Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการพินิจวรรณคดีและวรรณกรรม

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการพินิจวรรณคดีและวรรณกรรม

Published by boonyapong.1104, 2020-06-19 00:39:23

Description: ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการพินิจวรรณคดีและวรรณกรรม

Search

Read the Text Version

ความรู้ทั่วไปเกย่ี วกบั การพนิ จิ วรรณคดแี ละวรรณกรรม ผงั มโนทัศน์สาระการเรียนรู้ ความรู้ท่ัวไปเกยี่ วกบั การพนิ ิจวรรณคดแี ละวรรณกรรม ความหมายของวรรณคดแี ละวรรณกรรม วรรณคดีและวรรณกรรม เป็นงานที่แต่งข้ึนโดยเลือกใชภ้ าษาเพื่อสื่อความในเรื่องถา่ ยทอดความรู้ ความคิด จินตนาการ ประสบการณ์ ฯลฯ มีลกั ษณะที่แตกต่างกนั ดงั น้ี วรรณคดี คือ หนงั สือดีที่ใชศ้ ิลปะในการแต่ง สร้างจินตภาพ แสดงความรู้ ความคิด เป็นภาพแทนสงั คม วรรณกรรม คือ งานเขียนทุกรูปแบบ มีเน้ือหาท่ีส่ือความใหผ้ อู้ ่านเขา้ ใจได้ ไม่เนน้ เร่ืองศิลปะในการแต่ง จากความหมายขา้ งตน้ วรรณคดีคือวรรณกรรมประเภทหน่ึงที่มีวรรณศิลป์ (ศิลปะในการแต่ง) การอา่ นวรรณคดีและวรรณกรรมใหไ้ ดค้ ุณค่าทางอารมณ์และความคิดตามเจตนาผแู้ ต่ง ตอ้ งใชก้ ารอา่ นอยา่ งพินิจ โดยใชก้ าร ตีความ การพิจารณาเน้ือหา แนวคิด และการวินิจฉยั ประเมินค่า ความหมายของการพนิ จิ วรรณคดแี ละวรรณกรรม พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ กรมหมื่นนราธิปพงศป์ ระพนั ธ์ ทรงบญั ญตั ิคาวา่ “พินิจ” เทียบจากคาวา่ “Review” หมายถึง การ มองซ้า ส่วนพจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๒ กล่าววา่ “พินิจ” หมายถึง พิจารณา ตรวจตรา การพินิจวรรณคดีและวรรณกรรม จึงหมายถึง การศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมผา่ นการตีความ การวิเคราะห์ วิจารณ์ พิจารณาเน้ือหา แนวคิด และประเมินองคป์ ระกอบและวิธีการประพนั ธ์ เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ซ่ึงถือ เป็นแนวทางเบ้ืองตน้ ของการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม หลกั การพนิ จิ วรรณคดแี ละวรรณกรรม ๑. ทาความเข้าใจเร่ือง ดูวา่ เรื่องกลา่ วถึงใคร ทาอะไร ท่ีไหน เมื่อไร และอยา่ งไร แต่หากวรรณคดีหรือวรรณกรรมไม่มีเน้ือ เรื่อง เช่น วรรณคดีสุภาษิต ใหห้ าแนวคิดของเร่ืองวา่ พูดถึงอะไร ๒. ตคี วาม ทาความเขา้ ใจความหมายแฝงจากถอ้ ยคาท่ีพบในเรื่อง ๓. วเิ คราะห์ แยกพิจารณาวรรณคดีหรือวรรณกรรมตามองคป์ ระกอบต่าง ๆ ไดแ้ ก่ รูปแบบ เน้ือหา ภาษา และกลวธิ ีการ ประพนั ธ์

๔. วจิ ารณ์ แสดงความคิดเห็นวา่ มีขอ้ เด่น ขอ้ ดอ้ ย หรือความเหมาะสมในการแต่งอยา่ งไร ๕. ประเมนิ ค่า ประเมินคุณค่าวา่ ดีหรือไม่ เพราะเหตุใด พิจารณาขอ้ มูลและเหตุการณ์แวดลอ้ มประกอบ ผพู้ ินิจวรรณคดีและวรรณกรรมจะตอ้ งใชห้ ลกั การท้งั ๕ ข้นั ตอนมาพิจารณาองคป์ ระกอบของวรรณคดีหรือวรรณกรรม ดงั น้ี องค์ประกอบของวรรณคดแี ละวรรณกรรม ๑. เนื้อหา คือ ใจความสาคญั ของวรรณคดีและวรรณกรรมมีส่วนประกอบสาคญั ไดแ้ ก่ ๑.๑ เน้ือเร่ือง จะบอกวา่ มีอะไรเกิดข้ึนกบั ใคร ท่ีไหน เมื่อไร และอยา่ งไร ซ่ึงวรรณคดีและวรรณกรรมบางเร่ืองอาจไม่มี เร่ืองราว แต่เป็นภาษิต คาสอนท่ีผแู้ ต่งตอ้ งการใหผ้ อู้ ่านรับรู้ เช่น “พระสมทุ รสุดลึกลน้ คณนา สายดิ่งทิ้งทอดมา หยงั่ ได้ เขาสูงอาจวดั วา กาหนด จิตมนุษยน์ ้ีไซร้ ยากแทห้ ยงั่ ถึง” (โคลงโลกนิติ ของ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาเดชาดิศร) ๑.๒ แก่นเรื่อง คือ แนวคิดท่ีผแู้ ต่งกาหนดเพ่ือเป็นกรอบของเรื่อง ๑.๓ โครงเรื่อง คือ เหตุการณ์สาคญั ของเร่ืองที่ผแู้ ต่งคิดไวค้ ร่าว ๆ ยงั ไมล่ งรายละเอียดยอ่ ย เช่น ช่ือตวั ละคร ช่ือสถานท่ี ซ่ึงการพินิจโครงเรื่อง ผอู้ ่านควรดูการลาดบั เหตุการณ์ในเร่ืองวา่ มีการเรียงร้อยเหตุการณ์ต่าง ๆ ไวอ้ ยา่ งไร เช่น เล่าเรื่อง ตามลาดบั เวลา, เลา่ เร่ืองยอ้ นหลงั หรือเลา่ เรื่องสลบั ไปมา ๑.๔ ตวั ละคร คือ ผแู้ สดงบทบาทในงานประพนั ธ์ อาจเป็นบุคคลที่มีตวั ตนจริงหรือตวั ละครท่ีสมมตุ ิข้ึนจะเป็นมนุษย์ หรือไม่กไ็ ด้ ซ่ึงตวั ละครแบ่งออกเป็น ๒ ลกั ษณะไดแ้ ก่ ๑) ตวั ละครหลายลกั ษณะ คือ ตวั ละครท่ีมีอารมณ์ความรู้สึกเหมือนคนจริง ๆ สามารถเปลี่ยนแปลงอารมณ์ไปไดต้ าม เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในเรื่อง ๒) ตวั ละครลกั ษณะเดียว คือ ตวั ละครที่มีนิสยั เพียงอยา่ งเดียว ไม่สามารถเปล่ียนแปลงไปตามเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนใน เรื่องได้ การพินิจตวั ละคร ผอู้ า่ นตอ้ งพิจารณาพฤติกรรม ความคิด ท่ีส่งผลต่อการตดั สินใจของตวั ละคร ๑.๕ ฉาก คือ สภาวะแวดลอ้ มหรือบรรยากาศท่ีเกิดข้ึนรอบตวั ละคร อาจเป็นฉากที่มีอยจู่ ริงหรือเป็นฉากในจินตนาการ ซ่ึงครอบคลมุ ถึงช่วงเวลาท่ีเกิดเหตุการณ์ เช่น ช่วงกลางวนั ช่วงกลางคืน สมยั กรุงศรีอยธุ ยาตอนกลาง เป็นตน้ การพินิจฉาก ผอู้ า่ นตอ้ งสงั เกตความถูกตอ้ ง ความสมจริง และความสอดคลอ้ งต่อเหตุการณ์ ๒. รูปแบบ คือ ลกั ษณะของงานประพนั ธ์ท่ีผูแ้ ต่งเลือกใชซ้ ่ึงการพินิจรูปแบบ ผอู้ า่ นควรพิจารณารูปแบบและเน้ือหาวา่ มี ความสอดคลอ้ งกนั หรือไม่

๓. ภาษา คือ ถอ้ ยคาที่เรียบเรียงข้ึนเพื่อสื่อเร่ืองราวมาสู่ผรู้ ับสาร ผา่ นภาษาพูดและภาษาเขียน โดยภาษาพูดจะใชก้ บั วรรณคดี และวรรณกรรมมขุ ปาฐะ ส่วนภาษาเขียนจะใชก้ บั วรรณคดีและวรรณกรรมลายลกั ษณ์ ซ่ึงความไพเราะของวรรณคดีและ วรรณกรรมจะข้ึนอยกู่ บั ศิลปะทางภาษา ดงั น้ี ๓.๑ รสคา คือ ความไพเราะที่เกิดจากการเลือกใชถ้ อ้ ยคาที่กระทบใจ ถา่ ยทอดอารมณ์ความรู้สึกของผแู้ ต่งได้ ดงั น้ี ๑) การใชเ้ สียงสมั ผสั คือ การใชเ้ สียงที่คลอ้ งจองกนั มี ๒ ชนิด คือ “สมั ผสั นอก” และ “สมั ผสั ใน” พยญั ชนะ เช่น “ดูน้าวง่ิ กลิง้ เชี่ยวเป็นเกลียวกลอก กลบั กระฉอกฉาดฉดั ฉวดั เฉวยี น บา้ งพลงุ่ พลุ่งวงุ้ วงเป็นกงเกวียน ดูเวียนเวียนควา้ งควา้ งเป็นหวา่ งวง” (นิราศภูเขาทอง ของ สุนทรภู่) ๒) การเลียนเสียงธรรมชาติ คือ การนาคาเลียนแบบเสียงจากธรรมชาติ เช่น “ท้งั ยงุ ชุมรุมกดั ปัดเปรียะปะ เสียงผวั ะผะพบึ พบั ปุบปับแปะ ท่ีเขน็ เรียงเคียงลาขยาแขยะ มนั เกาะแกะกนั จริงจริงหญิงกบั ชาย” (นิราศเมืองเพชร ของ สุนทรภู่) ๓) การเลน่ คาและเลน่ เสียง คือ การเล่นเสียงสระ-พยญั ชนะ คาพอ้ งเสียง คาเสียงคลา้ ย เช่น “ฝงู ลิงไต่กิ่งลางลงิ ไขว่ ลางลงิ แล่นไล่กนั วนุ่ วาย ลางลิงชิงค่างข้ึนลางลิง กาหลงลงก่ิงกาหลงลง” (ขนุ ชา้ งขนุ แผนของ รัชกาลที่ ๒) ๓.๒ รสความ คือ ความไพเราะท่ีไดจ้ ากความหมายของถอ้ ยคาผา่ นการบรรยายหรือพรรณนาในลกั ษณะต่าง ๆ ดงั น้ี ๑) การพรรณนาความอยา่ งตรงไปตรงมา คือ การใชถ้ อ้ ยคาที่มีความหมายตรงตวั ผอู้ ่านสามารถเห็นภาพโดยไม่ตอ้ ง ตีความ เช่น “กระโดดเผาะเกาะผบั ขยบั คืบ ถีบกระทืบมิใคร่หลุดสุดแสยง ปลดที่ตีนติดขาระอาแรง ท้งั ขาแขง้ เลือดโซมชโลมไป” (นิราศเมืองแกลง ของ สุนทรภู่)

๒) การพรรณนาความโดยใชโ้ วหารภาพพจน์ คือ การใชถ้ อ้ ยคาท่ีเป็นศิลปะทางภาษา ทาให้ผอู้ ่านเกิดจินตภาพ มากกวา่ การพดู อยา่ งตรงไปตรงมา ตวั อยา่ งโวหารภาพพจน์ ไดแ้ ก่ (๑) อุปมา (Simile) คือ การเปรียบสิ่งหน่ึงเหมือนอีกสิ่งหน่ึงซ่ึงเป็นของต่างจาพวกกนั มกั มีคาวา่ เปรียบวา่ ดุจ ดงั ดงั่ แมน้ เหมือน ปาน ราวกบั ฯลฯ เช่น “อสุรีผีเส้ือจะเหลืออด แคน้ โอรสราวกบั ไฟไหมม้ งั สา ช่างหลอกหลอ่ นผอ่ นผนั จานรรจา แมน้ จะวา่ โดยดีเห็นมิฟัง” (พระอภยั มณี ของ สุนทรภู่) (๒) อปุ ลกั ษณ์ (Metaphor) คือ การเปรียบสิ่งหน่ึงวา่ เป็นอีกสิ่งหน่ึงซ่ึงเป็นของต่างจาพวกกนั มกั มีคาวา่ เป็น คือ หรืออาจจะละคาเหล่าน้ีไวโ้ ดยเป็นท่ีเขา้ ใจตรงกนั เช่น “มงั กนั จีมีปรีชาเฉียบแหลมปัญญาเป็นเขม็ ” (ราชาธิราช ของ เจา้ พระยาพระคลงั (หน)) (๓) สญั ลกั ษณ์ (Symbol) คือ การใชค้ าคาหน่ึงแทนอีกคาหน่ึงซ่ึงเป็นท่ีรู้ทวั่ ไป เช่น “หงส์” เป็นสญั ลกั ษณ์ ของคนช้นั สูง “กา” เป็นสญั ลกั ษณ์ของคนช้นั ต่า ตวั อยา่ งคาประพนั ธ์ เช่น “เมื่อแรกเช่ือวา่ เน้ือทบั ทิมแท้ มาแปรเป็ นพลอยหุงไปเสียได้ กาลวงวา่ หงส์ใหป้ ลงใจ ดว้ ยมิไดด้ ูหงอนแต่ก่อนมา” (ขนุ ชา้ งขนุ แผนของ รัชกาลที่ ๒) (๔) อติพจน์ (Hyperbole) คือ การกลา่ วถึงส่ิงเกินจริงเพื่อเนน้ อารมณ์ความรู้สึก เช่น “ถึงมว้ ยดินสิ้นฟ้ามหาสมทุ ร ไมส่ ิ้นสุดความรักสมคั รสมาน แมเ้ กิดในใตฟ้ ้าสุธาธาร ขอพบพานพิศวาสไม่คลาดคลา” (พระอภยั มณี ของ สุนทรภู่)

(๕) บุคคลวตั หรือบุคคลสมมุติ (Personification) คือ การสมมุติใหส้ ่ิงท่ีไม่ใช่มนุษยก์ ระทากริยาอาการ หรือมีความรู้สึกอยา่ งมนุษย์ เช่น “จากมามาลิ่วล้า ลาบาง บางยเ่ี รือราพลาง พี่พร้อง เรือแผงช่วยพานาง เมียงม่าน มานา บางบ่รับคาคลอ้ ง คล่าวน้าตาคลอ” (โคลงนิราศนรินทร์ ของ นายนริทร์ธิเบศร์ (อิน)) (๖) ปฏิปุจฉา (Rhetorical question) คือ การใชค้ าถามที่ไม่ตอ้ งการคาตอบ เพื่อกระตุน้ ใหส้ นใจหรือเกิด ความคิด เช่น “แลว้ วา่ อนิจจาความรัก พ่ึงประจกั ษด์ งั่ สายน้าไหล ต้งั แต่จะเชี่ยวเป็นเกลียวไป ที่ไหนเลยจะไหลคืนมา” (อิเหนา ของ รัชกาลท่ี ๒) หากเราสามารถพินิจวรรณคดีและวรรณกรรมไดถ้ ูกตอ้ งจะทาใหเ้ ขา้ ใจและซาบซ้ึงคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมไทย อนั เป็นวฒั นธรรมทางภาษาอยา่ งหน่ึงของประเทศไทย สรุป วรรณคดีและวรรณกรรมเป็นศิลปะทางภาษาแขนงหน่ึง ที่ใหค้ ุณค่าทางสติปัญญาและอารมณ์ความรู้สึก เม่ือเราพินิจ วรรณคดีและวรรณกรรมในดา้ นเน้ือหารูปแบบ และภาษา จะทาใหเ้ กิดความซาบซ้ึงในสุนทรียภาพ และเขา้ ใจถึงคุณค่าของ วรรณคดีและวรรณกรรม นาไปสู่พฒั นาการทางดา้ นจิตใจ เกิดความรู้สึกที่อยากจะทานุบารุงภาษาไทย