Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เนื้อหาหน่วยที่ 2 มาตรฐานอาชีพ

เนื้อหาหน่วยที่ 2 มาตรฐานอาชีพ

Published by kanokvan5726, 2018-05-30 02:40:57

Description: เนื้อหาหน่วยที่ 2 มาตรฐานอาชีพ

Search

Read the Text Version

หนว่ ยการเรยี นรู้2 มาตรฐานอาชีพ มาตรฐานอาชพี ความหมายของมาตรฐานอาชีพและคาทเี่ ก่ียวข้อง วิชาชีพ หมายความว่า ความรู้ ความสามารถและทักษะในการทางานของบุคคลซ่ึงต้องอาศัยความเชยี่ วชาญและความชานาญเฉพาะด้าน ทัง้ นี้ ไม่หมายความรวมถึงวิชาชีพขององค์กรวิชาชีพที่มีกฎหมายจัดตั้งขนึ้ เปน็ การเฉพาะคณุ วฒุ วิ ชิ าชพี หมายความว่า การรับรองความรู้ ความสามารถ และทักษะของบุคคลในการทางานตามมาตรฐานอาชีพตามพระราชกฤษฎกี านีม้ าตรฐานอาชพี หมายความว่า การกาหนดระดับสมรรถนะของบุคคลในการประกอบอาชีพตามพระราชกฤษฎีกาจัดต้ังสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพสมรรถนะ หมายความว่า การใช้ความรู้ทักษะ และความสามารถมาประยุกต์ใช้เพื่อการประกอบอาชีพดังน้ัน มาตรฐานอาชีพ (Occupational Standard) จงึ เป็นการกาหนดมาตรฐานของสมรรถนะรวมท้ังความรู้และความเข้าใจที่คาดหวังว่าบุคลากรจะบรรลุสาหรับอาชีพหนึ่ง โดยใช้เป็นฐานในการกาหนดและประเมินเพ่ือให้ได้คุณวุฒิวิชาชีพ (Vocational Qualifications - VQ) มาตรฐานอาชีพทาโดยกลุ่มอาชีพเฉพาะนั้นๆ หรือเรียกว่ามาตรฐานสมถรรนะ การสร้างมาตรฐานวชิ าชีพ “มอื อาชพี ” ท่กี าหนดว่าคือ บคุ คลทีป่ ฏิบัติงานท่ีตอ้ งใชค้ วามรู้ มปี ระสบการณ์สงู และสามารถปฏิบัตงิ านในสาขาวชิ าหรอื งานใดงานหนงึ่ ได้อย่างดี และขอ้ เสนอในการพฒั นาการบรหิ ารงานทรัพยากรบคุ คลใหเ้ ป็นวิชาชีพของ Ulrich and Eichinger นั้น จงึ กล่าวไดว้ ่า มืออาชีพดา้ นการบริหารทรพั ยากรบุคคล คอื บุคคลท่ีปฏบิ ัติงานโดยใชอ้ งค์ความรู้ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ซง่ึ มีการพฒั นาและเสริมสร้างองค์ความรู้อย่างต่อเนือ่ งและเป็นระบบจนเป็นท่ี ยอมรบั รว่ มกัน โดยมีจรรยาบรรณวชิ าชีพเปน็ กรอบแนวทางความประพฤติและทาใหส้ ามารถปฏบิ ัติงานได้อย่างมีประสทิ ธิภาพและบรรลปุ ระสิทธผิ ลในประเทศไทยได้มคี วามพยายามจากภาคเอกชนท่ีรวมตัวกันเป็นสมาคม ได้แก่ สมาคมจดั การงานบุคคลแห่งประเทศไทย (PersonnelManagement Association of Thailand - PMAT) ที่จะผลักดนั การสร้างมาตรฐานวชิ าชพี ดา้ นการบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล โดยใหม้ ีการประเมนิ หรอื ทดสอบเพ่ือรับรองความเป็นมืออาชพี (accreditation) และการควบคมุ การปฏบิ ตั ิงานโดยจรรยาบรรณวิชาชพี ( ethical code of conduct ) เช่นเดียวกบั การรบั รองและควบคุมผูป้ ระกอบวิชาชีพแพทย์ วิศวกร หรอื สถาปนิก โดยความเป็นมืออาชีพจะต้องมีองค์ประกอบ 10ประการ ซงึ่ ขณะนไ้ี ด้มีการกาหนดสมรรถนะและแนวทางการขอรับรองมาตรฐานวชิ าชีพในเบ้ือง ต้นแล้วในต่างประเทศ มีองค์กรภาคเอกชน และองค์กรท่ีไมแ่ สวงผลกาไรไดจ้ ัดทาหลักสูตรการฝึกอบรมและทดสอบเพือ่รบั รอง ความเป็นมืออาชีพดา้ นบริหารทรพั ยากรบคุ คล เชน่ International Public ManagementAssociation (IPMA) Chartered Institute of Personnel and Development (CIPD) CanadianCouncil of Human Resources Association (CCHRA) เป็นต้น

แนวคดิ ในการเป็นวิชาชีพ (Professional) ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ ความรู้ ทกั ษะ และสมรรถนะ (Competency) ซึง่ อิงหลักวิชาการศกึ ษา หลักการอบรม ระดบั ของการรบั รองมาตรฐานวชิ าชพี ซง่ึ ส่วนใหญจ่ ะแบง่ เปน็ 3 ระดับ คือ ระดบั ผ้ปู ฏิบัติงาน(Practitioner) ระดับวิชาชีพ (Professional) และระดับวชิ าชีพอาวโุ ส (Senior Professional) การทดสอบมาตรฐานวชิ าชพี (ความรู้ ทักษะ และพฤติกรรม) โดยองค์กรรับรองวชิ าชีพ มอี งค์กรวชิ าชีพทม่ี ีอานาจกาหนดการเขา้ มาประกอบอาชีพของบุคคล มีจรรยาบรรณวิชาชีพ กลมุ่ อาชีพในหมวดใหญ่ กรมการจัดหางาน เดินหน้าจัดมาตรฐานอาชีพประเทศไทย หลังองค์การแรงงานระหว่างประเทศประกาศใชห้ ลกั เกณฑ์การจัดแบง่ หมวดหมู่ ชสี้ ามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการจัดแบ่งสาขาอาชีพนายประวิทย์เคียงผล อธิบดีกรมการจัดหางาน กล่าวว่า หลังจากท่ีองค์การแรงงานระหว่างประเทศ หรือไอแอลโอประกาศใช้หลักเกณฑ์การจัดแบ่งหมวดหมู่ และการกาหนดรหัสตามการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพสากล (International Standard Classification of Occupations : ISCO) เม่ือปี 2012 ไปแล้วน้ันกระทรวงแรงงาน โดยกรมการจัดหางานได้ดาเนินการสารวจอาชีพใหม่ๆ และสารวจตามสถานประกอบการตา่ งๆ ว่ามีสาขาใดบ้าง เพ่อื จัดทาใหส้ อดคลอ้ งกบั ของไอแอลโออธิบดีกรมการจัดหางาน กล่าวต่อไปว่า การจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ เป็นเคร่ืองมือสาหรับใช้ในการจัดโครงสร้างประเภทอาชีพท่ีมีอยู่ในประเทศไทย ในอุตสาหกรรม ในสถานประกอบการ โดยแบ่งประเภทอาชีพออกเป็นกลุ่มๆ ตามลักษณะงานที่ทา และหน้าท่ีที่รับผิดชอบในงานนั้นๆ ซ่ึงการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้ในการเก็บรวบรวม แล ะเผยแพร่ข้อมูลสถิติ เช่น สารวจภาวะการมีงานทา และการจัดเก็บข้อมูลอาชีพ ตลอดจนเพ่ือให้หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และบุคคลทั่วไป มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเก่ียวกับข้อมูลอาชีพ และสะดวกแก่การนาไปใช้ประโยชน์นอกจากน้ียังสามารถนาไปใช้ในการเปรียบเทียบและแลกเปล่ียน ข้อมูลเก่ียวกับอาชีพในประเทศและนานาประเทศ รวมทง้ั ใชเ้ ป็นฐานข้อมูลอาชีพของประเทศไทยอีกด้วยโดยประโยชน์ท่ีจะได้รับจากการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพคือ สามารถนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการบริหารงานด้านแรงงาน เช่น การแนะแนวอาชีพ การฝึกอบรม การจ้างงาน ตลอดจนทาให้มีระบบฐานข้อมูลเดียวกัน สามารถนาข้อมูลสถิติไปใช้อ้างอิงและเปรียบเทียบได้ทั้งในระดับหน่วยงาน ระดับประเทศและระดับนานาประเทศ โดยหน่วยงานท้ังภาครัฐและภาคเอกชน จะได้มีความเข้าใจท่ีถูกต้องตรงกันในเรื่องอาชีพสาหรับโครงสร้างในการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพประเทศไทย (Thailand Standard Classification ofOccupations : TSCO ) ไดจ้ ัดแบ่งประเภทอาชีพออกเป็นหมวดใหญ่ หมวดย่อย หมู่ และหน่วย เช่นเดียวกับการจัดประเภทมาตรฐานอาชีพสากลสาหรับตัวอาชีพน้ัน จะเป็นหน้าที่ของแต่ละประเทศในการพิจารณาจัดจาแนกและจดั ทารายละเอยี ดอาชีพตามโครงสรา้ งเศรษฐกิจของประเทศนั้นๆ ซ่ึงในส่วนของประเทศไทยได้จัดจาแนกเปน็ กลุม่ ในระดบั ต่างๆ โดยกาหนดเลขรหัสในแต่ละระดับดว้ ยเลขรหสั ตัง้ แต่ 1- 6 หลัก ดงั นี้

หมวดใหญ่ (major) เป็นกลุ่มอาชีพท่ีใหญท่ ่สี ุด ซงึ่ จัดประเภทอาชพี ท่ีมีลักษณะท่ีคล้ายกันเข้าไว้ในกลุม่ เดยี วกัน โดยจัดไวเ้ ป็น 10 หมวดใหญ่ และใช้แทนดว้ ยเลขรหสั หลกั ที่ 1 หมวดย่อย (sub major) เปน็ กลุ่มอาชีพที่แบ่งยอ่ ยจากหมวดใหญ่ มจี านวน 28 หมวดย่อย และ ใช้แทนด้วยเลขรหสั หลกั ที่ 1 ถงึ 2 หมู่ (group) เป็นกล่มุ อาชพี ที่แบ่งยอ่ ยจากหมวดย่อย มีจานวน 116 หมู่ และใชแ้ ทน ด้วยเลขรหัสหลกั ท่ี 1 ถงึ 3 หน่วย (unit) เป็นกลุม่ อาชีพทแ่ี บ่งย่อยจากหมู่ มีจานวน 391 หน่วย และใช้แทนด้วย เลขรหสั หลกั ท่ี1 ถงึ 4 ตวั อาชีพ (occupation) เป็นอาชีพท่ีถูกจาแนกเข้าไว้ในกลมุ่ อาชพี ระดับหนว่ ย มีจานวน 1,905 ตวัอาชพี และใช้แทนดว้ ยเลขรหัสหลักท่ี 1 ถึง 6 โดยแยกตวั เลขหลกั ที่ 5 และ 6 ออกจาก 4 หลักแรกดว้ ย จุดทศนิยม ซงึ่ ตวั อาชีพถกู จัดรวมเข้าไว้ในหน่วยอาชีพนน้ั ท้ังนี้คงตอ้ งใชเ้ วลาในการดาเนินงาน ระยะเวลาหน่ึงเพ่อื ความถูกตอ้ งในการปรับปรงุ ข้อมลู ของประเทศ ซง่ึ จะต้องนาไปใชใ้ นระดับสากล โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จในปีงบประมาณ 2557 ซงึ่ ประโยชนท์ ่ลี ูกจา้ ง หรือประชาชนทวั่ ไปจะไดร้ บั คือ จะได้ทราบว่าอาชีพของตนเองอยู่ในหมวดไหน จะไดเ้ ปรยี บเทยี บกับระดบั สากล หรือระดับอาเซียนได้ โดยจะไดศ้ ึกษาและพฒั นาทักษะฝีมือในสาขาของตนเอง เพ่ือเปน็ การเพมิ่ รายไดใ้ หม้ ากขน้ึ สมตามเจตนารมณข์ องรัฐบาลและกระทรวงแรงงาน ท่ีต้องการยกระดบั รายได้ให้กับประชาชนทกุ กลุ่ม นายประวิทยก์ ล่าวหากสถานศกึ ษา สถานประกอบกิจการหรอื ประชาชนรายใดต้องการศึกษาขอ้ มลู เพิ่มเตมิ สามารถติดตอ่ ไดท้ ่ี กองสง่ เสรมิ การมีงานทา กรมการจัดหางาน เบอรโ์ ทรศัพท์ 0-2247-6627 หรอื สายดว่ น กรมการจัดหางาน 1694


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook