ลั การสะทอ้ นความคิดดา้ นกลุม่ เปา้ หมาย ทาให้รสู้ ึกเหมอื นเปน็ ส่วนหนงึ่ ใน ชวี ติ ประจาวนั โดยทาให้โฆษณาไม่รสู้ ึก ถูกยัดเยยี ดจนเกินไป แนวคิดจงึ ต้องสอดคลอ้ งพฤติกรรม ผ้บู รโิ ภคโดยเปน็ การมองความตอ้ งการทแ่ี ทจ้ ริงโดยสอดคลอ้ ง กบั แนวคิดของ Jerome Jeweler (1985) ท่ีว่ากระบวนการคิดทแ่ี ข็งแรงและดที สี่ ุดของสนิ คา้ หรือบริการต้องสามารถ สือ่ สารไปยงั กล่มุ เป้าหมาย อกี ทังสอดคล้องกบั ผลวิจัยของ ภัทรภร เสนไกรกุล (2551) ท่ีพบว่าผบู้ ริโภครนุ่ ใหมม่ ี แรงจงู ใจใชส้ อ่ื รูปแบบใหม่มากกวา่ สอ่ื ดังเดิม สง่ ผลใหผ้ บู้ รโิ ภครนุ่ ใหม่เปดิ รบั สอ่ื รปู แบบใหม่มากขนึ

ปัจจยั ท่มี ผี ลตอ่ ความคดิ สรา้ งสรรคโ์ ฆษณาในสอื่ ดจิ ทิ ลั การวิเคราะห์ปจั จัยภายนอกท่ีมีผลกระทบตอ่ ความคดิ สรา้ งสรรค์ของนกั สร้างสรรค์โฆษณา เพ่ือสามารถทราบปัจจยั ที่มีผลตอ่ ความคิดสร้างสรรค์โฆษณาในส่ือดจิ ทิ ัล ซงึ่ ตรงกบั บทความของ Amanda Dcosta (2011) ทวี่ ่าเครอ่ื งมือการ วเิ คราะห์ปจั จยั ภายนอกจะท าให้ทราบถึงผลกระทบ ที่นอกเหนือการควบคุมและมีอทิ ธิพลตอ่ การด าเนินงานโดยแบง่ ปจั จยั ไว้ 4 ดา้ น “SEPT” ดงั นี ปัจจยั ทางสังคม ปจั จยั ทางเศรษกจิ ปัจจัยทางนโยบาย ปัจจัยทางเทคโนโลยี ลูกค้า ทุนการผลิต เวลา ความคิดสร้างสรรค์ ของนัก สร้างสรรค์โฆษณาในสอื่ ดจิ ทิ ัล

ปัจจัยทม่ี ผี ลตอ่ ความคดิ สร้างสรรคโ์ ฆษณาในสอื่ ดจิ ทิ ลั ปัจจัยทีม่ ีผลตอ่ คิดสร้างสรรค์โฆษณาของนักสรา้ งสรรค์โฆษณาในสอ่ื ดิจิทัล 1. ปัจจยั ทางสงั คม (Social - S) จากผลการวิจยั ผ้ใู ห้สมั ภาษณ์สว่ นใหญ่คดิ ว่าปัจจัยทาง สังคมเป็นปัจจยั ลาดบั แรกทีม่ ผี ลกระทบตอ่ ความคดิ สรา้ งสรรค์ เนอื่ งจากความคิดเห็นของลกู คา้ จะ คานึงถงึ สว่ นแบง่ การตลาดมากกว่าความคดิ สรา้ งสรรค์บนสื่อโฆษณา ทาให้กลายเป็นความคิดท่ี ครอบคลมุ แตเ่ พยี งการตลาดเท่านัน งานโฆษณาจึงไม่สามารถเลน่ กับความคิดได้ไม่เตม็ ท่ี ยิ่งปัจจบุ นั ผบู้ รโิ ภคบนส่อื ดจิ ทิ ลั มพี ฤติกรรมท่ีเปลี่ยนแปลงไป ซึง่ สอดคลอ้ งกบั John Lovett and ความคดิ สร้างสรรค์ ของนกั สรา้ งสรรค์โฆษณาในสอื่ ดจิ ิทลั ปัจจยั ทางสงั คม ปจั จยั ทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทาง นโยบาย ปัจจยั ทางเทคโนโลยี ลูกค้า ทนุ การผลติ เวลา 30 Journal of Communication and Management NIDA Volume 1 Number 2 (May – August 2015) Jeremiah Owyang (2010) ทวี่ ่าผบู้ ริโภคเรมิ่ ทจ่ี ะมี การสรา้ งหรืออพั โหลดเนอื หาทเ่ี กี่ยวกับแบรนด์สินคา้ เปน็ บอกต่อผา่ นการตอบสนองทผี่ ูบ้ รโิ ภคสนใจ ลูกคา้ จึงตอ้ ง ระมัดระวงั และการควมคุม การสร้างสรรคโ์ ฆษณาบนสอื่ ดจิ ิทลั ใหร้ ดั กมุ ท่ีสุด เพื่อไม่ใหเ้ กิดความผิดพลาดในอนาคต

ปจั จยั ท่มี ผี ลตอ่ ความคดิ สร้างสรรคโ์ ฆษณาในสอื่ ดจิ ทิ ลั 2. ปัจจยั ทางเศรษฐกจิ (Economic - E) เปน็ ปจั จยั ลาดบั ทส่ี องทมี่ ีผลกระทบตอ่ ความคดิ สร้างสรรค์ โดยคดิ ว่า งานบนสื่อดิจิทลั มักจะเปดิ กว้างทางความคดิ ทาให้การผลติ ชนิ งาน โฆษณาตอ้ งปรับตามความคิดทส่ี รา้ งสรรค์ขึนจาก ความคิดทเี่ ป็นนามธรรมตอ้ งทาให้กลายเป็น รูปธรรม ทาให้เกิดตน้ ทนุ การผลิตทีค่ ่อนขา้ งสงู จากสิ่งที่คดิ ไว้ อกี ทังลูกค้ากนั งบทุนการผลติ ไว้สาหรบั งานโฆษณาบนส่อื หลกั ค่อนขา้ งมาก ทาให้เหลอื ทุนการผลิตมาสู่ส่ือดิจทิ ลั ไมม่ ากนกั เกิดเป็น ขอ้ จากัด ของนกั สร้างสรรค์โฆษณาบนสื่อดจิ ทิ ัลทจ่ี ะตอ้ งคดิ งานบนทนุ การผลิตทจี่ ากดั 3. ปัจจยั ทางนโยบาย (Political- P) เปน็ ปัจจยั ล าดับท่ีสามท่มี ผี ลกระทบตอ่ ความคิด สรา้ งสรรค์เนื่องจากด้าน นโยบายเป็นปจั จยั ทไี่ มส่ ามารถเปลีย่ นแปลงได้ ในทางกลบั กันก็ เปรียบเสมอื นโจทย์พนื ฐานทต่ี ิดมากบั การส่อื สาร ผลการวจิ ัยผใู้ ห้สัมภาษณส์ ่วนใหญค่ ดิ วา่ นกั สร้างสรรค์โฆษณาจงึ ต้องคิดงานอยบู่ นพนื ฐานของความถูกต้อง เพอื่ สร้าง มาตราฐานใหก้ ับ กลุ่มเป้าหมาย

ปัจจัยทีม่ ผี ลตอ่ ความคดิ สรา้ งสรรคโ์ ฆษณาในสอื่ ดจิ ทิ ลั 4. ปจั จัยทางเทคโนโลย(ี Technological - T) เปน็ ปัจจยั ลาดบั สดุ ทา้ ยท่มี ีผลกระทบ ต่อความคิดสร้างสรรค์ เนอื่ งจากความคิดเปน็ สงิ่ ทสี่ ร้างสรรคจ์ ินตนาการได้อย่างไม่สนิ สุด ทาให้ ความคดิ ถูกพฒั นาบนสมองของมนษุ ย์ตลอดเวลา จนบางทเี ทคโนโลยขี องสื่อโฆษณาพัฒนาตามไม่ ทันหรืออาจจะต้องใช้เวลาในการพฒั นาให้ระบบสมบูรณ์เพ่ือใหก้ ้าวทัน และรองรับความคิด สรา้ งสรรค์ ตรงกบั แนวคดิ ของ รอฮมี ปรามาท(2554) ทวี่ ่าการโฆษณาผ่านระบบเครือขา่ ย จาเปน็ ต้องมมี าตราฐานอินเทอร์เฟสทเี่ หมาะสมเพ่อื รองรับการนาเสนอ และสอดคลอ้ งกบั รชิ ารด์ วตั สนั (2554) ท่วี า่ ผู้บริโภคในสอ่ื ดจิ ทิ ัลตอ้ งการความหลากหลาย อยากไดใ้ นแบบทต่ี ้องการและ ทนั ทีทต่ี อ้ งการ ทาให้นักสร้างสรรคโ์ ฆษณา ต้องคดิ เผ่อื ไปอกี กา้ ว เพือ่ ใหต้ อบโจทยข์ องผบู้ ริโภคท่มี ี ความต้องการขณะนนั ทนั ที

ข้อเสนอแนะ 1. ควรศกึ ษาเพมิ่ เตมิ เกีย่ วกับพฤตกิ รรมการใช้สื่อดจิ ทิ ัลของกลุ่มเป้าหมายเพ่ือจะไดท้ ราบ เป็นแนวทางในการตอบสนอง ความต้องการของกลุม่ เปา้ หมายให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 2. ควรศกึ ษาทศั นคตขิ องผรู้ บั ส่อื ในงานโฆษณาบนสอ่ื ดจิ ิทัลในแตล่ ะประเภท เพ่ือทราบ ความคดิ เหน็ ของกลุม่ เป้าหมาย ท่ีมีตอ่ งานโฆษณาบนสือ่ ดิจิทลั 3. ควรศกึ ษาเกย่ี วกบั เกี่ยวกับหลกั การทางานของสือ่ ดิจทิ ัล เพ่อื ทราบจดุ เด่น จุดดอ้ ยและ ความเหมาะสมในการใชง้ าน ของส่ือแต่ละประเภท เพ่ือจะไดท้ ราบรปู แบบการน าเสนอหรือลูกเลน่ ท่ีเหมาะสมกับแนวคดิ 4. ควรทาการวิเคราะห์เนอื หาระหวา่ งตราสนิ คา้ ในส่ือที่หลากหลาย เพ่อื เป็นการทราบ การสื่อสารของตราสนิ ค้าบนสือ่ ท่แี ตกตา่ งกัน โดยวเิ คราะห์ลกั ษณะของเนอื หาทป่ี ระยุกต์ใชใ้ นแต่ ละสื่อ วา่ มีแนวทางการคดิ หรอื ผลติ เนอื หาจากหลักใด หรอื ยึดส่งิ ใดเป็นแกนในการคดิ ตอ่ ยอด เนอื หาเหล่านนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook