Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ร่าง หนังสือ คู่มือคนดี-A5-160264

ร่าง หนังสือ คู่มือคนดี-A5-160264

Published by udompong, 2021-02-22 04:04:51

Description: ร่าง หนังสือ คู่มือคนดี-A5-160264

Search

Read the Text Version

ห น้ า | ๑ ร่างหนงั สอื สุจรติ ชน เพ่อื เสรมิ สร้างบ้านเมอื งสจุ รติ สถาบันพระปกเกล้า คณะกรรมการเสรมิ สรา้ งบ้านเมอื งสจุ ริต สภาผแู้ ทนราษฎร ๒๕๖๔

ห น้ า | ๒ ร่างหนงั สอื สุจรติ ชน เพ่อื เสริมสรา้ งบา้ นเมอื งสจุ รติ

ห น้ า | ๓ คานา หนังสือน้ีจัดพิมพ์ข้ึน โดยดาริของ นาย ชวน หลีกภัย ประธานสภาผู้แทนราษฎร ในฐานะประธานสภ าสถาบัน พระปกเกล้า โดยมีความมุ่งหวังให้เป็นค่มู ือสาหรับนกั ศึกษาสถาบัน พระปกเกลา้ ตลอดจน เยาวชน และ ประชาชนทวั่ ไป ไดเ้ รยี นรแู้ ละ เกิดความตระหนักถึงความสาคัญของการประพฤติปฏิบัติตนเป็น “คนด”ี ซ่งึ จะทาให้สงั คมและบ้านเมืองเกิดความสุจรติ สถาบันพระปกเกล้า และคณะกรรมการเสริมสร้าง บ้านเมอื งสจุ ริต สภาผู้แทนราษฎร ขอกราบขอบพระคุณ นาย ชวน หลีกภัย ประธานสภาผู้แทนราษฎร ในฐานะประธานสภาสถาบัน พระปกเกล้า ที่เป็นผู้คิดริเริ่มและได้กรุณาให้คาแนะนาเพื่อเป็น แนวทางในการจัดทาหนังสือเล่มน้ี คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า หนังสือเล่มนี้จะมีส่วนสาคัญยิ่งในการสร้างความตระหนักแก่ สาธารณะชนเก่ียวกับเร่ืองความสุจริตซื่อตรง และเสริมสร้าง คุณภาพความเป็นพลเมืองที่ดี อันเป็นรากฐานของการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขให้มี ความเปน็ ปึกแผน่ มั่นคงสืบไป คณะผูจ้ ดั ทำ ๒๕๖๔

สารบัญ ห น้ า | ๔ ๑. ยึดมัน่ ในหนา้ ที่ หน้า ๒. มีวสิ ยั ทศั น์ผู้นา ๓. หลักธรรมาภิบาล ๖+๑ ๔. ยุตธิ รรมและเสมอภาค ๕. ลดความเหลอ่ื มลา ๖. ใช้อานาจรัฐอย่างเปน็ ธรรม ๗. จิตสานึกดี ๘. มีความกตัญญู

ห น้ า | ๕ ยดึ ม่นั ใน หน้าที่ มีความ มีวสิ ัยทัศน์ กตญั ญู ผู้นา จิตสานกึ ดี บา้ นเมอื งสจุ ริต หลัก ธรรมาภบิ าล ๖+๑ ใชอ้ านาจรฐั ยตุ ิธรรมและ อยา่ งเปน็ เสมอภาค ธรรม ลดความ เหลอ่ื มลา

ห น้ า | ๖ ๑ “ยดึ มนั่ ในหนำ้ ท่ี”

ห น้ า | ๗ “...จงึ ขอใหท้ ำ่ นท้งั หลำยในทนี่ ้ี ซ่งึ มตี ำแหน่งหน้ำทส่ี ำคัญ อยใู่ น สถำบันหลกั ของประเทศ และชำวไทยทุกหมูเ่ หล่ำ ทำควำมเข้ำใจใน หน้ำทข่ี องตนใหก้ ระจ่ำง แล้วตงั้ จิตตัง้ ใจให้เท่ียงตรง หนกั แนน่ ที่จะปฏิบัตหิ นำ้ ท่ีของตนให้ดีท่ีสดุ เพือ่ ใหส้ ำเร็จประโยชนส์ ่วนรวม อันไพบูลย์ คอื ชำติบำ้ นเมอื ง อันเป็นถิ่นท่ีอย่ทู ีท่ ำกนิ ของเรำ มคี วำมเจริญม่ันคงยัง่ ยนื ไป...”๑ “...ทำ่ นท้ังหลำยในสมำคมน้ี ตลอดจนคนไทยทกุ หมู่เหลำ่ จึงควรจะ ไดท้ ำควำมเข้ำใจ ในหน้ำท่ขี องตนไว้ใหก้ ระจ่ำง แลว้ ตง้ั ใจปฏบิ ัติ หน้ำท่ีของตนใหด้ ีที่สุด มคี วำมไม่ประมำท และ มคี วำมมีสตริ ู้ตวั อยูเ่ สมอ เพรำะกำรกระทำโดยประมำท ขำดควำมรอบคอบ เปน็ เหตใุ ห้เกิดควำมผดิ พลำด เสยี หำยในหน้ำที่...”๒ พระรำชดำรัส พระบำทสมเดจ็ พระบรมชนกำธเิ บศร มหำภูมพิ ลอดุลยเดช มหำรำช บรมนำถบพติ ร ในกำรเสด็จออกมหำสมำคมในงำนพระรำชพิธี เฉลิมพระชนมพรรษำ ณ พระท่นี ่งั อมรนิ ทรวินจิ ฉยั เม่อื วนั ท่ี ๕ ธันวำคม ๒๕๕๒๑ และ ๒๕๕๓๒

ห น้ า | ๘ ในเรื่องของคาว่า “หน้าท่ี” นั้น เป็นส่ิงที่มี ความสาคัญกับคนทุกระดับ ทุกคนก็มีหน้าที่ทั้งท่ีเป็นผล จากความเป็นมนุษย์ และผลจากการที่เป็นส่วนหนึ่งของ ชีวิตผู้อ่ืน เหตุใดในส่วนน้ี จึงกล่าวว่า การรู้หน้าท่ีมีส่วน สาคัญที่จะช่วยทาให้บ้านเมืองเกิดความสุจริตได้ หาก เริ่มต้นศึกษานิยามของคาว่า “หน้าท่ี” ตามความหมาย ของพจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน จะพบว่า หมายถึง กจิ ท่ตี ้องทาด้วย “ความรับผิดชอบ” ดงั น้ัน เมื่อการปฏิบัติ ใดๆ กระทาบนพ้นื ฐานของการรสู้ านึกรับผิดชอบแล้ว ย่อม ต้องส่งผลดี ตั้งแต่ระดับตนเอง องค์กร และ ยังผลดีสู่ สังคมโดยส่วนรวม ในอดีตจนถึงปัจจุบัน ข้าราชการ ถือเป็นอาชีพท่ี เก่ียวข้องกับคาว่า “หน้าท่ี” ในทางท่ีมีผลต่อความสุจริต ของสังคมมากท่ีสุด เพราะ การมารับราชการจะมีข้อ กฎหมายและระเบียบท่ีจะกาหนดว่ามีหน้าทีท่ ่ีจะต้องทาส่ิง ใด และห้ามมิให้กระทาสิ่งใด โดยมีกฎหมายกาหนดโทษ หากไม่กระทาตามหน้าที่ หรือ ใช้อานาจหน้าที่ไปในทางมิ ชอบด้วย ดังนั้น ความซ่ือตรงในหน้าท่ีจึงเป็นส่ิงสาคัญกับ ข้าราชการทุกคน ดังจะเห็นตัวอย่างที่ชัดเจนได้จากการที่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเน้นย้าแก่ ข้าราชการในสมัยน้ันให้ตั้งใจกระทากิจการ ซึ่งได้รับมอบ ให้เป็นหน้าที่ของตนน้ันโดยซ่ือสัตย์ สุจริต ใช้ความ อตุ สาหวิริยภาพเต็มสติกาลังของตน ด้วยความมุ่งหมายให้

ห น้ า | ๙ กิจการนั้น ๆ บรรลุถึงซึ่งความสาเร็จโดยอาการอันงดงาม ที่สุดที่จะพึงมีหนทางจัดไปได้1 เม่ือกลา่ วถึงตรงนี้ คงพอจะ ทาให้เห็นว่า หากเราทุกคนพึงปฏิบัติตามหน้าท่ีแล้ว จะมี สว่ นชว่ ยให้บ้านเมืองเกิดความสุจริตได้อยา่ งไร พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิ พลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงเป็นแบบอย่าง อันสูงสุดของความรับผิดชอบต่อการทาหน้าท่ี เพื่อความ อยู่เย็นเป็นสุขของประเทศ เป็นท่ีประจักษ์แก่ผู้ที่เคยถวาย งานใกล้ชดิ พระองค์ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ เกษม วัฒนชัย องคมนตรี ได้ให้สัมภาษณ์แก่คณะทางานจัดทา หนงั สอื เลม่ นี้ เม่อื วนั อังคารท่ี ๑๘ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๓ ณ ทาเนยี บองคมนตรี ความตอนหน่งึ วา่ “...เรื่องความซ่ือสัตย์สุจริตนั้น ท่านจะเน้นบ่อย ทส่ี ุด มากท่ีสุด และอีกอนั หนึ่งท่ีทรงเน้นย้าบ่อยมากแต่เรา อาจจะไม่ได้สังเกตกัน คือ ขอให้ทุกคนท้าตามหน้าที่ ซ่ึง 1 จากหนงั สอื “หลกั ราชการ” ซงึ่ ไดพ้ ระราชนพิ นธ์และพิมพพระราชทานแจกขา้ ราชการ ในการพระราชพธิ ีตรษุ สงกรานตพระพทุ ธศักราช ๒๔๕๗

ห น้ า | ๑๐ สองเร่ืองน้สี ้าคัญมาก เป็นรากฐานมิเช่นนั้นบ้านเมืองไปไม่ รอด ครอบครวั ก็ไปไม่รอด ...” นายชวน หลีกภัย ประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้ กล่าวย้าในเรื่องความสาคัญของหน้าที่ ในแทบทุกโอกาสที่ ได้ไปปาฐกถาพิเศษ บรรยาย หรือ การให้สัมภาษณ์ท่ีใดก็ ตาม ท่านจะเน้นย้าถึงพระราชดารัสของในหลวงรัชกาลท่ี ๙ เม่อื วันท่ี ๕ ธนั วาคม ๒๕๕๒ และ ๒๕๕๓ อยูเ่ สมอ “เร่ืองที่พระองค์ท่านได้รับสั่งในปี ๒๕๕๒ กับปี ๒๕๕๓ ปกติในหลวงไม่รับส่ังซ้า แต่มี ๒ ปี ที่ได้รับสั่งซ้า และทั้งหมดมาจากเร่ืองของความรับผิดชอบ ท้ังหมด เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ของความไม่สงบและกระทบต่อ ประเทศชาติอย่างรุนแรง ก็คือ กรณีของการท้าลายการ ประชุมทพี่ ัทยา มันเกิดไดอ้ ย่างไร เกิดจากคนกลุ่มหน่ึง แต่ ก็ไม่ส้าคัญว่ากลุ่มไหน มีต้ารวจ มีทหาร มีฝ่ายปกครอง มี เจ้าหน้าทท่ี ุกฝ่าย แต่ทา้ ไมมันเกิดไดอ้ ย่างไร ท้าไมจงึ ปล่อย ให้เกิดได้ ข้อสรุปก็คือความรับผิดชอบของคนท่ีมีหน้าท่ี เหล่านั้นไม่มี... วันน้ันคนท่ีมาก่อเหตุก็ไม่ใช่ว่าจะมีก้าลัง กองทัพจากตา่ งประเทศ ไม่ใช่ว่ามีจ้านวนมากมายอะไรนัก ถา้ เจา้ หน้าท่ีเขา้ ไปสกดั กั้นกส็ กดั ได้ ไมป่ ล่อยให้คนเหลา่ น้ัน เข้าไปไล่ผู้มาประชุม ซึ่งเรียนว่า เหตุนี้ไม่เคยเกิดใน ประเทศไทยและไม่เคยเกิดที่ไหนในโลกในอดีต ปัจจุบัน และเช่ือว่าในอนาคตก็ไม่มีท่ีไหนในโลกเกิดเหตุอย่างนี้ ผู้ประชุมในห้องหนีกระเจิดกระเจิง ขึ้นเฮลิคอปเตอร์ก็มี

ห น้ า | ๑๑ ลงเรือก็มี ซึ่งเป็นเรื่องท่ีน่าเสียใจอย่างท่ีสุด เพราะฉะนั้น ๒ ปที พ่ี ระองคท์ า่ นรบั สัง่ กค็ ือ ความรับผดิ ชอบ”2 กล่าวได้โดยสรุปว่า การสร้างสังคมโดยท่ีทุกคน ต้องรู้จัก “หน้าท่ี” และทาหน้าที่ทร่ี ับผิดชอบนน้ั ด้วยความ “สุจริต” เป็นเรื่องท่ีพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรทรงให้ ความสาคัญอย่างยิ่งดังท่ีกล่าวมา ดังนั้น คนไทยทุกคนจึง ควรน้อมน าพ ระราช ดารัสไป ยึดถือและปฏิ บัติใน ชีวิตประจาวันให้เป็นนิจ รวมท้ัง กระทาตนเป็นแบบอย่าง ให้แก่ผู้อื่นในสังคม เพื่อเป็นส่วนสาคัญที่จะสร้างบ้านเมือง สุจริตใหเ้ กดิ ขึ้นดว้ ย  2 คาบรรยายพิเศษของ นาย ชวน หลีกภัย ประธานสภาผู้แทนราษฎร ในหลักสูตรการ บริหารความมั่นคงสาหรับผู้บริหารระดับสูง (สวป.มส.SML) รุ่นที่ ๑ เร่ือง ธรรมาภิบาล และการต่อสู้กับการทุจริตคอรัปช่ัน วันเสาร์ท่ี ๔ กรกฎาคม ๒๕๖๓ เวลา ๑๖.๐๐ – ๑๘.๐๐ นาฬกิ า ณ วทิ ยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจักร สถาบนั วิชาการป้องประเทศ

ห น้ า | ๑๒ ๒ มวี สิ ัยทัศน์ผู้นำ

ห น้ า | ๑๓ “วสิ ยั ทศั น์” ตามพจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ นั้น หมายถึง การมองการณ์ไกล เมื่อนามารวมกับคาว่า ผู้นา ซึ่งมักจะใช้กับผู้ที่เป็นหัวหน้าขององค์กรต่าง ๆ แล้ว ย่อม หมายถึง การมองเห็นภาพอนาคตของผู้นาในองค์กร แล้วกาหนด จุดหมายปลายทางและวิธีการ เพ่ือมุ่งสู่เป้าหมายปลายทางท่ี ต้องการ ดังน้ัน การมีวิสัยทัศน์ของผู้นาจึงมีความสาคัญอย่างย่ิงที่ จะเป็นตัวกาหนดถึงความเป็นไปได้ท่ีผู้นาจะสามารถนาพาให้เกิด ความสาเร็จได้มากน้อยเพียงใด ซึ่งหากเป็นภาครัฐ เป้าหมายสาคัญ ที่อาจกล่าวได้ว่า เป็นภาพร่วมกันของทุกหน่วยงาน นั่นก็คือ การที่ ประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุด หากผู้นาภาครัฐเป็นผู้ท่ีมีวิสัยทัศน์ เป็นผู้ที่มองการณ์ไกลถึงสิ่งที่ต้องเกิดข้ึนทั้งในระยะสั้นและในระยะ ยาว ประชาชนก็จะได้รับประโยชน์อย่างท่ัวถึง ซ่ึงสามารถทาให้ ประเทศเกิดการพัฒนาอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะประโยชน์ที่เกิด ขนึ้ กบั ประชาชนน้ี ถือเป็นการพัฒนาทนุ มนุษย์ท่ีมคี วามสาคัญ และ เป็นการพัฒนาอย่างย่ังยืน เม่ือคนไทยได้รับการพัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ ก็จะมีส่วนช่วยลดปัญหาสังคมในภาพรวม ซ่ึงเป็นส่วน ส่งเสริมบา้ นเมืองสุจรติ ดว้ ย

ห น้ า | ๑๔ นโยบายจัดตังอนุบาลชนบท และ โครงการนม โรงเรียน เป็นส่ิงดาเนินการมาจนถึงปัจจุบันด้วยความคิด ริเร่ิมและการมีวิสัยทัศน์ผู้นาของนายชวน หลีกภัย ประธานสภาผู้แทนราษฎร ที่เล็งเห็นความสาคัญด้าน การศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยให้แก่เด็กและ เยาวชน และช่วยพัฒนาร่างกายของเด็กนักเรียนให้ แข็งแรง รวมท้ังมีน้าหนักและส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข อีกท้ัง ในโครงการนม โรงเรียนยังมีเง่ือนไขว่า น้านมที่ใช้เป็นวัตถุดิบในโครงการ นมโรงเรียนต้องเป็นน้านมดิบจากเกษตรกรในประเทศซึ่ง เทา่ กับเป็นการได้ชว่ ยเหลอื เกษตรกรผูผ้ ลิตโคนมอกี ดว้ ย “เม่ือเป็นรัฐมนตรี เราจึงได้คิดเรื่องกระจาย โรงเรียน ผมเป็นคนเริ่มอนุบาลชนบท สมัยก่อนนั้น อนุบาลมีโรงเดียวในตัวจังหวัด และเด็กที่ลูกหลานท่ีได้ เรียนก็จะเป็นเด็กในตลาด ลูกนักธุรกิจในตลาด หรือลูก ข้าราชการ แต่เด็กในหมู่บ้านต้าบลเข้า ป.๑ ไม่ได้ผ่าน อนุบาลนะ เพราะฉะนั้น เด็กในตลาดนี่เข้า ป.๑ ABC จะ อ่านออกแล้ว แต่เด็กในหมู่บ้านนี้ภาษากลางยังฟังไม่ออก เลย เราจะเห็นว่าการเริ่มของเด็กในหมู่บ้านกับเด็กใน ตลาดนี้มันแตกต่างกัน ตอนผมเป็นรัฐมนตรีว่าการ

ห น้ า | ๑๕ กระทรวงศึกษาธิการในตอนนั้น ก็เลยคิดกันกับข้าราชการ ในกระทรวงเปิดอนุบาลชนบทข้ึน อันนี้ขอย้า เพราะว่าใน ที่ประชุม ครม. จ้าได้ว่ามีรัฐมนตรีหลายท่านก็หวังดี บอกว่า ท่านรัฐมนตรีชวน อนุบาลมันจะคุณภาพไม่เท่ากับ อนุบาลในเมืองหรอกนะ ผมก็บอกว่า ผมทราบดี สู้ไม่ได้ หรอก แต่ถ้าเราไม่ท้า เด็กในหมู่บ้านที่จะเข้า ป.๑ มัน เทียบกับเด็กในเมืองไม่ได้เลย ถ้าเราเริ่มต้นต่างกันอย่างน้ี เด็กในหมู่บ้านก็จะล้าบากในอนาคต โชคดีท่ีในระหว่างท่ี เถียงกันอยู่น้ัน นายกรัฐมนตรี พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ท่านพูดข้ึนมาว่า “น่ีคือสิ่งที่รัฐบาลอยากเห็น” ค้าเดียว เท่าน้ัน ทุกคนก็เลยเงียบ ผมไม่ต้องเถียงต่อแล้ว ไม่มีใคร ค้าน เราเลยเร่ิมอนุบาลชนบท ๒,๐๐๐ ห้องเรียน ปีแรกก็ มีเด็กเรียน ๘๐,๐๐๐ กวา่ คนทัว่ ประเทศ แตม่ ีข้อแม้วา่ ตอ้ ง ไม่เบิกงบประมาณใหม่ เราก็ใช้โรงเรียนประถมท่ีมีความ พร้อม ที่ผมเล่าเร่ืองน้ี เพราะเข้าไปค้นเจอแล้วมีบันทึกไว้ ว่า ผมบันทึกถึงข้าราชการในกระทรวงว่า เรื่องน้ี นายกรัฐมนตรีให้ความสนใจมาก กรุณาด้าเนินการให้ เรียบร้อยด้วย ปรากฏวา่ ลายมือ ลายเซน็ ผมยงั อยู่จนถึงทุก วนั นี้ เราก็เลยเปิดอนบุ าลชนบท กเ็ ลยท้าให้เด็กในหมู่บ้าน เลยได้เร่ิมเรียนชั้นเด็กเล็กและอนุบาลขึ้นบ้าง สิ่งที่ภูมิใจ อ ยู่ทุ ก วัน นี้ ก็ คื อ ท่ าน รัฐม น ต รีก ระท รวงศึ ก ษ าฯ หมอ่ มหลวงป่ิน มาลากลุ ยังมีชวี ติ อยู่ ท่านก็ให้ลูกศษิ ย์ของ ท่าน อาจารย์ชมพู มาพบ บอกว่าท่านหม่อมหลวงป่ินให้

ห น้ า | ๑๖ มาแสดงความยินดกี ับท่านรฐั มนตรีชวนดว้ ย ว่าเพราะทา่ น อยากเห็น อยากท้า แต่ในสมัยท่าน ทา่ นยังท้าไม่ได้ แต่พอ มาถึงสมัยท่านชวน ท่านท้าได้ ท่านเลยมาแสดงความยนิ ดี ด้วย ผมกจ็ า้ ไว้ เมื่อเราท้าเร่ืองอนุบาลชนบทแล้ว เราก็ท้าเร่ือง เด็กเล็กโดยมีนโยบายด่มื นม ผมท้าด้วยตวั เอง คิดมาตลอด ต อ น ท่ี เป็ น รั ฐ ม น ต รี ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร น่ี ก็ ท้ า บ้ า ง แต่งบประมาณมีจ้ากัด แต่ตอนเป็นนายกรัฐมนตรีน่ีมีสิทธิ แล้ว ก็เชิญผู้อา้ นวยการส้านกั งบฯ มาคุยบอกว่า ถ้าให้เด็ก ท่ัวประเทศได้ด่มื นมสดน่ีเป็นการสรา้ งคุณภาพคนท้ังสรีระ ก้าลังกาย และสมองน่ีเท่าไหร่ งบประมาณมันก็จะไม่ได้ เป็นร้อยล้านนะ แต่เป็นพันล้าน สมัยนี้คงเป็นหม่ืนล้าน แล้ว แต่ว่าในที่สุด เราก็เร่ิมในอนุบาล ๑-๓ ป.๑ ป.๒ ป.๓ เจด็ ปไี ด้ด่ืมนมสด นับแต่น้ันเป็นต้น จริงๆ เลขาธิการ สปช. ในสมัยน้ัน ดร.กษมา วรวรรณ ท่านเล่าให้ฟังว่า ร้านค้า สวัสดิการคุรุสภา ขายเส้ือกระโปรง เคร่ืองเขียนนักเรียน ท่านบอกวา่ กระโปรง กางเกง เสือ้ เบอร์ 1 ขายไม่ออกแล้ว เพราะวา่ หลงั จากนโยบายด่ืมนมเกิดขึน้ สรีระเปล่ียน ผมก็ ไปดูด้วยตาตัวเอง เจ้าหน้าท่ีก็บอกว่า เส้ือเบอร์ 1 ขนาดนี้ เดิมเด็กเคยใส่ขนาดน้ี ตอนน้ีใส่ไม่ได้แล้วต้องเปล่ียนเป็น เบอร์ 2 แต่ว่าท่ีรู้ทีหลังก็คือ ท่านอาจารย์แพทย์ท่านหน่ึง มาบอกผมว่า ท่านชวนรู้ไหมว่า นโยบายด่ืมนมของท่านนี่ ท้าให้คนไทยสูงขึ้น 11 เซนติเมตร ผมบอก อาจารย์ผมไม่

ห น้ า | ๑๗ เคยทราบเลย ภายหลังได้ไปค้นท่ีกรมอนามัยว่า เคยวัดไว้ เม่ือปี ๒๕๓๘ ตอนเราเร่ิมนโยบายดื่มนมสักปีสองปี แล้ว หลังจากน้ัน สสส. ก็ไปวัดใหม่หลังจากน้ันสัก ๑๐ กว่าปี เกือบ ๒๐ ปีต่อมา ถัวเฉลี่ยคนไทยสูงข้ึนประมาณ ๑๑ เซนติเมตร ที่เราเห็นชัดก็คือ ทีมวอลเล่ย์บอลหญิงเกิดขึ้น เมื่อก่อนใครจะไปคดิ ว่าทีมเราจะไปแข่งกับบราซิล รัสเซีย อเมริกาได้ อันนี้ก็ช่ืนชมจริงๆ ว่าคนที่คิดทีมวอลเล่ย์บอล หญิงต้องถือเป็นตัวอย่างบุคคลของชาติคนหน่ึง เพราะ กลายเป็นว่าประเทศไทยมาจากไหนกัน สตรีไทย ทีม วอลเล่ย์บอลหญิงไทย สามารถสู้กับเขาติดอันดับโลกได้ ด้วย ถึงไม่ได้เป็นแชมป์แต่ก็ติดอันดับสูงมาก อันนี้ก็ถือว่า เป็นผลพวงท่ีสรีระสตรีเราเปลี่ยนแปลงไป เพราะมาจาก นโยบายดื่มนมอยู่ด้วย”3 3 คาบรรยายพิเศษ นาย ชวน หลีกภัย ประธานสภาผู้แทนราษฎร ในหัวข้อ “จริยธรรม ของผ้นู า”ในหลกั สูตรประกาศนยี บตั รชน้ั สูงการเมืองการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย สาหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ ๒๔ วันอังคารที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๐.๓๐- ๑๒.๐๐ น. ณ ห้องประชมุ ย่อย ๑-๒ ฝง่ั อาคารเรียน สถาบนั พระปกเกลา้

ห น้ า | ๑๘ ๓ หลักธรรมำภบิ ำล ๖+๑

ห น้ า | ๑๙ โ ด ย ป ก ติ “ค ว า ม เก ร ง ใจ ” ถื อ เป็ น คุ ณ ลักษณะเฉพาะข้อหนึ่งของนิสัยคนไทย ท่ีแสดงออกถึง ความอ่อนน้อมทางความรู้สึกระมัดระวังที่จะไม่ให้การ กระทาใด ๆ ของตนไปทาใหค้ นอ่นื รู้สกึ ถงึ ความและยุง่ ยาก ในเรื่องต่าง ๆ จนสังคมไทยได้ทาให้ “ความเกรงใจ” กลายเป็นบรรทัดฐานของความสัมพันธ์ทางสังคม ความ เกรงใจจึงทาให้คนเคารพสิทธิของกันและกัน ไม่กระทาส่ิง ใดท่ีเป็นการละเมิดสิทธิและทรัพย์สินของผู้อ่ืน แม้กระท่ัง ของส่วนรวม ซึ่งมีผลทาให้การกระทาท่ีจะกระทบกระท่ัง ผู้อื่นเกิดข้ึนไม่มากนัก แต่ปัจจุบัน ความเกรงใจ มักถูก

ห น้ า | ๒๐ นามาใช้เป็นข้ออ้างในการไม่ทาในส่ิงท่ีควรทา หรือ ไม่ทา ตามหน้าที่ เช่น เกรงใจหัวหน้า เกรงใจเจ้านาย เกรงใจ ผู้บังคับบัญชา เกรงใจผู้มีพระคุณ เม่ือไหว้วานให้ทาอะไร แม้ไม่ถูกต้อง หรือ ขัดต่อหน้าท่ีก็ไม่อาจปฏิเสธได้ หรือ แม้กระทั่งเกรงใจเพื่อน จึงไม่กล้าตักเตือนแม้เห็นเพื่อนทา ผิด เป็นต้น ความเกรงใจจึงกลายเป็นวัฒนธรรมท่ีเป็น อุปสรรคสาคัญในการขับเคลื่อนการเสริมสร้างความสุจริต ในสังคม และยังส่งผลต่อต่อความเจริญก้าวหน้าของ ประเทศชาติ ดังนั้น นอกเหนือจากท่ีโดยทั่วไปเรามักจะ ยึดถือหลักธรรมาภิบาลท่ีเป็นหลักการสาคัญของการ ปฏิบัติท่ีดีแล้ว ยังต้องให้ความสาคัญกับการยึดหลักของ “ความไม่เกรงใจต่อสิ่งท่ีไม่ถูกต้อง” ให้เป็นค่านิยมใหม่ ของทกุ คนอีกด้วย นาย ชวน หลีกภัย ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ท่ีมีเจตจานงแน่วแน่ต่อการส่งเสริมให้บ้านเมืองเกิด ความสุจริต และกระทาตนเป็นแบบอย่างในเรื่องดังกล่าว อย่างต่อเนื่อง อีกท้งั ด้วยประสบการณ์ทางการเมอื งท่ีมีมา อย่างยาวนานกว่าครึ่งศตวรรษ ทาให้มองเห็นสภาพความ เป็นจริงของปัญหาทางการเมืองท่ีเกิดจากความไม่สุจริต โดยตลอด ซ่ึงพบว่า สาเหตุสาคัญของปัญหาเกิดจาก

ห น้ า | ๒๑ “ความเกรงใจ” ของข้าราชการ จึงทาให้เกิดปัญหาการ ทุจริตประพฤติมิชอบขึ้น และเสนอว่า ในการทางานให้ บ้านเมืองเกิดความสุจริตได้ นอกเหนือจากจะต้องยึดหลัก ธรรมาภิบาลแล้ว ในบริบทสังคมไทย ยังต้องเพ่ิม “หลัก ความไม่เกรงใจต่อส่ิงท่ีไม่ถูกต้อง” ซึ่งเป็นธรรมาภิบาล ภาคปฏิบัติเพ่ิมเข้าไปด้วย จึงเป็นที่มาของแนวคิดธรรมาภิ บาล ๖+๑ ที่ท่านได้มีโอกาสนาไปสอดแทรกในการ บรรยายในที่ต่าง ๆ จึงขอนาเสนอเร่ืองนี้ จากคาบรรยาย ของท่าน ในการปาฐกถาพิเศษ ปาฐกถาพิเศษ “นิด้ากับ การพัฒนาประเทศไทยอย่างย่ังยืน” ในงาน “Proud to be NIDA” วันท่ี ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๒ ณ ห้อง BCC Hall โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลลาดพร้าว กรุงเทพฯ ตอนหนง่ึ “...เกือบจะพูดได้ว่า ทุกวันนี้ ปัญหาเรื่องความ ซ่ือสัตย์สุจริตท้ าทายการแก้ปั ญ หาบ้ านเมืองมาก จนกระทั่งกลายเป็นเงื่อนไขหนึ่งวา่ บ้านเมืองเราจะอยู่รอด ปลอดภัยได้ ผู้ปกครองของเราต้องมีเรื่องของความซ่ือตรง เร่ืองของความสุจริตเป็นหลัก การบริหารประเทศของเรา เราเช่ือว่า คนของเรามีความรู้ความสามารถอยู่ แต่ว่าเม่ือ เรา ติดกับดักกับปัญหาเร่ืองน้ี ก็มีปัญหาเกิดข้ึน แล้วใน ที่สุดกลายเป็นว่า ผู้ที่มีการศึกษา คือ ตัวสร้างปัญหา บ้านเมือง… การสร้างคนมีความรู้ กับคนดีต้องไปด้วยกัน ผมเคยใชค้ ้าว่า กฎหมายรัฐธรรมนูญของไทยมมี า 20 ฉบับ

ห น้ า | ๒๒ แล้ว ระหว่างกฎหมายที่ดี กับ คนดีน้ัน ต้องไปด้วยกัน “บำงทีกฎหมำยท่ีบกพรอ่ ง แต่ได้คนดีไปบริหำรกไ็ ปรอด แต่มีกฎหมำยท่ีดีเยี่ยม แต่ได้ผู้บริหำรที่เลวร้ำย ก็ไปไม่ รอด” ดังนั้น ความเช่ือในเร่ืองต้ังแต่ปราชญ์คิดว่าต้อง ปกครองด้วยคนดี แล้วก็มาเปลี่ยนว่า ต้องปกครองด้วย หลักกฎหมาย หลักนิติธรรม ถูกด้วยกันทั้งคู่ ถ้าไม่มีหลัก กฎหมาย คนดนี ้ันอาจเปลี่ยนกลายเป็นคนร้ายได้ แต่แมจ้ ะ มีกฎหมายท่ีดี แต่ว่าคนนั้นเป็นคนไม่ดี เราก็มีปัญหา ดังน้ัน สองส่วนน้ี สถาบันการศึกษาต้องมีส่วนสร้างด้วย... รุ่นน้องผม จบนิติศาสตร์น่ีแหละ สองคนติดคุก วันน้ีคน หนึ่งอยู่ในคุก อีกคนหนึ่งพ้นแล้ว เกิดไดอ้ ย่างไร เกิดเพราะ ท้าส่ิงท่ีไม่ถูกต้องตามกฎหมายที่ตัวเองเรียนมา ศาลฎีกา บอกว่า ไม่รอลงอาญา เพราะเป็นคนมีหน้าท่ีต้องท้าส่ิงที่ ถกู ต้องกลับมาเป็นเสียเอง ก็ไม่รอลงอาญา รุ่นน้องผมท้ังคู่ ผมก็เสียดายที่สิ่งนี้เกิดขึ้น แต่ว่ามาลงท้ายก็คือ พอดีทั้งคู่ นั้นมาเกิดเหตุเพราะความเกรงใจ ความเกรงใจเป็น คุณสมบัติท่ีดีเย่ียมของคนไทย แต่ว่าถ้าเราเกรงใจไปท้าสิ่ง ท่ีผิด ก็ต้องติดคุก กรณีน้ัน คือ สามีเกรงใจภรรยา ภรรยา ขอสามีไปวิ่งเต้นล้มคดี ไม่อยากพูดว่าเป็นคดีการเมือง สามีเกรงใจภรรยา ภรรยาก็เกรงใจคุณหญิงที่ขอร้อง ก็เลย ไปว่ิงเพ่ือนสามีซึ่งจบธรรมศาสตร์รุ่นเดียวกัน เพ่ือนเป็น ตุลาการที่ตรงเยี่ยมคนหนึ่ง คือ หม่อมหลวงไกรฤกษ์ เขา เสนอเงินให้ท่าน ๑๕ ล้าน ตอนเช้า ตอนบ่ายเสนอให้ ๓๐

ห น้ า | ๒๓ ล้าน เพื่อล้มคดี ท่านไม่รับ เร่ืองก็แดงข้ึน พวกเราถ้ามี โอกาส มีค้าพิพากษาประเภทนี้อยู่หลายเรื่องท่ีน่าศึกษา มากว่า เพื่อนที่ดี ๆ ของเราท้าไมต้องอยู่สภาพอย่างนั้น ค้าตอบก็คือว่า การไม่ยดึ หลักความชอบธรรมถูกต้องท้าให้ เกิดวิกฤต แม้กระทั่งภาคเอกชน จนต้องเกิดหลักธรรมาภิ บาล ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ขึ้น ๖ ข้อ หลักนิติธรรม หลัก คุณ ธรรมจริยธรรม หลักความมีส่วนร่วม หลักการ ตรวจสอบได้ หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า ซ่ึง สังคมไทยน้ีไม่พอ เพราะทุกเร่ืองท่ีผมอ่านคดี มาจากหลัก ความไม่เกรงใจ ความเกรงใจเจ้านาย เกรงใจบิ๊กบอส ผู้จัดการใหญ่ธนาคารกรุงไทยก็ติดคุก ๑๘ ปี เกรงใจ นักการเมือง ปลัดกระทรวงการคลังก็ถูกให้ออก เกรงใจ ครอบ ค รัวน ายต้ารวจช้ัน ผู้ให ญ่ ก็ติ ดคุ ก เกรงใจ นักการเมือง อธิบดีกรมการปกครองก็ถูกไล่ออก นักเรียน นายอ้าเภอถูกไล่ออกร้อยกว่าคน นักเรียนท่ีจะสอบเข้า โรงเรียนท้ังหมดมาจากสาเหตุของความเกรงใจและท้าใน ส่ิงที่ไม่ถูกต้อง เพราะฉะนั้น พวกเราทั้งหลายที่ท้าหน้าท่ี ในสถาบนั การศึกษา ก็ขอใหท้ า่ นไดต้ ระหนักเรือ่ งนี้” 

ห น้ า | ๒๔ ๔ “ยตุ ิธรรมและเสมอภำค”

ห น้ า | ๒๕ คาว่า “ยุติธรรม” นี้ เป็นศัพท์ที่มีความหมายใน หลายแง่ ท้ังหมายถึง ความเที่ยงธรรม ความชอบธรรม ความชอบด้วยเหตผุ ล และ ความไม่เอนเอียงเข้าขา้ งใดขา้ ง หน่ึง ส่วนคาว่า “เสมอภาค” ซ่ึงเป็นคาที่มักถูกใช้คู่กับ ความยุติธรรมบ่อยคร้ังน้ัน หมายถึง มีส่วนเท่ากัน หรือ เท่าเทียมกนั ดังนั้น หากเราพิจารณาความหมาย ก็อาจทา ให้เข้าใจว่า มีความหมายเหมือนกัน ซึ่งก็อาจเป็นความ เข้าใจท่ีถูกบางส่วน ด้วยเหตุที่หลักความยุติธรรมตาม กฎหมายธรรมชาติน้ันแบ่ง ๒ หลักใหญ่ๆ คือ ๑) หลัก ความยุติธรรมในการแบ่งสรรปันส่วน และ ๒) ความ ยุติธรรมในการแลกเปลี่ยนทดแทน ซ่ึงหลักแรกน้ันเป็น เรื่องเดียวกันกับหลักความเสมอภาค ซ่ึงหากไม่มีความ เสมอภาคกันแล้ว ก็ไม่อาจเรียกหาความยุติธรรมได้ ใน สว่ นน้ีจึงขอนาเสนอวา่ ทั้งสองเรอ่ื งมีความสัมพันธ์กันอย่าง แนบแน่น และผู้ท่ีอยู่ในฐานะผู้ปกครอง ซ่ึงในที่นี้ อาจ หมายรวมถึงการปกครองในครอบครัว หรือ การปกครอง ในความหมายของการทางาน จะต้องนาหลักทั้งสองมาใช้ เพื่อให้การอยู่ร่วมกนั เกิดปญั หาน้อยที่สุด หรือ กล่าวอีกนัย หน่ึงในความหมายทางการเมืองว่า ไม่เกิดการปฏิบัติใน ลักษณะสองมาตรฐาน หรือ การเลือกปฏิบัติ ซ่ึงก็คือ การ แก้ปัญหาที่ไม่ได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นธรรม หากผู้นาไม่

ห น้ า | ๒๖ ยดึ หลักดังกล่าวแล้ว ยอ่ มทาให้เกดิ ปัญหาระยะยาวตามมา ซ่งึ เป็นส่วนบนั่ ทอนความสุจรติ ของบ้านเมือง โครงการถนน ๔ เลนท่ัวประเทศ เป็นหนึ่งใน โครงการสาคัญด้านโครงสรา้ งพ้ืนฐานของประเทศท่ีกาเนิด ข้ึนสมัยรัฐบาล นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี ระหว่างปี พ.ศ.๒๕๓๕-๒๕๓๗ และถือเป็นตัวอย่างการ เป็นผู้นาของท่านในเร่ืองของการไม่เลือกปฏิบัติ และการมี ความยุติธรรมท่ีอยากเห็นสังคมไทยได้รับการพัฒนาอย่าง เสมอภาคกนั “บังเอิญภาคใต้ในสมยั นั้นไมเ่ ลือกทักษิณ ไม่เลือก พรรคของท่าน ท่านก็โกรธ จะพัฒนาเฉพาะจังหวัดท่ีเลือก พรรคของท่าน พรรคอื่นไว้ทีหลังไว้ ทีหลังคือไม่ให้ นั่นคือ ความเลวร้ายท่ีสุด ย่ิงกว่าน้ันก็คือ โครงการที่ท้าไปแล้ว ไม่ให้แตะ ผมรู้ดี เพราะว่าผมเป็นคนที่รับโทรศัพท์ คนเขา ด่า ส.ส. ภาคใตก้ นั ท้งั เมอื ง เปน็ ส.ส. ได้ยงั ไงปล่อยให้ถนน ภาคใต้ ยิ่งกว่าหลุมพระจันทร์เลวท่ีสุดในประเทศไทย ความจริงถนนทั่วประเทศ เราท้าเหมือนกัน นโยบายสมัย ผมทา้ ถนนสีช่ ่องจราจร เราเคยไดย้ ินหลวงพ่อทวี่ ัดมหาธาตุ จังหวดั นครศรธี รรมราช ผมรับต้าแหน่งนายกครั้งแรกท่าน ก็ให้พรคุณชวนไปรับต้าแหน่งนายกนะ สีเลนะ สีเลนะ

ห น้ า | ๒๗ หมายถึงว่า ท้าถนน ๔ เลน โดยค้าว่า สีเลนะ หมายความ ว่าถนน ๔ เลน ก็บอกหลวงพ่อก็คิดอยู่แล้ว แล้วเราก็ท้า จริงในยุคผม เป็นนักการเมืองมาจากประชาชนเลือก มี ความเป็นธรรม เพราะฉะน้ัน ถนน ๔ ช่องจราจรก็ท้าตาม นโยบายก็ท้าเหนือสุดไปถึงเชียงใหม่เชียงราย ไปสุด หนองคาย ไปสุดสุไหงโกลก ทั่วทุกภาคพร้อมกันหมด เรา ท้าโครงการพร้อมกันหมด ท่านพันเอกวินัย (สมพงษ์) รฐั มนตรีว่าการ (กระทรวงคมนาคม) ยุคผมในขณะนั้น มา ช่วยดูโครงการ เราก็ท้าโครงการและส้าเร็จ เราไม่เลือก ปฏิบัติ เป็นความยุติธรรมในระบอบประชาธิปไตย แต่พอ ในที่สุดก็ถึงยุคท่ีผ่านมาของคุณทักษิณ ก็เรียกว่าถ้าไม่ เลือกเรานั้นก็ไม่พัฒนา เว้นแต่ทีหลัง ซึ่งกห็ มายความว่า ก็ ไม่พฒั นา”

ห น้ า | ๒๘ ๕ “ลดควำมเหล่ือมล้ำ”

ห น้ า | ๒๙ “ความเหลื่อมล้า” เป็นปัญหาท่ีเกิดข้ึนในสังคมไทยมาช้า นาน และมีแนวโน้มทวีความรุนแรงมากขึ้นในปัจจุบัน โดยเฉพาะ มติ ิทางเศรษฐกิจและสังคม หากไปค้นความหมายของคาน้ีจะไม่พบ ในพจนานุกรม แต่จะพบในรูปศัพท์ว่า “เหลื่อมล้าต่าสูง” ซ่ึงก็ หมายถงึ ความไมเ่ ท่าเทียม จงึ เป็นความหมายในทานองเดยี วกนั กับ คาว่าเหล่ือมล้าท่ีใช้กันอยู่ทั่ว น่ันก็คือ การไม่กระจายตัวของส่ิง ต่าง ๆ ที่ควรได้รับอย่างเสมอภาคกัน ถ้าเป็นความเหล่ือมล้าทาง เศรษฐกิจ ปกติจะอธิบายในเร่ืองของการกระจายรายได้หรือความ มั่งค่ังอย่างไม่เสมอภาค หากเป็นมิติสังคมก็หมายถึง ทรัพยากรใน สังคมมีการกระจายอย่างไม่เสมอภาค และ ในปัจจุบันยัง หมายความรวมถึง การกระจายตัวของโอกาสในเร่ืองต่าง ๆ ที่ไม่ เสมอภาคอีกด้วย ดังน้ัน ความเหลื่อมล้าจึงเป็นส่ิงท่ีเกิดขึ้นได้ทุกที่ แต่อย่างไรก็ดี หากผู้ที่มีอานาจ โดยเฉพาะในส่วนของภาครัฐ สามารถพัฒนาเศรษฐกิจและนโยบายให้สามารถลดช่องว่างของ ความเหล่ือมล้าลงไปได้ ก็จะเป็นส่วนสาคัญที่ทาให้ผู้คนในสังคมมี ความเท่าเทียมกันมากข้ึน ท้ังในเรื่องของรายได้ การศึกษา และ ความเป็นอยู่ที่ดี เม่ือสังคมมีช่องว่างของความเหลื่อมลดลง ปัญหา ในสังคมก็ย่อมลดลงตามมา ไม่เพียงแต่มิติของรายได้ แต่หากคนมี คุณภาพมากข้ึนจากการได้รับโอกาสทางการศึกษา ก็มีส่วนช่วยให้ สังคมมีความผาสกุ และมคี วามสจุ ริตมากข้นึ ดว้ ยเชน่ กนั

ห น้ า | ๓๐ “กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา” หรือ ท่ีเรียกโดยท่ัวไป ว่า กยศ. น้ัน เป็นกองทุนที่มีส่วนช่วยลดความเหล่ือมล้าทางสังคม เป็นอันมาก ซึ่งเร่ิมต้นขึ้นเป็นครั้งแรกตามนโยบายของรัฐบาล นาย ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีในขณะน้ัน ที่แถลงต่อรัฐบาลเมื่อ วัน พุธที่ 21 ตุลาคม 2535 โดยมีวัตถุประสงค์ที่สาคัญ คือให้เงินกู้ยืม เพื่อการศึกษาแก่นักเรียน นิสิต นักศึกษาท่ีขาดแคลนทุนทรัพย์ได้ กู้ยืม สาหรับเป็นค่าเล่าเรียน ค่าใช่จ่ายท่ีเกี่ยวเนื่องกับการศึกษา และค่าใช่จ่ายท่ีจาเป็นในการครองชีพระหว่างศึกษา ได้มีโอกาส ศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับอาชีวศึกษา และ ระดับอุดมศึกษา เพื่อให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างท่ัวถึง เป็น การช่วยแบ่งเบาภาระด้านการเงินของผู้ปกครอง และเป็นการ พัฒนาทรัพยากรมนุษยข์ องประเทศโดยรวม “โค รงก ารก อ งทุ น กู้ ยื ม ก ยศ . นี่ เกิ ด ต อ น ผ ม เป็ น นายกรฐั มนตรเี พื่อให้ลูกหลานชาวบา้ นได้มีโอกาสกู้ยืมเงนิ เรียน อัน นี้เรียนจริง ๆ มาจากสมัยเราเรียนหนังสือเราก็มาจากบ้านนอก ผม ครอบครัวพ่อเป็นข้าราชการชั้นผู้น้อยมีพี่น้อง ๙ คน มันเป็นไป ไม่ได้ท่ีพ่อแม่จะส่ง เพราะพ่อผมก็เป็นครูช้ันผู้น้อย แม่ก็ขายของใน ตลาดนัด มันมีทางเดียวก็คือ เราต้องอยู่วัด ผมอยู่วัด ๘ ปี อยู่เพ่ือ ได้เรียนจบโรงเรียนเตรียมศิลปากร แล้วก็จบธรรมศาสตร์ จบเนติ บัณฑิต ถึงได้ออกจากวดั ไป เพราะฉะนนั้ ประสบการณ์นีก้ ็ทา้ ใหเ้ รา

ห น้ า | ๓๑ เมื่อเป็นนายกรัฐมนตรีก็ต้องคิดหาทาง ว่าท้าอย่างไรลูกหลานคน อื่นอย่าไปเดือดร้อนอย่างเรา ก็เลยกองทุนกู้ยืมเกิดข้ึน ... เพราะฉะน้ัน เวลาเรามโี อกาสมามีต้าแหน่ง กจ็ ะคดิ ว่าทา้ อยา่ งไรลูก ชาวบ้านอย่าให้เป็น อย่างน้ี ท้าอย่างไร ลูกชาวบ้านอย่าเจออย่าง เรา เพราะมันไม่มีวัดให้เด็กอยู่ ผู้หญิงอยู่วัดได้ที่ไหนกัน เด็กวัด ผู้หญิงก็ไม่มีแล้วจะท้าอย่างไร ก็ต้องมีทางออกก็คือมีกองทุนกู้ยืม วันน้ีผลจากนโยบายอันนี้ เด็กได้กู้เงิน ๖,๐๐๐,๐๐๐ คน และเงิน ที่ตั้งไว้ ๔,๐๐๐ ล้านบาท เดี๋ยวนี้ ๕๐๐,๐๐๐ กว่าล้านบาท เม่ือ สปั ดาห์ที่แล้วคุยกับผู้อา้ นวยการกองทุนว่า โควิด ๑๙ ท้าให้ คนคืน เงินนี้น้อยลงมาก คาดว่าได้ประมาณสัก ๒๐,๐๐๐ ล้านบาท แต่ว่า ประคับประคอง ใหพ้ อ เพราะผมรวู้ ่ามันจะมีผลอะไรเกดิ ขึ้น เพราะ เราอยู่ต่างจังหวดั เรารู้ว่าพ่อแมเ่ ด็กมาขอพัก ๑ ปี ตอนยางราคาตก มาขอพัก ๑ ปี เพราะไม่มีเงินส่ง อันน้ีคือของจริงในชีวิตจริง เพราะฉะน้ันผมคิดว่าโชคดีท่ีเราเข้ามาเป็นนักการเมืองระบอบ ประชาธิปไตย เราก็คดิ เร่ืองอยา่ งนข้ี ้นึ ให้เด็กก้ยู ืมเงิน”4 4 คาบรรยายพเิ ศษของ นายชวน หลีกภัย ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร ในหลกั สูตรการบริหารความมั่นคง สาหรบั ผ้บู รหิ ารระดบั สูง (สวป.มส.SML) รนุ่ ท่ี ๑ เร่อื ง ธรรมาภิบาลและการต่อสกู้ บั การทุจริตคอรัปชน่ั วนั เสารท์ ี่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๖๓ เวลา ๑๖.๐๐ – ๑๘.๐๐ นาฬิกา ณ วิทยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจกั ร สถาบนั วชิ าการปอ้ งประเทศ

ห น้ า | ๓๒ ๖ “ใช้อำนำจรฐั อย่ำงเปน็ ธรรม”

ห น้ า | ๓๓ “อานาจรัฐ” (State power) เป็นอานาจสูงสุดที่ใช้ ปกครองประเทศหรือรัฐ ซ่ึงสาหรับฝ่ายบริหาร ก็คือ การบังคับใช้ กฎหมาย และในการปกครองระบอบประชาธิปไตย การใช้อานาจ รฐั ปกครองประเทศ กต็ อ้ งเปน็ ไปเพื่อผลประโยชนข์ องประชาชนทุก คน ไม่ว่าจะอยู่ในตาแหน่งใด ฐานะใด หรือ ภูมิภาคใด เน่ืองจาก อานาจรัฐมีความเป็นนามธรรม กล่าวคือ เป็นส่ิงท่ีมองไม่เห็น จึง จาเป็นต้องกาหนดความเป็นรูปธรรมของอานาจรัฐ คือ การตรา “กฎหมาย” เพ่ือใช้ปกครองรัฐข้ึน สาหรับประเทศไทย แต่เดิม พระมหากษัตริย์ทรงเป็นเจ้าของอานาจรัฐและเป็นผู้ใช้อานาจรัฐแต่ ผู้เดียว แต่ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น ประชาชนเป็นเจ้าของอานาจรัฐ แต่ ขา้ ราชการยงั เปน็ ผ้ใู ช้อานาจรฐั อย่เู หมอื นเดิม ดังนัน้ ข้าราชการ ซ่ึง หมายรวมถึงทั้ง ข้าราชการการเมือง และ ข้าราชการประจา ลว้ นมี บทบาทสาคัญในฐานะที่เป็นผู้ใช้อานาจรัฐ หากผู้ใช้อานาจรัฐ ใช้ อานาจอย่างเปน็ ธรรม มคี วามเท่ียงตรงถูกต้อง ประโยชน์สูงสดุ ก็จะ เกิดกับประชาชน แต่หากในทางตรงกันข้าม ผู้ใช้อานาจรัฐใช้ อานาจที่ได้อย่างบิดเบือน หรือ ท่ีเรามักคุ้นกันว่า “ใช้อานาจโดยมิ ชอบ”แล้ว ยอ่ มส่งผลให้เกิดปญั หาต่าง ๆ ตามมา โดยเฉพาะปญั หา การทุจริตคอรัปช่ัน ซ่ึงในท่ีสุดก็จะเป็นสิ่งที่บ่อนทาลายรากฐาน บา้ นเมืองทส่ี จุ รติ ลงไป

ห น้ า | ๓๔ “ปัญหาภาคใต้นั้น เป็นปัญหาที่จะผูกพันความม่ันคงของ เราไปอีกนาน แต่ว่าถ้าเราไม่รู้ว่าที่ไปที่มาคืออะไร เราก็จับประเด็น ปัญหาได้ไม่ถูกต้องและจะท้าให้เราเกิดความสับสนผิดพลาดได้ ... คร้ังหน่ึง จังหวัดปัตตานีเป็นเมืองอยู่ เป็นประเทศหนึ่ง เป็น อาณาจักรอีกอาณาจกั รหนึ่ง เราก็ไมร่ ู้ว่าเชยี งใหม่ คร้ังหนง่ึ ก็เป็นอีก ประเทศหน่ึง เขาก็เคยเป็นอาณาจักรล้านนาอีกเมืองหนึ่ง เขาเป็น เมืองขึ้นพม่า แล้วเราไปตีมาได้ แต่บังเอิญว่าเชียงใหม่ มีวัฒนธรรม ศาสนา ภาษาเหมือนกันกับเรา เจ้าหญิงเชียงใหม่มาเป็นพระชายา พระวรชายาของรัชกาลที่ ๕ เพราะฉะนั้น ความขัดแย้งมันก็ย่อม กลืนหายไปอย่างรวดเร็ว แต่ปัตตานีไม่มีอย่างน้ัน ปัตตานี ศาสนา วัฒนธรรม ภาษาต่างกันโดยสิ้นเชิง ดังน้ัน การที่จะกลมกลืนนั้น เป็นเรื่องไม่ง่ายนัก เพราะเราจะเห็น พระวิสัยทัศน์ของในหลวงใน อดตี เราจะเหน็ แบบครับ ถ้าเราได้ดใู นหนงั สือท่แี จกตามที่คุณราเมศ น้ามาให้พวกเรา ในนั้นเราจะเห็นว่ารัชกาลที่ ๖ ได้ก้าหนดรัฐ ประศาสโนบาย ส้าหรับมณฑลปตั ตานี ๖ ประการ เปน็ ความเฉลียว ฉลาดของในหลวงรัชกาลที่ ๖ แม้กระท่ัง ท่านมาใช้ในปัจจุบนั ก็ยังมี ความทนั สมัย ข้อหน่ึง ระเบียบหรือวิธีปฏิบัติอย่างใดเป็นทางให้พลเมือง รู้สึกเห็นไปว่า เป็นการเบียดเบียน กดข่ีศาสนาอิสลาม ต้องยกเลิก หรือแก้ไขเสียทันที การใดจะจัดขึ้นใหม่ต้องอย่าให้ขัดกับลัทธินิยม

ห น้ า | ๓๕ ของอิสลาม หรือย่ิงท้าให้เห็นเป็นการอุดหนุนศาสดามูฮัมหมัดได้ ยง่ิ ดี ข้อสอง การกะเกณฑ์อย่างใด ๆ ก็ดี การเก็บภาษีอากร หรืออย่างใด ๆ ก็ดี เมื่อพิจารณาโดยส่วนรวมเทียมกัน ต้องอย่าให้ ยงิ่ กว่าที่พลเรอื นในแวน่ แคว้นของตา่ งประเทศ พดู งา่ ย ๆ เขาตดิ กับ มาลายูอย่าไปท้าเหนือกว่าตรงน้ัน จะท้าให้เกิดข้อแตกต่างกันใน ตรงนั้น ข้อสาม การกดข่ีบีบค้ันแต่เจ้าพนักงานของรัฐบาล เน่ือง แต่การหม่ันดูแคลนพลเมืองชาติแขก โดยฐานที่เป็นคนต่างชาติก็ดี เน่ืองแต่การหน่วงเหนี่ยวชักช้าในกิจการตามหน้าที่ เป็นเหตุให้ ราษฎรเสียความสะดวกในทางหาเล้ียงชีพก็ดี พึงต้องแก้ไข ระมัดระวงั มิใหม้ ีขึ้น ข้อสี่ กิจการใดท้ังหมดอนั เจา้ พนักงานต้องบงั คบั แก่ราษฎร ต้องระวังอย่าให้ราษฎรต้องขัดขอ้ งเสียเวลา ตรงน้ีนะครับพูดง่าย ๆ ว่า เม่ือมาติดต่อราชการก็อย่าให้น่ังคอยอยู่นาน น่ีคือเกิดข้ึนในสมัย รัชกาลที่ ๖ ข้อห้า ข้าราชการท่ีจะแต่งต้ังออกไปประจ้าต้าแหน่งใน มณฑลปัตตานี พึงเลือกเฟน้ แตค่ นมีนิสัย ซ่ือสตั ย์ สุจริต สงบเสง่ียม เยือกเย็น ไมใ่ ช่สักแต่วา่ ส่งไปบรรจใุ หต้ า้ แหน่ง เพราะฉะน้นั มคี วาม ครอบคลุมในทกุ อย่างเลย ข้อหก เจ้ากระทรวงทั้งหลายจะจัดการวางระเบียบการ อย่างใดข้ึนใหม่ หรือบังคับการอย่างใดในมณฑลปัตตานี อันจะเป็น ทางพากพานถึงสุขทุกข์ราษฎร ก็ควรพิจารณาเหตุผลแก้ไขหรือ

ห น้ า | ๓๖ ยบั ยงั้ ถ้าไมเ่ ห็นดว้ ยวา่ มีมลู ขัดขอ้ ง ก็ควรหารอื กระทรวงมหาดไทย แม้ยังไม่ตกลงกันได้ระหว่างกระทรวง ก็พึงน้าความขึ้นกราบบังคม ทลู ทราบฝ่าละอองธุลพี ระบาทขอพระราชทานพระบรมราชวนิ จิ ฉัย ทั้ งห ก ข้ อ น้ี เราจ ะเห็ น ชั ด ถึ งค ว าม ทั น ส มั ย ข อ งก าร ม อ ง ปัญหาในพ้ืนท่ี...เหตุการณ์ความผิดพลาดเกิดขึ้น คือ การก้าหนด นโยบายวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๔๔ วันน้ัน โดยก่อนวันนั้นหน่ึงวันมี เหตุการณ์ความไม่สงบ ลอบวางระเบิดที่สถานีรถไฟหาดใหญ่ ฝ่าย การเมืองก็ลงไปวันท่ี ๘ ระเบิดวันท่ี ๗ วันท่ี ๘ และคืนวันท่ี ๘ ก็มี การประกาศนโยบายปญั หาภาคใต้ รัฐบาลรหู้ มดแลว้ จะแก้ให้หมด ภายใน ๓ เดือน ๓ เดือนคืออะไร ผมก็ถามกับคนท่ีเขาเข้าร่วมการ ประชุมว่า ๓ เดือนนั่นคืออะไร ถามท่านผู้ว่าราชการจังหวัด นครศรีธรรมราช ถามรองแม่ทัพภาค ๔ ท่านพลตรีเรวัต ในวงการ ทหารน่าจะรู้จักกันดี ผมเชิญรองแม่ทัพภาค ๔ มาทานก๋วยเตี๋ยว ด้วยกัน ผมถามท่านว่า ท่านครับ ๓ เดือนคืออะไร เพราะผมรู้ว่ามี คนเดียวท่ีมีการทักท้วงในท่ีประชุมในวันน้ัน คือ รองแม่ทัพภาค ๔ ท่านเคยได้ยินเรื่องโจรกระจอกไหม นั่นแหละ วันนั้นแหละท่ี สันนิษฐานไว้ว่า ปัญหาภาคใต้ไม่มีอะไรเป็นเพียงแค่โจรกระจอก หากจัดการแค่เดือนละ ๒๐ คน ๓ เดือนก็หมด เป็นความเช่ือของ ผู้บริหารท่ีเชื่อว่าหมู่บ้านน้ีมีโจรกี่คนก็ให้เก็บเสีย หมู่บ้านน้ันก็จะ สงบ...แม่ทัพและรองแม่ทัพภาค ๔ ซ่ึงเป็นคนเล่าเหตุการณ์ให้ผม ฟังก็เกษียณไปแล้ว แล้วท่านก็โดนต้าหนิลงโทษ ก็เป็นคนเดียวท่ีใน การประชุมที่หาดใหญ่ และท้วงนายก ผมก็ถามท่านว่า ท่านเรวัต ท้าไมท่านท้วงเอง ท้าไมไม่ให้ท่านแม่ทัพทักท้วง ท่านตอบว่า ตอน

ห น้ า | ๓๗ น้ันท่านแม่ทัพไปรับเสด็จฯ ท่านเลยต้องเข้าประชุมแทน แม่ทัพ ภาค ๔ แต่เม่ือท่านไปท้วง ท่านในฐานะรองแม่ทัพภาค ๔ ท่านรู้ว่า ถ้านโยบายนี้ออกไป คิดว่าน่าจะมีปัญหาแน่ ขณะนั้นก็ไม่มีใครกล้า ท้วง ผู้คนก็เกรงใจกลุ่มนายก แต่ท่านก็เป็นคนเดียว ในท่ีสุดท่านก็ ถูกผู้บัญชาการทหารบกเรียกไปต้าหนิว่า คุณไปท้าอะไรให้นายก โกรธ น่ีเป็นค้าพูดของท่านนะ และในที่สุดท่านก็ย้ายมาประจ้า เกษียณเมื่อมาเป็นพลโทในตา้ แหน่งประจา้ ไม่ไดเ้ ป็นแมท่ พั ”5 5 คาบรรยายพิเศษของ นายชวน หลีกภัย ประธานสภาผู้แทนราษฎร ในหลักสูตรการบริหาร จดั การด้านความมั่นคงขั้นสูง รนุ่ ที่ ๑๒ หัวขอ้ ปญั หาภาคใต้ วันเสาร์ท่ี ๒๒ สิงหาคม ๒๕๖๓ เวลา ๑๕.๓๐ – ๑๗.๓๐ นาฬิกา ณ อาคารทรงกลม โรงแรมเซ็นทรา ศูนย์ราชการและคอนเวนชัน เซน็ เตอร์ แจ้งวฒั นะ

ห น้ า | ๓๘ ๗ “จิตสำนกึ ด”ี

ห น้ า | ๓๙ “จิตสานึก” เป็นคาท่ีมีความหมายตามศัพท์ราชบัณฑิตว่า เป็นภาวะที่จติ ต่ืนและรู้ตัวสามารถตอบสนองต่อส่ิงเร้าจากประสาท สัมผัสทั้ง ๕ แต่ในทางปฏิบัติ เม่ือกล่าวถึงหรือได้ยินคาว่าจิตสานึก เราก็จะนึกไปถึงเรื่องของการมีความสานึกรับผิดชอบในทางที่ดี ดังนั้น เราจึงมักใช้คาว่า จิตสานึกดี ซ่ึงเป็นพฤติกรรมในตัวบุคคลท่ี เป็นท่ีคาดหวังของผู้อ่ืนหรือสังคมว่า บุคคลหนึ่งควรจะต้องมี จิตสานึกดีในเร่ืองต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การมีจิตสานึกดีต่อ สังคมส่วนรวม ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีท้าทายและหาได้ยากยิ่งในสถานการณ์ บ้านเมืองของประเทศไทยในปัจจุบัน จากกระแสโลกาภิวัตน์ท่ี ผลักดันให้สังคมไทยมุ่งแต่ความสาเร็จโดยไม่คานึงถึงผู้อ่ืน ท้ัง ทางด้านเศรษฐกิจ คนจานวนไม่น้อยก็แสวงหาอานาจ บ้างก็ แสวงหาผลประโยชน์ จนทาให้สังคมไทยเร่ิมอ่อนแอลงเร่ือย ๆ แต่ ส่ิงที่น่าวิตกกังวลท่ีสุด ก็คือ ปัญหาความเสื่อมถอยในด้านคุณธรรม จริยธรรมของคนในประเทศ ดังน้ัน การส่งเสริมให้เกิดการมี จิตสานึกดี ถือเป็นจุดเร่ิมต้นสาคัญของการประพฤติปฏิบัติดี กล่าวคือ ถ้าเรามีจิตสานึกท่ีดีแล้ว เมื่อได้รับหน้าที่ให้ทาการงานส่ิง ใด ก็จะกระทาด้วยความตั้งใจและมีความรับผิดชอบ คานึงถึง ประโยชน์ส่วนรวมมาก่อนประโยชน์ส่วนตน จะใคร่ครวญและ คานึงถึงผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนจากการปฏิบัติของตนเองท่ีจะมีต่อ สังคม แม้ว่าตนจะได้รับประโยชน์ถูกต้องชอบธรรม แต่หากมี จิตสานึกท่ีดีก็จะไม่ละโมบโลภมาก อีกท้ังยังพร้อมท่ีจะเสียสละใน สิ่งที่ตนเองพึงได้รับให้แก่ส่วนรว่ ม

ห น้ า | ๔๐ “ผมไปอยู่ที่ไหน ผมก็ตอ้ งศึกษาเรียนรู้กติกาของหน่วยงาน น้ัน ไปอยู่กระทรวงกลาโหม ผมก็ต้องอ่าน อ่านมากกว่าทหารอีก อ่านกระบวนการของทหาร ระเบียบอะไรเป็นอย่างไร แต่ว่า ความ ซื่อตรงสุจริต อันน้ีเป็นเรื่องท่ีแม้กระทั่งมีสิทธิผมก็ยังไม่เอาเลยนะ ผมเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ๓ ปี เช่ือไหม วันสุดท้าย ผมมีเงินราชการลับ ๗,๕๐๐,๐๐๐ บาท ผมไม่ต้องเช่าบ้าน เดือนละ ๕,๐๐๐ บาท ทุกวันน้ีผมสามารถน้าเงิน ๗,๕๐๐,๐๐๐ บาท น้ีไป ซ้อื คฤหาสน์ไดเ้ ลย แต่ผมคนื หมด ยุง่ กนั ทัง้ กระทรวง เพราะไมเ่ คยมี ใครคืนเงินราชการลับ ในท่ีสุดก็ไปหาระเบียบมา แล้วก็แบ่งให้ ๕ หน่วยงาน หน่วยงานละ ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท เจ้าหน้าท่ีผู้ใหญ่บอก ท่านปลัดบอก อันน้ีเงินท่านนะ ผมบอกผมรู้ เพราะผมเข้ามาปั๊บ รัฐมนตรีคนก่อนก็เบิกราชการลับไปหมดแล้วในปีน้ีช่วงน้ัน ผมเข้า มา เพราะผมมาจากการเลือกต้ัง และผมเป็นหนี้บุญคุณชาวบ้าน เขาเลือกผมนี่ไม่ต้องจ่ายสักบาทหนึ่ง และผมต้องเป็นหนี้เขา ใน ชีวิตท่ีตอบแทนบุญคุณได้ คือ ความซ่ือตรง ต้ังแต่วันแรก จนวัน สุดท้าย ซ่ือตรงสุจริต เบี้ยบรรยาย เบ้ียประชุม ไม่ใช้เอง เอาไปเป็น ทนุ เป็นอะไรให้เดก็ เพราะเรามีแค่น้ี ก็ไม่ได้คิดจะมาสร้างฐานะทาง การเมือง”6 6 คาบรรยายพิเศษของ นาย ชวน หลีกภัย ประธานสภาผู้แทนราษฎร ในหลักสูตรการบริหารความ มน่ั คงสาหรับผู้บริหารระดับสูง (สวป.มส.SML) รุ่นท่ี ๑ เรือ่ ง ธรรมาภิบาลและการต่อสู้กับการทุจริต คอรัปช่ัน วันเสาร์ท่ี ๔ กรกฎาคม ๒๕๖๓ เวลา ๑๖.๐๐ – ๑๘.๐๐ นาฬิกา ณ วิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร สถาบันวชิ าการป้องประเทศ

ห น้ า | ๔๑ ๘ “มีความกตัญญู”

ห น้ า | ๔๒ “ความกตัญญู” เป็นคาท่ีถูกใช้มากท่ีสุดคาหนึ่ง เมื่อ กล่าวถึงค่านิยมพื้นฐานของสังคมไทย กล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า ความ กตัญญู เป็นคุณธรรมพื้นฐานของมนุษย์ ทาให้เกิดความสัมพันธ์กัน ในสังคมมนุษย์ และเป็นบ่อเกิดแห่งความรับผิดชอบต่อความเป็น มนุษย์ เพราะ เป็นเครื่องทาลายความเห็นแก่ตัวซึ่งเป็นศัตรูสาคัญ ของการทาความดี เป็นเหตุให้เกิดความสานึกในหน้าที่และความ รับผิดชอบ ซึ่งถือเป็นจริยวัตรที่ดีงามของคนไทย ความกตัญญูมิได้ เป็นส่ิงที่เกิดขึ้นได้เพียงในสังคมครอบครัวญาติมิตร แต่ยังเกิดขึ้นได้ ในสังคมท่ัวไป เช่น ความกตัญญูต่อครูบาอาจารย์ ต่อผู้ใหญ่ หรือ แม้กระท่ังผู้มีอาวุโสเท่ากันหรือน้อยกว่า เราก็สามารถมีความ กตัญญูให้แก่กนั ได้ ทก่ี ล่าวเช่นน้ี เป็นเพราะ เม่ือค้นความหมายของ คา ๆ นี้ เราจะพบว่า หมายถึง การรู้คุณหรือรู้อุปการะท่ีท่านทาให้ ซ่ึงคาว่าท่านในท่ีน้ี มิได้ระบุบ่งชี้ว่าต้องมีอาวุโสเท่าใด ดังนั้น ผู้ใดก็ ตามที่ทาคุณแก่เราแล้ว ไม่ว่าจะมากหรือน้อยก็ตาม เราก็จะระลึก นึกถึงด้วยความซาบซ้ึงอยู่ในใจเสมอ ตลอดจน ความกตัญญูจะทา ให้เราเป็นคนอ่อนน้อม ไม่ทระนงตน รวมถึง ไม่ทาให้เราคิดไปเอง ว่าความสาเร็จท่ีเกิดข้ึนนั้นมาจากตัวเราคนเดียว แต่ทั้งน้ี ความ กตัญญูจะต้องอยู่บนพื้นฐานของความดีงาม มิใช่การตอบแทนผู้มี พระคุณในทางมิชอบ หรือ การให้ผลประโยชน์ต่างตอบแทน หรือ การตอบแทนบุญคุณด้วยผลประโยชน์ส่วนรวม จึงจะเป็นส่วน สาคัญในการเสรมิ สร้างบา้ นเมืองสุจรติ ให้เกิดข้ึนได้

ห น้ า | ๔๓ นาย ชวน หลีกภัย ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ท่ีมี ความตั้งมั่นอยู่ในความกตัญญู โดยเฉพาะอย่างยิ่งความกตัญญูต่อ “พระศาสนา” ในฐานะท่ีให้ท่ีพานักอาศัยเมื่อคร้ังยังเรียนหนังสือ และ “ประชาชน” ท่ีมีความสาคัญต่อตนเอง ในฐานะนักการเมือง ที่มาจากเสียงของประชาชน ดังทีก่ ล่าวไวแ้ ล้วคร้ังหน่งึ ในเรื่อง การมี จติ สานึกดี ท่านกก็ ล่าวถึงความซาบซึ้งในบญุ คุณของชาวบา้ น “ตอนที่ผมเรียน ผมก็ต้องมาอยู่วัด ฐานะทางบ้านไม่พร้อม ใหล้ ูกเรยี น มาอยหู่ อพัก พอ่ ผมเป็นข้าราชการชน้ั จตั วา เงินเดือนไม่ เหมอื นครูสมัยน้ี สมยั กอ่ นครเู งินเดือนกไ็ ม่ก่ีร้อยบาท ส่งลกู เรยี นคน เดียวก็หมดแล้ว สมัยก่อนถ้าเรยี นโรงเรียนในระดบั กลาง ๔๐๐บาท ก็อยู่ได้ อยู่หอพัก ค่ากินท้ังเดือน แต่ผมได้เดือนละ ๒๐๐ บาท ก็ เลยต้องด้ินรนมาอยู่ท่ีรายจ่ายน้อยก็มาอยู่วัด ผมนี่อยู่วัดนาน ๘ ปี ก็เป็นหนี้บุญคุณศาสนามาก...ในช่วงหลัง ถ้าผมจะประมวลก็จะมี ความเปล่ียนแปลงที่มาจากระบบที่ไม่ตรงไปตรงมามากข้ึน ระบบ ใช้เงินมากข้ึน ท้าให้เราต้องคิดกันหนักว่า ถ้าคนใช้เงินเข้ามาเป็น นักการเมือง แล้วไม่คิดหรือ ว่าคนนั้นจะมาเอาเงินเดือนแค่แสน บาท อยา่ งพวกผมนี่ กไ็ ด้แสนกว่าบาทหกั ภาษีแล้ว หักเงินเข้าพรรค แล้วก็เหลือ ๘๐,๐๐๐ บาท ถ้าซื้อเสียงมา อยู่ได้เหรอ มันอยู่ไม่ได้ มันก็ต้องมีเร่ืองของการหาประโยชน์ ทุจริตประพฤติมิชอบเกิดข้ึน ในทางการเมืองอย่างที่เราเห็นอยู่มากมาย เราจึงต้องหาทางแก้ไข ไม่เพียงผู้สมัครหรือพรรคการเมืองเท่านั้น แต่ต้องพยามสร้าง

ห น้ า | ๔๔ ภูมิคุ้มกันให้พี่น้องประชาชนได้ตระหนัก เพราะว่าต้องยอมรับใน ฐานะเป็นนักการเมืองว่า เราถ้าไม่อาศัยเสียงของคนที่มีความ ซื่อตรง ผมก็คงไม่ได้เป็น ผมจงึ เป็นหนบ้ี ุญคุณคนมากว่า เขาไมย่ อม ขายเสียงเลือกเรา เพราะฉะน้ัน จึงเป็นหนี้บุญคุณเขาทั้งหมด ไม่ว่า ตอ่ หนา้ ลับหลัง ผมจะถอื หลกั ว่า ผมเปน็ หนบ้ี ุญคุณคนเหล่านี้”7 7 คาบรรยายพิเศษ นาย ชวน หลีกภัย ประธานสภาผู้แทนราษฎร ในหวั ข้อ “จริยธรรมของผนู้ า” ในหลักสตู รประกาศนยี บัตรช้นั สงู การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สาหรับนักบรหิ าร ระดับสูง รุ่นท่ี ๒๔ วันอังคารท่ี ๒๖ มกราคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ยอ่ ย ๑-๒ ฝั่งอาคารเรียน สถาบันพระปกเกลา้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook