Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore _farahz.q_

_farahz.q_

Published by Guset User, 2023-06-18 06:55:31

Description: _farahz.q_

Search

Read the Text Version

37 จากลักษณะของโครงงาน สามารถสรุปได้ว่า ลักษณะของโครงงานเป็นเรือ่ ง ที่มีข้อสงสัย ต้องการค้นหาคำตอบ ซ่ึงผู้เรียนจะต้องหาข้อมูล ลงมือปฏิบัติจริง เพื่อให้ได้คำตอบ โดยประเด็นท่เี ลอื ก อาจตรงตามสาระการเรยี นรหู้ รอื ตามความสนใจของผเู้ รียน 2.2.4 คุณค่าของวธิ ีสอนแบบโครงงาน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2540: 2) ได้สรุปถึง คณุ ค่าของโครงงาน ดงั น้ี 1. สร้างความสำนกึ และรับผิดชอบในการศึกษาค้นคว้าหาความร้ตู ่างๆ 2. เปิดโอกาสให้กับนักเรียนทุกคนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตาม ศักยภาพของตนเอง 3. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเร่ืองท่ีตนเองสนใจได้ ลึกซงึ้ ไปกว่าการเรยี นในหลกั สูตรปกติ 4. ทำให้นักเรยี นทม่ี สี ามารถพเิ ศษไดม้ โี อกาสแสดงความสามารถของตนเอง 5. ช่วยให้นกั เรียนได้ใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชนใ์ นทางสรา้ งสรรค์ 6. ช่วยสร้างความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนและระหว่างนักเรียนด้วยกัน ใหม้ ีโอกาสในการทำงานให้ใกล้ชิดกันมากขึ้น 7. ชว่ ยสร้างความสมั พันธ์ระหวา่ งชมุ ชนกบั โรงเรียนให้ดีขนึ้ วิมลศรี สุวรรณรตั น์ (2547: 26) ได้กล่าวถงึ คณุ ค่าของโครงงาน ดังน้ี 1. สร้างความสำนึกและรับผิดชอบในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ดว้ ยตนเองให้กับนกั เรียน 2. เปิดโอกาสให้กับนักเรียนทุกคนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตาม ศกั ยภาพของตนเอง 3. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องท่ีตนเองสนใจได้ ลึกซึง้ กว่าการเรียนในหลักสตู รปกติ 4. ทำให้นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษได้มีโอกาสแสดงความสามารถของ ตนเอง 5. ช่วยให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิทยาศาสตร์ และมีความสนใจใน การเรียนวทิ ยาศาสตร์ และมีความสนใจทีจ่ ะประกอบอาชีพทางวิทยาศาสตรม์ ากขึน้ 6. ช่วยใหน้ กั เรยี นไดใ้ ชเ้ วลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ในทางสรา้ งสรรค์ 7. ช่วยสร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนด้วยกันให้มีโอกาสในการทำงานให้ ใกล้ชิดกนั มากข้ึน

38 8. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนกับโรงเรียนให้ดีข้ึนและช่วยกระตุ้นให้ ชุมชนไดส้ นใจวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากข้ึน จากคุณค่าของวิธีสอนแบบโครงงาน สามารถสรุปได้ว่า การสอนแบบ โครงงานเปดิ โอกาสให้กับนักเรียนทุกคนได้พฒั นาและแสดงความสามารถตามศกั ยภาพของตนเองโดย การศึกษา ค้นคว้า เรียนรู้เร่ืองที่ตนเองสนใจและลงมือกระทำ ซึ่งนักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์และแสดงความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงได้มีโอกาสสร้างความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน นกั เรียนกบั นักเรียนในระหวา่ งการทำโครงงานมากข้ึน 2.2.5 ประเภทของโครงงาน ศตภิษัช ไกรษี (2553: 2) กล่าวถึงประเภทของโครงงานแบ่งตามลักษณะ กิจกรรมได้เป็น 4 ประเภท คือ 1) โครงงานประเภทการสำรวจรวบรวมข้อมูล 2) โครงงานประเภท การทดลอง 3) โครงงานประเภทการพัฒนาหรือการประดิษฐ์ และ 4) โครงงานประเภทการสร้าง ทฤษฎแี ละหลกั การ 1. โครงงานประเภทสำรวจรวบรวมขอ้ มลู เป็นการศึกษารวบรวมปัญหาจากธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม เพ่ือศึกษาหา ความรู้ท่ีมีอยู่หรืออยู่ในธรรมชาติ โดยใช้วิธีสำรวจและรวบรวมข้อมูล แล้วนำข้อมูลท่ีได้จัดทำให้เป็น ระบบระเบียบและสื่อความหมาย แล้วนำเสนอในรูปแบบต่างๆ เช่น ตาราง กราฟ แผนภูมิ และคำอธิบายประกอบการทำโครงงานประเภทน้ี ไม่มีการจัดหรอื กำหนดตัวแปร หรอื ควบคมุ ตัวแปร อาจกระทำในลักษณะใดลักษณะหนง่ึ ดังตอ่ ไปน้ี 1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลในสนามหรือธรรมชาติ โดยไม่ต้องนำวัสดุ ตัวอย่างมาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ เช่น การศึกษาพฤติกรรมของสัตว์บางชนิดในธรรมชาติ การศึกษามลพิษในสงิ่ แวดล้อม การศึกษาการเจริญเตบิ โตของตวั อ่อนของสัตวบ์ างชนดิ เป็นตน้ 1.2 การเก็บรวบรวมวัสดุตัวอย่างมาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ เช่น โครงงานเรื่อง “การศึกษาปริมาณของอะฟลาทอกซิลในถ่ัวลิสงป่นตามร้านอาหารต่างๆ จังหวัด แหง่ หน่ึง” เป็นต้น 1.3 จำลองธรรมชาติขึ้นในห้องปฏิบัติการแล้วสังเกตและศึกษารวบรวม ข้อมูลต่าง ๆ เช่น โครงงานการเล้ียงผ้ึง ด้วยการนำผึ้งมาเลี้ยงแล้วทำการศึกษารวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เกยี่ วกับการดำเนินชวี ิตของผึ้ง

39 2. โครงงานประเภททดลอง เป็นการศึกษาหาคำตอบของปัญหาใดปัญหาหนึ่ง โดยการออกแบบการ ทดลอง และดำเนินการทดลอง ลักษณะของโครงงานประเภทน้ี คือ มีการออกแบบการทดลอง เพ่ือ ศึกษาผลของตัวแปรที่มีต่อตัวแปรอีกตัวหนึ่งท่ีต้องการศึกษา โดยควบคุมตัวแปรอื่น ๆ ที่อาจมีผลต่อ ตวั แปรทตี่ ้องการศกึ ษาไว้ ตัวอย่างของโครงงานประเภทน้ไี ดแ้ ก่ 2.1 การศกึ ษาอิทธิพลของแสงสตี ่าง ๆ ทีม่ ตี อ่ การเจริญเตบิ โตของพืชบางชนิด 2.2 การศกึ ษาการเจรญิ เตบิ โตของพืชในสนามแม่เหล็ก 2.3 การศึกษาอิทธพิ ลของฮอร์โมนเพศชายในสตั วต์ วั เมีย 2.4 การทดลองใช้ผักตบชวาในการกำจดั น้ำเสยี 3. โครงงานประเภทการพัฒนาหรือการประดษิ ฐ์ เป็นการพัฒนาหรือประดิษฐ์ หรือการสร้างอุปกรณ์หรือเคร่ืองมือเครื่องใช้ เพื่อประโยชน์ใช้สอย โดยการประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการพัฒนาหรือ การประดิษฐ์ดังกล่าวอาจเป็นการประดิษฐ์สิ่งใหม่หรอื การปรับปรุงเปล่ียนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ มีประสิทธภิ าพข้ึนก็ได้ หรอื อาจเป็นการเสนอแบบจำลองทางความคดิ เพ่ือแก้ปัญหาใดปัญหาหน่ึงก็ได้ เช่น 3.1 โครงงานเรอื่ ง “เครื่องเตือนอคั คีภยั ระบบความดัน” 3.2 การประดิษฐเ์ ครอื่ งร่อน 3.3 บ้านยุคนวิ เคลียร์ 3.4 รปู แบบการจัดการจราจรบรเิ วณทางแยก ฯลฯ 4. โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎแี ละหลักการ เป็นโครงงานที่เสนอทฤษฎีหรือคำอธิบายส่ิงต่าง ๆ หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ซึ่งเปน็ แนวคิดใหม่ๆ โดยมีหลักการทางวิทยาศาสตรห์ รอื ทฤษฎีอน่ื ตลอดจนข้อมูลต่าง ๆ สนับสนุน ทฤษฎีหรือคำอธิบายดังกล่าวอาจใหม่หรือขัดแย้ง หรือขยายแนวความคิด หรือคำอธิบายเดิมท่ีมีผู้ให้ ไว้ก่อนแล้วก็ได้ อาจเป็นการอธิบายปรากฏการณ์เก่าในแนวใหม่ อาจเสนอในรูปของคำอธิบาย สูตร หรือสมการก็ได้ แต่จะต้องมีขอ้ มูลหรือทฤษฎีอื่นมาสนับสนุนอ้างอิง ตัวอย่างโครงสร้างงานประเภทนี้ ไดแ้ ก่ โครงงานเรอ่ื ง”กำเนดิ ของทวปี และมหาสมทุ ร” เปน็ การสร้างแบบจำลองทฤษฎี อธิบายการเกิด ของทวีปและมหาสมุทรว่าเกิดข้ึนได้อย่างไร โดยอาศัยหลักฐานทางประวัติศาสตร์และทฤษฎีทาง วทิ ยาศาสตร์มาอา้ งองิ ซ่ึงเป็นแนวความคิดท่ีแตกตา่ งจากท่ีเคยมผี ู้เสนอไว้ก่อนแล้ว

40 การเรียนรู้แบบโครงงาน เป็นการเรียนรู้ที่ใช้เทคนิคหลากหลายรูปแบบ นำมาผสมผสานกัน ได้แก่ กระบวนการกลุม่ การฝึกคิด การแก้ปัญหา การเนน้ กระบวนการ การสอน แบบปริศนาความคิด และการสอนแบบร่วมกันคิด ทั้งนี้มุ่งหวังให้ผู้เรียนเรียนรู้เร่ืองใดเรื่องหน่ึงจาก ความสนใจอยากร้อู ยากเรยี นของผู้เรียนเอง โดยใช้กระบวนการและวิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ ผู้เรยี นจะ เป็นผู้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือค้นหาคำตอบด้วยตนเอง เป็นการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงกับความรู้เบ้ืองต้น ผู้เรียนสามารถสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง ซึ่งความรู้ที่ ผู้เรียนได้มาไม่จำเป็นต้องตรงกับตำรา แต่ผู้สอนจะสนับสนุนให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมจาก แหล่งการเรยี นรแู้ ละปรบั ปรงุ ความรู้ที่ไดใ้ ห้สมบรู ณ์ การเรียนรู้แบบโครงงาน เป็นการเรียนรู้ท่ีเช่ือมโยงหลักการพัฒนาการคิด ของบลมู (Bloom) ทง้ั 6 ข้ัน กล่าวคอื 1. ความร้คู วามจำ (Knowledge) 2. ความเขา้ ใจ (Comprehension) 3. การนำไปใช้ (Application) 4. การวิเคราะห์ (Analysis) 5. การสงั เคราะห์ (Synthesis) 6. การประเมนิ คา่ (Evaluation) และการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญในทุกขั้นตอนของการเรียนรู้ ตั้งแต่การวางแผนการเรียนรู้ การออกแบบการเรียนรู้ การสรา้ งสรรค์ประยกุ ต์ใชผ้ ลผลิต และการประเมนิ ผลงาน โดยผูส้ อนมีบทบาทเป็นผจู้ ดั การเรยี นรู้ จากประเภทของโครงงานท่ีได้กล่าวข้างต้น ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์ ประเภทของโครงงานท่ีสอดคล้องกับเน้ือหาในหน่วยที่ 3 เร่ืองแรงและการเคล่ือนท่ีและเหมาะสมกับ วัยของผู้เรียน ซึ่งโครงงานประเภททดลอง เป็นประเภทของโครงงานที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถลงมือ ปฏิบัติด้วยตนเองและช่วยให้ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และความสามารถในการ ทำโครงงาน 2.2.6 ขน้ั ตอนการจัดการเรยี นรแู้ บบโครงงาน นกั การศึกษาและนักวิทยาศาสตร์หลายทา่ นไดเ้ สนอขั้นตอนการทำโครงงานไว้ ดังนี้ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2544: 30) นำเสนอข้ันตอนการทำ โครงงาน ดังนี้

41 1. คิดและเลือกปัญหาที่จะศึกษา ผู้เรียนเป็นผู้กำหนดปัญหา แนวคิดและ วิธีการท่ีจะแก้ปัญหาตามความสนใจอยากรู้ของตนเองท้ังนี้ต้องคำนึงถึงความเหมาะสมในเร่ืองเวลา ความรูค้ วามสามารถและแหลง่ การเรียนร/ู้ แหล่งขอ้ มูล 2. วางแผนในการทำโครงงาน ผู้เรียนจะต้องวางแผนในการทำโครงงานใน ทกุ ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) กำหนดปัญหาและขอบเขตกรศึกษา 2) การกำหนดวตั ถุประสงค์ แนวคิด วิธีการที่นำมาใช้แก้ปัญหา สมมติฐาน และนยิ ามเชิงปฏิบัตกิ าร 3) การวางแผนรวบรวมข้อมลู และการค้นคว้าเพิม่ เตมิ 4) กำหนดวิธีการดำเนินงาน ได้แก่ แนวทางการศึกษาค้นคว้า วัสดุอปุ กรณ์ ที่ต้องใช้ การออกแบบการทดลอง การควบคุมตัวแปร การสำรวจ และรวบรวมข้อมูล การประดิษฐ์ คดิ คน้ การวิเคราะห์ขอ้ มลู การกำหนดระยะเวลาในการทำงานแตล่ ะข้นั ตอน 3. ลงมือทำโครงงาน ผู้เรยี นจะตอ้ งปฏิบัติตามแผนทีก่ ำหนดไว้ในข้อ 2 และถ้า มีปัญหาใหข้ อคำแนะนำ ปรึกษาครูหรืออาจารย์ที่ปรึกษา 4. การเขียนรายงาน ผู้เรียนจะต้องนำเสนอผลงานการศึกษาค้นคว้าเป็น เอกสาร อธิบายให้ผู้อ่ืนเข้าใจและทราบถึงปัญหา วิธีการ และผลสรุปท่ีได้จากการศึกษา พร้อม อภปิ รายผลและให้ขอ้ เสนอแนะเพอื่ เป็นแนวทางในการศึกษาคน้ ควา้ ต่อไป สุวิทย์และอรทัย มูลคำ (2545:86) กล่าวถึงขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบ โครงงานดังนี้ 1.การเลือกหัวข้อเรอ่ื งหรอื ปัญหาที่จะศึกษา 2. การวางแผน ประกอบดว้ ย 2.1 การกำหนดจุดประสงค์ 2.2 การตัง้ สมมตฐิ าน 2.3 การกำหนดวธิ ีการศึกษา 3. การลงมอื ปฏิบัติ 4. การเขยี นรายงาน 5. การนำเสนอผลงาน

42 กระทรวงศึกษาธิการ (2546 : 74-75) ได้กล่าวถึงข้ันตอนการทำโครงงาน ตามลำดับ คือ 1. การกำหนดปัญหาและการทำความเข้าใจกับปัญหา ปัญหาท่ีศึกษาอาจ ได้มาจากความสนใจของผู้เรียนซ่ึงอาจมาจากเหตุการณ์ที่พบเห็นในชีวิตประจำวันหรือความต้องการ ค้นหาในเร่ืองท่ีเกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรในขั้นน้ีผู้สอนจะมีบทบาทเป็นที่ปรึกษาเพื่อ ชว่ ยเหลือและส่งเสริมให้ผู้เรียนกำหนดปัญหา กำหนดวตั ถุประสงค์ ต้ังสมมติฐาน รวมทั้งการศึกษา หาความรู้และสบื ค้นขอ้ มลู ที่เกย่ี วขอ้ งกับปัญหา 2. การวางแผนการทำโครงงาน การวางแผนการทำโครงงานเป็นข้ันตอน สำคัญท่ีประกอบด้วยการศึกษาเอกสารท่ีเก่ียวข้องกับการแก้ปัญหา การออกแบบการแก้ปัญหาตาม ประเภทของโครงงาน โดยการกำหนดวิธีการดำเนินงาน การเลือกเครื่องมือวัสดุอุปกรณ์ที่ จำเปน็ ตอ้ งใช้ การเสนอวธิ ีการควบคุมตัวแปร 3.การลงมือทำโครงงาน ในข้ันตอนน้ีเป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนที่ได้วางไว้ แล้วผลท่ีได้จะนำมารวบรวม บันทึก วิเคราะห์และแปลความหมาย เพื่อนำไปลงข้อสรุปผลการทำ โครงงานในเร่อื งน้ัน รวมทั้งให้ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื นำไปประยุกตห์ รือเช่ือมโยงกับเร่ืองอ่นื 4. การเขียนรายงาน เป็นการเสนอผลการทำโครงงานอย่างเป็นลายลักษณ์ อักษร เพ่ือส่ือสารให้ผู้อ่ืนเข้าใจ ประเด็นท่ีควรนำเสนอในรายงานการทำโครงงาน ประกอบด้วย บทคัดย่อ หลักการและเหตุผล ท่ีมาหรือความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ ทฤษฎีและหลักการ หรือแนวคิดหลัก การต้ังสมมติฐาน อุปกรณ์ที่ใช้ วิธีการศึกษา ผลท่ีได้จากการศึกษา การแปลผล การสรุปผล การให้ข้อเสนอแนะและการประยุกต์ใช้ รวมท้ังเอกสารอ้างอิง การเขียนรายงานอาจ นำเสนอไม่ครบทุกประเดน็ ตามท่กี ล่าวมา ขึ้นอยูก่ บั ระดับของผู้เรยี นและประเภทของโครงงาน 5. การแสดงผลงาน ผลงานท่ีได้จากการจัดทำโครงงานถือเป็นหลักฐาน ร่องรอยที่สำคัญแสดงถึงความรู้ความสามารถหรือผลการเรียนรู้ของผู้เรียนดังน้ันจึงต้องมีการจัด แสดงผลงานของการทำโครงงานด้วยเสมอ การแสดงผลงานช่วยการประเมินด้านทักษะการส่ือสาร ดว้ ยการพูด การเขียน การสาธิต ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ และความสามารถในการบูรณาการความรู้ กับทักษะด้านตา่ งๆ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546 : 153-154) ได้ เสนอขัน้ ตอนการทำโครงงานไว้ 5 ขัน้ ตอน ดงั น้ี 1. การกำหนดหัวขอ้ ปัญหา การเลือกหวั ข้อปัญหาท่ีตอ้ งการศึกษา 2. การวางแผนการทำโครงงาน 3. การลงมอื ทำโครงงาน 4. การเขียนรายงาน 5. การแสดงผลงาน

43 เจียมใจ บุญแสน (อ้างถึงใน ชัยวัฒน์ สุทธิรตั น์ 2553: 119) กล่าวว่า ข้ันตอน กระบวนการในการสอนแบบโครงงานมกี ระบวนการดังนี้ 1. ข้ันนำเสนอ เป็นขั้นที่ครูเสนอเหตุการณ์หรือสถานการณ์ให้นักเรียนเกิด ความต้องการท่ีจะวางโครงการในการแกป้ ัญหาใดปัญหาหนง่ึ 2. ขั้นกำหนดจุดมุ่งหมาย เป็นขั้นท่ีนักเรียนเลือกปัญหาและต้ังจุดมุ่งหมายใน การศกึ ษา โดยการทำงานเป็นกลมุ่ ทำการเลือกประธาน รองประธานกรรมการและเลขานกุ าร 3. ข้ันวางแผน เป็นข้ันท่ีนักเรียนภายในกลุ่มช่วยกันวางแผนว่าจะดำเนินการ อยา่ งไรจึงจะสามารถบรรลุจดุ มงุ่ หมายทว่ี างไว้ ซง่ึ การวางแผนจะประกอบดว้ ย 3.1 ชื่อโครงงาน โดยบอกชอ่ื โครงงานทีน่ กั เรียนจะทำ 3.2 หลักการ โดยบอกเหตผุ ลท่ีจะตอ้ งจดั ทำโครงงาน 3.3 วัตถุประสงค์ของโครงงาน โดยกำหนดวัตถุประสงค์ของการปฏิบัตงิ าน ครั้งนีว้ า่ จะมีผลดอี ย่างไร 3.4 เจา้ ของโครงงาน โดยระบุช่ือผ้จู ดั ทำโครงงานว่ามใี ครบ้าง 3.5 ท่ีปรึกษา โดยระบชุ ื่อผใู้ ห้คำแนะนำช่วยเหลือในการทำโครงงาน 3.6 สถานทีป่ ฏิบัติโครงงาน โดยระบสุ ถานที่ท่จี ะใช้ในการดำเนนิ การ โครงงาน 3.7 วันเวลาในการปฏิบัติงาน โดยระบุการใช้เวลาวันเมและเสร็จส้ิน โครงงานเมื่อใด 3.8 งบประมาณในการดำเนินการ โดยระบุใช้งบประมาณท่ีแยกเป็น รายการใช้จ่ายเร่ืองใดบา้ ง 3.9 วิธีการศึกษาค้นคว้า โดยระบุวิธีการหาข้อมูลในการทำงาน ให้บรรลุ วัตถปุ ระสงคข์ องโครงงานที่กำหนดไว้ 3.10 เครอื่ งมอื โดยระบอุ ุปกรณ์ทใี่ ช้ วัสดุ อุปกรณอ์ ะไรบา้ ง 3.11 ผลที่คาดว่าจะได้รับ โดยระบุการคาดหวังว่าโครงงานที่จะทำ สามารถแก้ปญั หาอะไรไดบ้ า้ ง และจะไดผ้ ลการดำเนินการคร้งั นีอ้ ยา่ งไรบา้ ง 4. ข้ันการดำเนินงาน เป็นขั้นท่ีทำตามโครงงานท่ีวางแผนไว้ของแต่ละกลุ่ม หรือแตล่ ะบคุ คล 5. ข้ันประเมินผล เป็นขั้นที่ให้นักเรียนเป็นผู้ประเมินว่าโครงงานน้ันบรรลุ จุดมงุ่ หมายหรือไม่ ในการทำโครงงานน้ีได้ประโยชน์อยา่ งไรบา้ ง 6. ข้นั ตดิ ตามผล เป็นการตดิ ตามผลของโครงงานต่อไป เพ่อื พฒั นางานให้ดีขึ้น

44 จรรยา เจริญรัตน์ (2555 : 34-35) ได้ศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรท์ ีส่ อนด้วยวิธสี อนแบบโครงงาน และได้เสนอขนั้ ตอนการสอน แบบโครงงานไว้ 6 ขั้นตอน คือ 1. ข้ันสำรวจละเลือกปัญหา เป็นขั้นท่ีผู้เรียนจะได้เลือกปัญหาตามท่ีตนเอง และกลุ่มสนใจวา่ ตอ้ งการศกึ ษาอะไร 2. ข้นั รวบรวมข้อมูล ผู้เรียนจะไดศ้ ึกษาค้นคว้า และรวบรวมความรู้ เพอื่ นำมา เปน็ แนวทางในการแก้ปญั หา 3. ขัน้ วางแผน ผเู้ รียนระดมความคดิ เพ่ือเสนอแนวทางแกป้ ัญหา 4. ข้ันลงมือปฏิบัติ ผู้เรียนต้องทำตามแผนงานที่วางไว้โดยมีขั้นตอนดังน้ี ศึกษาข้อมูล ศึกษาแหล่งเรียนรู้ ศึกษาบุคลากรและภูมิปัญญา เตรียมอุปกรณ์และสถานที่ ศึกษาวิธี ปฏิบัติ ลงมือปฏิบัติ มีการจดบันทึกผล การดำเนินงาน การสร้างเครื่องมือในการเก็บและรวบรวม ข้อมลู 5. ข้ันเขียนรายงาน ผู้เรียนต้องส่ือความหมายและถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจถึง แนวคิด วิธกี ารดำเนนิ ผลท่ไี ด้ ตลอดจนขอ้ สรปุ และขอ้ เสนอแนะต่างๆ เก่ยี วกบั เรื่องท่ที ำ 6. ข้ันการแสดงผลงาน เป็นข้ันตอนสุดท้ายของการทำโครงงานทำให้ผู้เรียน ได้รบั ความรู้และเข้าใจถึงผลงานน้ัน และทำให้ผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของสิ่งตา่ งๆอย่างต่อเนื่อง ผู้เรียนได้มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับเพ่ือน และได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ เป็นการต่อยอดความรู้เดิมและ ความรูเ้ ร่ืองใหม่ จุไรรัตน์ ป้ึงผลพูล (2555 : 117-129) ได้ศึกษาการพัฒนาผลการเรียนรู้และ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ที่จัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ได้เสนอข้ันตอนการจัดการเรียนรู้ แบบโครงงาน 4 ขน้ั ตอน คือ 1. ข้ันนำเข้าสู่บทเรียน คือ การกระตุ้นความสนใจให้นักเรียนมีความรู้สึก สนใจและอยากทจี่ ะทำโครงงาน 2. ขั้นกิจกรรม การเรียนรู้ คือ ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ โครงงาน ประกอบด้วย การเลือกหัวข้อเร่ืองหรือปัญหาที่จะศึกษา การวางแผนในการทำโครงงาน การลงมือทำโครงงาน การเขียนรายงาน การนำเสนอผลงาน 3. ขั้นสรุปบทเรียน คือ การสรุปบทเรียน การอภิปรายแสดงความพึงพอใจ รว่ มกันระหว่างครกู ับนกั เรยี น การอภปิ รายในสว่ นทน่ี ักเรียนยังไม่เขา้ ใจ 4. ขั้นทดสอบ/ประเมินผล คือ การให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังจากเรียน จบเน้อื หาในแตล่ ะแผนการจดั การเรยี นรู้ ซ่งึ เป็นการตรวจสอบความรขู้ องนกั เรยี นท่ีเรียนมา

45 ดนุพล บุญชอบ (2557 : 79-119 ) การเปรียบเทียบผลการเรียนรโู้ ครงงาน ระหว่างกลุ่มร่วมมือกันเรียนรู้แบบผสมผสานและกลุ่มปกติรายวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ ได้เสนอ ขั้นตอนการเรยี นรูแ้ บบโครงงาน 6 ขน้ั ตอน คือ 1. ขั้นตอนการกระตุ้น 2. ข้นั ตอนการกำหนดปญั หา 3. ขนั้ ตอนการวางแผน 4. ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ 5. ขนั้ ตอนการนำเสนอผลการดำเนนิ การ 6. ขัน้ ประเมินผลการดำเนินการ กรธนา โพธ์ิเต็ง (2558: 8) ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะการส่ือสารและ ความสามารถในการทำโครงงานโดยการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ได้เสนอขั้นตอนการสอนแบบ โครงงานไว้ 6 ขั้นตอน คอื 1. ข้ันเตรียมความพร้อมในการทำโครงงาน คือ ข้ันตอนแรกท่ีนักเรียน จะต้องใช้ทักษะในการฟัง ดู และอ่านศึกษาข้อมูลและเอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับหัวข้อโครงงานท่ีตน กำหนด 2. ข้ันเริ่มต้นสืบค้นในการทำโครงงาน คือ นักเรียนจะต้องใช้ทักษะในการ เขียน เขียนโครงร่างโครงงานซ่ึงถือ เป็นการวางแผนในการทาโครงงานโดยคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ กอ่ นการทำโครงงานเพื่อให้ครอู นมุ ตั หิ ัวข้อโครงงาน 3. ขั้นสืบค้นรายละเอียดเพ่ิมเติม คือ การใช้ทักษะในการฟัง ดู และอ่าน ศึกษาข้อมลู และเอกสารที่เกย่ี วข้องอกี คร้ัง แต่ในครั้งนเี้ ปน็ การสบื คน้ ขอ้ มูลเฉพาะดา้ นท่ตี ้องการ 4. ข้ันวิเคราะห์ข้อมูลและสรปุ ผล คือ ขนั้ ตอนนจ้ี ะใช้ทักษะการฟังและพูดเพื่อ รับและแสดงข้อมูลทส่ี มาชกิ ในกลุม่ คน้ พบก่อนที่จะสรุปผล 5. ข้ันการนำเสนอผลงาน คอื การใช้ทกั ษะในการพูดนำเสนอ 6. ขน้ั รว่ มสร้างผลผลติ คือ การใช้ทักษะในการเขยี นเพอื่ เขยี นรายงาน ลัดดา ภู่เกียรติ (2552 :28) กล่าวว่า ในการทำโครงงานผู้สอนจะต้องเป็นพี่ เลี้ยงให้คำแนะนำช่วยเหลือและฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นการปูพื้นฐานก่อนโดยมี ขนั้ ตอนประกอบไปดว้ ย 7 ข้นั ดงั น้ี ขั้นท่ี 1 การหาหัวข้อและการเลือกหัวเรื่องที่จะทำโครงงาน หัวข้อเร่ืองต้อง เป็นหัวขอ้ ท่ผี ้เู รยี นสนใจจรงิ ๆ

46 ขั้นท่ี 2 การวางแผนในการทำโครงงาน ผู้เรียนต้องคิดวางแผนล่วงหน้าว่าจะ ทำอย่างไรช่วงเวลาใด จากการเขียนเค้าโครงการทำโครงงานเสนอผู้สอน โดยทั่วไปจะเป็นการตอบ คำถามว่าจะทำอะไร ทำไมต้องทำ ใครบ้างเป็นผู้กระทำ กระทำเม่ือใด ทำท่ีไหน และจะทำอย่างไร ดังนั้นรายละเอียดในเค้าโครงการทำโครงงานจะเป็นเค้าโครงของส่ิงท่ีคาดหวังว่าจะต้องปฏิบัติ กำหนดวิธที ำงาน เพ่ือให้บรรลวุ ัตถุประสงค์และรายละเอยี ดในการทำงานท่ีจะช่วยให้การปฏิบตั ิลลุ ่วง ไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ขั้นที่ 3 การลงมือทำโครงงาน เปน็ การปฏิบัตกิ ารตามแผนท่วี างไวท้ ี่ไดร้ ับการ เหน็ ชอบจากผู้สอน ขั้นที่ 4 การบันทึกผลการปฏิบัติงาน เม่ือได้ข้อมูลจากการบันทึกแล้วผู้เรียน จะต้องแปลผลและสรุปผลการทดลองพร้อมทั้งอภิปรายผลของการศึกษาค้นคว้า หากไม่ตรงตาม สมมติฐานทตี่ ัง้ ไวจ้ ะตอ้ งบอกข้อบกพร่องทเี่ กดิ ขน้ึ ได้ ขั้นที่ 5 การเขียนรายงาน เป็นการเสนอผลจากการศึกษาค้นคว้าในรูปแบบ ของรายงานเพื่อให้ผู้อ่ืนได้ทราบและเข้าใจถึงแนวคิด วิธีการศึกษาค้นคว้าและส่ิงที่ทาการศึกษาว่ามี ผลเป็นอยา่ งไรด้วยการใช้ภาษาท่ีอ่านเข้าใจง่าย ชดั เจน สั้น ตรงไปตรงมา และครอบคลุมหวั ข้อต่าง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั โครงงาน ข้ันท่ี 6 การนำเสนอโครงงาน หลังจากที่ได้ศึกษาและหาวิธีการในการ แก้ปัญหาได้ผลออกมาแล้วจะต้องนาความรู้ท่ีได้มาเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้รับทราบในรูปของรายงานหรือ เอกสาร หรอื รายงานปากเปล่าดว้ ยสอื่ Power Point หรือ นิทรรศการเป็นต้น ขั้นท่ี 7 การประเมินผลโครงงาน ควรประเมนิ ให้ครบทง้ั 3 ด้าน ได้แก่ ด้าน การเตรียมการดำเนินงาน ด้านการดำเนินงาน และดา้ นผลของโครงการ

ตารางท่ี 3 การสงั เคราะห์ขัน้ ตอนการจัดการเรยี นรแู้ บบโครงงาน แหล่งข้อมลู 1.คิดและเลือกปญั หาทจ่ี ะศกึ ษา ขั้นตอนการจดั การเรียนรูแ้ บบโครงงาน กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธกิ าร 2.วางแผนในการทำโครงงาน 3. ลงมือทำโครงงาน 4. การเขียนรายงาน (2544: 30) สวุ ิทยแ์ ละอรทยั มูลคำ 1. การเลือกหัวขอ้ เรอ่ื ง 2. การวางแผน 3. การลงมือปฏบิ ตั ิ 4. ขัน้ เขียนรายงาน 5. ขน้ั นำเสนอผลงาน (2545:86) กระทรวงศึกษาธกิ าร (2546 : 74- 1.การกำหนดปัญหาและการทำความเข้าใจกับปญั หา 2.การวางแผนการทำโครงงาน 3.การลงมือทำโครงงาน 4.การเขียนรายงาน 5.การแสดงผลงาน 75) สถาบนั ส่งเสรมิ การสอน 1.การกำหนดหัวข้อปัญหา การเลอื กหวั ข้อปญั หาที่ 2.การวางแผนการทำโครงงาน 3.การลงมอื ทำโครงงาน 4.การเขียนรายงาน 5.การแสดงผลงาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546 ตอ้ งการศึกษา : 153-154) 5. ขนั้ ประเมนิ ผล เจยี มใจ บุญแสน (อ้างถึงใน 1. ขัน้ นำเสนอปญั หา 2.ขน้ั กำหนดจุดมุ่งหมาย 3. ขั้นวางแผน 4.ข้ันดำเนนิ การ 6. ขน้ั ตดิ ตามผล ชยั วัฒน์ สุทธริ ัตน์ 6.ข้ันการแสดงผลงาน 2553: 119) 1.ข้นั สำรวจและเลอื ก 2.ข้ันรวบรวมขอ้ มูล 3.ข้นั วางแผน 4.ข้ันลงมอื ปฏบิ ัติ 5.ขนั้ เขียนรายงาน 6.ขั้นประเมินผล จรรยา เจริญรตั น์ (2555 : 34- ปัญหา 2.ข้นั ตอนการกำหนดปัญหา 3.ขัน้ ตอนการวางแผน 4.ข้นั ทดสอบ/ การดำเนินการ 35) 1.ขนั้ นำเข้าส่บู ทเรยี น 2.ขัน้ กิจกรรม การเรียนรู้ 3.ขนั้ สรุปบทเรียน ประเมนิ ผล 6.ขัน้ ร่วมสรา้ ง จไุ รรตั น์ ปึง้ ผลพูล (2555 : 117- 5.ขั้นตอนการนำเสนอ ผลผลติ 129) 1.ขน้ั ตอนการกระตนุ้ 4.ขน้ั ตอนการปฏิบัติ ผลการดำเนนิ การ ดนุพล บญุ ชอบ (2557 : 79-119 ) 5.ขั้นการนำเสนอ ผลงาน กรธนา โพธ์เิ ตง็ (2558: 8) 1.ขน้ั เตรียมความ 2.ขั้นเร่มิ ต้น 3.ข้ันสบื ค้น 4.ข้ันวิเคราะห์ข้อมลู ผลการสังเคราะหข์ องผู้วิจยั รายละเอยี ด และสรปุ ผล 6. ขนั้ นำเสนอผลงาน พรอ้ มในการทำ สืบค้นในการทำ เพิม่ เตมิ 5. ขั้นวเิ คราะห์ข้อมลู โครงงาน โครงงาน และสรปุ ผล 1.ขนั้ สำรวจค้นหาปญั หา 2.ขน้ั วางแผน 3.ข้นั รวบรวม 4. ข้นั ลงมอื ปฏิบัติ ขอ้ มลู 47

48 จากการสังเคราะห์ข้ันตอนการจดั การเรยี นรแู้ บบโครงงาน 6 ขนั้ ดังน้ี 1. ข้นั สำรวจค้นหาปัญหา คอื ขัน้ ตอนในการกระตุน้ ให้ผู้เรียนเกดิ ความสนใจ ในเรื่องท่ีเรียน เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความสงสัยอยากรู้ในเรื่องท่ีเรียน จนกลายเป็นหัวข้อในการทำ โครงงาน 2. ขั้นวางแผน คือ ข้ันตอนที่ผู้เรียนระดมความคิดวางแผนในการทำโครงงาน ผูเ้ รียนมีแบ่งงานหน้าท่ีในการรับผดิ ชอบงานภายในกลุ่ม เพ่ือให้บรรลวุ ัตถุประสงค์และรายละเอียดใน การทำงานท่จี ะช่วยใหก้ ารปฏบิ ัติลลุ ่วงไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 3. ขั้นรวบรวมข้อมูล คือ ขั้นตอนที่ผู้เรียนนำข้อมูลท่ีได้ศึกษาค้นคว้าในเร่อื งท่ี จัดทำโครงงาน มาเขียนลงในใบกิจกรรมในแต่ละหัวข้อ เช่น วัตถุประสงค์ของโครงงาน สมมติฐาน ตวั แปรทศ่ี กึ ษา ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน เปน็ ต้น 4. ข้ันลงมือปฏิบัติ คือ ขั้นตอนที่ผู้เรียนลงมือทดลองจัดทำโครงงาน ปฏิบัติ ตามการวางแผน 5. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูลและสรปุ ผล คือ ขั้นตอนท่ีนำข้อมลู จากการทดลองมาทำ การสรุปผลทีไ่ ด้จากการลงมือปฏบิ ตั ิ 6. ข้ันนำเสนอผลงาน คือ ขั้นตอนท่ีผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลที่ได้จาก การทดลอง 2.2.7 แนวทางการจัดการเรยี นรูแ้ บบโครงงาน การจัดการเรียนร้แู บบโครงงานมี 2 แนวทาง ดงั นี้ 1. การจดั กจิ กรรมตามความสนใจ เป็นการจัดกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนเลือกศึกษาโครงงาน จากสิ่งที่สนใจอยากรู้ ท่ีมีอยู่ในชีวิตประจำวัน สิ่งแวดล้อมในสังคม หรอื จากประสบการณ์ต่าง ๆ ที่ต้องการคำตอบ ข้อสรุป ซง่ึ อาจจะอยนู่ อกเหนอื จากสาระการเรียนรู้ในบทเรยี นของหลักสูตร มขี ั้นตอนดังตอ่ ไปนี้ 1.1 ตรวจสอบ วิเคราะหพ์ ิจารณา รวบรวมความสนใจแกผ่ ูเ้ รยี น 1.2 กำหนดประเด็นปญั หา/หวั ขอ้ เร่อื ง 1.3 กำหนดวตั ถุประสงค์ 1.4 ต้งั สมมติฐาน 1.5 กำหนดวิธีการศึกษาและแหล่งความรู้ 1.6 กำหนดเคา้ โครงของโครงงาน 1.7 ตรวจสอบสมมตฐิ าน 1.8 สรุปผลการศึกษาและการนำไปใช้ 1.9 เขียนรายงานเชิงวิจยั งา่ ยๆ 1.10 จัดแสดงผลงาน

49 2. การจัดกจิ กรรมตามสาระการเรยี นรู้ เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยยึดเน้ือหาสาระตามหลักสูตรท่ีกำหนด ผู้เรียนเลือกทำโครงงานตามสาระการเรียนรู้ จากหน่วยเน้ือหาที่เรียนในชั้นเรียน นำมาเป็นหัวข้อ โครงงานมขี ้ันตอนทีผ่ ้สู อนดำเนินการดังต่อไปนี้ 2.1 เร่มิ จากศกึ ษาเอกสารหลกั สูตร ค่มู อื ครู 2.2 วเิ คราะห์หลักสูตร 2.3 วิเคราะห์คำอธิบายคำอธิบายรายวิชา เพ่ือแยกเนื้อหา จุดประสงค์ และกจิ กรรมใหเ้ ด่นชัด 2.4 จดั ทำกำหนดการสอน 2.5 เขียนแผนการจดั การเรียนรู้ 2.6 ผลติ ส่ือ จดั หาแหลง่ การเรยี นรู้ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ 2.7 จัดกิจกรรมการเรยี นรดู้ ังนี้ 2.7.1 แจ้งจดุ ประสงค์ เนอ้ื หาของหลกั สตู รให้ผู้เรยี นทราบ 2.7.2 กระตุ้นความสนใจของผู้เรียนในขอบเขตของเนื้อหาและ จดุ ประสงคใ์ นหลกั สตู ร 2.7.3 จดั กลุ่มผู้เรียนตามความสนใจ 2.7.4 ผู้สอนใช้คำถามเพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ เช่น ทำไมผู้เรียนจึงสนใจอยากเรียนเร่ืองน้ี (แนวคิด/แรงดลใจ) ผู้เรียนสนใจ เกี่ยวกับอะไรบา้ ง(กำหนดเน้ือหา) ผู้เรียนอยากเรียนเรื่องนี้เพื่ออะไร (กำหนดจุดประประสงค์) ผู้เรียน จะทำอย่างไรจึงจะเรียนรู้ได้ในเรื่องน้ี(กำหนดวิธีศึกษา/กิจกรรม) ผู้เรียนจะใช้เคร่ืองมืออะไรบ้างใน การศึกษาครั้งนี้(กำหนดส่ืออปุ กรณ์) ผู้เรียนจะไปศกึ ษาทใ่ี ดบา้ ง(กำหนดแหลง่ ความรู้ แหลง่ ข้อมูล) ผล ทผ่ี เู้ รียนคาดว่าจะได้รับคอื อะไรบ้าง(สรุปความรู้/สมมติฐาน) ผู้เรยี นจะทำอย่างไรจงึ จะร้วู ่าผลงานของ ผู้เรียนดีหรือไม่อย่างไร จะให้ใครเป็นผู้ประเมิน(กำหนดการวัดและประเมินผล) ผู้เรียนจะเผยแพร่ ผลงานใหผ้ ู้อืน่ ไดร้ ้อู ยา่ งไร(นำเสนอผลงาน และรายงาน) 2.7.5 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาตามท่ีตกลงกันไว้ (จากคำถามที่ผู้สอน ซกั ถาม) ภายใตก้ รอบเวลาในแตล่ ะครงั้ ถา้ ยังไมส่ ำเร็จให้ศึกษาในคาบตอ่ ไป 2.7.6 ผู้เรียนทุกคนต้องสรุปองค์ความรู้ได้ด้วยการเรียนรู้ได้ด้วยการ เรียนของผ้เู รยี นและสามารถนำเสนอความรู้ทไี่ ด้แกเ่ พ่ือนๆ และผสู้ อนได้ 2.7.7 ผู้เรียนเขียนรายงานเชิงวิจัยแบบง่ายๆและแสดงผลของ โครงงาน

50 2.8 ผู้สอนจัดแหลง่ ความรู้เพมิ่ เตมิ ให้สมบูรณ์ยง่ิ ขึน้ 2.9 ผสู้ อนเขยี นบนั ทกึ การเรยี นรู้ 2.2.8 ความสามารถในการทำโครงงาน การประเมินความสามารถในการทำโครงงานเป็นกิจกรรมท่ีมีความสำคัญและ จำเป็นกิจกรรมหน่ึง นักเรียนเมื่อทำโครงงานจะถูกประเมินตามสภาพจริง ( Authentic Assessment) ซ่ึงเป็นการประเมินผลที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้าง ความรู้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจเลือกปฏิบัติได้ด้วยตนเอง รวมทั้งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของ นักเรียนความต้องการความชว่ ยเหลือและประสบความสำเร็จแต่ละคนและของกลมุ่ การประเมินผล ตามสภาพจริงเป็นการวัดและประเมินความก้าวหน้าของนักเรียนและประสิทธิภาพการเรียนการสอน ซ่ึงเป็นการประเมินท่ีสะท้อนให้เห็นสภาพงานปัจจุบันของนักเรียนและสิ่งท่ีนักเรียนได้ปฏิบัติจริง เป็นการผกู ตดิ นกั เรยี นกบั งานที่เปน็ จริงโดยพจิ ารณาจากงานหลายชนิ้ และผู้ประเมินหลายคน สุชาติ วงศ์สุวรรณ (2542: 24-25) ได้กล่าวไว้ว่าการประเมินผลการปฏิบัติ โครงงานเป็นการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) เนื่องจากการปฏิบัติโครงงาน ถือว่าเป็นการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง (Learning by Doing) เป็นวิธีการค้นหาความสามารถและ ความก้าวหน้าในการเรียนรู้ท่ีแท้จริงของผู้เรียนการประเมินผลโครงงานมีกรอบในการประเมินดังนี้ ประเมนิ อะไร ประเมนิ เม่ือใด ประเมินจากอะไร ประเมินโดยใคร ประเมินโดยวธิ ีใคร สุวัฒน์ นิยมไทย (2553: 142) ได้กล่าวถึงการประเมินโครงการดังน้ี การประเมิน โครงการจะต้องมีการวางแผน ดำเนินการ และการจัดการประเมินการเรียนรู้อย่างมีความหมาย ผู้ประเมนิ ต้องมคี วามรู้ ความเข้าใจในประเด็นต่อไปน้ี 1. พฤตกิ รรมหรอื การปฏบิ ัตขิ องนกั เรยี นท่ตี อ้ งประเมนิ มีอะไรบ้าง 2. กระบวนการหรอื วธิ ีการประเมนิ มีอะไรบ้าง 3. เปา้ หมายของการประเมินการเรยี นรคู้ ืออะไร 4. จุดเนน้ ทีต่ ้องประเมนิ การเรยี นรูค้ ืออะไร 5. ผ้มู หี นา้ ท่ปี ระเมนิ การเรยี นรู้มีใครบา้ ง จุดประสงค์การเรียนรู้เป็นแนวทางให้กำหนดเกณฑ์การประเมิน ส่วนการให้ คะแนนการทำโครงงานต้องเป็นตามเกณฑ์การประเมิน 2 แบบ ดังน้ี 1. การให้คะแนนแบบภาพรวม เป็นการให้คะแนนในลักษณะของการสรุปผล การเรียนรู้ในส่วนที่เป็นประเด็นสำคัญ โดยไม่พิจารณาถึงองค์ประกอบย่อย เกณฑ์รวมที่ใช้ประเมิน การทำโครงงานในลกั ษณะมาตราส่วนประมาณค่า 4 ระดับ ดังแสดงในตารางดังตอ่ ไปนี้

51 ตารางท่ี 4 แสดงเกณฑร์ วมที่ใช้ประเมนิ โครงงาน ระดับคณุ ภาพ รายการประเมนิ ต้องปรบั ปรุง หรือ -ใช้เวลามากในการทำความเข้าใจปัญหา ต้องอาศัยการแนะนำ การวางแผน 1 วิธีการดำเนินโครงงาน ปฏิบัติงานยากลำบาก และเขียนรายงานสับสน ไมช่ ัดเจน พอใช้ หรอื 2 -มีหลักฐานที่แสดงถึงความเข้าใจปัญหา การวางแผน วิธีการดำเนินโครงงาน ถูกตอ้ งบางส่วน ปฏบิ ัตงิ านสำเรจ็ บางสว่ น และเขยี นรายงานยงั ไมช่ ดั เจน ดี หรอื 3 -มีหลักฐาน ร่องรอยที่แสดงถึงความเข้าใจปัญหา การวางแผน วิธีการทำ โครงงานได้ถกู ต้อง ลงมอื ปฏิบัติจนสำเร็จ และเขยี นรายงานได้ชดั เจน ดีมาก หรอื 4 -มีหลักฐาน ร่องรอยที่แสดงถึงความเข้าใจปัญหา การวางแผน วิธีการทำ โครงงานได้โดยออกแบบหรือคิดค้นขึ้นเอง ลงมือปฏิบัติจนสำเร็จ และเขียน รายงานเปน็ ลำดับไดช้ ดั เจนและครบถว้ น 2. การให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย การให้คะแนนแบบนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนในระหว่างการทำกิจกรรม จึงให้คะแนนแยกออกเป็น องค์ประกอบย่อยครอบคลุมทุกจุดประสงค์ โดยกำหนดรายการอย่างชัดเจน เกณฑ์ย่อยท่ีใช้ในการ ประเมินการทำโครงงานแยกออกเป็นองค์ประกอบย่อยและประเมินผลในลักษณะมาตราส่วน ประมาณค่า 4 ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ 4 หมายถึง ดีมาก ระดับคุณภาพ 3 หมายถึง ดี ระดับ คุณภาพ 2 หมายถงึ พอใช้ และระดบั คุณภาพ 1 หมายถึง ต้องปรับปรงุ ดวงพร อิ่มแสงจันทร์ (2554: 59) สรุปการวัดและประเมินผลโครงงานว่า เป็นการสะทอ้ นภาพความสำเร็จของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนว่ากิจกรรมที่ทำไปนนั้ บรรลุตาม จุดประสงค์ท่ีกำหนดไว้หรือไม่อย่างไร ปัญหาและอุปสรรคท่ีพบมีอะไรบ้างและได้ใช้วิธีการแก้ไข อย่างไร นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากการทำโครงงาน เป็นการประเมินตามสภาพจริงของการทำงาน และผลงานสามารถประเมินได้หลายวิธี คือ กาสังเกตผลงาน การสะท้อนความรู้สึก การบันทกึ การ เรียนรู้ การสัมภาษณ์และประเมินจากแฟ้มสะสมผลงาน โดยผู้ประเมินโครงงานอาจประกอบด้วย บุคคลหลายฝ่ายทั้งตัวนักเรียน เพื่อน ครแู ละผปู้ กครอง ผลการประเมินสามารถใชเ้ ปน็ ข้อมูลตัดสิน ผลการเรยี นหรอื พฒั นานกั เรยี นต่อไป ศิรินทิพย์ เด่นดวง (2554: 89-92) กล่าวว่าการประเมินตามสภาพจรงิ เป็น การประเมินผลสำเร็จจากการเรียนรู้ของนักเรียน (Learning Outcome) ซ่ึงสอดคล้องกับกิจกรรม การเรียนการสอนท่ีเน้นประเมินความก้าวหน้าและพัฒนาการของผู้เรียนด้วยวิธีที่หลากหลายการ

52 ประเมินตามสภาพจริงจึงเป็นการประเมินที่เป็นระบบ เป็นกระบวนการและสามารถดำเนินการได้ หลายวธิ ี เชน่ ด้วยการสังเกต สัมภาษณ์ วัดความรู้ การรายงาน แฟม้ สะสมผลงาน ในการจัดทำโครงงานของผู้เรียนคร้ังนี้ จากการที่ผู้วิจัยได้มีการศึกษาและ สังเคราะห์ข้ันตอนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานและประเมินความสามารถในการทำโครงงานของ ผู้เรียน โดยมีการประเมินความสามารถในการทำโครงงานของผู้เรียนทั้ง 6 ด้าน คือ 1) การสำรวจค้นหา ปัญหา 2) การวางแผน 3) การรวบรวมข้อมูล 4) การลงมือปฏิบัติ 5) การวิเคราะห์ข้อมูลและ สรุปผล และ 6) การนำเสนอผลงาน 3. ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3.1 ความหมายทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้ใหม้ ีผใู้ ห้ความหมายของทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2526: 76) และภพ เลาหไพบูลย์ (2540: 14) ได้ให้ความหมายของทักษะกระบวนทางวิทยาศาสตร์ที่คล้ายคลึงกันว่าเป็น พฤติกรรมที่เกิดจากการปฏิบัติและฝึกฝนความนึกคิดอย่างมีระบบ ซึ่งก่อให้เกิดความงอกงามทาง สติปัญญา การแก้ปัญหา การค้นคว้า และการแสวงหาความรู้ใหม่ๆอย่างมีประสิทธิภาพ และเช่ือถือ ได้ สว่ น พมิ พันธ์ เดชะคุปต์ (2542: 10) ไดใ้ ห้ความหมายของทักษะทางวิทยาศาสตรไ์ ว้สอดคล้องกับวี ระเดช เกิดบ้านตะเคียน (2546: 350) ว่าหมายถึง พฤติกรรมที่เกิดข้ึนจากการปฏิบัติและการฝึกฝน ตามความคิดอย่างเป็นระบบในการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์จนเกิดความชำนาญเป็นทักษะ ทางสติปัญญาท่ีนักวิทยาศาสตร์และผู้ท่ีนำวิธีการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้แก้ปัญหาและศึกษาค้นคว้า นอกจากนี้ สมาคมอเมริกันเพื่อความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ (American Association for the Advancement of Science, 1970 : 33) กล่าวว่าทักษะทางวิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการคิด เป็น กระบวนการทางปัญญา ฉะน้ันจึงเป็นกระบวนการใช้ปัญหาในการสอนวิทยาศาสตร์ จำเป็นต้อง ปลูกฝังนักเรียนให้เกิดทักษะทางวิทยาศาสตร์ และ Anderson (1979 : 4) ได้กล่าวว่าเป็นวิธีการที่ นักวิทยาศาสตรใ์ ช้ในการแสวงหาความรู้ ความหมายทสี่ ำคัญคือ วิถที างของทกั ษะกระบวนการในการ หาความรู้ กระบวนการน้ีจะเกิดสลับซบั ซ้อนในแตล่ ะบุคคล ทำให้เกดิ พฒั นาทางดา้ นสตปิ ัญญา จ า ก แ น ว คิ ด ข อ ง นั ก ก า ร ศึ ก ษ า เก่ี ย ว กั บ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ทั ก ษ ะ ก ร ะ บ ว น ท า ง วิทยาศาสตรผ์ ู้วิจยั สรปุ ได้ว่า ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึงพฤตกิ รรมที่เกดิ จากการคิด การปฏิบัติ การศึกษา ค้นคว้าทดลอง และการฝึกฝนในการเรียนรู้ของแต่ละบุคคล โดยการใช้วิธีการ ทางวทิ ยาศาสตรใ์ หไ้ ด้มาซึง่ ความรู้

53 3.2 ประเภทของทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สมาคมอเมริกันเพื่อความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ (American Association for the Advancement of Science-AAAS) ได้พัฒนาโครงการปรับปรุงการสอนวิทยาศาสตร์ในระดับ อนุบาลจนถึงระดบั ประถมศึกษาโดยเน้นการใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และตง้ั ช่ือโครงการน้ีว่า วิทยาศาสตร์กับการใช้กระบวนการ (Science process approach) ได้กำหนดทักษะทาง วิทยาศาสตร์ไว้ 13 ทักษะประกอบด้วยทักษะข้ันพ้ืนฐาน (Basic science process skills) 8 ทักษะ และทกั ษะขัน้ ผสมหรอื บรู ณาการ (Integrated science process skill) 5 ทกั ษะ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ ้นั พืน้ ฐาน (Basic science process skills) 1. ทักษะการสังเกต (Observing) 2. ทักษะการวัด (Measuring) 3. ทักษะการคำนวณหรือการใช้ตวั เลข (Using number) 4. ทักษะการจำแนกประเภท (Classifying) 5. ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา (Space/ space relationship and space/time relationship) 6. ทักษะการจดั กระทำและส่ือความหมายข้อมลู (Organizing data and communication) 7. ทักษะการลงความคดิ เห็นจากข้อมูล (Inferring) 8. ทกั ษะการพยากรณ์ (Predicting) ทกั ษะข้นั ผสมหรือบรู ณาการ (Integrated science process skill) 1. ทกั ษะการต้ังสมมติฐาน (Formulating hypotheses) 2. ทักษะการกำหนดนิยามเชิงปฏบิ ัติการ (Defining operationally) 3. ทกั ษะการกำหนดและควบคมุ ตวั แปร (Identifying and controlling variable) 4. ทกั ษะการทดลอง (Experimenting) 5. ทกั ษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป (Interpreting data and conclusion) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มีความสำคัญอย่างย่ิงต่อการนำมาใช้แสวงหา ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และวิชาอื่น ๆ ตลอดจนการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง ปลูกฝังให้เกิดกับนักเรียนทุคน ซึ่งจะส่งผลต่อการคิดค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพ่ื อ การพฒั นาประเทศชาติตอ่ ไป รายละเอยี ดของแตล่ ะทกั ษะมีดังต่อไปน้ี 1. ทักษะการสังเกต หมายถึงการใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง รวมกัน ได้แก่ หู ตา จมูก ล้ิน ผิวกาย เข้าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือเหตุการณ์เพื่อค้นหาข้อมูลซ่ึง เป็นรายละเอยี ดของสงิ่ นั้น ๆ โดยไมใ่ สค่ วามคดิ ของผ้สู ังเกตลงไป ขอ้ มูลท่ไี ด้จากการสังเกตอาจแบ่งได้ เป็น 3 คอื

54 1.1 ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นข้อมูลเก่ียวกับลักษณะและสมบัติที่ได้จากการใช้ ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหน่ึงกล่าวคือผู้สังเกตนอกจากจะใช้ตาดู หฟู ัง ผิวกายสัมผัสแล้วยังใชจ้ มูก ดมกลิ่นและลิ้นชิมรสอีกดว้ ย 1.2 ข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นข้อมูลที่บอกรายละเอียดเก่ียวกับปริมาณ เช่น ขนาด น้ำหนกั อณุ หภมู ิ หรอื อาจบอกโดยการกะประมาณเปรียบเทียบกับค่าอ่นื ๆ 1.3 ข้อมูลเก่ียวกับการเปล่ียนแปลง คือการสังเกตการกระทำอย่างใดอย่างหน่ึง เก่ียวกับวัตถุแล้วก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงอย่างไร เช่น นำวัตถุใส่ในน้ำร้อน หรือการเพิ่มความร้อน ให้กับวัตถุน้ันสิ่งท่ีควรสังเกตอย่างระมัดระวังเกี่ยวกับการกระทำน้ัน คือลักษณะสถานที่ก่อให้เกิด การเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนน้ันพฤติกรรมหรือความสามารถที่แสดงว่านกั เรียนเกดิ ทักษะการสังเกตแล้ว 1.3.1 ชี้บ่งและบรรยายสมบัติของวัตถุได้โดยการใช้ประสาทสัมผัสอย่างใด อย่างหน่ึงหรอื หลายอยา่ ง 1.3.2 บรรยายสมบัติเชิงปริมาณจองวัตถุได้โดยการกะปริมาณ บรรยายการ เปลี่ยนแปลงของส่ิงทสี่ ังเกตไดข้ ้อเสนอแนะในการสังเกต ในการสังเกตน้ันนอกจากเราพยายามสงั เกต ตามวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้ ควรสังเกตหลายๆคร้ังอย่างละเอียด รอบคอบ แล้วยังมีข้อแนะนำท่ีควร คำนึงถึงดังนี้ 1) ควรใช้ประสาทสัมผัสมากกว่าหน่ึงด้านในการสังเกต 2) ควรสังเกตให้ได้ข้อมูลเชิง ปริมาณและขอ้ มูลเชิงคุณภาพ 3) ถา้ เป็นไปได้ควรสังเกตข้อมูลจากการทดลองเพื่อดูการเปล่ียนแปลง สมบัติของส่ิงที่สังเกต หรือเพ่ือดูผลของสิ่งที่เราสังเกตที่มีต่อสิ่งอ่ืน และ 4) ข้อมูลจากการสังเกตต้อง ไม่ใส่ความคดิ ส่วนตวั ลงไป 2. ทักษะการวัด หมายถึง การเลือกและการใช้เคร่ืองมือทำการวัดหาปริมาณของ สิ่งต่าง ๆ ออกมาเป็นตัวเลขท่ีแน่นอนได้อย่างเหมาะสม และถูกต้องโดยมีหน่วยกำกับตลอดจน สามารถอา่ นคา่ ท่วี ัดไดถ้ ูกต้องและใกลเ้ คยี งกบั ความเปน็ จรงิ 3. ทักษะการคำนวณ หมายถึง การนับจำนวนวตั ถุหรอื การนำตัวเลขท่แี สดงจำนวนท่ี นับมาติดโดยการบวก ลบ คูณ หาร หาค่าเฉล่ีย เพ่ือใช้ในการสื่อความหมายให้ชัดเจนและเหมาะสม พฤตกิ รรมหรือความสามารถที่แสดงวา่ นักเรียนเกดิ ทักษะการคำนวณแลว้ คือ 3.1 นับสิ่งของได้ถูกต้องโดยใช้ตัวเลขแสดงจำนวนท่ีนับได้และตัดสินว่าส่ิงของใน แตล่ ะกล่มุ มจี ำนวนหรือตางกันอย่างไร 3.2 คำนวณโดยการบวก ลบ คูณ หาร ตลอดจนบอกวิธีการคำนวณและแสดงวิธี คำนวณท่ถี ูกต้อง 3.3 หาค่าเฉลีย่ โดยบอกและแสดงวิธีการหาคา่ เฉล่ยี ไดถ้ กู ต้อง

55 4. ทักษะการจำแนกประเภท หมายถงึ การแบ่งพวกหรอื เรยี งลำดบั วัตถุหรอื ส่ิงท่ีมีอยู่ ในปรากฏการณ์โดยมีเกณฑ์ ซึ่งอาจจะใช้เกณฑ์ความเหมือนกัน ความต่างกันหรือความสัมพันธ์กัน อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ ในการพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านทักษะการจำแนกประเภท ผู้เรียนต้องเร่ิมต้นจากการจำแนกสิ่งของออกเป็น 2 พวกตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้อย่างใดอย่างหนึ่ง จากนั้นจึงต้องแบ่งต่อไปตามเกณฑ์ที่กำหนดเป็นคร้งั ท่ีสองและทำเช่นนเ้ี ร่อื ยไปจนกระทั่งสามารถระบุ วัตถุน้ันจากวัตถุที่มีอยู่จำนวนหน่ึงได้ พฤติกรรมหรือความสามารถท่ีแสดงว่านักเรียนเกิดทักษะ การจำแนกประเภทแลว้ ดังนี้ 4.1 เรียงลำดับหรอื แบ่งพวกสิง่ ต่าง ๆ จากเกณฑท์ ผี่ ู้อ่นื กำหนด 4.2 เรยี งลำดับหรอื แบ่งพวกสิ่งตา่ ง ๆ จากเกณฑข์ องตนเองได้ 4.3 บอกเกณฑ์ทีผ่ ู้อืน่ ใชเ้ รียงลำดับหรือแบ่งพวกได้ 5.ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา หมายถึง ที่ว่างท่ีวตั ถุนน้ั ครองอยู่ ซ่ึงจะมีรูปร่างลักษณะเช่นเดียวกับวัตถุน้ันโดยทั่วไปแลว้ สเปสของวัตถุจะมีอยู่ 3 มิติ คือความกว้าง ความยาว และความสูง ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสของวัตถุ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่าง 3 มิติ กับ 2 มิติ ความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งที่อยู่ของวัตถุหนึ่งกับ อกี วตั ถุหน่ึง ความสัมพันธ์ระหวา่ งสเปสกับสเปส หมายถึง ความสัมพันธ์ระหวา่ งวัตถุหน่ึงกับอีก วัตถุหน่ึง เช่นความสัมพันธ์ของน้ำหนักแก้วท่ีว่าง เม่ือเทน้ำใส่แก้ว น้ำสามารถแทนที่อากาศในแก้วได้ หรือวาดภาพดอกไม้จากดอกไม้จริง (จาก 3 มิติ เป็น 2 มิติ) ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุกับเวลา หรือความสัมพันธ์ระหว่าง ตำแหน่งของวัตถุที่เปลี่ยนไปกับ เวลาที่ใช้ประโยชน์ของความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา คือ ทำให้ทราบความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นกับเวลาที่ เปล่ียนไป การวางสงิ่ ของต่าง ๆ ใหเ้ หมาะสมสวยงาม(อ้างถงึ ใน มีฉัตร ศรีเทย่ี ง, 2552: 31) พฤตกิ รรม หรือความสามารถทแ่ี สดงว่านักเรียนเกดิ ทกั ษะการหาความสมั พันธร์ ะหว่าง สเปสกับสเปส คอื 5.1 ช้ีบง่ รูป 2 มิติ ของวตั ถุ 3 มติ ิ ทก่ี ำหนดให้ได้ 5.2 วาดรูป 2 มิตจิ ากวัตถหุ รอื รูป 3 มิติ ท่กี ำหนดใหไ้ ด้ 5.3 บอกชอ่ื ของรปู ทรงและรปู เลขาคณิตได้ 5.4 บอกความสัมพันธ์ระหว่าง 2 มิติ กบั 3 มติ ิ ได้ เช่น 5.4.1 ระบุรปู 3 มติ ิ ที่เหน็ เน่อื งจากการหมุนรูป 2 มิติได้ 5.4.2 เม่ือเห็นเงา(2มิติ)ของวัตถุ สามารถบอกรูปทรงของวัตถุ (3มิติ) ที่เป็นต้นกำเนิดของเงาได้

56 5.4.3 เม่อื เหน็ วัตถ(ุ 3มิติ) สามารถบอกเงา(2มติ )ิ ทีจ่ ะเกดิ ขน้ึ ได้ 5.4.4 บอกรูปรอยตดั (2มิต)ิ ท่เี กดิ จากการตดั วตั ถ(ุ 3มติ )ิ ออกเป็น 2 ส่วนได้ 5.5 บอกตำแหน่ง หรือทศิ ทางของวัตถไุ ด้ 5.6 บอกไดว้ า่ วัตถหุ นึง่ อยูใ่ นตำแหนง่ หรอื ทิศทางใดของอีกวัตถุหนง่ึ 5.7 บอกความสัมพันธ์ของส่ิงที่อยู่หน้ากระจกและภาพที่ปรากฏอยู่ในกระจกว่า เป็นซ้ายหรือขวาของกันและกัน ความสัมพันธ์ระหวา่ งสเปสกับเวลา ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างการ เปลี่ยนตำแหน่งที่อยู่ของวัตถุกับเวลา หรือความสัมพันธ์ระหว่างสเปสของวัตถุที่เปล่ียนไปกับเวลา พฤติกรรมหรือความสามารถที่แสดงว่านักเรียนเกิดทักษะการหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสเปสกับเวลา คือ 5.7.1 บอกตำแหนง่ และทิศทางของวัตถโุ ดยใช้ตัวเองหรือวัตถุเปน็ เกณฑไ์ ด้ 5.7.2 บอกความสัมพันธ์ระหว่างการเปล่ียนตำแหน่ง เปลี่ยนขนาด หรือ ปริมาณของวัตถุกับเวลาได้ 6. ทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล การจัดกระทำข้อมูล หมายถึง การนำข้อมูลดิบท่ีได้จากการสังเกต การวัด การทดลอง หรือจากแหล่งอื่นๆ มาจัดกระทำเสียใหม่ โดยอาศัยวิธีการต่างๆ เช่น การหาความถี่การเรียงลำดับ การจัดแยกประเภท การคำนวณหาค่าใหม่ เป็นต้น การสือ่ ความหมายข้อมูล หมายถงึ การนำข้อมูลทจ่ี ดั กระทำนน้ั มาเสนอหรอื แสดงใหบ้ ุคคลอื่น เข้าใจความหมายของขอ้ มลู ชุดนดี้ ีข้นึ 7. ทักษะการลงความคิดเห็นจากข้อมูล หมายถึง การเพ่ิมความคิดเห็นให้กับข้อมูลท่ี ได้จากการสังเกตอยา่ งมีเหตุผลโดยอาศัยความรู้และประสบการณ์เดิมมาช่วยการลงความคิดเห็นจาก ขอ้ มูลชุดเดียวกันอาจแตกต่างกนั เพราะมีประสบการณ์ต่างกัน ดงั น้ัน เม่ือนักวยิ าศาสตร์พบวัตถุหรือ ปรากฏการณ์ต่างๆมักจะลงความคิดเห็นจากข้อมูลอาจเป็นไปได้หลายอย่าง ต่อจากน้ันจะมีการ ตรวจสอบว่าการลงความคิดเห็นข้อใดมีเหตุผลสนับสนุนอย่างเพียงพอในบางกรณีอาจมีการทดสอบ การลงความคิดเห็นจากบางส่วน เพื่อนำไปสู่การต้ังสมมติฐานท่ีรัดกุมต่อไปหรือความสามารถที่แสดง ว่านักเรียนเกิดทักษะการลงความคิดเห็นจากข้อมูลแล้ว คือ สามารถอธิบายหรือสรุปโดยเพ่ิมความ คิดเหน็ ให้กับข้อมูลท่ีไดจ้ ากการสงั เกต โดยใชค้ วามรหู้ รอื ประสบการณ์เดมิ มาช่วย 8. ทักษะการทำนายหรือการพยากรณ์ หมายถึง การคาดคะเนคำตอบหรือสิ่งที่จะ เกดิ ขึน้ ลว่ งหน้า โดยอาศยั ขอ้ มลู ทีไ่ ด้จากการสังเกตหรือข้อมลู จากประสบการณ์ท่ีเกดิ ซ้ำ หลกั การ กฎ หรือทฤษฎีในเร่ืองนั้นมาช่วยการทำนายที่แม่นยำเป็นผลจากการสังเกตท่ีรอบคอบ การวัดที่ถูก ต้องการบันทึกและการจัดกระทำข้อมูลอย่างเหมาะสม การพยากรณ์ทำได้ 2 แบบ คือ (วรรณทิพา รอดแรงค้า, 2542: 4)

57 8.1 การพยากรณ์ภายในขอบเขตขอ้ มลู ที่มีอยู่ 8.2 การพยากรณ์นอกขอบเขตข้อมูลที่มีอยู่ เช่นการพยากรณ์ผลของข้อมูลเชิง ปริมาณพฤตกิ รรม 9. ทักษะการตั้งสมมติฐาน หมายถึง การคิดหาคำตอบล่วงหน้าก่อนทำการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต อาศัยความรู้หรือประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐานคำตอบท่ีคิดไว้ล่วงหน้า คำตอบ ท่ีคิดล่วงหน้านี้ยังไม่ทราบหรือยังไม่เป็นหลักการ กฎ หรือทฤษฎีมาก่อน สมมติฐานหรือคำตอบที่คิด ไว้ล่วงหน้าหรือท่ีกล่าวไว้เป็นข้อความท่ีบอกความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้น (ตัวแปรอิสระ) กับ ตวั แปรตาม สมมติฐานทตี่ ั้งขึน้ อาจจะผิดหรอื ถกู กไ็ ด้ 10.ทักษะการกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ หมายถึง การกำหนดความหมายและ ขอบเขตของคำต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในสมมติฐานที่ต้องการทดลองให้เข้าใจตรงกันและสามารถสังเกตหรือ วัดได้ โดยให้คำอธิบายเก่ียวกับการทดลองและบอกวิธีจัดตัวแปรท่ีเกี่ยวกับการทดลองน้ัน การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ ควรให้ความหมายที่รัดกุมและเหมาะสมกับระดับการศึกษา ประกอบดว้ ยสาระสำคัญ 2 ประการ คอื 10.1 ระบสุ ิ่งทส่ี งั เกตได้ 10.2 ระบุการกระทำซงึ่ อาจจะไดจ้ ากการวัด การทดสอบหรือการทดลอง 11. ทักษะการกำหนดและควบคุมตัวแปร หมายถึง การช้ีบ่งตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุมให้คงที่ในสมมตฐิ านหน่งึ ๆ ตวั แปรต้น หมายถึง สิ่งท่ีเป็นสาเหตุทีท่ ำให้เกิดผลต่าง ๆ หรอื สงิ่ ท่ีเราต้องการ ทดลองดูว่าเป็นสาเหตทุ ก่ี ่อให้เกิดผลเชน่ น้นั จรงิ หรือไม่ ตัวแปรตาม หมายถึง ส่ิงที่เป็นผลเน่ืองมาจากตัวแปรต้น เม่ือตัวแปรต้นหรือ สงิ่ ท่เี ป็นสาเหตุเปล่ยี นไป ตัวแปรตามหรอื สง่ิ ทเี่ ป็นผลจะแปรตามไปด้วย ตัวแปรควบคมุ หมายถึง สง่ิ อ่นื ๆนอกเหนือจากตวั แปรท่ีมีผลตอ่ การทดลองด้วย ซึ่งจะต้องควบคุมให้เหมือนๆกัน มิเช่นน้ันอาจทำให้ผลการทดลองคลาดเคล่ือนพฤติกรรมหรือ ความสามารถท่ีแสดงว่านกั เรียนเกดิ ทกั ษะการกำหนดและควบคุมตวั แปรแลว้ คือสามารถช้ีบง่ กำหนด ตัวแปรตน้ ตวั แปรตามและตวั แปรท่คี วบคมุ ได้ 12. ทักษะการทดลอง หมายถึง กระบวนการปฏิบัติการเพื่อหาคำตอบหรอื ทดสอบ สมมตฐิ านที่ตัง้ ไวใ้ นการทดลองจะประกอบดว้ ยกจิ กรรม 3 ขัน้ ตอน ดงั นี้ 12.1 การออกแบบการทดลอง หมายถึง การวางแผนการทดลองก่อนลงมือ ทดลองจรงิ 12.2 การปฏิบตั กิ ารทดลอง หมายถงึ การลงมอื ปฏบิ ัติการทดลองจริงๆ

58 12.3 การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทึกข้อมูล ซ่ึงอาจจะเป็น ผลจากการสังเกต การวัดอ่ืน ๆ ไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ ชำนาญและถกู ต้องพฤติกรรมหรอื ความสามารถ ที่แสดงวา่ นักเรยี นเกิดทกั ษะการทดลองแลว้ 13. ทักษะการตคี วามข้อมูลและลงข้อสรุป การตีความหมายข้อมูล หมายถึง การแปลความหมายหรือบรรยายลักษณะ และสมบัติของข้อมูลที่มีอยู่ การตีความหมายข้อมูลในบางครั้งอาจต้องใช้ทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์อื่น ๆ ด้วย เช่น ทกั ษะการสังเกต และทักษะการคำนวณ เปน็ ต้น การลงข้อสรุป หมายถึง การสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลทั้งหมดพฤติกรรม หรอื ความสามารถที่แสดงว่านักเรยี นเกดิ ทกั ษะการตีความหมายข้อมลู และลงข้อสรุปแลว้ ส ำ ห รั บ ก า ร วิ จั ย ใน ค ร้ั ง น้ี ผู้ วิ จั ย ต้ อ ง ก า ร พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง วทิ ยาศาสตร์และความสามารถในการทำโครงงานของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 ด้วยการจัดการ เรียนรู้แบบโครงงาน ผู้วิจัยจึงได้มีการวิเคราะห์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ให้มีความ สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานและการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ในหน่วยที่ 3 เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ จากการวิเคราะห์ผู้วิจัยได้เลือกทักษะกระบวนการทาวิทยาศาสตร์ จำนวน 6 ทักษะ ได้แก่ 1) ทักษะการสังเกต 2) ทักษะการส่ือความหมาย 3) ทักษะการลงความหมายข้อมูล 4) ทักษะการต้ังสมมติฐาน 5) ทักษะการกำหนดและควบคุมตัวแปร 6) ทักษะการทดลอง ซึ่งในการ ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทั้ง 6 ทักษะ ผู้เรียนจะสามารถนำไปใช้ในการพัฒนา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ท้ัง 6 ทักษะมีความสอดคล้องกับเน้ือหาสาระในหน่วยท่ี 3เร่ือง แรงและการเคล่ือนที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ท้ังทักษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ขัน้ พน้ื ฐานและทักษะทางวทิ ยาศาสตร์ขนั้ บรู ณาการ 3.3 การประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วรรณทิพา รอดแรงค้า (2540 : 166-167) ได้กล่าว่า การประเมินทางวิทยาศาสตร์มี 2 รูปแบบ คือ การประเมินโดยใช้แบบทดสอบชนิดเลือกตอบ (Multiple-choice paper and- pencil test) และการประเมิน พ ฤติกรรมการใช้ทั กษ ะท างวิท ยาศาสตร์ ( Performance assessment) การประเมินโดยใช้แบบทดสอบชนิดเลือกตอบเป็นวธิ ีเก่าดง้ั เดิม ในขณะท่ีการประเมิน พฤตกิ รรมเป็นแนวทางเลือกใหมใ่ นการประเมินทักษะทางวิทยาศาสตร์ซ่ึงเน้นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทเี่ ป็นวัตถปุ ระสงคส์ ำคัญ

59 1. การใชแ้ บบทดสอบชนิดเลือกตอบในการประเมนิ ทักษะทางวิทยาศาสตร์ ในระหว่างปี ค.ศ. 1960-1970 ได้มีการพัฒนาแบบทดสอบซึ่งวัดกระบวนการสืบ เสาะหาความรู้ แบบทดสอบท่ีพัฒนาขึ้นมีจำนวนเพ่ิมขึ้นตามจำนวนทักษะท่ีต้องการทดสอบ แรกเริ่ม เดิมทีแบบทดสอบเหล่าน้ีได้ถูกพัฒนาข้ึนเพ่ือตอบสนองต่อหลักสูตรวิทยาศาสตร์แผนใหม่ ต่อมาได้ พัฒนาแบบทดสอบวดั ทักษะกระบวนการข้นั พ้นื ฐานและขัน้ ผสม หลักสูตรวทิ ยาศาสตร์ในระดับมธั ยมศึกษามีแต่หลกั สตู รวทิ ยาศาสตร์ทางชวี วิทยา (Biological Science Curriculum Study : BSCS) เท่าน้ันที่แบทดสอบได้ออกแบบมาใช้วัด ความสามารถทางทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แบบทดสอบนี้มีชื่อว่า กระบวนการในการ ทดสอบทางวิทยาศาสตร์ (The Processes of Science Test) ซ่ึงใช้วัดว่านักเรียนมีความสามารถใน กระบวนการทางวทิ าศาสตร์อย่างไร 2. การประเมนิ พฤติกรรมในการใช้ทักษะทางวทิ ยาศาสตร์ วรรณทิพา รอดแรงค้า (2540 : 173-174) กล่าวว่า ปัจจุบันได้มีการเน้นวิธีการ ประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนท่ีนอกเหนือจากการใช้แบบทดสอบให้ผู้เรียนทำ แบบทดสอบท่ีใช้กันอยู่ในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งแบบทดสอบชนดิ เลือกตอบไม่ได้ให้ผู้เรียนลงมือ ทำการทดลองอย่างจริงๆ เพื่อทดสอบความเข้าใจและทดสอบทักษะการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ใหม่ๆ น่ันคอื ผู้เรียนไม่จำเป็นต้องลงมือปฏิบัติการทดลอง การประเมินพฤติกรรมจึงเปน็ วิธีใหม่ในการ ประเมินผลการเรียนรู้ และเป็นเครื่องมือหนึ่งท่ีใช้ในการเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษาในประเทศ สหรฐั อเมรกิ าในปัจจุบัน นักวิจัยและนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย (The University of California) และจากสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย (The California Institute of Technology) ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ได้พฒั นาวิธกี ารประเมินทักษะทางวิทยาศาสตร์ 4 วธิ ดี ว้ ยกัน คอื 1) การสังเกตพฤติกรรมการลงมือการปฏิบัติการทดลองของนักเรียนโดย ผู้เชยี่ วชาญ 2) การประเมนิ สมดุ บนั ทึกทน่ี ักเรียนใชบ้ ันทกึ วธิ กี ารทดลอง 3) การใช้ไอคอน (Icon) ในสถานการณ์ จำลองจากเคร่ืองคอมพิวเตอร์ (Computer simulation) 4) การตอบคำถามสั้นๆ ท่ีเกี่ยวกับการออกแบบการทดลอง การวิเคราะห์ และ การตีความหมายข้อมลู จากสถานการณ์ที่กำหนดให้ จากการประเมินทักษะทางวิทยาศาสตร์ข้างต้นผู้วิจัยสรุปได้ว่า การประเมิน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สามารถประเมินได้ 2 รปู แบบ คือการประเมนิ โดยใช้แบบทดสอบ ชนิดเลือกตอบ (Multiple-choice paper and-pencil test) และการประเมินโดยใช้แบบประเมิน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Performance assessment) ซึ่งในการวิจัยคร้ังน้ีผู้วิจัยจะทำ การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยการประเมินพฤติกรรมการใช้ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ (Performance assessment)

60 4. งานวิจัยทเี่ กี่ยวข้อง ผูว้ ิจัยได้ศึกษางานวิจยั เกี่ยวกบั การสอนแบบโครงงานทั้งงานวิจยั ในประเทศและต่างประเทศ 4.1 งานวจิ ัยในประเทศ จรรยา เจรญิ รัตน์ (2555) ได้ศึกษาเรอื่ งการพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ที่สอนด้วยวิธีสอน แบบโครงงาน โดยมวี ัตถุประสงค์เพ่อื 1)เพอ่ื พัฒนาและหาประสทิ ธิภาพแผนการจดั การเรยี นร้ดู ้วยวธิ ี สอนแบบโครงงาน เรื่อง ระบบนิเวศให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลการ เรยี นรู้ เร่ือง ระบบนิเวศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ก่อนและหลังการจดั การเรียนรดู้ ว้ ยวธิ สี อน แบบโครงงาน 3) ศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ีจัดการ เรียนรู้ด้วยวิธีสอนแบบโครงงาน 4)ศึกษาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ีจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีสอนแบบโครงงาน 5)เปรียบเทียบความสามารถในการทำ โครงงาน หลังการจัดการเรียนรดู้ ้วยวิธสี อนแบบโครงงานของนักเรียนของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ระหวา่ งแบ่งกลุ่มคละความสามารถและการแบง่ กลุ่มตามความสนใจ และ 6)ศึกษาความคิดเห็นของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ท่ีมีต่อการจัดการเรยี นรู้ด้วยวิธีสอนแบบโครงงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนเทศบาล 1 ตลาดบางลี่(พานิชอุทิศ) อำเภอสองพ่ี น้อง จงั หวัดสุพรรณบุรี จำนวน 32 คน ทดลองใช้ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2555 ระยะเวลาที่ใช้ ในการทดลองรวมทง้ั หมด 15 ชว่ั โมง แบบแผนการทดลอง แบบกลุ่มเดยี วทดลองก่อนและหลัง (One Group Pretest-Posttest Design) จากการศึกษางานวิจัย ผู้วิจัยได้เสนอขั้นตอนการสอนแบบ โครงงาน 3 ข้ันตอน คือ 1) ข้ันนำเข้าสู่บทเรียน 2) ข้ันกิจกรรมการเรียนรู้ 3) ข้ันสรุปและประเมิน พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีสอนแบบโครงงานมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 และ ผู้เรียนมผี ลการเรยี นร้หู ลังจดั การเรียนรู้ด้วยวธิ สี อนแบบโครงงานสูงกว่าก่อนการจัดการเรยี นรู้ อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์และทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์อยู่ในระดับดี นักเรียนที่แบ่งกลุ่มคละความสามารถและการแบ่งกลุ่มตามความสนใจมี ความสามารถในการทำโครงงานแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ และนักเรียนมีความคิดเห็น ต่อการจดั การเรียนรูด้ ้วยวธิ ีสอนแบบโครงงานมีความคดิ เหน็ อยใู่ นระดบั มากท่ีสดุ จุไรรัตน์ ปง้ึ ผลพูล (2555) ไดศ้ ึกษาการพัฒนาผลการเรียนรู้และทักษะกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่จัดการเรียนรู้ แบบโครงงาน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1)เปรียบเทียบผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการ วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบ โครงงาน 2) ศึกษาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนท่ีจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน

61 3) ศึกษาความสามารถในการทำโครงงานคณิตศาสตร์ของนักเรียนท่ีจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการ วิจัยคือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5/3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล กรุงเทพมหานคร ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 41 คนจากการศึกษา งานวิจัยพบว่า ผู้วิจัยได้เสนอข้ันตอนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน 4 ขั้นตอน คือ 1) ข้ันนำเข้าสู่ บทเรียน 2) ขั้นกิจกรรม การเรียนรู้ 3) ข้ันสรุปบทเรียน 4) ข้ันทดสอบ/ประเมินผล พบว่า ผลการ เรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการ วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนรู้แบบโครงงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์และความสามารถในการ ทำโครงงานคณิตศาสตร์ของนักเรียนท่ีจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน มีคุณภาพอยู่ในระดับสูง ความพึงพอใจ ของนักเรียนท่ีมตี ่อการจัดการเรียนรแู้ บบโครงงานอยูใ่ นระดับมาก ดนุพล บุญชอบ (2557) การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้โครงงานระหว่างกลุ่ม ร่วมมือกันเรียนรู้แบบผสมผสานและกลุ่มปกติรายวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนบางล่ีวิทยา โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนท่ีเรียนโครงงานกลุ่มร่วมมือกันเรียนรู้แบบผสมผสานและกลุ่ม ปกติ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิของโครงงานหลังเรียนของนักเรียนท่ีเรียนโครงงาน ระหว่างกลุ่ม ร่วมมือกันเรียนรู้แบบผสมผสาน และกลุ่มปกติ 3)ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการเรียน โครงงานของกลุ่มร่วมมือกันเรียนรู้แบบผสมผสานและกลุ่มปกติ กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบางล่ีวิทยาท่ีกำลังศึกษาวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ ใน ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 2 กลุ่มๆละ 32 คน เท่ากัน จากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม และการจับฉลาก ระยะเวลาในการทดลองทั้งส้ิน 8 สัปดาห์ จากการศึกษางานวิจัยพบว่า ผู้วิจัยได้ เสนอข้ันตอนการเรียนรู้แบบโครงงาน 6 ขั้นตอน 1) ข้ันตอนการกระต้นุ 2)ข้ันตอนการกำหนดปัญหา 3)ขั้นตอนการวางแผน 4)ข้ันตอนการปฏิบัติ 5)ข้ันตอนการนำเสนอผลการดำเนินการ 6)ขั้น ประเมินผลการดำเนินการ พบว่า 1)ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนท่ีเรียนโครงงานกลุ่มร่วมมือกันเรียนรู้แบบผสมผสาน และกลุ่มปกติ แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) ผลการเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิของโครงงานหลังเรียนของนักเรียนที่ เรียนโครงงานระหว่างกลุ่มร่วมมือกันเรียนรู้แบบผสมผสาน และกลุ่มปกติ แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีผลสัมฤทธ์ิของโครงงานหลังเรียนของนักเรียนกลุ่มร่วมมือกัน เรียนรู้แบบผสมผสาน สูงกว่านักเรียนกลุ่มปกติ 3)ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการ เรียนโครงงาน พบว่า นักเรียนกลุ่มร่วมมือกันเรียนรู้แบบผสมผสานมีความพึงพอใจรวมทุกด้านอยู่ใน ระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.83 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.38 และนักเรียนกลุ่ม

62 ปกติมีความพึงพอใจรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.19 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.66 นภาภรณ์ เพียงดวงใจ (2558) การพฒั นารูปแบบการจดั การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์โดย ใช้โครงงาน ร่วมกับเทคนิคการสืบเสาะหาความรู้ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เพ่ือเสริมสร้าง ความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรมและจิตวิทยาศาสตร์ของนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ผลการวจิ ัย พบว่า ผลสัมฤทธิ์เรียนรู้วิทยาศาสตร์เรื่อง โลกดาราศาสตร์และอวกาศ ของนักเรียนหลังใช้รูปแบบ การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้โครงงานร่วมกับเทคนิคการสืบเสาะหาความรู้ตามแนวคิด หอ้ งเรียนกลับดา้ นสูงกวา่ กอ่ นการใชร้ ูปแบบอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถติ ิท่รี ะดบั .05 4.2 งานวิจัยต่างประเทศ (Bonnet and Keen, 1996, อ้างถึง สุวิจักขณ์ อธิคมกุลชัย) ได้จัดทำแบบฝึกที่ กล่าวถึงการพัฒนาโครงงานวิทยาศาสตร์จากมุมมองที่สำคัญว่า วิทยาศาสตร์ควรจะสนุกสนาน น่าสนใจและกระตุ้นให้เกิดความคิด จึงจัดสร้างกิจกรรม 60 กิจกรรมท่ีใช้ส่งเสริมการทำโครงงาน วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับส่ิงแวดล้อม ช่วยพัฒนาทักษะการจำแนกประเภท ทักษะการสังเกต ฝึกคิด และบันทึกข้อมูล ผลการวิจัยพบว่ากิจกรรมต่างๆช่วยพัฒนาให้นักเรียนเกิดความเข้าใจและพัฒนา ข้อมลู ท่ีคน้ ควา้ ได้จนกลลายเป็นหลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ Philip Norvin Childress, (1983: abstract, อ้างถึงใน ศิรินทิพย์ เด่นดวง, 2554: 112) ได้ศึกษาเรื่อง ผลของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ตอ่ การพัฒนาการทางปัญญาของเด็ก วัยรุ่น ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่เลือกเรียนวิชาเคมี จำนวน 73 คน จาก 12 เขตการศึกษา ทำการศึกษาโดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 นักเรียนต้องทำ โครงงานวิทยาศาสตร์ กลุ่มท่ี 2 นักเรียนเลือกที่จะไม่ทำโครงงานวิทยาศาสตร์ก็ได้ และกลุ่มที่ 3 นักเรียนไม่ต้องทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า พัฒนาการทางสตติปัญญาของเพียเจต์ นักเรียนทั้ง 3 กลุ่ม หลังจากผ่านการทดลองนาน 9 สัปดาห์ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และพบว่ากิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับส่วนรวม นักเรียนทำโครงงานเข้าไปร่วมมากท่ีสุดนอกจากนี้การวัด โดยใช้ แบบทดสอบการคิดเชิงตรรกศาสตร์ พบว่า นักเรียนที่ทำโครงงานวิทยาศาสตร์มีระดับ พฒั นาการทางสตปิ ญั ญาตามข้ันตอนการเรยี นรตู้ ามทฤษฎเี พียเจตส์ งู จากเดิมมากที่สดุ Vancleave (1996) ได้จัดทำแบบฝึกเพ่ือส่งเสริมการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ใน สาขาภมู ิศาสตร์ ประกอบดว้ ยกิจกรรม 20 กิจกรรม ซึง่ เสนอแนวทางหรือแนวความคิดให้กบั นักเรียน ในลกั ษณะท่ีเป็นปัญหาท่ีสามารถแก้ไขได้ ฝึกให้นกั เรียนออกแบบการทดลองค้นคว้าและบันทึกข้อมูล ท่ีมีความสัมพันธ์กับปัญหา ผลการใช้กิจกรรมท้ัง 20 กิจกรรมพบว่าทำให้นักเรียนได้ฝึกคิดแก้ปัญหา และสามารถแก้ปญั หาไดด้ ขี ้ึน

63 Rivet (2003 : 229) ได้วิจัยการสร้างสิ่งแวดล้อมและการเรียนรู้ของนักเรียนในชั้น เรยี นวิทยาศาสตร์ โดยใช้วิธีการเรยี นรูแ้ บบโครงงาน โดยทำการสำรวจครูซ่ึงพยายามสรา้ งส่ิงแวดลอ้ ม ทางการเรียนการสอน ในชั้นเรียนวิทยาศาสตร์ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตอำเภอเมือง จำนวน 2 ห้องเรียน โดยใช้วิธีการเรียนรู้แบบโครงงานอย่างไร และการเรยี นรู้แบบโครงงานน้ี มีความสัมพันธ์ กบั การเรยี นรู้อย่างไร พบว่า ครูใช้สิ่งแวดล้อมแบบโครงงาน เพ่ือการจัดการเรียนการสอนในช้ันเรียน สามารถประสบความสำเร็จ ทำให้นักเรียนสามารถนำภูมิความรู้และประสบการณ์เดิมออกมาใช้ใน การเรียนรู้ และยงั พบว่ามีความสมั พันธ์กนั ในระดับสูงอย่างมนี ัยสำคัญระหวา่ งการจัดสิง่ แวดลอ้ มแบบ โครงงานกับการประเมินคะแนนด้านการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียน ในขณะเดียวกันยังพบว่า การจดั ส่งิ แวดล้อมในการเรยี นการสอนวชิ าวิทยาศาสตร์ท่ีเหมาะสมควรเริม่ จากการออกแบบหลักสตู ร และการอบรมเพอ่ื พัฒนาวิชาชพี ให้กับบคุ ลากรอย่างต่อเน่ืองกเ็ ปน็ ส่ิงมีความสำคัญมากเช่นกัน จากการศึกษาเอกสารงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานนั้น ช่วยให้ผู้เรียนสามารถค้นคว้าหาคำตอบในเร่ืองที่สนใจ สามารถ แก้ไขปัญหาไดด้ ขี ้ึน ซง่ึ สอดคล้องธรรมชาติของวิชาวทิ ยาศาสตรท์ ี่เน้นใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรียนรดู้ ว้ ยผา่ น การลงมือทดลอง และการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานน้ันจะช่วยส่งเสริมทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ให้แก่ผู้เรียนได้เป็นอย่างดี ดังนั้นผู้วิจัยจึงนำการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานมาใช้ในการ พฒั นาทักษะทางวิทยาศาสตร์และความสามารถในการทำโครงงานของนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 อันจะเป็นการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาให้ดยี ่ิงขน้ึ ตอ่ ไป สรุป ส รุ ป จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า ว ร ร ณ ก ร ร ม ที่ เก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง วิทยาศาสตร์และความสามารถในการทำโครงงานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ด้วยการจัดการ เรียนรู้แบบโครงงาน ผู้วิจัยสามารถสรุปได้วา่ จากการศกึ ษาหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 2551 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดบางหลวง ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ การจัดการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และ ความสามารถในการทำโครงงาน พบว่า การจัดการเรียนรู้แบบวิทยาศาสตร์ เป็นการจัดการเรียน การสอนทเี่ นน้ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ หผ้ ู้เรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัตศิ ึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอย่าง เป็นระบบด้วยกิจกรรมท่ีหลากหลาย โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการแสวงหา ความรู้และฝึกคิดด้วยขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ซ่ึงการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นหนึ่ง วิธีการจัดการเรียนรู้แบบวิทยาศาสตร์ ท่ีเป็นการสอนเพื่อฝึกทักษะการทำงานด้านต่าง ๆ นับตั้งแต่ การเลือกโครงงาน การวางแผนการทำงาน ที่ก่อให้เกิดความคิดริเริ่ม และความเช่ือมั่นในตนเอง

64 ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยการปฏิบัติจริง ได้ทดลองและสรุปผลการปฏิบัติเป็นความรู้ความเข้าใจซ่ึงมี จุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนได้คิดเป็นทำเป็นและแก้ปัญหาเป็น ซึ่งจากการสังเคราะห์ขั้นตอนการจัดการ เรียนรู้แบบโครงงานที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้มี 6 ข้ัน คือ 1) สำรวจค้นหาปัญหา 2) วางแผน 3) รวบรวมข้อมูล 4) ลงมือปฏิบัติ 5) วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล และ 6) นำเสนอผลงาน ซึ่งข้ันตอนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานจะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ในแต่ละข้ันตอนการจดั การเรียนรแู้ บบโครงงาน ซึ่งจากการวิเคราะห์ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ท้ัง 13 ทักษะ จากการวิเคราะห์ของผู้วจิ ัยพบวา่ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ท่ีเกิดขึ้นกับผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานในคร้ังนี้นั้นมี 6 ทักษะ ได้แก่ 1) ทักษะการ สังเกต 2) ทักษะการส่ือความหมาย 3) ทักษะการลงความหมายข้อมูล 4) ทักษะการต้ังสมมติฐาน 5) ทกั ษะการกำหนดและควบคมุ ตวั แปร 6) ทักษะการทดลอง ซง่ึ การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานและ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์จะช่วยใหผ้ ู้เรียนมีพัฒนาการความสามาในการทำโครงงานซึ่งเมื่อ ผู้เรียนได้รับการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานแล้วนั้นผู้ต้องมีความสามารถในการจัดทำโครงงานข้ึนมา โดยจะผู้วิจัยจะประเมินความสามารถในการทำโครงงานทั้ง 6 ด้าน คือ 1) การสำรวจค้นหาปัญหา 2) การวางแผน 3) การรวบรวมข้อมูล 4) การลงมือปฏิบัติ 5) การวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล และ 6) การนำเสนอผลงาน การจัดการเรียนรูแ้ บบโครงงานจะช่วยให้ผู้เรียนมีการพฒั นาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และความสามารถในการทำ โครงงาน เนื่องผูเ้ รียนไดส้ ร้างองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเองและไดล้ งมอื ปฏิบตั ิทำใหเ้ กิดความรู้ที่คงทน (Bonnet, 19 96; Rivet, 20 03; Vancleave, 19 96; ก รมวิ ชาก าร, 254 4; กระ ทรว งศึก ษาธิ การ, 2 543 , 2 544 , 2550 , 255 1a, 255 1b, 255 3, 25 60; ก าญ จน า วัฒ นายุ , 254 4; จุไรรัต น์ ป้ึ งผลพู น , 2 555 ; เตื อน ใจ ไชยโย , 2 545 ; บุญ ชม ศรีสะอ าด, 25 45; ป ราโมทย์ สุขสมโสด, 25 52; พิ มพั น ธ์ เตชะ คุป ต์, 25 45, 2 556 ; ภ พ เลาหไพ บูลย์, 254 0; มาเรียม นิ ลพั นธ์ุ, 2 555 , 2 558 ; ลัดด า ภู่เกี ยรติ , 2 542 ; วราภ รณ์ ตระกู ลสฤษด์ิ , 255 1; วัชรา เล่ าเรียนดี , 255 2, 255 6; วิจ ารณ์ พานิ ช, 25 55, 2 556 ; ส่ งเสริมก ารสอ นวิ ทยาศาสตร์และเทค โนโลยี, 254 6; สุวิจั กขณ์ อ ธิค มกุ ลชั ย, 255 4; สุวิทย์ มู ลค ำ, 2 547 ; สุวิทย์ มูลคำ และ อ รทัย มู ลค ำ, 254 5; สุวิ ทย์ มู ลค ำ อรทั ย มูลคำ, 2 543 )

บทที่ 3 วิธีดำเนนิ การวิจยั การวิจัยเร่ือง การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และความสามารถในการทำ โครงงานของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 ด้วยการจดั การเรียนรแู้ บบโครงงาน เป็นลักษณะของการ วิจัยเชิงทดลอง แบบแผนการวิจัยแบบการทดลองขั้นพ้ืนฐาน (pre experimental design) ใช้แบบ แผนการวิจัยแบบกลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลัง (The One Group Pretest – Posttest Design) โดยใช้นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนวัดบางหลวง สังกัด สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครปฐม เขต 2 โดยมีวิธดี ำเนินการวจิ ัยดงั นี้ 1. วิธกี ารและข้ันตอนการวิจัย ผู้วิจัยได้กำหนดรายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับวิธีวิจัยเพื่อให้การวิจัยคร้ังน้ีเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ซ่ึงประกอบไปด้วยประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ตัวแปรท่ีใช้ในการศึกษา ระยะเวลาในการทดลอง เน้ือหา แบบแผนการวิจัย เคร่ืองมือท่ีใช้ในการ วิจยั การสร้างเครอ่ื งมอื ทีใ่ ช้ในการวิจัย การดำเนินการทดลองและเกบ็ รวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ ขอ้ มูลและคา่ สถติ ใิ นการใช้วิเคราะห์ข้อมูล ดงั รายละเอียดต่อไปนี้ 1.1 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดบาง หลวง อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 3 ห้องเรยี น รวม 96 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/3 โรงเรียนวัดบางหลวง อำเภอ บางเลน จังหวัดนครปฐม ท่ีกำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 31 คน ซึ่ง ผ้วู ิจยั ใช้วธิ ีการสมุ่ อยา่ งง่าย (Simple Random Sampling) โดยการจับสลากหอ้ งเรยี น 1 หอ้ งเรียน 1.2 ตวั แปรทใี่ ช้ในการศึกษา ประกอบด้วย 1.2.1 ตัวแปรต้น ไดแ้ ก่ การจัดการเรียนรแู้ บบโครงงาน 1.2.2 ตวั แปรตาม ได้แก่ 1.2.2.1 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนวทิ ยาศาสตร์ 1.2.2.2 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1.2.2.3 ความสามารถในการทำโครงงาน 1.2.2.4 ความคิดเหน็ ทีม่ ตี ่อการจัดการเรยี นร้แู บบโครงงาน 65

66 1.3 ระยะเวลาในการทดลอง ใช้การจดั การเรียนร้แู บบโครงงานกับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ใช้เวลาในการสอนสัปดาห์ละ 2 ช่ัวโมง จำนวน 10 สัปดาห์ รวมระยะเวลา 20 ชั่วโมง ไม่รวมการทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียน 1.4 เนือ้ หา เร่ืองแรงและการเคลื่อนที่ เป็นเน้ือหาในหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แรงและการเคลื่อนที่ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 จำนวน 5 เรื่อง ได้แก่ เรื่องแรงลัพธ์ ความดันอากาศ ความดนั ของเหลว แรงพยงุ ของของเหลว และแรงเสียดทาน 1.5 แบบแผนการวิจัย แบบแผนการวิจัยแบบทดลองขั้นพ้ืนฐาน (pre experimental design) แบบ one-group pretest posttest design แบบ One – Shot Case Study (มาเรียม นิลพันธ,์ุ 2558: 143 - 144) และแบบ Single – Group Time Series Design (อรพนิ ทร์ ชชู ม, 2552: 9) ดงั นี้ T1 X T2 T1 หมายถงึ การทดสอบกอ่ นเรียน X หมายถึง การจัดการเรียนรแู้ บบโครงงาน T2 หมายถงึ การทดสอบหลงั เรยี น X T2 X หมายถึง การจัดการเรียนรแู้ บบโครงงาน T2 หมายถึง การประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ X T1 T2 T3T4T5 X หมายถงึ การจดั การเรยี นรแู้ บบโครงงาน T1 T2 T3 T4 T5 หมายถึง ผลการประเมินพัฒนาการความสามารถในการทำ โครงงาน ครง้ั ท่ี 1 - 5

67 2. เครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการวิจยั การวิจัยครงั้ นผ้ี วู้ ิจัยกำหนดเครื่องมอื ทใี่ ชใ้ นการวิจยั ดงั น้ี 1.แผนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน เร่ืองแรงและการเคล่ือนท่ี จำนวน 5 แผน แผนละ 4 ชวั่ โมง รวม 20 ชัว่ โมง 2.แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์เรื่องแรงและการเคลื่อนท่ี สำหรับ นักเรียน ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลอื ก จำนวน 30 ข้อ 3.แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้เกณฑ์การประเมินแบบรูบริค (Rubrics) จำนวน 6 ทักษะ ได้แก่ 1) ทักษะการสังเกต 2) ทักษะการสื่อความหมาย 3) ทักษะ การลงความหมายข้อมูล 4) ทักษะการต้ังสมมติฐาน 5) ทักษะการกำหนดและควบคุมตัวแปร 6) ทักษะการทดลอง 4. แบบประเมินความสามารถในการทำโครงงาน โดยใช้เกณฑ์การประเมินแบบรูบริค (Rubrics) จำนวน 6 ด้าน คือ 1) การสำรวจค้นหาปัญหา 2) การวางแผน 3) การรวบรวมข้อมูล 4) การลงมอื ปฏิบัติ 5) การวิเคราะหข์ อ้ มลู และสรุปผล และ 6) การนำเสนอผลงาน 5. แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน จำนวน 4 ด้าน คือด้านเน้ือหาสาระ ด้านการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ด้านการวัดและประเมินผล และ ด้านประโยชน์ท่ีได้รับ ซ่ึงใช้แบบสอบถามชนิดมาตราประเมินค่า 5 ระดับ (Likert five Rating Scale) รวมจำนวน 15 ขอ้ 3. การสร้างเครื่องมือท่ีใชใ้ นการวิจยั การวจิ ัยคร้งั นี้ ผ้วู ิจยั ได้สร้างเครอื่ งมือในการวจิ ัย ดงั น้ี 3.1 การสร้างแผนการจดั การเรยี นรู้แบบโครงงาน มขี ัน้ ตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดบางหลวง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 สาระท่ี 4 แรงและการเคลือ่ นท่ี และสาระท่ี 8 ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ข้ันตอนที่ 2 ศึกษาวิธีการสอนแบบโครงงานจากหนังสือเอกสารและงานวิจัยที่ เก่ียวข้องกับการสอนแบบโครงงานเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ โครงงาน จากการสงั เคราะหข์ ั้นตอนการสอนแบบโครงงานมี 6 ขัน้ ดงั นี้

68 1. ขั้นสำรวจค้นหาปัญหา คือ ขั้นตอนในการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจใน เรอ่ื งทีเ่ รยี น เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความสงสัยอยากรูใ้ นเรื่องทเ่ี รียน จนกลายเป็นหวั ข้อในการทำโครงงาน 2. ข้ันวางแผน คือ ขั้นตอนที่ผู้เรียนระดมความคิดวางแผนในการทำโครงงาน ผู้เรียน มีแบ่งงานหน้าท่ีในการรับผิดชอบงานภายในกลุ่ม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และรายละเอียดในการ ทำงานทีจ่ ะชว่ ยใหก้ ารปฏบิ ตั ิลลุ ว่ งไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. ข้ันรวบรวมข้อมูล คือ ขั้นตอนท่ีผู้เรียนนำข้อมูลท่ีได้ศึกษาค้นคว้าในเร่ืองที่จัดทำ โครงงาน มาเขียนลงในใบกจิ กรรมในแตล่ ะหัวข้อ เชน่ วัตถปุ ระสงค์ของโครงงาน สมมติฐาน ตวั แปรท่ี ศึกษา ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน เป็นตน้ 4. ข้ันลงมือปฏิบัติ คือ ขั้นตอนท่ีผู้เรียนลงมือทดลองจัดทำโครงงาน ปฏิบัติตาม การวางแผน 5. ข้ันวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล คือ ข้ันตอนท่ีนำข้อมูลจากการทดลองมาทำ การสรปุ ผลทไ่ี ดจ้ ากการลงมอื ปฏิบัติ 6. ขั้นนำเสนอผลงาน คือ ข้ันตอนที่ผูเ้ รยี นแต่ละกลุ่มนำเสนอผลท่ีไดจ้ ากการทดลอง ข้ันตอนที่ 3 สร้างแผนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานโดยมีองค์ประกอบ ดังน้ี มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด สาระสำคัญ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน ส่ือการเรียนรู้ เวลาเรียน การวัดและประเมนิ ผล บันทกึ หลังสอน โดยมีโครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน เร่ืองแรงและการเคลื่อนท่ีตาม ตารางที่ 5 ดงั นี้

69 ตารางท่ี 5 โครงสรา้ งแผนการจัดการเรยี นรูแ้ บบโครงงาน เร่ืองแรงและการเคล่ือนท่ี แผนที่ ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้ เรือ่ ง การจดั การเรียนรูแ้ บบ ทกั ษะกระบวนการทาง ความสามารถในการทำ เวลา 1 ว 4.1 ป.5/1 4ชม. ทดลองและอธบิ าย แรงลพั ธข์ องแรง โครงงาน วิทยาศาสตร์ โครงงาน การหาแรงลพั ธข์ อง สองแรงทกี่ ระทำต่อ 4ชม. แรงสองแรงซึ่งอย่ใู น วตั ถุโดยแรงทั้งสอง แรงลัพธแ์ ละ 1) สำรวจคน้ หาปญั หา 1) ทกั ษะการสังเกต 1) การสำรวจคน้ หาปัญหา แนวเดยี วกันที่ อยใู่ นแนวเดยี วกนั 4ชม. กระทำต่อวตั ถุ เทา่ กบั ผลรวมของ ประโยชนข์ อง 2) วางแผน 2) การวางแผน ว 8.1 ป.5/1-ป.5/8 แรงทั้งสองนัน้ 2 ว 4.1 ป.5/2 แรงลัพธ์ 3) รวบรวมขอ้ มูล 3) การรวบรวมข้อมูล ทดลองและอธบิ าย อากาศมีแรงกระทำ ความดนั อากาศ ตอ่ วตั ถแุ รงท่ีอากาศ 4) ลงมอื ปฏิบตั ิ 4) การลงมอื ปฏบิ ัติ ว 8.1 ป.5/1-ป.5/8 กระทำต้ังฉากตอ่ หนงึ่ หนว่ ยพนื้ ท่ี 5) วิเคราะหข์ ้อมลู และ 5) การวิเคราะห์ขอ้ มลู และ 3 ว 4.1 ป.5/3 เรยี กว่า ความดนั ทดลองและอธิบาย อากาศ สรปุ ผล สรุปผล ความดนั ของ ของเหลว ของเหลวมีแรง 6) นำเสนอผลงาน 6) การนำเสนอผลงาน ว 8.1 ป.5/1-ป.5/8 กระทำตอ่ วตั ถุทกุ ทิศทางแรงที่ ความดนั 1) สำรวจค้นหาปญั หา 2) ทกั ษะการสือ่ 1) การสำรวจคน้ หาปัญหา ของเหลวกระทำตั้ง ฉากตอ่ หน่ึงหนว่ ย อากาศ 2) วางแผน ความหมาย 2) การวางแผน พน้ื ที่ เรยี กว่า ความ ดนั ของของเหลวซงึ่ 3) รวบรวมข้อมลู 3) การรวบรวมข้อมลู มีความสัมพนั ธก์ บั ความลึก 4) ลงมอื ปฏิบัติ 4) การลงมอื ปฏบิ ัติ 5) วเิ คราะห์ข้อมูลและ 5) การวิเคราะหข์ อ้ มลู และ สรปุ ผล สรุปผล 6) นำเสนอผลงาน 6) การนำเสนอผลงาน ความดันของ 1) สำรวจค้นหาปัญหา 3) ทกั ษะการลง 1) การสำรวจค้นหาปัญหา ของเหลว 2) วางแผน ความหมายข้อมูล 2) การวางแผน 3) รวบรวมขอ้ มูล 3) การรวบรวมขอ้ มูล 4) ลงมอื ปฏิบตั ิ 4) การลงมือปฏิบัติ 5) วเิ คราะห์ข้อมลู และ 5) การวเิ คราะหข์ ้อมลู และ สรุปผล สรปุ ผล 6) นำเสนอผลงาน 6) การนำเสนอผลงาน

70 ตารางที่ 5 โครงสร้างแผนการจัดการเรยี นรู้แบบโครงงาน เรอ่ื งแรงและการเคลื่อนที่ (ต่อ) แผนท่ี ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้ เรอ่ื ง การจดั การเรยี นรูแ้ บบ ทกั ษะกระบวนการทาง ความสามารถในการทำ เวลา แรงลอยตัว โครงงาน 4ชม. 4 ว 4.1 ป.5/4 ของเหลวมีแรงพยุง วิทยาศาสตร์ โครงงาน ทดลองและอธบิ าย กระทำตอ่ วตั ถุที่ แรงเสียดทาน 1) สำรวจคน้ หาปญั หา 4ชม. แรงพยุงของ ลอยหรือจมใน 2) วางแผน 4) ทกั ษะการ 1) การสำรวจคน้ หา ของเหลว การ ของเหลว การจม 3) รวบรวมข้อมูล 20 ลอยตวั และการจม หรอื การลอยตวั 4) ลงมือปฏบิ ัติ ตัง้ สมมติฐาน ปญั หา ของวัตถุ ของวัตถุขนึ้ อยกู่ บั 5) วิเคราะหข์ ้อมูลและ ว 8.1 ป.5/1-ป.5/8 น้ำหนกั ของวัตถุ สรปุ ผล 2) การวางแผน และแรงพยุงของ 6) นำเสนอผลงาน 5 ว 4.2 ป.5/1 ของเหลว 3) การรวบรวมข้อมูล ทดลองและอธบิ าย แรงเสยี ดทานเปน็ 1) สำรวจค้นหาปญั หา แรงเสยี ดทานและนำ แรงต้านการ 2) วางแผน 4) การลงมือปฏบิ ัติ ความรู้ไปใช้ เคลื่อนทข่ี องวตั ถุ 3) รวบรวมข้อมูล ประโยชน์ แรงเสียดทาน มี 4) ลงมือปฏิบัติ 5) การวิเคราะห์ขอ้ มลู ว 8.1 ป.5/1-ป.5/8 ประโยชน์ เช่น ใน 5) วิเคราะห์ขอ้ มลู และ การเดนิ ต้องอาศยั สรุปผล และสรุปผล แรงเสยี ดทาน 6) นำเสนอผลงาน 6) การนำเสนอผลงาน 5) ทักษะการกำหนด 1) การสำรวจคน้ หา และควบคุมตวั แปร ปัญหา 6) ทักษะการทดลอง 2) การวางแผน 3) การรวบรวมขอ้ มลู 4) การลงมอื ปฏบิ ัติ 5) การวเิ คราะห์ข้อมูล และสรปุ ผล 6) การนำเสนอผลงาน รวม ขั้นตอนที่ 4 นำแผนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน เสนออาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์และที่ปรึกษาร่วม เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้ แล้วนำมา ปรบั ปรงุ ขั้นตอนท่ี 5 นำแผนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ไปให้ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาวิทยาศาสตร์ ผู้เช่ียวชาญด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน และผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผล เพ่ือตรวจสอบความสอดคล้องเชิงเน้ือหา (Content Validity) และประเมินความเหมาะสมของแผนการสอนท่ีสร้างข้ึนซึ่งค่าดัชนีความสอดคล้องของ เครอ่ื งมอื (Index of Objective Congruence : IOC) โดยกำหนดเกณฑก์ ารให้คะแนน ดังนี้ ให้คะแนนเท่ากบั +1 เม่ือแน่ใจวา่ แผนการจัดการเรยี นร้มู ีความเหมาะสม ให้คะแนนเทา่ กับ 0 เม่อื แนใ่ จว่าแผนการจัดการเรียนร้มู คี วามเหมาะสมหรอื ไม่ ให้คะแนนเท่ากับ -1 เมอื่ แนใ่ จวา่ แผนการจัดการเรยี นรมู้ คี วามเหมาะสม

71 โดยคำนวณหาคา่ ดชั นคี วามสอดคล้องของเครื่องมอื (Index of Objective Congruence : IOC) จากสตู ร IOC = R N เมื่อ IOC แทน ดชั นคี วามสอดคลอ้ งของแผนจัดการเรยี นรู้ ΣR แทน ผลรวมของคะแนนความคดิ เห็นของผเู้ ชย่ี วชาญ N แทน จำนวนผู้เชีย่ วชาญ พิจารณาค่าดัชนีความสอดคล้องของเครื่องมือ (Index of Objective Congruence : IOC) ต้งั แต่ 0.5 ขึ้นไป จงึ จะถือว่าแผนการจัดการเรยี นรู้มคี วามเหมาะสมและสอดคล้องกับเนอื้ หา (มาเรียม นิลพนั ธ์ุ, 2558:177) ผลการวิเคราะห์ พบว่า ได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ระหว่าง 0.67 – 1.00 (ภาคผนวก ข: 112-121) และผู้วิจัยได้ทำการปรับปรุงแก้ไขแผนการจัดการเรียนรู้ ตามที่ผู้เช่ียวชาญ แนะนำดงั นี้ 1. ปรับแผนการจัดการเรียนรู้ขั้นการนำเสนอผลงานให้ชัดเจน โดยระบุวิธีการ นำเสนอผลงานของผเู้ รียนใหล้ ะเอยี ดชดั เจน 2. ปรับการใช้สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ ควรใชส้ ือ่ ใหส้ อดคลอ้ งกับกจิ กรรมการเรยี นการสอน ขั้นตอนท่ี 6 นำแผนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานไปปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำ ของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และผู้เชี่ยวชาญ และนำไปทดลองใช้กับนักเรียนช้ันประถมศึกษา ปีที่ 5/1 ซึ่งมคี ุณลกั ษณะและจำนวนผู้เรยี นใกล้เคยี งกับกลุ่มตวั อย่าง จำนวน 2 แผน ผลการวิเคราะห์ หลังการนำแผนไปทดลองใช้กับนักเรียนนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีท่ี 5/1 จำนวน 2 แผน ผู้วิจัยได้นำแผนการจัดการเรียนรู้มาปรับปรุงแก้ไขในข้ันการสำรวจค้นหา ปญั หา เพอื่ กระตุ้นความสนใจให้นักเรยี นเกิดความกระตือรอื รน้ ในการเรียนการสอนเพ่ิมขนึ้ ขัน้ ตอนท่ี 7 นำแผนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานท่ีได้รับการปรบั ปรุงแก้ไข ไปใช้ กับกลุ่มตวั อย่างนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 5/3 โรงเรียนวัดบางหลวง สรุปขัน้ ตอนการสร้างแผนการจัดการเรยี นรูแ้ บบโครงงาน ดงั แผนภาพท่ี 2

72 ขน้ั ตอนท่ี 1 ศกึ ษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 และหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั บางหลวง กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรช์ ั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5 สาระท่ี 4 แรงและการเคล่อื นที่ และสาระท่ี 8 ธรรมชาตขิ อง วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ขนั้ ตอนท่ี 2 ศึกษาวธิ กี ารสอนแบบโครงงานจากหนงั สือเอกสารและงานวิจัยทเี่ กยี่ วขอ้ งกับการสอนแบบโครงงาน และ สังเคราะห์ขัน้ ตอนการสอนแบบโครงงานมี 6 ขั้นตอน 1) ขนั้ การสำรวจค้นหาปญั หา 2) ขั้นการวางแผน 3) ขั้นการรวบรวมขอ้ มลู 4) ขน้ั การลงมอื ปฏบิ ตั ิ 5) ข้นั การวเิ คราะห์ข้อมูลและสรุปผล และ 6) ขั้นการนำเสนอผลงาน ขน้ั ตอนที่ 3 สร้างแผนการจัดการเรียนรแู้ บบโครงงาน ขน้ั ตอนท่ี 4 นำแผนการจัดการเรยี นร้แู บบโครงงาน เสนออาจารย์ที่ปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์และท่ีปรกึ ษาร่วม เพอ่ื ตรวจสอบความ เหมาะสมของแผนการจัดการเรยี นรู้ แลว้ นำมาปรบั ปรงุ ข้นั ตอนที่ 5 นำแผนการจัดการเรยี นรแู้ บบโครงงาน ไปให้ผูเ้ ชี่ยวชาญจำนวน 3 ทา่ น เพ่อื ตรวจสอบความสอดคลอ้ งเชิงเนื้อหา (Content Validity) และประเมนิ ความเหมาะสมของแผนการสอนทส่ี รา้ งข้ึนซง่ึ คา่ ดัชนคี วามสอดคลอ้ งของเครอ่ื งมือ (IOC) ข้นั ตอนที่ 6 นำแผนการจดั การเรยี นรู้แบบโครงงานไปปรบั ปรุงแกไ้ ขตามคำแนะนำของอาจารยท์ ป่ี รึกษาวทิ ยานพิ นธแ์ ละ ผู้เช่ียวชาญ และนำไปทดลองใช้กบั นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 ทไ่ี มใ่ ชก่ ลมุ่ ตวั อยา่ ง จำนวน 2 แผน ขนั้ ตอนที่ 7 นำแผนการจดั การเรียนรแู้ บบโครงงานทไ่ี ด้รบั การปรบั ปรุงแก้ไข ไปใชก้ ับกลุ่มตัวอยา่ งนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 5/3 โรงเรียนวัดบางหลวง แผนภาพท่ี 2 แสดงขนั้ ตอนการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน 3.2 แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรเ์ ร่ืองแรงและการเคลือ่ นที่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์ เร่ืองแรงและ การเคลอื่ นท่ีสำหรับนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 เปน็ แบบทดสอบปรนยั 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ ข้ันตอนท่ี 1 ศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดบางหลวง กลุ่มสาระการ เรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ ศกึ ษาสาระที่ 4 แรงและการเคลอื่ นที่ มาตรฐานและตัวชีว้ ัด หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 3 แรงและการเคลอื่ นท่ี รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5

73 ขั้นตอนที่ 2 ดำเนินการวิเคราะห์เนื้อหา สาระการเรียนรู้ตามตัวชี้วัดให้ครบทุก เน้อื หาในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เรอื่ ง แรงและการเคลื่อนท่ี ของนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 ขัน้ ตอนที่ 3 สรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรเ์ รอื่ งแรงและ การเคล่ือนที่ใช้ในการทดสอบก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้เป็นแบบทดสอบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จัดทำเป็นแบบทดสอบ เพื่อใช้ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน จำนวน 60 ข้อ ตามสัดส่วนจำนวนข้อ ในตารางท่ี 6 เพื่อคดั เลอื กแลว้ นำไปใช้จริง จำนวนฉบบั ละ 30 ขอ้ ตารางที่ 6 แสดงการวเิ คราะหแ์ บบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนรู้วชิ าวทิ ยาศาสตรเ์ รื่องแรงและ การเคล่อื นที่ ความ ู้รความจำ ความเข้าใจ การประ ุยกต์ใ ้ช การ ิวเคราะ ์ห การประเมินค่า ตวั ชว้ี ดั รวม (ขอ้ ) ว4.1ป.5/1 ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธ์ของ 1 2 2 - 1 6 แรงสองแรงซง่ึ อย่ใู นแนวเดยี วกนั ทก่ี ระทำต่อวัตถุ ว4.1ป.5/2 ทดลองและอธบิ ายความดันอากาศ 11211 6 ว4.1ป.5/3 ทดลองและอธิบายความดันของ 1 2 2 1 - 6 ของเหลว ว4.1ป.5/4 ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลว 1 1 1 - 2 5 การลอย และการจมของวตั ถุ ว4.2ป.5/1 ทดลองและอธิบายแรงเสียดทานและนำ 1 2 2 1 1 7 ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ รวม 5 8 9 3 5 30 ขนั้ ตอนท่ี 4 นำแบบทดสอบเสนออาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์และที่ปรึกษาร่วม เพอื่ พิจารณาความถกู ต้องของเน้ือหาแลว้ นำมาปรับปรงุ แกไ้ ข ดงั น้ี 1. ปรบั แบบทดสอบบางขอ้ ให้มีความเป็นปรนัย และจดั รูปแบบทุกข้อให้สวยงาม 2. ปรับข้อคำถามใหส้ อดคลอ้ งกบั ระดับพฤติกรรมของบลูมตามท่ีกำหนดไว้ในตาราง วเิ คราะห์

74 ขั้นตอนที่ 5 นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์เรื่องแรง และการเคล่ือนท่ี เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 คน ได้แก่ ผู้เช่ียวชาญด้านเนื้อหาวิทยาศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน และผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผล เพ่ือตรวจสอบหาค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบทดสอบ (Index of Objective Congruence : IOC) และพิจารณาค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบทดสอบที่มีค่าต้ังแต่ 0.5 ขึ้นไป จึงจะถือว่า แบบทดสอบมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับเน้ือหา (มาเรียม นิลพันธุ์, 2558:177) และหากมี ข้อเสนอแนะที่นำมาปรับปรุงแก้ไข ซึ่งแบบทดสอบมีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00 (ภาคผนวก ข: 122-124) ขั้นตอนท่ี 6 นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์เร่ืองแรง และการเคล่ือนที่มาทดลองใช้ (Tryout) กับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนวัดบางหลวง ท่ีเคยไดร้ ับการจัดการเรียนสอน เรอ่ื ง แรงและการเคลือ่ นท่ีแล้ว จำนวน 22 คน ขั้นตอนท่ี 7 ตรวจสอบค่าความยากง่าย (Difficulty) และค่าอำนาจจำแนก (Discrimination) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์เร่ืองแรงและการ เคลือ่ นท่ี โดยเกณฑก์ ารพิจารณาคา่ ความยากง่ายของแบบทดสอบคือ 0.20 – 0.80 ถ้าค่าความยากง่าย < 0.20 ถอื ว่าแบบทดสอบนน้ั ยากเกนิ ไป ถ้าค่าความยากงา่ ย > 0.80 ถือว่าแบบทดสอบนั้นงา่ ยเกนิ ไป (มาเรียม นิลพันธุ์, 2558:188) ซ่ึงได้แบบทดสอบที่มีค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.27 – 0.77 (ภาคผนวก ข: 125) และเกณฑ์การพจิ ารณาค่าอำนาจจำแนกความมีคา่ อำนาจจำแนก 0.20 ข้ึนไปสำหรับ การแปลคา่ อำนาจจำแนกไดด้ ังน้ี (มาเรยี ม นลิ พันธุ์, 2558:186) 0.40 – 1.00 คือ จำแนกไดด้ ี เปน็ ข้อสอบที่ดี 0.30 – 0.39 คือ จำแนกไดด้ ี เป็นขอ้ สอบที่ดพี อสมควร อาจต้องปรบั ปรุง 0.20 – 0.29 คอื จำแนกไดพ้ อใช้ แตต่ อ้ งปรับปรงุ -1.00 – 0.19 คอื ไม่สามารถจำแนกได้ แต่ตอ้ งปรบั ปรุงหรอื ตัดท้งิ ซงึ่ ไดแ้ บบทดสอบคา่ อำนาจจำแนกอยรู่ ะหว่าง 0.29 – 1.00 (ภาคผนวก ข: 125) ข้ันตอนที่ 8 ตรวจสอบค่าความเช่ือมั่น (Reliability) คือ การตรวจสอบวัดค่าความ เชื่อมั่นท่ีคงที่ ซ่ึงผู้วิจัยใช้เกณฑ์แบบทดสอบที่ได้ค่าความเช่ือมั่นมีค่าต้ังแต่ 0.75 ขึ้นไป เพื่อให้ได้ ข้อสอบท่ีมีมาตรฐานจำนวน 30 ข้อ โดยหาค่าความเช่ือโดยใช้วิธีของคูเดอร์– ริชาร์ดสัน (Kuder - Richardson) จากสูตร KR- 20 (มาเรียม นิลพันธุ์, 2558:182) ซ่ึงได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.84 (ภาคผนวก ข: 126) ข้ันตอนท่ี 9 นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์เรื่องแรง และการเคล่ือนที่ ท่ีผา่ นเกณฑค์ ุณภาพด้านความยากงา่ ย ด้านอำนาจจำแนก และด้านความเท่ียงตรง ไปใชใ้ นการวจิ ัย

75 สรุปขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนรู้วชิ าวิทยาศาสตร์เรื่อง แรงและการเคลอื่ นที่ดงั แผนภาพท่ี 3 ศกึ ษาวิเคราะหห์ ลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวดั บางหลวง กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ศึกษาสาระที่ 4 แรงและการเคลือ่ นท่ี มาตรฐานและตวั ชีว้ ัด หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 3 แรงและการ เคล่ือนที่ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5 ดำเนนิ การวเิ คราะหเ์ นอ้ื หา สาระการเรียนรู้ตามตวั ชว้ี ัดให้ครบทุกเน้อื หาในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เรอ่ื ง แรงและการเคลอื่ นท่ี ของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 5 สร้างแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวทิ ยาศาสตร์เรอื่ งแรงและการเคลอื่ นที่ใชใ้ นการทดสอบก่อนและหลงั การจดั การเรียนรู้เปน็ แบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตวั เลือก จำนวน 60 ขอ้ เพื่อคดั เลอื กแลว้ นำไปใชจ้ ริง จำนวนฉบับละ 30 ขอ้ นำแบบทดสอบเสนออาจารยท์ ่ีปรึกษาวทิ ยานิพนธ์และที่ปรกึ ษารว่ มเพอื่ พิจารณาความถกู ต้องของเนื้อหาแลว้ นำมาปรับปรุงแก้ไข นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตรเ์ รือ่ งแรงและการเคล่ือนท่ี เสนอตอ่ ผู้เช่ยี วชาญท้ัง 3 เพอ่ื ตรวจสอบหาคา่ ดชั นี ความสอดคลอ้ งของแบบทดสอบ(Index of Objective Congruence : IOC) นำแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตร์เรอื่ งแรงและการเคลื่อนที่มาทดลองใช้ (Tryout) กับนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6/1 โรงเรียนวดั บางหลวง ที่เคยได้รับการจัดการเรยี นสอน เร่ือง แรงและการเคลอ่ื นท่ีแลว้ จำนวน 22 คน จำนวน 60 ข้อ ตรวจสอบค่าความยากง่าย (Difficulty) และคา่ อำนาจจำแนก (Discrimination) ของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนรู้วชิ า วิทยาศาสตร์เรือ่ งแรงและการเคลอ่ื นท่ี ตรวจสอบคา่ ความเช่ือม่ัน (Reliability) คอื การตรวจสอบวัดค่าความเชอื่ มั่นทคี่ งที่ ซ่งึ ผ้วู จิ ยั ใช้เกณฑ์แบบทดสอบท่ีได้ค่าความเช่อื ม่ันมคี ่า ต้ังแต่ 0.75 ข้นึ ไป เพ่อื ใหไ้ ด้ขอ้ สอบทมี่ มี าตรฐานจำนวน 30 ขอ้ โดยหาค่าความเชอื่ โดยใชว้ ธิ ขี องคูเดอร์– รชิ ารด์ สัน (Kuder - Richardson) จากสูตร KR- 20 นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์เร่ืองแรงและการเคลอ่ื นที่ ท่ีไดม้ าตรฐาน ไปใช้ในการวจิ ยั แผนภาพท่ี 3 ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์เรื่องแรง และการเคลือ่ นที่

76 3.3 แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แบบ Rating Scale สำหรับ ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 ซึ่งจะประเมินเป็นรายบุคคลหลังจากการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน โดยครูเป็นผู้ประเมิน ซึ่งแบ่งการประเมินเป็น 6 ทักษะได้แก่ 1) ทักษะการสังเกต 2) ทักษะการจัด กระทำและส่ือความหมายข้อมูล 3) ทักษะการลงความหมาย 4) ทักษะการตั้งสมมติฐาน 5) ทักษะ การกำหนดและควบคุมตัวแปร 6) ทักษะการทดลอง จากน้ันเขียนข้อคำถามตามนิยามของทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์สร้างเกณฑ์การประเมินความสามารถในการทำโครงงาน 5 ข้ันตอน พร้อมทั้งกำหนดเกณฑ์การประเมินแบบระดับคุณภาพ (Rubric scoring) โดยมีระดับการให้คะแนน ดังนี้ 5 หมายถึง มีพฤติกรรมทแ่ี สดงออกอยู่ในระดบั มากทส่ี ดุ 4 หมายถงึ มีพฤติกรรมที่แสดงออกอย่ใู นระดับมาก 3 หมายถงึ มีพฤติกรรมที่แสดงออกอยใู่ นระดับปานกลาง 2 หมายถึง มีพฤติกรรมท่ีแสดงออกอยูใ่ นระดับน้อย 1 หมายถงึ มีพฤติกรรมทีแ่ สดงออกอยใู่ นระดบั นอ้ ยทีส่ ดุ ขัน้ ตอนที่ 1 ศกึ ษาวิธีการสร้างแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์จาก เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ ก่ียวข้องกบั การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

77 ตารางท่ี 7 แสดงเกณฑก์ ารประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทกั ษะ รายการ เกณฑ์การประเมิน คะแนน กระบวนการ ประเมิน เตม็ การสังเกต มากทีส่ ดุ (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) นอ้ ยท่สี ุด (1) 5 ทาง สงั เกต ศึกษา สังเกต ศึกษา สังเกต ศกึ ษา สงั เกต ศึกษา สงั เกต ศึกษา วิทยาศาสตร์ แหล่งข้อมลู ทดลอง ทดลอง ทดลอง ทดลอง ทดลอง 5 1.ทักษะการ ที่นำมา รวบรวมขอ้ มลู รวบรวมข้อมลู รวบรวมขอ้ มูล รวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมลู อย่างถูกตอ้ ง อย่างถูกตอ้ ง อย่างถกู ตอ้ ง ตามแผนทีว่ าง ตามแผนท่ีวาง สงั เกต การจัด ครบถว้ นตาม ตามแผนทว่ี าง ครบถว้ นตาม ไว้ บันทึก ไวบ้ ันทึกข้อมูล กระทำ แผนทวี่ างไว้ ไว้ บนั ทึก แผนทว่ี างไว้ ขอ้ มูลอยา่ ง อยา่ งตอ่ เนือ่ ง 2.ทกั ษะการ ขอ้ มลู บันทกึ ขอ้ มลู ข้อมลู อยา่ ง บนั ทึกข้อมลู ตอ่ เนอ่ื ง และ และแก้ปญั หา จดั กระทำและ อยา่ งต่อเนอ่ื ง ตอ่ เนอื่ ง และ อยา่ งต่อเนอื่ ง แก้ปัญหาการ การทำงาน สื่อความหมาย และแกป้ ญั หา แกป้ ญั หาการ และแกป้ ัญหา ทำงานได้ด้วย ด้วนตนเอง การทำงานได้ ทำงานได้ด้วย การทำงานได้ ตนเองเปน็ ไมไ่ ด้ ตอ้ ง ข้อมลู ดว้ ยตนเอง ตนเอง ด้วยตนเองโดย บางสว่ น ตอ้ ง ไดร้ บั ตอ้ งไดร้ ับ ได้รับ คำแนะนำ นำข้อมลู มา นำขอ้ มูลมา คำแนะนำ 1-3 คำแนะนำ 4 – ตลอดเวลา จากหลาย จากหลาย ครั้ง 5 ครัง้ แหล่ง เช่น แหลง่ เชน่ นำขอ้ มูลมา นำข้อมูลมา นำขอ้ มูลมา จากการสงั เกต จากการสงั เกต จากหลาย จากหลาย จากหลาย การวดั การ การวัด การ แหล่ง เช่น แหลง่ และ แหล่ง และ ทดลองและ ทดลองและ จากการสงั เกต นำมาแหลง่ ละ นำมาแหล่งละ นำมาแหลง่ ละ นำมาแหล่งละ การวดั การ 2 รายการ 1 รายการ 5 รายการขึน้ 4 รายการ ทดลองและ ไป นำมาแหล่งละ จดั กระทำ จัดกระทำ 3 รายการ ขอ้ มลู ใหม่ โดย ข้อมูลใหม่ โดย การเรยี งลำดบั การเรียงลำดับ จดั กระทำ จดั กระทำ จดั กระทำ แยกประเภท แยกประเภท ข้อมลู ใหม่ โดย ขอ้ มูลใหม่ โดย ขอ้ มูลใหม่ โดย หรือคำนวณหา หรอื คำนวณหา การเรยี งลำดับ การเรียงลำดับ การเรยี งลำดบั คา่ ใหมเ่ พ่อื ให้ คา่ ใหมเ่ พอ่ื ให้ แยกประเภท แยกประเภท แยกประเภท เข้าใจง่ายขนึ้ เข้าใจง่ายขน้ึ หรอื คำนวณหา หรอื คำนวณหา หรือคำนวณหา ชัดเจน และ ชัดเจน และ คา่ ใหมเ่ พื่อให้ คา่ ใหม่เพอื่ ให้ คา่ ใหมเ่ พื่อให้ ตรงประเดน็ 1 ตรงประเด็น 5 เขา้ ใจงา่ ยข้ึน เขา้ ใจงา่ ยข้นึ เข้าใจงา่ ยขนึ้ ประเด็น ประเดน็ ข้ึนไป ชดั เจน และ ชัดเจน และ ชดั เจน และ ตรงประเด็น 4 ตรงประเด็น 3 ตรงประเดน็ 2 ประเด็น ประเด็น ประเด็น

78 ตารางที่ 7 แสดงเกณฑ์การประเมินทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (ตอ่ ) ทักษะ รายการ เกณฑ์การประเมิน คะแนน กระบวนการ ประเมนิ เตม็ มากทีส่ ุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) นอ้ ย (2) นอ้ ยทสี่ ดุ (1) ทาง การ อธบิ ายเหตผุ ล อธบิ ายเหตุผล อธบิ ายเหตุผล อธิบายเหตผุ ล อธิบายเหตผุ ล 5 วทิ ยาศาสตร์ นำเสนอ ในการเลอื ก ในการเลอื ก ในการเลอื ก ในการเลือก ในการเลือก ข้อมลู นำเสนอไดอ้ ย่าง นำเสนอได้อย่าง นำเสนอไดอ้ ย่าง นำเสนอไดอ้ ย่าง นำเสนอได้อย่าง 2.ทักษะการ ชดั เจน และตรง ชดั เจน และตรง ชัดเจน และตรง ชัดเจน และตรง ชัดเจน และตรง จดั กระทำ แหลง่ ข้อมลู ประเดน็ 5 ประเด็น 4 ประเด็น 3 ประเด็น 2 ประเด็น 1 และส่อื ทน่ี ำมา ประเดน็ ขึ้นไป ประเด็น ประเดน็ ประเดน็ ประเด็น ความหมาย นำข้อมลู มาจาก นำข้อมลู มาจาก นำขอ้ มลู มาจาก นำข้อมูลมาจาก นำข้อมลู มาจาก การจัด หลายแหลง่ หลายแหล่ง หลายแหลง่ หลายแหล่ง หลายแหล่ง ขอ้ มูล กระทำ เชน่ จากการ เช่น จากการ เชน่ จากการ และนำมาแหล่ง และนำมาแหลง่ ข้อมลู สังเกต การวดั สังเกต การวัด สังเกต การวัด ละ 2 รายการ ละ 1 รายการ การทดลองและ การทดลองและ การทดลองและ การ นำมาแหลง่ ละ นำมาแหลง่ ละ นำมาแหล่งละ จดั กระทำขอ้ มลู จดั กระทำขอ้ มูล นำเสนอ 5 รายการขึน้ ไป 4 รายการ 3 รายการ ใหม่ โดยการ ใหม่ โดยการ ข้อมูล จดั กระทำขอ้ มูล จดั กระทำขอ้ มูล จดั กระทำขอ้ มลู เรียงลำดบั แยก เรียงลำดับ แยก ใหม่ โดยการ ใหม่ โดยการ ใหม่ โดยการ ประเภท หรอื ประเภท หรือ เรียงลำดบั แยก เรียงลำดับ แยก เรยี งลำดบั แยก คำนวณหาคา่ คำนวณหาคา่ ประเภท หรือ ประเภท หรือ ประเภท หรือ ใหมเ่ พ่ือให้ ใหม่เพือ่ ให้ คำนวณหาค่า คำนวณหาค่า คำนวณหาคา่ เขา้ ใจงา่ ยข้นึ เขา้ ใจงา่ ยข้ึน ใหม่เพื่อให้ ใหม่เพื่อให้ ใหมเ่ พ่อื ให้ ชัดเจน และตรง ชดั เจน และตรง เข้าใจงา่ ยขนึ้ เข้าใจง่ายขนึ้ เข้าใจง่ายขึ้น ประเดน็ 2 ประเด็น 1 ชดั เจน และตรง ชดั เจน และตรง ชัดเจน และตรง ประเด็น ประเดน็ ประเด็น 5 ประเด็น 4 ประเด็น 3 อธบิ ายเหตุผล อธิบายเหตุผล ประเดน็ ขนึ้ ไป ประเดน็ ประเดน็ ในการเลอื ก ในการเลอื ก อธบิ ายเหตุผล อธบิ ายเหตุผล อธบิ ายเหตุผล นำเสนอได้อยา่ ง นำเสนอได้อย่าง ในการเลือก ในการเลือก ในการเลือก ชัดเจน และตรง ชดั เจน และตรง นำเสนอไดอ้ ย่าง นำเสนอไดอ้ ยา่ ง นำเสนอได้อยา่ ง ประเดน็ 2 ประเด็น 1 ชัดเจน และตรง ชัดเจน และตรง ชัดเจน และตรง ประเด็น ประเด็น ประเด็น 5 ประเดน็ 4 ประเดน็ 3 ประเด็นข้นึ ไป ประเดน็ ประเด็น

79 ตารางที่ 7 แสดงเกณฑ์การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (ต่อ) ทักษะ รายการ เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน กระบวนการ ประเมนิ เต็ม มากทีส่ ดุ (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) น้อยที่สดุ (1) 5 ทาง การ อธบิ ายผลและ อธบิ ายผลและ อธิบายผลและ อธบิ ายผลและ อธบิ ายผลและ วทิ ยาศาสตร์ อธิบาย ข้อมลู ได้อย่าง ขอ้ มลู ได้อยา่ ง ข้อมลู ไดอ้ ย่าง ขอ้ มลู ได้อยา่ ง ข้อมลู ไดอ้ ยา่ ง 5 ชัดเจนและตรง ชัดเจนและตรง ชดั เจนและตรง ชดั เจนและตรง ชดั เจนและตรง 3.ทกั ษะการ การลง ประเดน็ ต้ังแต่ 5 ประเดน็ 4 ประเด็น 3 ประเด็น 2 ประเดน็ 1 5 ลงความเหน็ ความเห็น ประเด็นขึ้นไป ประเดน็ ประเด็น ประเด็น ประเดน็ จากขอ้ มูล เพม่ิ ความเห็น เพ่มิ ความเหน็ เพิ่มความเห็น เพ่มิ ความเห็น เพ่ิมความเห็น การหา ขอ้ มลู อยา่ งมี ข้อมูลอยา่ งมี ข้อมลู อยา่ งมี ข้อมลู อยา่ งมี ขอ้ มูลอยา่ งมี 4.ทักษะการ คำตอบ เหตผุ ลตงั้ แต่ 5 เหตุผล 4 ครง้ั เหตผุ ล 3 คร้ัง เหตผุ ล 2 คร้งั เหตุผล 1 คร้งั ตง้ั สมมตฐิ าน ลว่ งหน้า ครงั้ ขน้ึ ไป พดู หรอื เขยี น พูดหรอื เขียน พดู หรอื เขียน พูดหรือเขียน พดู หรอื เขยี น 5.ทักษะการ การ แสดงคำตอบ แสดงคำตอบ แสดงคำตอบ แสดงคำตอบ แสดงคำตอบ กำหนดและ กำหนดตัว ลว่ งหน้าโดย ลว่ งหน้าโดย ลว่ งหนา้ โดย ลว่ งหน้าโดย ลว่ งหนา้ โดย ควบคมุ ตัว อาศยั ความรู้ อาศยั ความรู้ อาศยั ความรู้ อาศัยความรู้ อาศัยความรู้ แปร เดิม จากการ เดมิ จากการ เดมิ จากการ เดมิ จากการ เดมิ จากการ แปร สังเกต ดว้ ยการ สังเกต ดว้ ยการ สังเกต ด้วยการ สงั เกต ด้วยการ สงั เกต ด้วยการ ใชค้ วามสมั พันธ์ ใชค้ วามสัมพันธ์ ใชค้ วามสมั พันธ์ ใช้ความสมั พันธ์ ใช้ความสมั พนั ธ์ ของตวั แปรตน้ ของตวั แปรตน้ ของตัวแปรตน้ ของตวั แปรตน้ ของตวั แปรตน้ กับตวั แปรตาม กบั ตัวแปรตาม กับตัวแปรตาม กบั ตวั แปรตาม กับตัวแปรตาม ได้อย่าง ได้อยา่ ง ได้อยา่ ง ไดอ้ ยา่ ง ไดอ้ ยา่ ง สมเหตุสมผล สมเหตุสมผล 4 สมเหตสุ มผล 3 สมเหตสุ มผล 2 สมเหตุสมผล 1 ตั้งแต่ 5 ครงั้ ขึน้ คร้ัง ครั้ง ครง้ั คร้ัง ไป บง่ ชี้ตวั แปรต้น บ่งชตี้ ัวแปรตน้ บง่ ชตี้ ัวแปรตน้ บ่งชตี้ ัวแปรต้น บ่งชีต้ วั แปรตน้ ตวั แปรตามและ ตัวแปรตามและ ตวั แปรตามและ ตวั แปรตามและ ตัวแปรตามและ ตัวแปรควบคุม ตัวแปรควบคุม ตวั แปรควบคมุ ตัวแปรควบคมุ ตัวแปรควบคุม ไดถ้ กู ต้องต้งั แต่ ได้ถกู ตอ้ ง 4 ไดถ้ ูกต้อง 3 ได้ถกู ตอ้ ง 2 ได้ถูกต้อง 1 5 ครง้ั ข้ึนไป ครง้ั คร้งั คร้ัง คร้งั

80 ตารางที่ 7 แสดงเกณฑ์การประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (ต่อ) ทกั ษะ กระบวนการ รายการ เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน เตม็ ทาง ประเมนิ 5 วทิ ยาศาสตร์ มากทส่ี ุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) นอ้ ย (2) นอ้ ยท่สี ุด (1) กำหนดวธิ กี าร กำหนดวธิ ีการ กำหนดวธิ ีการ กำหนดวธิ กี าร กำหนดวธิ กี าร อปุ กรณ์ อปุ กรณ์ อปุ กรณ์ อุปกรณ์ สารเคมอี ย่าง สารเคมอี ยา่ ง สารเคมอี ย่าง สารเคมอี ยา่ ง อุปกรณ์ ถูกตอ้ ง ถกู ต้อง ถูกตอ้ ง ถกู ต้อง เหมาะสม และ เหมาะสม และ เหมาะสม และ เหมาะสม และ ความสามารถ สารเคมีอยา่ ง ใช้อย่างถกู วธิ ี 4 ใช้อยา่ งถูกวธิ ี 3 ใช้อยา่ งถกู วิธี 2 ใชอ้ ยา่ งถกู วิธี 1 ครั้ง คร้งั ครงั้ คร้งั ในการ ถูกตอ้ ง บันทกึ ผล ออกแบบ เหมาะสม และ คล่องแคล่ว ถูกต้อง และ ใชอ้ ย่างถกู วธิ ี ออกแบบตาราง บันทึกผลที่ 6.ทักษะการ ตงั้ แต่ 5 ครง้ั ขึ้น เหมาะสมกับ ข้อมูล 1 ครง้ั ทดลอง ไป การแปล บนั ทึกผล บนั ทกึ ผล บันทึกผล บนั ทกึ ผล ความหมาย คลอ่ งแคลว่ คลอ่ งแคล่ว คลอ่ งแคลว่ ข้อมูลไดถ้ กู ต้อง คล่องแคล่ว ถูกตอ้ ง และ ถูกต้อง และ ถกู ต้อง และ เหมาะสม 1 ออกแบบตาราง ออกแบบตาราง ออกแบบตาราง คร้ัง ถูกตอ้ ง และ บันทึกผลท่ี บนั ทึกผลที่ บนั ทกึ ผลท่ี เหมาะสมกบั เหมาะสมกบั เหมาะสมกบั การบันทกึ ผล ออกแบบตาราง ขอ้ มูล 4 ครั้ง ขอ้ มูล 3 คร้ัง ขอ้ มูล 2 คร้งั บนั ทกึ ผลที่ เหมาะสมกับ ขอ้ มลู ตง้ั แต่ 5 ครัง้ ข้นึ ไป การแปล การแปล การแปล การแปล ความหมาย ความหมาย ความหมาย การแปล ความหมาย ข้อมูลได้ถูกต้อง ขอ้ มูลไดถ้ กู ต้อง ขอ้ มลู ไดถ้ กู ตอ้ ง เหมาะสม 4 เหมาะสม 3 เหมาะสม 2 ความหมาย ข้อมลู ไดถ้ กู ตอ้ ง คร้ัง คร้ัง คร้ัง ขอ้ มลู เหมาะสมตั้งแต่ 5 ครงั้ ข้ึนไป สำหรับการให้ความหมายของค่าท่ีวัด ผู้วิจัยกำหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการวิจัยโดยการให้ ค่าเฉล่ยี (มาเรียม นิลพันธ์,ุ 2558: 196) ซึ่งมคี า่ เฉล่ยี ดังตารางที่ 8 ตารางที่ 8 เกณฑ์การแปลความหมายการประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คา่ เฉล่ีย ระดับการประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4.50 – 5.00 มากทสี่ ดุ 3.50 – 4.49 มาก 2.50 – 3.49 ปานกลาง 1.50 – 2.49 น้อย 1.00 – 1.49 น้อยทส่ี ดุ

81 ขนั้ ตอนท่ี 2 สร้างแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านเน้ือหา วิทยาศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน และผู้เชี่ยวชาญด้านการวัด และประเมนิ ผล เพ่ือตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) และความถูกต้องโดย การนำแบบประเมินไปหาค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบประเมินด้านทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ โดยคำนวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Objective Congruence : IOC) ผลการวิเคราะห์คา่ ดชั นคี วามสอดคล้องเทา่ กับ 1.00 (ภาคผนวก ข: 126) ขั้นตอนท่ี 3 นำแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาปรับปรุงแก้ไข ตามขอ้ เสนอแนะ เพอ่ื ความสมบูรณข์ องเครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการวิจัย ข้นั ตอนที่ 4 นำแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใชเ้ ป็นเครอื่ งมือ ในการศึกษาวจิ ยั สรุปขั้นตอนการสร้างแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สรุปได้ดัง แผนภาพที่ 4 ศึกษาวิธีการสรา้ งแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ สรา้ งแบบประเมินทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ให้เหมาะสมกับระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5 นำแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรเ์ สนอตอ่ อาจารย์ผู้ควบคมุ วิทยานิพนธแ์ ละผเู้ ชีย่ วชาญ จำนวน 3 ทา่ น เพือ่ ตรวจสอบความเทีย่ งตรงเชงิ เนอ้ื หา (Content Validity)โดยคำนวณหาค่าดชั นีความ สอดคล้อง (Index of Objective Congruence : IOC) ปรับปรงุ แบบประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรต์ ามคำแนะนำของอาจารยผ์ คู้ วบคมุ วทิ ยานพิ นธ์และ ผเู้ ช่ยี วชาญ นำแบบประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใชเ้ ป็นเครือ่ งมอื ในการศึกษาวจิ ยั แผนภาพท่ี 4 ขน้ั ตอนการสรา้ งแบบประเมินทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

82 3.4 แบบประเมนิ ความสามารถในการทำโครงงาน แบบประเมนิ มีเกณฑ์ตามแบบรูบรคิ (Rubric) ซง่ึ เป็นรบู ริคแบบแยกส่วนเพ่ือต้องการ เน้นลักษณะเฉพาะของการตอบสนอง (Nitko, 2001) เพื่อผลคะแนนของนักเรียนท่ีค่อนข้างสมบูรณ์ โดยมขี ้นั ตอนการสร้างแบบประเมนิ ดงั น้ี ข้นั ตอนที่ 1 ศึกษารูปแบบการสร้างแบบประเมินความสามารถและกำหนดประเด็น การประเมินตามขั้นตอนการทำโครงงาน ซึ่งประกอบด้วย 6 ข้ันตอน คือ 1) การสำรวจค้นหาปัญหา 2) การวางแผน 3) การรวบรวมข้อมูล 4) การลงมือปฏิบัติ 5) การวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล และ 6) การนำเสนอผลงาน ขนั้ ตอนที่ 2 สร้างเกณฑ์การประเมินความสามารถในการทำโครงงาน 6 ข้ันตอน พร้อมท้งั กำหนดเกณฑ์การประเมินระดับคุณภาพ (Rubric scoring) โดยมรี ะดบั การให้คะแนน ดงั น้ี 5 หมายถึง ความสามารถในการทำโครงงานอยูใ่ นระดบั มากทส่ี ุด 4 หมายถงึ ความสามารถในการทำโครงงานอยู่ในระดับมาก 3 หมายถงึ ความสามารถในการทำโครงงานอยู่ในระดบั ปานกลาง 2 หมายถึง ความสามารถในการทำโครงงานอยใู่ นระดับน้อย 1 หมายถงึ ความสามารถในการทำโครงงานอยูใ่ นระดบั น้อยท่ีสดุ ตารางที่ 9 แสดงเกณฑก์ ารประเมินความสามารถในการทำโครงงาน ขน้ั ตอน เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน เตม็ การสอน ตัวชว้ี ัด 5 มากที่สุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) นอ้ ยทีส่ ุด (1) 5 1. การ การต้ังชือ่ ใชภ้ าษาชัดเจน ใชภ้ าษาชัดเจน ใชภ้ าษาชดั เจนกระชบั ใช้ภาษาไม่ชดั เจน ใช้ภาษาไม่ชัดเจน ไม่ เรื่อง กระชบั สอดคล้อง สอดคล้องกบั เร่ือง แตไ่ ม่สอดคล้องกบั แตก่ ระชับและ กระชบั แตส่ อดคลอ้ ง สำรวจค้นหา กบั เร่อื งได้อยา่ ง แตไ่ ม่กระชับ เร่อื ง สอดคลอ้ งกับ กบั เรอ่ื ง ปัญหา การเขยี น ถูกต้อง เรอ่ื ง ความสำคัญ ระบุปัญหาได้ ระบปุ ัญหาได้ชัดเจน ระบปุ ญั หาไมช่ ดั เจน ระบุปัญหาไมช่ ัดเจน 2. การ ชัดเจน สอดคลอ้ ง แตไ่ ม่สอดคลอ้ งกบั แตส่ อดคล้องกบั ระบปุ ญั หาไม่ แต่มคี วามสอดคลอ้ ง จุดประสงค์ กับเรื่องอย่าง เรอ่ื งอยา่ งถูกต้อง เร่ืองอย่างถูกต้อง ชัดเจนแตม่ ีความ กับเร่ือง วางแผน ใน การทำ ถูกต้อง สอดคลอ้ งกบั ระบุสง่ิ ท่ีตอ้ งการ ระบสุ ง่ิ ท่ตี ้องการ เรือ่ งในแนวทางท่ี ระบุสง่ิ ท่ีต้องการศกึ ษา คำถาม(สิ่งท่ี ระบสุ ง่ิ ทต่ี ้องการ ศึกษาเกยี่ วกบั ศกึ ษาเก่ียวกับ ถูกต้อง เก่ยี วกับโครงงานไม่ได้ นักเรียน ศึกษาเกีย่ วกบั โครงงานได้ชัดเจน โครงงานไมช่ ัดเจน ระบุสิง่ ทตี่ อ้ งการ และไมส่ อดคล้องกับ อยากร้หู รือ โครงงานไดช้ ดั เจน แต่ไมส่ อดคลอ้ งกับ แต่สอดคล้องกับ ศึกษาเกย่ี วกับ เรือ่ ง สมมติฐาน) สอดคล้องกบั เรอ่ื ง เร่ือง เรือ่ ง โครงงานไม่ ตัง้ คำถามได้ชัดเจน ต้ังคำถามไม่ชัดเจน ชัดเจนและไม่ ตงั้ คำถามไม่อยใู่ น ต้งั คำถามได้ชัดเจน ถูกต้องและอยู่ใน ถกู ต้อง สอดคลอ้ งกบั เรื่อง แนวทางที่ถูกตอ้ ง ถกู ต้อง แนวทางทีถ่ ูกตอ้ ง ต้ังคำถามไม่ ชดั เจนแต่อยูใ่ น แนวทางท่ถี ูกตอ้ ง

83 ตารางที่ 9 แสดงเกณฑ์การประเมินความสามารถในการทำโครงงาน (ต่อ) ข้นั ตอน ตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมนิ คะแนน การสอน มากทีส่ ุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) นอ้ ยทสี่ ดุ (1) เต็ม 3.การรวบรวม กระบวนการ ค้นควา้ จากแหล่งขอ้ มูล คน้ ควา้ จากแหล่งข้อมูล ค้นคว้าจาก คน้ ควา้ จาก คน้ คว้าจาก 5 ขอ้ มลู ค้นคว้าและ ท่หี ลากหลาย เกบ็ ท่หี ลากหลาย เกบ็ แหล่งข้อมูลท่ี แหลง่ ข้อมลู เก็บ แหล่งขอ้ มลู เก็บ 5 เก็บข้อมูล รวบรวมขอ้ มูลตรงตาม รวบรวมข้อมูลตรงตาม หลากหลาย เก็บ รวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูลไม่ 5 4. การลงมอื วัตถปุ ระสงค์ท่ตี ้องการ วัตถุประสงค์ท่ตี ้องการ รวบรวมขอ้ มูลตรง ตรงตาม ตรงตาม 5 ปฏบิ ตั ิ การ ศึกษาอย่างถูกต้อง ศึกษาอย่างถูกต้อง ตามวัตถุประสงค์ท่ี วตั ถปุ ระสงค์ วัตถุประสงค์ ดำเนินงาน ครบถว้ น ตอ้ งการศกึ ษา ระบุข้นั ตอนการ ระบุข้ันตอนการ ระบุขนั้ ตอนการ ระบุข้นั ตอนการ ระบุขั้นตอนการ ดำเนินงานอย่างชดั เจน ดำเนินงานอย่างชดั เจน ดำเนนิ งานอย่าง ดำเนินงานอย่าง ดำเนนิ งานไม่ และเปน็ ไปตามลำดบั และเปน็ ไปตามลำดบั ชัดเจนและเป็นไป ชดั เจนแต่ไม่ ชดั เจนไม่ตอ่ เน่ือง อย่างตอ่ เนื่อง ระบุ อย่างตอ่ เนื่องแต่ระบุ ตามลำดบั ไม่ตอ่ เนอื่ ง เป็นไปตามลำดับ และระบุอุปกรณ์ไม่ อุปกรณ์ไดค้ รบถ้วน อปุ กรณไ์ ม่ครบถว้ น และระบุอปุ กรณไ์ ม่ ไม่ต่อเนื่องและ ครบถว้ น ครบถว้ น ระบอุ ุปกรณ์ไม่ 5.การ ผลการสำรวจ บนั ทึกข้อมูลไดช้ ัดเจน บันทกึ ข้อมูลได้ชัดเจน ครบถว้ น บนั ทึกขอ้ มลู ไม่ วิเคราะห์ และค้นควา้ และถกู ต้อง และอยใู่ นแนวทางที่ บันทึกขอ้ มูลได้ บันทกึ ขอ้ มูลไม่ ชดั เจนและไม่อย่ใู น ข้อมูลและ ถูกต้อง ชดั เจนแต่ไม่อยูใ่ น ชัดเจนแต่อย่ใู น แนวทางทถี่ ูกต้อง สรุปผล สรุปผลการ สรปุ ผลได้ชัดเจน สรปุ ผลไดช้ ัดเจนอยู่ใน แนวทางทถ่ี ูกต้อง แนวทางทถ่ี ูกต้อง สรปุ ผลไมช่ ดั เจนไม่ สำรวจ ถูกต้องและสอดคลอ้ ง แนวทางทีถ่ ูกต้องและ สรุปผลไม่ชดั เจนแต่ สรปุ ผลไมช่ ัดเจน อยใู่ นแนวทางท่ี กับเรื่อง สอดคล้องกบั เรอ่ื ง อยใู่ นแนวทางที่ แต่อย่ใู นแนวทาง ถกู ต้องและไม่ ถกู ต้องและสอดคลอ้ ง ทีถ่ ูกต้องและไม่ สอดคลอ้ งกับเรือ่ ง 6. การ การรายงาน มีข้นั ตอนการนำเสนอ มีขนั้ ตอนการนำเสนอ กับเร่อื ง สอดคล้องกบั นำเสนอ ปากเปลา่ ได้ชัดเจนถูกตอ้ ง ไดช้ ัดเจนถกู ตอ้ งแต่ไม่ เรื่อง มขี ้ันตอนการ ผลงาน ครบถ้วน มีข้นั ตอนการนำเสนอ มขี ้ันตอนการ นำเสนอไม่ชดั เจน ครบถว้ น ไดช้ ดั เจนอยใู่ น นำเสนอได้ชัดเจน ไมอ่ ยู่ในแนวทางท่ี ตอบข้อคิดเห็นอยา่ ง แนวทางทถ่ี ูกตอ้ งแต่ แต่ไมอ่ ยใู่ น ถูกต้องและไม่ การตอบ ตอบข้อคิดเหน็ อย่าง ชัดเจนและอยูใ่ น ไม่ครบถ้วน แนวทางทีถ่ ูกต้อง ครบถ้วน ขอ้ คดิ เหน็ ชัดเจนและถกู ต้อง แนวทางทถี่ ูกต้อง และไม่ครบถ้วน ตอบข้อคิดเห็นไม่ ตอบขอ้ คิดเหน็ ยังไม่ ตอบข้อคิดเห็นไม่ ชัดเจนและไม่ ชัดเจนแตอ่ ยใู่ น ชดั เจนและไม่อยู่ ถกู ต้อง แนวทางที่ถูกต้อง ในแนวทางที่ ถกู ต้อง สำหรับการให้ความหมายของค่าที่วัด ผู้วิจัยกำหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการวิจัยโดยการให้ ค่าเฉล่ียผู้วิจัยกำหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการวจิ ัยโดยการใหค้ ่าเฉลี่ย (มาเรยี ม นลิ พันธ์,ุ 2558:196) ซึ่งมี คา่ เฉลย่ี ดังตารางท่ี 10

84 ตารางที่ 10 เกณฑ์การแปลความหมายการประเมนิ ความสามารถในการทำโครงงาน คา่ เฉล่ีย ระดบั การประเมินความสามารถในการทำโครงงาน 4.50 – 5.00 มากทส่ี ุด 3.50 – 4.49 มาก 2.50 – 3.49 ปานกลาง 1.50 – 2.49 นอ้ ย 1.00 – 1.49 นอ้ ยทส่ี ุด ข้ันตอนที่ 3 นำแบบประเมินความสามารถในการทำโครงงาน เสนอต่ออาจารย์ที่ ปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์เพอ่ื ตรวจสอบความถูกตอ้ งของการวดั ข้ันตอนที่ 4 นำแบบประเมินความสามารถในการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ให้ผู้เช่ียวชาญ 3 ท่าน ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านเน้ือหาวิทยาศาสตร์ ผู้เช่ียวชาญด้านการจัดกิจกรรม การเรียนรแู้ บบโครงงาน และผู้เชีย่ วชาญด้านการวดั และประเมินผล เพ่อื ตรวจสอบความถกู ต้องของ เนื้อหา (Content Validity) และความถูกต้องโดยการนำแบบประเมินไปหาค่าดัชนีความสอดคล้อง ของแบบประเมินความสามารถในการทำโครงงาน โดยคำนวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Objective Congruence : IOC) ผลการวิเคราะห์ค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.67 - 1.00 (ภาคผนวก ข: 127) ขั้นตอนที่ 5 ปรบั ปรงุ แบบประเมนิ ความสามารถในการทำโครงงาน โดยผเู้ ช่ียวชาญ แนะนำให้ใช้ภาษาที่ส่ือความหมายเพ่ือให้เข้าใจง่าย และมีความชัดเจน จากนั้นนำไปในำไปใช้ในการ วิจัย โดยประเมินความสามารถในการทำโครงงาน 2 สัปดาห์ต่อ 1 คร้ัง สรุปข้ันตอนการสร้างแบบ ประเมนิ ความสามารถในการทำโครงงาน ดังแผนภาพท่ี 5

85 ศึกษารปู แบบการสรา้ งแบบประเมนิ ความสามารถและกำหนดประเด็นการประเมินตามขั้นตอนการทำโครงงาน ซึ่งประกอบดว้ ย 6 ขัน้ คือ 1) การสำรวจคน้ หาปญั หา 2) การวางแผน 3) การรวบรวมข้อมูล 4) การลงมือปฏบิ ัติ 5) การวิเคราะห์ข้อมลู และสรุปผล และ 6) การนำเสนอผลงาน สรา้ งเกณฑ์การประเมินความสามารถในการทำโครงงาน สรา้ งแบบประเมนิ ความสามารถในการทำโครงงาน นำแบบประเมนิ ความสามารถในการทำโครงงานเสนอต่ออาจารย์ท่ีปรึกษาวทิ ยานพิ นธ์ นำแบบประเมนิ ความสามารถในการจดั การเรยี นรแู้ บบโครงงาน ให้ผเู้ ชี่ยวชาญ 3 ท่าน ตรวจสอบความถูกต้อง ของเนอ้ื หา (Content Validity)โดยคำนวณหาค่าดชั นีความสอดคล้อง (Index of Objective Congruence : IOC) ปรบั ปรงุ แกไ้ ขตามคำแนะนำของผเู้ ชีย่ วชาญ จากน้ันนำไปใชจ้ ริงกบั กลุ่มตวั อยา่ ง แผนภาพท่ี 5 ข้นั ตอนการสรา้ งแบบประมนิ ความสามารถในการทำโครงงาน 3.5 แบบสอบถามความคิดเหน็ ของนักเรยี นท่ีมตี ่อกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบโครงงาน ซึ่งเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ท่ีมีต่อการจัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดบั คือ 5 หมายถึง ความคดิ เห็นอยใู่ นระดับเห็นด้วยมากทีส่ ดุ 4 หมายถึง ความคิดเหน็ อย่ใู นระดับเหน็ ด้วยมาก 3 หมายถึง ความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยปานกลาง 2 หมายถึง ความคดิ เห็นอยใู่ นระดบั เหน็ ดว้ ยน้อย 1 หมายถงึ ความคิดเห็นอย่ใู นระดบั เหน็ ด้วยนอ้ ยทส่ี ุด

86 ข้อคำถามแบ่งเป็น 4 ประเด็น 1) ด้านเนื้อหาสาระ 2) ด้านการจัดการเรียนรู้แบบ โครงงาน 3) ดา้ นวดั ผลและประเมนิ ผล 4) ด้านประโยชน์ท่ีไดร้ ับ จำนวน 15 ขอ้ มขี ้นั ตอน ดังน้ี ข้ันตอนท่ี 1 ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบโครงงาน ขั้นตอนท่ี 2 สร้างแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการจดั กจิ กรรมการเรียนรแู้ บบ โครงงานโดยเกณฑ์การแปลระดับความคิดเห็นของเบสท์ (Best, 1981: 147, อ้างถึงใน กาญจนา วฒั นายุ 2544: 99) โดยแบบสอบถามความคดิ เหน็ แบ่งออกเปน็ 2 ตอน คอื ตอนที่ 1 ความเห็นของนักเรียนท่มี ตี ่อการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบโครงงานในดา้ น เนือ้ หาสาระ ดา้ นกิจกรรมการเรยี นรู้ ด้านวัดผลและประเมนิ ผล และด้านประโยชน์ทไี่ ด้รบั ตอนที่ 2 ความเห็นของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน นอกเหนือจากท่ีนักเรียนตอบแบบสอบถามตอนที่ 1 สำหรับการให้ความหมายของค่าท่ีวัด ผู้วิจัย กำหนดเกณฑ์ท่ีใชใ้ นการแปลผล ดงั ตารางที่ 11 ตารางท่ี 11 เกณฑ์การแปลความหมายระดับความคิดเห็นของนักเรียน ท่ีมีต่อการจัดกิจกรรม การเรยี นรู้แบบโครงงาน ค่าเฉลยี่ ระดับการประเมนิ คดิ เห็นของนกั เรยี นทีม่ ตี ่อการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบโครงงาน เหน็ ดว้ ยมากทสี่ ุด 4.50 – 5.00 3.50 – 4.49 เห็นด้วยมาก 2.50 – 3.49 เห็นดว้ ยปานกลาง 1.50 – 2.49 เหน็ ดว้ ยน้อย 1.00 – 1.49 เหน็ ด้วยน้อยทส่ี ุด ข้ันตอนท่ี 3 นำแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบโครงงานเสนอต่ออาจารย์ผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์ และผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน ได้แก่ ผู้เช่ียวชาญด้านเนื้อหาวิทยาศาสตร์ ผู้เช่ียวชาญด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน และ ผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผล เพ่ือตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหาตรวจสอบความ ถกู ต้องของเน้ือหา (Content Validity) โดยคำนวณหาค่าดชั นีความสอดคล้อง (Index of Objective Congruence : IOC) ผลการวิเคราะห์คา่ ดชั นีความสอดคล้องเท่ากบั 1.00 (ภาคผนวก ข: 128) ขน้ั ตอนท่ี 4 ปรับปรุงแบบสอบถามความคดิ เห็น โดยผ้เู ชย่ี วชาญแนะนำให้ใช้ภาษา ท่มี ีความชดั เจน เข้าใจงา่ ย เหมาะสมกับนกั เรยี น เพื่อความสมบูรณ์ของเคร่ืองมือท่ใี ช้ในการวิจยั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook