Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ebook

ebook

Published by hattapon panyawong, 2020-11-18 17:32:52

Description: ebook

Search

Read the Text Version

พลเมืองดจิ ิทัล และ ความฉลาดทางดจิ ิทลั นายหัตพล วรชัยปัญญาวงค์ ช้นั ม.6/2 เลขท่ี7 ส่ ง คุณครูวชิ ยั สิงห์น้ อย โรงเรยี นสันกาแพง สพม. เขต 34

ความหมายของพลเมืองดิจิทลั กอ่ นจะทราบถึงทกั ษะด้านดจิ ิทัล ขอให้คานิยามความหมายของประโยค ที่วา่ \"ความเป็นพลเมืองดิจิทลั \" ท่ที กุ ประเทศทัว่ โลกคาดหวังให้เกิดขึ้นใน ประชากรของตน คอื \"พลเมอื งผู้ใชง้ านสอ่ื ดิจทิ ลั และสอื่ สงั คมออนไลน์อย่าง เข้าใจบรรทดั ฐาน ของการปฏิบตั ติ วั ใหเ้ หมาะสม และมีความรับผิดชอบในการ ใชเ้ ทคโนโลยี โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการสือ่ สารในยุคดจิ ิทลั เปน็ การส่อื สารท่ไี ร้ พรมแดนจาเป็นตอ้ งมคี วามฉลาดทางดจิ ิทัล (DQ: Digital Intelligence) \" ความฉลาดทางดจิ ิทัล (Digital Intelligence Quotient : DQ) คือ กลมุ่ ของความสามารถทางสงั คม อารมณ์ และการรับรู้ ท่ีจะทาใหค้ นคนหนง่ึ สามารถเผชิญกับความทา้ ทายบนเส้นทางของชีวติ ในยุคดิจิทัล และสามารถ ปรับตัวให้เข้ากบั ชวี ิตดิจทิ ัลได้ ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั ครอบคลมุ ทงั้ ความรู้ ทักษะ ทัศนคตแิ ละคา่ นิยมทจี่ าเป็นตอ่ การใช้ชีวิตในฐานะสมาชิกของโลก ออนไลน์ กล่าวอีกนัยหนึง่ คอื ทักษะการใชส้ อ่ื และการเขา้ สงั คมในโลกออนไลน์ ดงั นั้น พลเมอื งดิจทิ ัล จงึ หมายถึง สมาชกิ บนโลกออนไลน์ ทใี่ ชเ้ ครอื ขา่ ย อินเทอร์เน็ต ซึ่งมีความหลากหลายทางเชอ้ื ชาติ อายุ ภาษา และวัฒนธรรม ดงั นั้น พลเมืองดิจทิ ัลทุกคนจงึ ต้องมี ‘ความเปน็ พลเมอื งดจิ ิทัล’ ที่มคี วามฉลาด ทางดจิ ิทลั บนพ้ืนฐานของความรบั ผิดชอบ การมีจรยิ ธรรม การมีส่วนรว่ ม ความเห็นอกเห็นใจและเคารพผ้อู ืน่ โดยม่งุ เนน้ ความเปน็ ธรรมในสงั คม ปฏบิ ัติ และรักษาไวซ้ ง่ึ กฎเกณฑ์ เพอ่ื สร้างความสมดุลของการอยูร่ ่วมกนั อย่างมี ความสุข

ความฉลาดทางดิจทิ ลั เป็นผลจากศกึ ษาและพัฒนาของ DQ institute หน่วยงานทเ่ี กิดจากความรว่ มมอื กนั ของภาครัฐและเอกชนทว่ั โลกประสานงาน รว่ มกบั เวิลด์อีโคโนมิกฟอรม่ั (World Economic Forum) ทีม่ ่งุ ม่นั ใหเ้ ดก็ ๆ ทกุ ประเทศไดร้ บั การศึกษาด้านทกั ษะพลเมอื งดจิ ทิ ัลทม่ี คี ุณภาพและใชช้ ีวิตบน โลกออนไลนอ์ ย่างปลอดภัยด้วยความกา้ วหน้าของเทคโนโลยีสมยั ใหม่ ความ ฉลาดทางดจิ ิทัล เปน็ กรอบแนวคดิ ทค่ี รอบคลุมของความสามารถทางเทคนิค ความร้คู วามเขา้ ใจและความคิดทางสังคมทมี่ พี นื้ ฐานอยใู่ นค่านยิ มทางศีลธรรมท่ี ชว่ ยใหบ้ ุคคลท่ีจะเผชิญกับความท้าทายทางดจิ ิทลั ความฉลาดทางดจิ ิทัล มสี าม ระดบั 8 ดา้ น และ 24 สมรรถนะท่ีประกอบดว้ ย ความรู้ ทกั ษะ ทศั นคติและ ค่านิยม โดยบทความนี้จะกลา่ วถงึ ทักษะ 8 ด้านของความฉลาดดิจิทัลในระดบั พลเมืองดิจทิ ลั ซึ่งเปน็ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั และสื่อในรปู แบบ ท่ีปลอดภยั รบั ผดิ ชอบ และมีจรยิ ธรรม ดังน้ี

1.เอกลักษณ์พลเมอื งดจิ ทิ ลั (Digital Citizen Identity) เอกลักษณ์พลเมืองดิจทิ ัล เปน็ ความสามารถสร้างและบรหิ าร จัดการอตั ลกั ษณท์ ี่ดีของตนเองไวไ้ ด้อยา่ งดที ัง้ ในโลกออนไลนแ์ ละโลก ความจรงิ อตั ลักษณท์ ี่ดีคือ การทีผ่ ูใ้ ชส้ ือ่ ดิจทิ ลั สรา้ งภาพลกั ษณ์ในโลก ออนไลน์ของตนเองในแง่บวก ทัง้ ความคดิ ความร้สู ึก และการกระทา โดยมวี ิจารณญาณในการรบั สง่ ข่าวสารและแสดงความคิดเหน็ มี ความเห็นอกเห็นใจผู้ร่วมใช้งานในสังคมออนไลน์ และรจู้ กั รบั ผดิ ชอบต่อ การกระทา ไม่กระทาการทผี่ ดิ กฎหมายและจรยิ ธรรมในโลกออนไลน์ เชน่ การละเมดิ ลขิ สทิ ธิ์ การกล่นั แกล้งหรอื การใช้วาจาท่ีสรา้ งความ เกลยี ดชังผู้อ่ืนทางส่อื ออนไลน์

2.การบรหิ ารจัดการเวลาบนโลกดิจิทลั (Screen Time Management) การบริหารจัดการเวลาบนโลกดิจทิ ลั เปน็ ความสามารถควบคุม ตนเอง ความสามารถในการจดั สรรเวลาในการ ใชง้ านอปุ กรณด์ ิจทิ ลั และ อปุ กรณ์เทคโนโลยไี ด้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ รวมถงึ การใชง้ านสอื่ สังคม (Social Media) และเกม ออนไลน์ (Online Games) ด้วยความรบั ผดิ ชอบ ต่อตนเอง สามารถบรหิ ารเวลาที่ใช้อุปกรณย์ ุคดจิ ทิ ัล รวมไปถงึ การควบคมุ เพอ่ื ใหเ้ กิดสมดลุ ระหว่างโลกออนไลน์ และโลกความเป็นจริง อกี ทั้งตระหนัก ถึงอนั ตราย และสุขภาพจากการใชเ้ วลาหนา้ จอนานเกินไป และผลเสยี ของ การเสพติดส่อื ดิจทิ ัล

3.การจัดการการกลนั่ แกลง้ บนไซเบอร์ (Cyberbullying Management) การจดั การการกลน่ั แกลง้ บนไซเบอร์ เปน็ ความสามารถในการปอ้ งกนั ตนเอง การมภี ูมิคมุ้ กนั ในการรบั มอื และจดั การกบั สถานการณ์การกลัน่ แกลง้ บนอินเทอรเ์ น็ตไดอ้ ยา่ งชาญฉลาด การใช้อนิ เทอรเ์ น็ตเป็นเครอ่ื งมอื หรือ ช่องทางเพอื่ กอ่ ใหเ้ กิดการคกุ คามล่อลวงและการกลน่ั แกลง้ บนโลกอินเทอร์เน็ต และสือ่ สงั คมออนไลน์ โดยกลุม่ เป้าหมายมักจะเป็นกลุ่มเด็กจนถึง เด็กวยั รุ่น การกล่ันแกล้งบนโลกไซเบอร์คลา้ ยกนั กับการกลน่ั แกลง้ ในรูปแบบอ่นื หากแต่ การกลนั่ แกลง้ ประเภทนจ้ี ะกระทาผา่ นสอ่ื ออนไลนห์ รอื สอื่ ดิจิทัล เชน่ การสง่ ข้อความทางโทรศัพท์ ผกู้ ลนั่ แกลง้ อาจจะเป็นเพอ่ื นร่วมชนั้ คนรู้จักในสอื่ สังคม ออนไลน์ หรอื อาจจะเปน็ คนแปลกหน้าก็ได้ แต่ส่วนใหญ่ผู้ท่กี ระทาจะรจู้ กั ผทู้ ี่ ถูกกลั่นแกล้งรูปแบบของการกลั่นแกลง้ มกั จะเป็นการว่ารา้ ย ใส่ความ ขูท่ าร้าย หรอื ใชถ้ ้อยคาหยาบคาย การคุกคามทางเพศผา่ นสอื่ ออนไลน์ การแอบอ้าง ตัวตนของผอู้ ่นื การแบล็กเมล์ การหลอกลวง การสร้างกลมุ่ ในโซเชียลเพอ่ื โจมตี โดยเฉพาะ

4.การจดั การความปลอดภัยบนระบบเครือขา่ ย (Cybersecurity Management) การจัดการความปลอดภัยบนระบบเครอื ขา่ ย เปน็ ความสามารถใน การสารวจ ตรวจสอบ การป้องกนั และ การรักษาความปลอดภยั ของข้อมูล ในระบบเครอื ข่าย ป้องกนั ขอ้ มูลดว้ ยการสรา้ งระบบความปลอดภยั ทเ่ี ขม้ แขง็ และปอ้ งกันการโจรกรรมขอ้ มลู หรอื การถูกโจมตีออนไลน์ได้ มีทักษะในการ รกั ษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์การรกั ษาความปลอดภยั ของ ตนเองในโลกไซเบอร์ คือการปกป้องอปุ กรณด์ จิ ิทลั ขอ้ มูลท่ีจัดเกบ็ และขอ้ มูล สว่ นตัวไม่ใหเ้ สยี หาย สูญหาย หรอื ถูกโจรกรรมจากผู้ไม่หวงั ดใี นโลกไซเบอร์

5.การจัดการความเปน็ ส่วนตัว (Privacy Management) การจัดการความเปน็ สว่ นตวั เป็นความสามารถในการจดั การกบั ความเป็นสว่ นตัวของตนเองและของผู้อื่น การใชข้ ้อมลู ออนไลนร์ ว่ มกัน การแบ่งปนั ผ่านส่อื ดจิ ิทลั ซ่งึ รวมถึงการบรหิ ารจัดการ รู้จักปอ้ งกันขอ้ มลู สว่ นบคุ คลของตนเอง เช่น การแชร์ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ดว้ ยเครอื่ งมือดิจทิ ัล การขโมยข้อมลู อัตลกั ษณ์ เปน็ ตน้ โดยต้องมีความสามารถในการฝกึ ฝน ใช้เครอ่ื งมือ หรอื วธิ ีการในการป้องกันข้อมลู ตนเองไดเ้ ป็นอย่างดี รวมไป ถงึ ปกปดิ การสืบค้นขอ้ มูลตา่ งๆ ในเว็บไซต์ เพือ่ รกั ษาความเป็นส่วนตวั ความเปน็ สว่ นตัวในโลกออนไลน์ คอื สิทธิการปกป้องขอ้ มูลความส่วนตวั ในโลกออนไลนข์ องผู้ใช้งานท่ีบคุ คลหรอื การบรหิ ารจดั การข้อมลู สว่ นตัว รวมถึงการใชด้ ุลยพินิจปกปอ้ ง ข้อมลู ส่วนบุคคลและขอ้ มูลท่ีเปน็ ความลับ ของผอู้ ื่น

6.การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ (Critical Thinking) การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ หมายถงึ ความสามารถในการตัดสินของ บุคคลว่าควรเชอ่ื ไม่ควรเช่ือ ควรทา หรอื ไมค่ วรทาบนความคิดเชงิ เหตแุ ละผล มคี วามสามารถในการวเิ คราะหแ์ ยกแยะระหว่างข้อมลู ทถ่ี ูกต้องและข้อมลู ที่ ผดิ ขอ้ มลู ที่มเี นอ้ื หาเปน็ ประโยชน์และขอ้ มูลที่เข้าขา่ ยอนั ตราย ข้อมูลติดตอ่ ทางออนไลนท์ ีน่ า่ ต้ังข้อสงสัยและน่าเชอื่ ถอื ได้ เมอ่ื ใชอ้ ินเทอร์เน็ต ทราบว่า เน้อื หาใดมีประโยชน์ รู้เท่าทนั สื่อและสารสนเทศ สามารถวิเคราะห์และ ประเมนิ ขอ้ มูลจากแหล่งข้อมลู ทหี่ ลากหลายได้ เข้าใจรปู แบบการหลอกลวง ต่าง ๆ ในสื่อดิจทิ ลั เช่น ข่าวปลอม เว็บไซต์ปลอม ภาพตัดตอ่ ข้อมูลอนั ทเ่ี ท็จ เป็นตน้

7.ร่องรอยทางดิจิทลั (Digital Footprints) รอ่ งรอยทางดจิ ทิ ลั เปน็ ความสามารถในการเขา้ ใจธรรมชาติ ของการใชช้ ีวิตในโลกดจิ ิทัลวา่ จะหลงเหลอื รอ่ งรอยข้อมูลทง้ิ ไว้เสมอ ร่องรอยทางดจิ ทิ ัล อาจจะสง่ ผลกระทบในชวี ติ จรงิ ท่ีเกิดจากรอ่ งรอย ทางดจิ ทิ ลั เขา้ ใจผลลัพธท์ ่อี าจเกดิ ขน้ึ เพ่ือนามาใช้ในการจัดการกบั ชีวิตบทโลกดิจทิ ลั ด้วยความรับผดิ ชอบ ขอ้ มูลร่องรอยทางดิจทิ ลั เช่น การลงทะเบียน อเี มล การโพสตข์ อ้ ความหรือรปู ภาพ ไฟล์งานต่าง ๆ เมื่อถกู ส่งเขา้ โลกอินเทอร์เน็ตแลว้ จะทิง้ ร่องรอยข้อมูลส่วนตวั ของ ผูใ้ ชง้ านไว้ ใหผ้ อู้ น่ื สามารถตดิ ตามได้ และจะเปน็ ข้อมลู ที่ระบตุ วั บุคคลได้อยา่ งง่ายดาย

8.ความเหน็ อกเหน็ ใจและสรา้ งสมั พันธภาพทดี่ ีกับผอู้ นื่ ทางดิจทิ ัล (Digital Empathy) ความเหน็ อกเห็นใจและสรา้ งสมั พันธภาพทีด่ กี ับผอู้ นื่ ทาง ดจิ ทิ ัล เปน็ ความสามารถในการเข้าใจผอู้ ื่น การตอบสนองความตอ้ งการ ของผู้อ่ืน การแสดง ความเหน็ ใจและการแสดงน้าใจตอ่ ผอู้ น่ื บนโลกดิจิทลั ได้อย่างเหมาะสม มีปฏิสมั พันธอ์ ันดตี ่อคนรอบขา้ ง ไม่ว่าพ่อแม่ ครู เพอ่ื น ทงั้ ในโลกออนไลนแ์ ละในชวี ิตจรงิ ไมด่ ว่ นตัดสินผ้อู ื่นจากขอ้ มูลออนไลนแ์ ต่ เพยี งอยา่ งเดยี ว และจะเปน็ กระบอกเสยี งใหผ้ ู้ทต่ี อ้ งการความชว่ ยเหลอื ใน โลกออนไลน์

จะเหน็ วา่ ความฉลาดดจิ ิทลั ในระดับพลเมืองดิจทิ ัลเป็นทกั ษะท่ีสาคญั สาหรับนักเรียน และบคุ คลทัว่ ไปในการสอ่ื สารในโลกออนไลนเ์ ปน็ อย่างย่ิง ทัง้ เอกลกั ษณ์พลเมอื งดจิ ทิ ัล การบริหารจดั การเวลาบนโลกดิจทิ ัล การจัดการ การกล่นั แกล้งบนไซเบอร์ การจัดการความปลอดภัยบนระบบเครอื ขา่ ย การ จดั การความเปน็ ส่วนตวั การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ ร่องรอยทางดิจิทัล ความเห็นอกเห็นใจและสรา้ งสัมพนั ธภาพท่ีดีกบั ผอู้ น่ื ทางดิจิทัล หากบุคคลมี ทกั ษะและความสามารถทง้ั 8 ประการจะทาให้บคุ คลนัน้ มคี วามสามารถใน การใช้อนิ เทอรเ์ น็ตในการบริหารจดั การ ควบคมุ กากบั ตน รู้ผิดรู้ถูก และรู้เท่า ทนั เป็นบรรทัดฐานในการใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัลอย่างเหมาะสม เรยี นรู้ทจี่ ะใช้ เทคโนโลยีอย่างชาญฉลาด และปลอดภัย

แหล่งทม่ี า สถาบนั สอ่ื เด็กและเยาวชน. (2561). การจดั ทา Fact Sheet‘ความฉลาดทางดิจิทัล’ (Digital Intelligence : DQ) และการศกึ ษาการรังแกกันบนโลกไซเบอร์ของวยั รุ่น. กรุงเทพมหานคร : สถาบันสอ่ื เด็กและ เยาวชน Yuhyun Park. (2016). 8 digital skills we must teach our children. Retrieved March 8, 2017, https://www.weforum.org/agenda/2016/06/8-digital-skills-we-must-teach our- children Yuhyun Park. (2016). 8 digital life skills all children need - and a plan for teaching them. Retrieved Janury 22, 2019 from https://www.weforum.org/agenda/2016/09/8-digitallife- skills-all-children-need-and-a-plan-for-teaching- them?utm_content=buffer4422b&utm_medium=social&utm_source=facebook.com&utm _campaign=buffer. Project DQ. (2017). Digital Intelligence (DQ). Retrieved Janury 22, 2019 from https://www.projectdq.org สถาบนั สื่อเด็กและเยาวชน. (2561). ความฉลาดทางดิจติ อล (Digital Intelligence: DQ) และการศึกษา การรงั แกกนั บนโลกไซเบอรข์ องวัยรุ่น. สบื คน้ เมือ่ 21 เมษายน 2562, จาก http://cclickthailand.com/contents/research/A2.-final.pdf. สถาบนั ส่อื เดก็ และเยาวชน. (2562). การพัฒนาพลเมือง MILD จุดเนน้ ตามช่วงวยั . สืบคน้ เมื่อ 21 เมษายน 2562, จาก http://cclickthailand.com/ชุดความรูส้ าหรับครู/ความรู้/การพัฒนาพลเมือง- midl-จดุ เนน้ ตามช่วงวยั . ปณิตา วรรณพิรณุ . (2560). “ความฉลาดทางงดจิ ิทลั ,” พฒั นาเทคนคิ ศึกษา. 29 (102), 12-20.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook