Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Guide Risk Management Mahidol University 140825

Guide Risk Management Mahidol University 140825

Published by lylgvhp_999, 2017-07-03 22:17:08

Description: Guide Risk Management Mahidol University 140825

Keywords: Guide Risk Management Mahidol University 140825

Search

Read the Text Version

คูม่ ือการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลยั มหิดล

คานา มหาวิทยาลยั มหิดลมีความมงุ่ มนั่ ท่ีจะก้าวไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก ด้วยการดาเนินพันธกิจทั้งด้านการศึกษา การวิจัยและการบริการวิชาการให้บรรลุเป้าหมาย ซ่ึงจากสภาพแวดล้อมทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การเมืองการแขง่ ขนั เป็นปัจจยั สาคญั ทส่ี ่งผลกระทบต่อองค์กร และการบริหารความเส่ียงเป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นเคร่ืองมือการบรหิ ารจัดการทมี่ คี ณุ คา่ เป็นส่วนหน่งึ ของกระบวนการกากบั ดแู ลกจิ การที่ดี มหาวิทยาลัยมหิดลได้พฒั นาระบบการบรหิ ารความเสี่ยงตามแนวปฏบิ ตั ิมาตรฐานสากล COSO - EnterpriseRisk Management - Integrated Framework -2004 ให้เกิดขึ้นทั่วทั้งองค์กร ซึ่งการบริหารความเสี่ยงจะเกิดประโยชน์สูงสดุ เมื่อทกุ หน่วยงานในมหาวทิ ยาลัยมีความเขา้ ใจตรงกนั มีการปฏบิ ตั ิตามแนวทางและขั้นตอนท่ีเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ดังน้ันมหาวิทยาลัยจึงจัดทาคู่มือการบริหารความเสี่ยงขึ้น ตามบริบทของมหาวิทยาลัยเพื่อให้ทุกหน่วยงานใชเ้ ปน็ แนวทางในการบรหิ ารจดั การความเสี่ยงของตนเอง ศูนยบ์ รหิ ารจัดการความเสี่ยง มหาวทิ ยาลยั มหิดล

โครงสรา้ งเน้ือหา หน้าสว่ นที่ 1 ความเสย่ี งระดับองคก์ ร 1  วัตถปุ ระสงค์ของการบริหารความเสย่ี ง 1  ความสาคญั และประโยชน์ของการบริหารความเสย่ี ง 2  นโยบายการบรหิ ารความเสีย่ งของมหาวิทยาลยั มหดิ ล 3  โครงสรา้ งการบรหิ ารความเส่ียง 4–6  หนา้ ทแ่ี ละความรับผดิ ชอบในการบริหารความเส่ยี ง 7  กรอบการบรหิ ารความเสยี่ ง 9ส่วนท่ี 2 แนวทางการบรหิ ารความเสย่ี ง 10  ความหมายและคาจากัดความท่ีเกยี่ วข้องกบั การบรหิ ารความเสยี่ ง 11  ขั้นตอนและกระบวนการบริหารความเส่ยี งของมหาวทิ ยาลยั มหิดล 11 12 – 13 - การกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ 14 - การระบุเหตุการณค์ วามเสยี่ ง 15 - การประเมินความเสี่ยง 17 - การตอบสนองความเสีย่ ง - การตดิ ตามประเมนิ ผลการบรหิ ารความเส่ยี ง ก–ข  การจดั ทารายงานการควบคมุ ภายในและการบรหิ ารความเสีย่ ง ค ง–ฉสว่ นที่ 3 แนวปฏิบัตใิ นการบรหิ ารความเส่ียงของมหาวิทยาลยั และส่วนงาน ช–ญภาคผนวก - คาอธิบายประเด็นทีเ่ ปน็ ตวั บง่ ชี้เหตุการณ์ - ตารางแสดงระดบั ความเส่ยี ง- เกณฑก์ ารวดั ผลกระทบ (Measuring Impact) และเกณฑ์การวดั โอกาสในการเกดิ (Measuring Likelihood) - ตัวอย่างการกรอกขอ้ มลู ในรายงานพร้อมคาอธบิ าย .............................................................

สว่ นท่ี 1 ความเส่ียงระดับองค์กร (Corporate Risk)

คูม่ ือการบริหารความเสี่ยง มหาวิทยาลยั มหดิ ล วตั ถปุ ระสงคข์ องการบริหารความเสยี่ ง มหาวิทยาลัยมหิดลได้กาหนดวัตถุประสงค์ของการบริหารความเส่ียงให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจและยุทธศาสตร์ ของมหาวิทยาลยั ดังน้ี 1. เพอื่ ให้มหาวทิ ยาลยั มีการบริหารจัดการทเ่ี ป็นไปตามหลักการกากับดูแลกิจการท่ดี ี 2. เพื่อให้มีการเฝ้าระวัง ป้องกัน และบริหารจัดการ เพ่ือลดโอกาสที่จะเกิดความรุนแรงของผลกระทบปัญหาอุปสรรคต่างๆ อันนาไปสู่ความสูญเสีย ความล้มเหลว และเป็นอุปสรรคต่อการบรรลุเป้าหมายของมหาวทิ ยาลยั 3. เพ่ือใหม้ กี ารตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผล อยา่ งเปน็ ระบบ ความสาคญั และประโยชน์ของการบริหารความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงเป็นองค์ประกอบของการกากับดูแลกิจการท่ีดีเพราะนอกจากจะสนับสนุนให้มหาวิทยาลยั สามารถดาเนินงานไดบ้ รรลุเปา้ หมายแล้ว ยังเปน็ การเพิม่ มูลค่าและความนา่ เชื่อถอื ให้แก่มหาวิทยาลัยให้ความม่ันใจในการดูแลและปกป้องทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย ให้ความมั่นใจต่อการปฏิบัติตามกฎหมายระเบยี บ และข้อบังคบั ตา่ งๆ เพิ่มประสทิ ธภิ าพของระบบงาน อันนาไปสู่ความย่ังยืนของมหาวทิ ยาลยั หน้า 1

คู่มือการบรหิ ารความเสีย่ ง มหาวิทยาลยั มหิดล ประกาศมหาวิทยาลัยมหดิ ล เรื่อง นโยบายการบริหารความเสย่ี งของมหาวิทยาลยั มหดิ ล ……………………………………………. เพ่ือให้การบริหารความเสย่ี งของมหาวิทยาลยั มหิดลเป็ นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลและสอดคล้องกับหลกั การกากับดูแลกิจการท่ีดี มีกระบวนการบริหารจัดการเหตุการณ์หรือความ ไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึน้ และกอ่ ให้เกิดความเสยี หายท่ีสง่ ผลกระทบตอ่ การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ของมหาวิทยาลยั อาศยั อานาจตามความในมาตรา 34 แหง่ พระราชบญั ญตั ิมหาวทิ ยาลยั มหดิ ล พ.ศ.2550 ประกอบกบัมติคณะกรรมการบริหารจดั การความเสี่ยงในการประชุมครัง้ ที่ 28 เม่ือวนั ท่ี 1 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2554 จึงกาหนดนโยบายการบริหารความเสยี่ งของมหาวิทยาลยั มหดิ ล ดงั ตอ่ ไปนี ้ 1. มหาวิทยาลยั มหิดลม่งุ มน่ั ท่ีจะดาเนินงานด้านการบริหารความเสี่ยงให้ทว่ั ทงั้ องค์กรและเป็ นไปตามแนวปฏิบตั ทิ ่ีดีและเป็ นสากล โดยคานงึ ถงึ มาตรฐานคณุ ภาพการศกึ ษา การวิจยั การบริการสขุ ภาพ และการบริการวิชาการ เพื่อการสร้างมลู คา่ เพ่ิมแก่องค์กร 2. ผ้บู ริหารและบุคลากรทุกคนจะต้องตระหนกั และให้ความสาคญั กับการบริหารจัดการเหตุการณ์ที่อาจสง่ ผลกระทบตอ่ การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ของมหาวิทยาลยั และสว่ นงาน ทงั้ ทเ่ี ป็ นความเสย่ี งและโอกาส โดยบริหารจัดการให้อยใู่ นระดบั ทยี่ อมรับได้ 3. มหาวิทยาลัยและส่วนงานจะต้ องติดตามและทบทวนเหตุการณ์ความเสี่ยงให้ สอดคล้ องกับสภาพแวดล้อมทงั้ ภายในและภายนอกทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงอยา่ งสม่าเสมอ 4. มหาวิทยาลยั และส่วนงานจะต้องถือว่าการบริหารความเส่ียงเป็ นสว่ นหนงึ่ ของกระบวนการปฏิบตั ิงานปกติ ประกาศ ณ วนั ที่ 14 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2554 ลงนามแลว้ อธิการบดมี หาวทิ ยาลยั มหดิ ล หน้า 2

ค่มู ือการบริหารความเส่ียง มหาวทิ ยาลัยมหิดล โครงสรา้ งการบรหิ ารความเสีย่ ง มหาวิทยาลัยมหิดลได้กาหนดโครงสร้างการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยเพื่อให้การบริหารความเส่ยี งเกดิ ขึ้นทวั่ ท้ังองคก์ ร มคี วามเป็นอสิ ระและมีการถ่วงดลุ อานาจกันอย่างเหมาะสม ดงั นี้ หน้า 3

คมู่ อื การบริหารความเสยี่ ง มหาวทิ ยาลัยมหิดล หนา้ ท่ีและความรบั ผดิ ชอบในการบริหารความเส่ียงบทบาท หน้าท่ีและความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการทีเ่ กีย่ วข้องกับการบรหิ ารความเส่ียงคณะกรรมการ บทบาท หนา้ ที่ และความรบั ผดิ ชอบค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร 1) พจิ ารณาและอนมุ ตั ินโยบาย กรอบและแนวทางการบรหิ ารความเสยี่ งของมหาวิทยาลัยบรหิ ารจดั การความ รวมถึงการทบทวนเป็นประจาและสม่าเสมอในนโยบาย แนวทาง และกรอบการบริหารเสี่ยงมหาวิทยาลัย ความเสย่ี ง เพือ่ ใหเ้ หมาะสมกับการเปลยี่ นแปลงของสภาพแวดลอ้ มตา่ ง ๆ 2) พจิ ารณากาหนดระดบั ความเส่ียงที่ยอมรับไดข้ องมหาวทิ ยาลัย 3) รับทราบและพิจารณาให้ความเห็นชอบในผลการประเมินความเส่ียงและการจัดการ ความเสย่ี งที่เหมาะสม ตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย 4) อนุมตั ิแผนการบรหิ ารความเสีย่ งของมหาวิทยาลยั 5) กากับดูแลและสนับสนุนให้การบริหารความเส่ียงเป็นส่วนหน่ึงของวัฒนธรรมในการ ปฏบิ ัตงิ าน 6) รายงานผลการดาเนินงานเกี่ยวกับความเส่ียงท่ีกระทบต่อเป้าหมายยุทธศาสตร์ต่อ คณะกรรมการตรวจสอบการบริหารงานประจามหาวทิ ยาลัย 7) กากบั ดแู ลระบบการควบคุมภายในค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร 1) พิจารณาและอนุมัตินโยบาย กรอบและแนวทางการบริหารความเส่ียงของส่วนงานบริหารจดั การความ รวมถึงการทบทวนเป็นประจาและสม่าเสมอในนโยบาย แนวทาง และกรอบการบริหารเสยี่ งสว่ นงาน ความเสี่ยง เพ่อื ให้เหมาะสมกบั การเปลยี่ นแปลงของสภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ 2) พจิ ารณากาหนดระดับความเสีย่ งท่ยี อมรับไดข้ องสว่ นงาน 3) รับทราบและพิจารณาให้ความเห็นชอบในผลการประเมินความเส่ียงและการจัดการ ความเสย่ี งท่เี หมาะสม ตามยุทธศาสตร์ของสว่ นงาน 4) อนุมัตแิ ผนการบรหิ ารความเสี่ยงของสว่ นงาน 5) กากับดูแลและสนับสนุนให้การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหน่ึงของวัฒนธรรมในการ ปฏิบัตงิ าน 6) รายงานผลการดาเนินงานเก่ียวกับความเสี่ยงท่ีกระทบต่อเป้าหมายยุทธศาสตร์ต่อ คณะกรรมการประจาคณะ 7) กากับดูแลระบบการควบคุมภายในค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร 1) ให้ความมั่นใจในประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการควบคุมภายในว่าได้มีการต ร ว จ ส อ บ ก า ร ดาเนินการเพอื่ จัดการความเส่ียงทัว่ ทั้งมหาวทิ ยาลยับริหารงานประจา 2) กากับดูแลและติดตามการบริหารความเสยี่ งอยา่ งเป็นอิสระมหาวทิ ยาลยั 3) สอื่ สารกบั คณะกรรมการบริหารจัดการความเส่ียง เพื่อให้เข้าใจความเส่ียงท่ีสาคัญและ เชือ่ มโยงกบั การควบคุมภายใน หน้า 4

คมู่ อื การบริหารความเสยี่ ง มหาวิทยาลยั มหิดลบทบาท หน้าท่ีและความรบั ผิดชอบ ของผู้กากับดูแล ผบู้ รหิ าร หนว่ ยงาน และผู้เกย่ี วขอ้ งกบั การบรหิ ารความเสีย่ ง ผู้เก่ียวขอ้ ง บทบาท หน้าที่ และความรับผดิ ชอบสภามหาวทิ ยาลยั มหิดล 1) ให้ความเห็นชอบเหตุการณ์ความเสี่ยงท่ีสาคัญและมาตรการการจัดการอธกิ ารบดี ความเสย่ี งท่ีอาจสง่ ผลกระทบต่อการบริหารงานของมหาวิทยาลยั(Corporate Risk Owner) 1) ติดตามความเสี่ยงท่ีสาคัญของทั้งมหาวิทยาลัย และทาให้ม่ันใจได้ว่ามี แผนการจัดการความเสี่ยงทเ่ี หมาะสมรองอธิการบดฝี า่ ย / 2) ส่งเสริมนโยบายการบริหารความเส่ียงและสร้างความม่ันใจว่าได้มีการผ้ชู ่วยอธิการบดีฝ่าย ปฏิบตั ิตามกระบวนการบริหารความเสยี่ งทัว่ ท้งั มหาวิทยาลยั(Risk Owner) 3) ส่งเสริม สนับสนุน และรับผิดชอบการจัดวางระบบการควบคุมภายในให้ มีประสิทธิภาพคณบดี/ผอู้ านวยการสว่ นงาน/ 1) ติดตามความเสี่ยงทางกลยุทธ์ ความเส่ียงด้านการปฏิบัติการ ความเส่ียงผอู้ านวยการกอง ด้านการเงิน ความเสี่ยงดา้ นการกากับดูแล และความเสี่ยงอื่นๆท่ีสาคัญในแต่(Risk Owner) ละภารกจิ และทาใหม้ น่ั ใจได้ว่ามแี ผนการจดั การความเสย่ี งที่เหมาะสม 2) ส่งเสริมวัฒนธรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้ม่ันใจว่าผู้บริหารส่วนหัวหน้างานและพนักงานทุกคน งาน/หน่วยงาน ให้ความสาคัญกับการบริหารความเสี่ยงในส่วนงาน /(Risk Officer) หน่วยงานของตน 3) สง่ เสริม สนับสนุน และรับผิดชอบการจัดวางระบบการควบคุมภายในให้ มปี ระสิทธิภาพ 1) ติดตามความเสย่ี งที่สาคัญของทงั้ สว่ นงาน และทาให้ม่ันใจได้ว่ามีแผนการ จดั การความเสยี่ งท่ีเหมาะสม 2) กากับดูแลให้การปฏิบัติงานของส่วนงานได้มีการประเมินความเสี่ยง บรหิ ารจดั การความเสีย่ ง และรายงานความเสีย่ งอย่างเพียงพอและเหมาะสม 3) ส่งเสริมบุคลากรในส่วนงานให้ตระหนักถึงความสาคัญของการบริหาร ความเส่ยี งและปฏบิ ตั ใิ ห้เปน็ สว่ นหน่งึ ของกระบวนการทางานปกติ 4) สง่ เสริม สนับสนุน และรับผิดชอบการจัดวางระบบการควบคุมภายในให้ มีประสิทธภิ าพ 1) ระบุเหตุการณ์ความเสี่ยง ประเมินการควบคุม และรายงานความเส่ียงท่ี เก่ียวข้องกบั การปฏบิ ัติงานต่อผบู้ งั คับบญั ชาระดับเหนอื ขน้ึ ไปตามลาดบั ชน้ั 2) มสี ่วนร่วมในการกาหนดวธิ ีการจัดการความเสี่ยงและนาไปปฏบิ ตั ิ 3) ดาเนินการตามแนวปฏิบัติของระบบการควบคุมภายในในภาระงานท่ี เกย่ี วข้อง หน้า 5

ผเู้ ก่ยี วข้อง คูม่ ือการบรหิ ารความเสยี่ ง มหาวิทยาลัยมหดิ ลศนู ย์บริหารจดั การความเสยี่ ง บทบาท หนา้ ท่ี และความรับผิดชอบศนู ยต์ รวจสอบภายใน 1) นาเสนอนโยบาย กรอบ และกระบวนการบริหารความเส่ียงต่อคณะ กรรมการบริหารจดั การความเสี่ยงเพอื่ พจิ ารณาอนุมตั ิ 2) ประสานงาน ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาให้ทุกส่วนงานดาเนินการ บรหิ ารความเสี่ยงตามนโยบายและกรอบแนวทางที่มหาวิทยาลยั กาหนด 3) จัดให้มีเครื่องมือและวิธีการเพื่อสนับสนุนการประเมินความเส่ียงที่มี ประสิทธภิ าพ 4) วิเคราะห์และประเมินความเพียงพอเหมาะสมของกระบวนการบริหาร ความเสี่ยง และเสนอแนะแนวทางเพอ่ื ทบทวนกระบวนการบริหารความเสี่ยง 5) ติดตามและเปรียบเทียบผลการบริหารจัดการความเส่ียง เพ่ือเสนอแนว ทางการปรับปรุงและพัฒนาต่อคณะกรรมการบริหารจัดการความเสี่ยงและผู้ ทเ่ี กยี่ วข้อง 6) จัดให้มีช่องทางการส่ือสารข้อมูลความเสี่ยงและระบบการบริหารความ เส่ียงใหก้ บั หนว่ ยงานอ่ืนๆท่เี กย่ี วขอ้ ง 7) สื่อสารและประสานงานกับหน่วยงานอื่นท่ีเก่ียวข้อง เช่น หน่วยงาน ยุทธศาสตร์ หน่วยงานคุณภาพ เพ่ือการเช่ือมโยงระบบงานและข้อมูลเพื่อ การวางแผนยทุ ธศาสตร์และการบรหิ ารงานของมหาวิทยาลยั 8) ส่ือสารและประสานงานกับศูนย์ตรวจสอบภายใน เพ่ือเชื่อมโยงข้อมูล ความเสี่ยงเพื่อการวางแผนการตรวจสอบภายใน 9) จดั วางและให้คาปรกึ ษาระบบการควบคมุ ภายใน 1) ให้ความมนั่ ใจในประสทิ ธิภาพประสิทธิผลของการควบคุมภายในที่ใช้เพื่อ ลดความเสีย่ ง 2) ให้ความม่ันใจว่ามีการนาระบบการบริหารความเส่ียงมาปรับใช้อย่าง เหมาะสมและมีการปฏิบัติทวั่ ทัง้ มหาวิทยาลยั 3) สอบทานการปฏิบัติงานของหนว่ ยงานบรหิ ารความเสี่ยง 4) ประสานงานกับหน่วยงานบริหารความเสี่ยงเพ่ือทาความเข้าใจและวาง แผนการตรวจสอบตามฐานความเสย่ี ง(Risk Based Audit) หนา้ 6

คมู่ ือการบรหิ ารความเสีย่ ง มหาวิทยาลัยมหิดลกรอบการบรหิ ารความเสย่ี ง หน้า 7

คูม่ ือการบริหารความเส่ยี ง มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล สว่ นที่ 2แนวทางการบริหารความเสยี่ ง หนา้ 8

ค่มู ือการบรหิ ารความเส่ยี ง มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ความหมายและคาจากดั ความที่เกีย่ วข้องกับการบรหิ ารความเส่ยี ง ความเสี่ยง (Risk) หมายถึง ความไม่แน่นอนของเหตุการณ์ท่ีอาจเกิดข้ึนแล้วส่งผลให้องค์กรไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ซึ่งปัจจัยท่ีทาให้เกิดข้ึนอาจมาจากทั้งปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกมหาวิทยาลัย เช่น การเปลยี่ นแปลงนโยบายภาครัฐ การขยายตัวหรือการหดตัวทางเศรษฐกิจ ความผันผวนทางการเงิน ความต้องการของผ้รู บั บริการ เป็นตน้ โอกาส (Opportunity) หมายถึง ความไม่แน่นอนของเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นแล้วส่งผลในเชิงบวกท่ีสง่ เสรมิ การรักษาและเพม่ิ มลู ค่าให้กบั องค์กร การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) หมายถึง กระบวนการซ่ึงถูกกาหนดขึ้นเพ่ือให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร และบุคลากรขององค์กรนาไปใช้ในการกาหนดกลยุทธ์และปฏิบัติงาน ซ่ีงกระบวนการดังกล่าวได้รับการออกแบบให้สามารถบ่งช้ีเหตุการณ์ท่ีอาจเกิดข้ึน ประเมินผลกระทบ และกาหนดวิธีการจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับท่ียอมรับได้ เพ่ือให้เกิดความเช่ือมั่นในระดับหน่ึงว่าการดาเนินงานในองค์กรจะบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ตามท่ีตง้ั เปา้ หมายไว้ การบริหารความเส่ียงองค์กรโดยรวม (Enterprise wide Risk Management) คือ การบริหารความเส่ียงโดยมีโครงสร้างองค์กร กระบวนการ และวัฒนธรรมองค์กร ประกอบเข้าด้วยกัน ผสมผสานเป็นส่วนหน่ึงของธุรกิจ สามารถนาไปใช้ร่วมกับส่วนอื่นๆในการบริหารองค์กร เช่น การวางแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาคุณภาพ เป็นต้น พิจารณาความเสี่ยงครอบคลุมท่ัวท้ังองค์กร และทุกคนในองค์กรต้ังแต่คณะกรรมการ ผู้บริหารทุกระดับ และพนกั งานทกุ คนมสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารความเส่ียง หน้า 9

คูม่ ือการบริหารความเส่ียง มหาวิทยาลยั มหิดล ขัน้ ตอนและกระบวนการบริหารความเส่ยี งของมหาวิทยาลยั มหิดลมหาวิทยาลัยมหดิ ลกาหนดข้ันตอนและกระบวนการบริหารความเส่ยี งไว้ 5 ข้นั ตอน ดังน้ี1. การกาหนดวตั ถุประสงค์ (Objective Setting) ส่วนงานต้องกาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายการดาเนินงานที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตรข์ องมหาวิทยาลยัในการกาหนดวตั ถุประสงค์จะตอ้ งคานงึ ถึงหลกั SMART คอืSpecific : มคี วามชัดเจนMeasurable : สามารถวดั ได้Achievable : สามารถปฏิบตั ไิ ด้Reasonable : มคี วามสมเหตสุ มผลTime constrained : มกี รอบเวลา หน้า 10

คู่มอื การบรหิ ารความเสี่ยง มหาวทิ ยาลยั มหิดล2. การระบุเหตุการณ์ความเสยี่ ง (Risk Event Identification) เป็นการค้นหาว่ามีเหตุการณ์ความเส่ียงใดบ้างท่ีอาจเกิดข้ึนแล้วมีผลกระทบต่อวัตถุประสงค์และเป้าหมายของมหาวิทยาลยั โดยพจิ ารณาจากปจั จัยท้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ซึง่ จาแนกความเสี่ยงเปน็ 4 ดา้ น คือ - ความเส่ียงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) เป็นความเส่ียงท่ีเกิดจากการกาหนดกลยุทธ์ หรือปัจจัยต่างๆท่ีทาใหม้ หาวิทยาลยั ไม่สามารถบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายได้ ตัวอย่างความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ได้แก่ การวางแผนกลยุทธ์ไม่สอดรับกับความต้องการของตลาด แผนกลยุทธ์ไม่สามารถนาไปปฏิบัติได้จริง ขาดแคลนทรัพยากรสาคัญในการขับเคลื่อนแผนกลยุทธ์ให้สาเร็จ เช่น คน เงินเครือ่ งมอื เปน็ ตน้ - ความเส่ียงด้านปฏิบัติการ (Operational Risk) เป็นความเสี่ยงที่เกิดจากกระบวนการปฏิบัติงานท่ีส่งผลต่อประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลในการดาเนนิ งาน ตัวอย่างความเส่ียงด้านปฏิบัติการ ได้แก่ การดาเนินโครงการล่าช้า/ล้มเหลว วัสดุ/อุปกรณ์/เคร่ืองมือ ท่ีใช้ในการดาเนนิ งานขาดประสทิ ธภิ าพ - ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk) เป็นความเส่ียงทางด้านการเงินท่ี ทาให้องค์กรไม่บรรลุวัตถปุ ระสงค์ รวมถึงขอ้ มูลและการรายงานทีถ่ ูกตอ้ งที่นาไปสกู่ ารตัดสินใจของผบู้ ริหาร ตวั อย่างความสยี่ งด้านการเงิน ได้แก่ การขาดสภาพคล่องทางการเงิน รายได้ไม่เพียงพอต่อการดาเนินงานใหเ้ ป็นไปอย่างต่อเนื่อง ขอ้ มูลสาคญั ผดิ พลาดคลาดเคลอื่ น ขาดทนุ จากการลงทุน - ความเส่ยี งด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (Compliance Risk) เป็นความเส่ียงที่เกิดจากการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่ง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติท้ังของมหาวิทยาลัยและของหน่วยงานภายนอก รวมถึง การทีก่ ฎ ระเบียบ ที่ถูกกาหนดขึน้ ไมช่ ดั เจนตอ้ งใชด้ ุลยพินจิ หรือการตคี วาม3. การประเมินความเส่ียง (Risk Assessment) เป็นการประเมินเพ่ือหาระดับความเสี่ยงโดยพิจารณาจากโอกาสในการเกิดเหตุการณ์ความเส่ียงและผลกระทบด้านต่างๆที่มหาวิทยาลัยได้รับ โดยการประเมินให้ใช้เกณฑ์ท่ีมหาวิทยาลัยกาหนดหรือเกณฑ์ท่ีส่วนงานกาหนดข้นึ เองภายใต้บริบทของส่วนงานแต่ควรให้สอดรับกับเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย ซ่ึงการประเมินจะใช้ข้อมูลในอดีตและการคาดการณใ์ นอนาคตมาพิจารณาร่วมกนั โอกาสเกิด (Likelihood) หมายถึง ความถ่ีของการเกิดเหตุการณ์ความเส่ียงว่ามีโอกาสเกิดขึ้นมากน้อยเพยี งใด ผลกระทบ (Impact) หมายถึง ความรุนแรงของเหตุการณ์ความเสี่ยงท่ีหากเกิดข้ึนแล้วจะส่งผลกระทบในด้านต่างๆ ซ่ึงผลกระทบน้ันพิจารณาได้ทั้งเชิงปริมาณ ได้แก่ ผลเสียหายด้านการเงิน และผลกระทบเชิงคุณภาพได้แก่ ช่ือเสียงภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของบุคลากรและนักศึกษา และประสิทธิผลของการดาเนนิ งาน หนา้ 11

คู่มอื การบรหิ ารความเส่ียง มหาวิทยาลยั มหิดล ความเส่ยี งทีย่ อมรบั ได้ (Risk Appetite) คือ เหตุการณค์ วามไม่แน่นอนที่มหาวิทยาลัยยอมรับให้เกิดขึ้นและคงอยู่โดยท่ีภารกิจของมหาวิทยาลัยยังดาเนินไปโดยบรรลุเป้าหมายได้ ท้ังน้ี มหาวิทยาลัยได้กาหนดขอบเขตความเสี่ยงทยี่ อมรับไดใ้ นระดับตา่ งๆตามตารางแสดงระดบั ความเส่ยี งท่ีแสดงไว้ในภาคผนวก การจัดลาดับความเส่ียง เป็นการพิจารณาความเส่ียงภายใต้มิติของโอกาสเกิดและผลกระทบ ซ่ึงการป ร ะ เ มิ น ผ ล กร ะท บ จ ะต้ อ ง พิ จ า ร ณ า ผ ล กร ะท บ ทุก ด้ า น แ ล้ ว เ ลื อ กผ ล ก ร ะท บ ที่ ส อ ด ค ล้ อง กับ วั ต ถุป ร ะส ง ค์ ขอ งมหาวทิ ยาลยั โดยอา้ งอิงกบั ตารางเกณฑ์ผลกระทบที่แสดงไวใ้ นภาคผนวกหากระดบั คา่ คะแนนทง้ั โอกาสเกิดและผลกระทบของความเส่ียงใดไม่อยู่ในระดับความเสี่ยงท่ียอมรับได้ ให้นาความเสย่ี งนน้ั ไปวางแผนบริหารจัดการโดยคานึงถงึ ตน้ ทนุ ท่ีใช้ในการจดั การกบั คุณคา่ หรอื ผลประโยชน์ที่จะไดร้ ับดว้ ย4. การตอบสนองความเสยี่ ง (Risk Response) เป็นการเลอื กแนวทางการจดั การความเส่ียงด้วยลักษณะใดลกั ษณะหน่ึงหรือผสมผสานกัน ดงั นี้ 1) การยอมรับความเส่ียง (Accept) เป็นการท่ีมหาวิทยาลัยไม่ต้องดาเนินกิจกรรมใดๆเพิ่ม ใช้วิธีการควบคุมท่มี อี ย่เู ดิมในระดับความเสยี่ งทมี่ หาวิทยาลยั ยอมรบั ได้ 2) การลดความเส่ียง (Reduce) เป็นการดาเนินการเพิ่มเติมเพ่ือลดโอกาสเกิดหรือผลกระทบของความเส่ยี งใหอ้ ยู่ในระดับทม่ี หาวทิ ยาลยั ยอมรบั ได้ ตัวอย่างการลดความเสีย่ ง เชน่ การปรบั ปรงุ ระบบและกระบวนการทางาน การพัฒนาความรู้ความสามารถบคุ ลากร เป็นตน้ 3) การหลีกเลย่ี ง (Avoid) เปน็ การยกเลกิ หรือหลีกเลี่ยงกจิ กรรมที่ก่อใหเ้ กดิ ความเส่ียง ในการใช้กลยุทธ์นี้อาจต้องพจิ ารณาดว้ ยวา่ หากหลีกเลยี่ งการดาเนนิ กจิ กรรมแลว้ มหาวทิ ยาลัยยังคงสามารถบรรลุเป้าหมายท่ีกาหนดไว้หรอื ไม่ ตวั อย่างการหลีกเลยี่ งความเสย่ี ง เชน่ การปรับหรอื เปลย่ี นเป้าหมาย การหยุดหรือยกเลกิ กิจกรรม เป็นตน้ 4) การถ่ายโอนความเสี่ยง (Sharing) เป็นการแบ่ง การโอนย้าย หรือกระจายความเสี่ยงให้กับบุคคลหรือองคก์ รอื่น ตัวอย่างการถ่ายโอนความเสี่ยงเช่น การทาประกันภัย การจ้างเหมาบริการบุคคลภายนอกในการซ่อมแซมบารงุ รักษา การจ้างเหมาทาความสะอาด การจา้ งเหมาดูแลความปลอดภยั เป็นต้น ในการประเมินทางเลือกของแต่ละกลยุทธ์ในการจัดการความเสี่ยง ผู้บริหารส่วนงานจะต้องประเมินจากปัจจัยหลัก 2 ประการ คอื - ความคุ้มค่าของต้นทุนส่วนเพิ่มท่ีใช้ในการบริหารจัดการและผลตอบแทนที่ได้รับกลับคืนมายัง มหาวิทยาลัย - ความเปน็ ไปไดข้ องประสทิ ธิผลและความสาเร็จในการบรหิ ารจดั การ หน้า 12

คูม่ ือการบริหารความเส่ียง มหาวิทยาลยั มหิดล เมื่อเลือกกลยุทธ์ในการจัดการความเสี่ยงแล้ว สามารถนาไปจัดทาแผนเพื่อกาหนดกิจกรรมการควบคุม(Control Activities) ข้ันตอนการปฏิบัติ (Procedure) เจ้าของความเส่ียงท่ีรับผิดชอบในการปฏิบัติ (Risk Owner)รวมถึงระยะเวลาแล้วเสรจ็ กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) เป็นกิจกรรมที่กาหนดข้ึนเพ่ือจัดการความเส่ียงให้เพียงพอและเหมาะสมกับระดบั ความเสี่ยง มกี ารจดั กลุ่มของกจิ กรรมควบคุมออกเป็น 4 แบบดงั นี้ 1. การควบคุมแบบป้องกัน (Preventive control) เป็นกิจกรรมที่กาหนดขึ้นเพ่ือป้องกันหรือลดความเสี่ยงทั้งลดโอกาสในการเกดิ และลดผลกระทบท่จี ะไดร้ ับตวั อยา่ งการควบคุมแบบป้องกัน ได้แก่ การติดตั้งอุปกรณ์เตือนภัย การจัดให้มีเวรยามรักษาความปลอดภัย การแบง่ แยกหน้าทเี่ จ้าหน้าทก่ี ารเงนิ และเจ้าหนา้ ท่บี ัญชอี อกจากกัน การฝึกอบรมบุคลากร 2. การควบคุมแบบค้นพบ (Detective control) เป็นกิจกรรมที่กาหนดขึ้นเพื่อให้สามารถค้นหาความผิดพลาดหรือความเสียหายท่ีเกดิ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว เพื่อนาไปส่กู ารแก้ไขได้ทันเวลาตัวอยา่ งการควบคุมแบบคน้ พบ ได้แก่ การตรวจนับเงนิ สดและทรพั ย์สนิ การสอบทานการปฏิบัติงาน การกระทบยอดเงินฝากธนาคาร การตรวจสอบกล้องวงจรปิด 3. การควบคุมแบบแก้ไข (Corrective Control) เป็นกิจกรรมที่กาหนดข้ึนเพ่ือแก้ไขข้อผิดพลาดที่เคยเกดิ ขึน้ แล้วให้ถูกต้อง หรอื ไมใ่ หเ้ กดิ ซา้ตัวอยา่ งการควบคุมแบบแกไ้ ข ไดแ้ ก่ การสารองขอ้ มลู การจัดหาเคร่อื งสารองไฟฉกุ เฉนิ 4. การควบคุมแบบส่งเสริม (Directive control) เป็นกิจกรรมที่กาหนดข้ึนเพื่อจูงใจหรือกระตุ้นให้เกิดความสาเรจ็ ตามวัตถุประสงค์ตัวอย่างการควบคุมแบบส่งเสริม ได้แก่ การให้รางวัลเชิดชูเกียรติต่างๆ การมอบประกาศเกียรติคุณ การจ่ายคา่ ตอบแทนพิเศษข้อเสนอแนะประกอบการพจิ ารณาเลือกแนวทางในการจดั การความเสี่ยง  กรณีผลการประเมินความเสี่ยงอยู่ในโซนสีแดงท่ีมีระดับความเสี่ยงสูงมาก ส่วนงานอาจใช้วิธีการหลีกเล่ียง ความเส่ียง หรือหากไมส่ ามารถหลีกเลี่ยงได้จาเป็นต้องจัดการความเส่ียงเป็นการเร่งด่วนด้วยวิธีการลดหรือ ถ่ายโอนความเสย่ี ง เพือ่ ให้ไดร้ ับผลกระทบนอ้ ยทีส่ ดุ และควรมกี ารติดตามผลรายเดอื นหรือรายไตรมาส  กรณีผลการประเมินความเสี่ยงอยู่ในโซนสีส้มที่มีระดับความเส่ียงสูง ส่วนงานควรใช้วิธีการลดความเส่ียง ด้วยการปรับปรุงระบบการควบคุมภายในทม่ี ีอยู่ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ และควรมกี ารตดิ ตามผลทุก 6 เดือน  กรณีผลการประเมินความเส่ียงอย่ใู นโซนสีเหลอื งและสีเขียวที่ระดับความเส่ียงปานกลางถึงต่า ส่วนงานควร ใช้วธิ ีการยอมรบั ความเส่ียงไว้ แต่ใหเ้ ฝ้าระวังโดยติดตามทุก 6 เดือนหรือปลี ะคร้ัง หนา้ 13

คมู่ อื การบริหารความเส่ียง มหาวิทยาลยั มหดิ ล5. การติดตามประเมินผลการบริหารความเสีย่ ง (Monitoring) เป็นการติดตามผลการปฏิบัติตามแผนบริหารจัดการความเส่ียงเพื่อให้ม่ันใจว่าการจัดการความเสี่ยงมีประสิทธิภาพ มีความเหมาะสม หรือควรปรับเปล่ียนหากแผนนั้นไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ การติดตามผลควรดาเนินการโดยผู้บริหารและบุคลากรภายในส่วนงานเอง ในบางกรณีอาจให้ท่ีปรึกษา หรือผู้เช่ียวชาญอิสระจากภายนอกส่วนงานชว่ ยในการตดิ ตามเปน็ คร้งั คราวได้ มหาวิทยาลัยกาหนดให้มีการรายงานประสิทธิภาพและประสิทธิผลของแผนบริหารจัดการความเสี่ยงต่อคณะกรรมการบริหารจัดการความเส่ียงของมหาวทิ ยาลยั ทกุ 6 เดือนหรอื ปลี ะ 2 ครั้งโดย - ครง้ั ที่ 1 เป็นการติดตามผลการดาเนินงานต้ังแต่เดือนตุลาคม-มีนาคม และจัดส่งรายงานภายในเดือน เมษายน - คร้ังที่ 2 เป็นการติดตามผลการดาเนินงานต้ังแต่เดือนเมษายน-กันยายน และจัดส่งรายงานภายใน เดอื นตุลาคม สาหรับส่วนงานสามารถกาหนดความถี่ในการติดตามทุก 1 เดือน 3 เดือน หรือ 6 เดือน ก็ได้ อย่างไรก็ตามสว่ นงานจะต้องจัดส่งรายงานผลการติดตามไปยังมหาวิทยาลัยทุก 6 เดอื น หนา้ 14

คู่มอื การบรหิ ารความเสีย่ ง มหาวิทยาลัยมหิดล การจดั ทารายงานการควบคมุ ภายในและการบริหารความเสย่ี งมหาวทิ ยาลยั กาหนดใหส้ ว่ นงานจัดทารายงานการบรหิ ารความเส่ียงเพื่อให้มน่ั ใจว่าเปน็ 4 รายงาน ดังน้ี 1. หนังสอื รบั รองการควบคุมภายในของผูบ้ ริหารระดบั สว่ นงาน เปน็ การสรุปใหเ้ ห็นถึงความเส่ียงสาคัญท่ีส่วนงานจะต้องบริหารจัดการ รวมถึงจุดอ่อนของระบบการควบคมุ ภายในภายในส่วนงานทจี่ ะตอ้ งทาการปรับปรุง 2. แบบ Checklist การประเมินองค์ประกอบของการควบคมุ ภายใน เปน็ การประเมินสภาพแวดลอ้ มภายในสว่ นงานว่ามีประเด็นใดท่ียังดาเนินการไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ซึ่งจะต้องดาเนินเพิม่ เตมิ ให้ครบถ้วนต่อไป 3. รายงานการวิเคราะห์เหตุการณ์ความเส่ียงและการประเมินความเสีย่ ง เป็นการค้นหาปัจจัยและสาเหตุของความเส่ียง ทบทวนการควบคุมภายในที่มีอยู่ และประเมินความรนุ แรงของผลกระทบกับความถี่ของการเกิด เพ่ือหาแนวทางการบริหารจดั การ 4. แผนปฏบิ ตั กิ ารและรายงานผลการบรหิ ารจดั การความเส่ียง เป็นการนาความเสี่ยงที่ประเมินแล้วพบว่ามีระดับความเสี่ยงสูงมากมากาหนดแนวทางการบริหารจัดการและกาหนดกจิ กรรมทตี่ ้องดาเนนิ การ กาหนดผรู้ ับผดิ ชอบ และชว่ งเวลาในการดาเนนิ การ (ตวั อยา่ งพร้อมคาอธบิ ายประกอบการรายงานแสดงไวใ้ นภาคผนวก) หน้า 15

ค่มู อื การบริหารความเส่ียง มหาวทิ ยาลยั มหิดล ส่วนท่ี 3แนวปฏิบตั ใิ นการบริหารความเส่ียงของมหาวทิ ยาลัยและส่วนงาน หน้า 16

คู่มือการบรหิ ารความเสย่ี ง มหาวทิ ยาลัยมหิดล แนวปฏิบัติในการบรหิ ารความเสยี่ งของมหาวทิ ยาลัยและสว่ นงาน มหาวทิ ยาลัยไดน้ ากรอบการบรหิ ารความเสี่ยงองค์กรเชิงบูรณาการ (Enterprise Risk Management –Integrated Framework) ตามแนวทางCOSO ERM มาประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการบริหารความเส่ียงของมหาวิทยาลัย โดยได้กาหนดให้ควรมีการวิเคราะห์และประเมินความเส่ียงให้ครอบคลุมอย่างน้อย 4ดา้ น คือ ด้านกลยทุ ธ์ ดา้ นปฏิบัติการ ด้านการเงินและการรายงาน ดา้ นการปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ นอกจากนั้นยังแบง่ ระดับของการบรหิ ารความเสยี่ งเปน็ 5 ระดับ คือ 1. University Level Strategic Risk เป็นการบริหารความเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัยที่มีผลกระทบต่อยุทธศาสตร์ของมหาวทิ ยาลยั 2. Short-Term Risk เปน็ การบริหารความเสยี่ งทเี่ กิดขึ้นภายในระยะเวลา 1 ปี 3. Business Unit Risk เป็นการบรหิ ารความเส่ียงท่ีเกิดขึ้นภายในสว่ นงาน 4. Project Risk เป็นการบริหารความเส่ยี งท่ีสง่ ผลกระทบต่อความสาเร็จของโครงการ โดยถือเป็นส่วนหน่ึงของการวางแผนโครงการ 5. Functional Risk เปน็ การบริหารความเสยี่ งระดบั กิจกรรม โดยถอื เปน็ สว่ นหนึ่งของกระบวนการทางานตามปกติ หนา้ 17

คมู่ อื การบรหิ ารความเส่ียง มหาวิทยาลยั มหิดลกระบวนการ ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติ ผู้รบั ผิดชอบ1. การจัดโครงสร้างการ - แต่งต้ังคณะกรรมการบริหารความเส่ียง อธิการบดีโดยคาแนะนาของทีมบ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง ข อ ง มหาวทิ ยาลัย บรหิ ารมหาวิทยาลัยและสว่ นงาน - แต่งตงั้ คณะกรรมการ/คณะทางานบริหารความ คณบดี/ผู้อานวยการ ส่วนงาน เส่ียงสว่ นงาน โดยคาแนะนาของคณะกรรม การประจาคณะ2.วางกรอบแนวทางการ - กาหนดนโยบายการบรหิ ารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารจัดการบรหิ ารความเสย่ี ง - กาหนดแนวปฏิบตั แิ ละรปู แบบการรายงาน ความเสี่ยงมหาวิทยาลัย - กาหนดระดับการยอมรับความเสี่ยง - กาหนดเกณฑ์การวัดผลกระทบและโอกาสใน การเกิดระดบั มหาวทิ ยาลยั - กาหนดเกณฑ์การวัดผลกระทบและโอกาสใน คณะกรรมการบริหารจัดการ การเกดิ ระดับสว่ นงาน ความเสี่ยงส่วนงานโดยความ เห็นชอบ3. การระบุเหตุการณ์ที่บ่งชี้ว่า - ระดับมหาวิทยาลัย พิจารณาตามยุทธศาสตร์ คณะกรรมการบริหารจัดการจะเป็นความเสีย่ ง ของมหาวิทยาลยั ความเส่ียงมหาวิทยาลัยโดย คาแนะนาของรองอธิการบดี ฝ่าย - ระดับส่วนงาน พิจารณาตามยุทธศาสตร์ของ คณะกรรมการบริหารจัดการ ส่วนงาน ความเสี่ยงส่วนงาน4. การประเมนิ ความเส่ียง - ระดับมหาวิทยาลัย พิจารณาจากข้อมูลในอดีต เจ้าของผู้รับผิดชอบความเสี่ยง สถานการณ์ปัจจุบัน และการคาดการณ์ใน (Risk Owner) โดยความเห็น อนาคต ชอบจากคณะกรรมการบริหาร ความเสย่ี งมหาวทิ ยาลัย - ระดับส่วนงาน พิจารณาจากข้อมูลในอดีต เจ้าของผู้รับผิดชอบความเส่ียง สถานการณ์ปัจจุบัน และการคาดการณ์ใน (Risk Owner) โดยความเห็น อนาคต ชอบจากคณะกรรมการ บริหาร ความเสีย่ งส่วนงาน หน้า 18

ภาคผนวก

คมู่ ือการบริหารความเส่ยี ง มหาวทิ ยาลัยมหดิ ลคาอธบิ ายความหมายและความสาคัญของปัจจัยภายนอก ประเด็น ความหมายปัจจยั ภายนอก ความเสี่ยงเน่ืองจากการเปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อมในการดาเนินงานของ(External Factor) มหาวิทยาลัย เช่น ปจั จัยผลกระทบจากนโยบายภาครัฐ เศรษฐกิจ การเมืองท้ังจากใน และต่างประเทศ ท่ีส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการดาเนินงานของนโยบายภาครฐั มหาวิทยาลัย เป็นต้น การเปลย่ี นแปลงนโยบายของภาครัฐที่เกยี่ วกับการวิจัย การศกึ ษา การบริการสุขภาพเศรษฐกิจ การให้บริการวิชาการ การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และอื่นๆที่มีผลต่อการบรรลุกฎหมาย วัตถุประสงคข์ องมหาวิทยาลัยงบประมาณ การเปล่ียนแปลงของภาวะเศรษฐกจิ ทงั้ ในและต่างประเทศ ได้แก่ การเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อ อัตราการว่างงาน ค่าครองชีพ การเหล่ือมล้าทางเศรษฐกิจการเมือง รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของภาวะอุตสาหกรรม การแก้ไข ยุบเลกิ กฎหมายที่เก่ียวกับการจัดการศึกษา เช่น พระราชบัญญัติ พระราชสงั คม ชุมชน กฤษฎกี า เป็นต้นเครอื ข่าย NGO การเปลี่ยนแปลงของงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรจากภาครัฐ ส่งผลกระทบต่อการโครงสรา้ งประชากร บรหิ ารงานของมหาวทิ ยาลัย การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่เกิดข้ึนจากการขัดแย้งของพรรคการเมืองต่างๆการแข่งขัน รวมถึงกลุ่มความคิดในสังคม ทาให้เกิดความไม่แน่นอนและความไม่ต่อเน่ืองของการ บริหารประเทศ ส่งผลต่อการบริหารงานของมหาวิทยาลัยที่ต้องตอบสนองต่อการ ขัดแย้งทางความคิดของกลุ่มคนในสังคมและความต้องการของพรรคการเมืองที่ บริหารประเทศ ความคดิ เห็น/ความรสู้ ึก ทัศนคติและวัฒนธรรมของสังคม ชุมชน เครือข่ายNGO และ ประชาชน ท่ีมีต่อรูปแบบ วิชา หลักสูตร การวิจัย ของมหาวิทยาลัย ท่ีต้องสะท้อน ความต้องการท่ีอาจเกดิ ขึน้ ในอนาคต การเปลี่ยนแปลงของสัดส่วนประชากรในอนาคตที่ส่งผลกระทบต่อรูปแบบ วิชา หลักสูตร การวิจัย ที่ต้องตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของประชากร เช่น การ เปลี่ยนแปลงความตอ้ งการในการบริโภคสินคา้ และบริการ(Demand Shift) การพัฒนาของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั้งมหาวิทยาลัยของรัฐ และเอกชนในแต่ละสาขา การพัฒนาดังกล่าวเป็นการเพ่ิมการแข่งขันในแต่ละสาขาวิชาของแต่ละมหาวิทยาลัย เช่น สัดส่วนของนกั ศึกษาทีเ่ ลอื กเรียนในสถาบันการศึกษาที่เปิดสอนหลักสูตรเดียวกัน กับมหาวิทยาลยั เป็นตน้ หนา้ ก

คมู่ ือการบรหิ ารความเสี่ยง มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ประเด็น ความหมายประชาคมอาเซยี น การรวมตัวของประเทศในอาเซียน เพื่อเป็นประชาคมอาเซียน จะส่งผลให้มีการ เคล่ือนย้ายสินค้า บริการ การเปิดตลาดแรงงาน รวมถึงทุน และการเปิดเสรีทางการนโยบายภาคเอกชน ศึกษา การเปล่ียนแปลงของประเด็นดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานของGlobalization มหาวทิ ยาลยั ทง้ั ในดา้ นบวกและด้านลบClimate change การเปลี่ยนแปลงของนโยบายภาคเอกชนท่ีมีผลกระทบต่อการจัดการศึกษา การวิจัยสิง่ แวดล้อม การใหบ้ ริการรกั ษาพยาบาล การให้บรกิ ารวชิ าการ และอ่ืนๆของมหาวทิ ยาลัย การเปลี่ยนแปลงของกระแสสังคมโลกอย่างรวดเร็ว เช่น เศรษฐกิจ สังคม การเมืองเทคโนโลยี วฒั นธรรม การส่อื สาร และเทคโนโลยี ท่ีส่งผลกระทบต่อสถาบันการศกึ ษาการจดั อันดบั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศทม่ี ีผลกระทบต่อการดาเนนิ งานของมหาวิทยาลยัมหาวิทยาลัย ความเส่ียงจากส่ิงแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปและแนวความคิดที่ ตระหนักถึง ความสาคัญของการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิจและทรัพยส์ ินทางปัญญา การปฏบิ ัตงิ านขององค์กร และจะกระทบภาพพจน์และการดาเนนิ งานขององคก์ ร ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีท่ีมีผลต่อการรูปแบบ วิชา หลักสูตรSocial Network การวิจัย และความสามารถในการแข่งขันของมหาวิทยาลัย เช่น การเลือกคณะต่างๆสอ่ื จากนักเรียนในการสอบเขา้ มหาวิทยาลยัภัยพิบัติ การจดั อนั ดบั ของมหาวิทยาลยั ในระดับต่างๆ เชน่ ระดับโลก ระดับภูมิภาค ซ่ึงสะท้อนการกอ่ การรา้ ย คณุ ภาพ และมาตรฐานในการจัดการเรียน การสอน การวิจัย ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อ ชื่อเสยี งของมหาวิทยาลัย ความเสี่ยงจากการจงใจ หรือการประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงท่ีทาให้องค์กรต้อง สูญเสียผลประโยชน์ และความเสียหายที่ต้องชดใช้ ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน จากการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อ่ืน รวมทั้งการที่บุคคลอ่ืนละเมิดทรัพย์สิน ทางปัญญาขององค์กร การเปล่ียนแปลงรูปแบบของการสื่อสารในปัจจุบันที่มีความรวดเร็ว การแสดงความ คิดเห็นบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ ท่ีไม่มีการไตร่ตรองและการสอบทาน จะส่งผล กระทบต่อภาพลักษณ์ชือ่ เสยี งของมหาวิทยาลัยได้ การเผยแพร่ข่าวสารของสื่อต่างๆท้ังในรูปของส่ือสิ่งพิมพ์และส่ือออนไลน์ ท่ีก่อให้เกิด ความเสียหายตอ่ ชอื่ เสยี งของมหาวทิ ยาลยั ความเสี่ยงท่ีเกิดขึ้นจากภัยธรรมชาติ ภัยธรรมชาติ อัคคีภัย แผ่นดินไหว โรคติดต่อ รา้ ยแรง ซงึ่ มีผลกระทบรนุ แรงต่อทรัพยส์ นิ ชอื่ เสยี ง หรือการดาเนนิ งานขององค์กร ความเส่ียงจากการกระทาของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ที่ตั้งใจให้เกิดความเสียหาย ซึ่ง ส่งผลกระทบต่อความสญู เสียชีวติ และทรพั ย์สินขององคก์ ร หนา้ ข

ค่มู ือการบรหิ ารความเส่ยี ง มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ตารางแสดงระดบั ความเสย่ี งผ่านการเห็นชอบจากประชมุ คณะกรรมการบริหารจดั การความเสย่ี งมหาวทิ ยาลยั มหดิ ล คร้งั ที่ 51 เมือ่ วนั จนั ทรท์ ี่ 24 มนี าคม พ.ศ. 2557 หนา้ ค

คู่มอื การบริหารความเส่ียง มหาวิทยาลยั มหดิ ล เกณฑ์การวัดผลกระทบ (Measuring Impact) 1. ด้านประสทิ ธผิ ล ระดับ การดาเนินงานไมเ่ ป็นไปตาม ระยะเวลาการหยุดชะงกั ของระบบ ระดับความรนุ แรง เป้าหมาย เทคโนโลยีสารสนเทศ(Duration of คะแนน สูงมาก ไมเ่ ป็นไปตามเปา้ หมายมากกวา่ Unplanned Downtime) 5 สงู 40 % 4 มากกวา่ 24 ชว่ั โมง 3 ปานกลาง ไมเ่ ปน็ ไปตามเปา้ หมายมากกว่า 2 น้อย 30-40 % มากกวา่ 12-24 ช่ัวโมง 1 นอ้ ยมาก ไมเ่ ปน็ ไปตามเปา้ หมายมากกว่า มากกว่า 3-12 ชั่วโมง 20-30 % มากกวา่ 1-3 ชวั่ โมง ไม่เป็นไปตามเป้าหมายมากกวา่ 10-20 % นอ้ ยกว่าหรือเทา่ กับ 1 ชวั่ โมง ไม่เป็นไปตามเป้าหมายนอ้ ยกวา่ หรอื เท่ากบั 10 % ระดับ 2. ดา้ นมูลคา่ ความเสยี หายทางการเงิน ระดับคะแนนความรุนแรง มูลค่าความเสยี หายทางการเงิน 5 สูงมาก มากกวา่ 5% ของรายได้ที่ไดร้ ับในปีทผ่ี า่ นมา 4 สงู มากกว่า 3-5 % ของรายได้ท่ีไดร้ บั ในปีท่ผี า่ นมา 3 มากกวา่ 1-3 % ของรายได้ที่ได้รบั ในปที ีผ่ า่ นมา 2ปานกลาง มากกวา่ 0.5-1 % ของรายได้ท่ีได้รับในปีท่ผี า่ นมา 1 นอ้ ยกว่าหรอื เท่ากับ 0.5 % ของรายได้ที่ได้รับในปที ี่ผา่ นมา นอ้ ย น้อยมาก หนา้ ง

ค่มู อื การบริหารความเสีย่ ง มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล 3. ด้านช่ือเสียงและภาพลกั ษณอ์ งค์กรระดับ มผี ลกระทบ ถกู ฟ้องร้อง / การนาเสนอข่าว ความพงึ พอใจของ ระดับความ ตอ่ รอ้ งเรียนรุนแรง ผ้รู บั บริการ คะแนนสูงมาก มหาวิทยาลยั คดขี ึน้ สู่ศาลและ พาดหวั ข่าวทาง ระดับความพึงพอใจน้อยกว่า 5 ถกู ตัดสินว่าผิด สถานโี ทรทศั น์ / หรือเท่ากับ 65% หรือระดับ 4สงู หลายส่วนงาน หนงั สือพิมพ์ / ค ว า ม ไ ม่ พึ ง พ อ ใ จ ม า ก ก ว่ า 3 คดอี ยใู่ นชั้นศาล ส่อื สังคมออนไลน์ 25%ปานกลาง เฉพาะภาย ใน กรอบขา่ วทาง ส่วนงาน ออกส่ือ สถานีโทรทัศน์ / ระดับความพึงพอใจมากกว่า หนงั สือพิมพ์ / 65 - 70%หรือระดับความไม่ สอ่ื สงั คมออนไลน์ พึงพอใจมากกวา่ 15 - 20% ขา่ วระหวา่ งส่วนงาน / ระดับความพึงพอใจมากกว่า เวปบอร์ด 70 - 75%หรือระดับความไม่ พงึ พอใจมากกวา่ 10 - 15%น้อย เฉพาะหน่วย ขา่ วภายในสว่ นงาน ระดับความพึงพอใจมากกว่า 2 งานภายในส่วน ภายในมหาวิทยาลัย เวปบอรด์ 75 - 80% หรือระดับความไม่ พึงพอใจมากกว่า5 - 10% งานนอ้ ยมาก เฉพาะบคุ คล ภายในส่วนงาน พึงพอใจมากกว่า 80% หรือ 1 ขา่ วภายในหนว่ ยงาน ระดับความไม่พึงพอใจน้อย กว่าหรือเทา่ กับ 5%ระดบั ความรนุ แรง 4. ดา้ นความปลอดภัย ระดบั คะแนน สูงมาก 5 สูง การไดร้ ับอันตรายจากการปฏิบัติงาน 4 มผี ้ทู พุ พลภาพ หรือได้รบั อนั ตรายถึงชีวติ ปานกลาง 3 มีผูไ้ ดร้ ับบาดเจบ็ สาหัส นอ้ ย มีผู้ไดร้ บั บาดเจบ็ เล็กนอ้ ยจานวนมาก 2 นอ้ ยมาก ต้องเข้ารับการรักษาในคราวเดยี วกนั 1 มีผไู้ ดร้ ับบาดเจ็บเล็กน้อย / ส่งผลต่อสุขภาพ จานวนน้อย ส่งผลกระทบทางดา้ นจิตใจแต่ไมบ่ าดเจบ็ หนา้ จ

คู่มอื การบรหิ ารความเส่ยี ง มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล เกณฑ์การวดั โอกาสในการเกิด (Measuring Likelihood)ระดับการเกดิ โอกาสในการเกิด ระดบั คะแนน ความเสย่ี ง สงู มาก โอกาสเกดิ มากกวา่ 99% หรอื เกดิ บ่อย หรืออาจเกิดข้ึนได้ภายใน 5 รอบวนั ถึงสปั ดาห์ 4 สงู โอกาสเกิดมากกว่า 50% หรืออาจเกิดขึ้นได้ง่าย หรืออาจเกิดข้ึน 3 ปานกลาง ไดภ้ ายในรอบสัปดาหถ์ ึงรอบเดือน 2 โอกาสเกิดมากกว่า 10% หรืออาจเกิดข้ึนได้เพราะเคยเกิดข้ึน น้อย แล้ว หรืออาจเกิดข้นึ ไดภ้ ายในรอบปี 1 โอกาสเกิดมากกว่า 1% หรือ อาจเกิดขึ้นได้แต่ยังไม่เคยเกิดขึ้น น้อยมาก หรืออาจเกิดขน้ึ ไดภ้ ายในรอบหลายปี โอกาสเกิดน้อยกว่า 1% หรือเป็นไปได้แต่เฉพาะในกรณีฉุกเฉิน หรือเกิดขึ้นได้ยากแม้ในอนาคตในระยะยาว หรือเป็นเหตุการณ์ 100 ปีมีครัง้ หนา้ ฉ

ตวั อยา่ งการกรอกขอ้ มลู ในรายงานวเิ คราะห์และประเมนิ ความเส่ยี ง

ค่มู ือการบรหิ ารความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหดิ ล หนา้ ช

ตวั อยา่ งการกรอกขอ้ มลู ในรายงานวิเคราะหแ์ ละประเมินความเสี่ยง (ต่อ)

ค่มู ือการบรหิ ารความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหดิ ล หนา้ ซ

คาอธบิ ายการกรอกขอ้ มูลในรายงา(1) ชือ่ สว่ นงาน / หน่วยงานหมายถึง ช่ือส่วนงาน/หนว่ ยงานท่ีจดั ทารายงานวเิ คราะห์และประเมนิ คว(2) ปงี บประมาณ หมายถงึ ปงี บประมาณที่จัดทารายงานวเิ คราะหแ์ ละประเมินความเสี่ยง(3) ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลยั หมายถงึ ยทุ ธศาสตร์ของมหาวิทยาลยั ที่ทาการวิเคราะหแ์ ละประเมินค(4) เปา้ ประสงค์/วัตถปุ ระสงค์ตามยุทธศาสตร์มหาวทิ ยาลัย หมายถึง เป้าประสงค์/วัตถปุ ระสงค์ตา(5) ยทุ ธศาสตร์สว่ นงาน/หน่วยงาน หมายถึง ยุทธศาสตร์ของสว่ นงาน/หนว่ ยงานที่สอดคลอ้ งกบั ยุทธ(6) เป้าประสงค์/วัตถปุ ระสงค์ตามยุทธศาสตร์สว่ นงาน/หนว่ ยงาน หมายถึง เป้าประสงค์/วัตถุประส(7) ยทุ ธศาสตร์งาน หมายถึง ยุทธศาสตร์ของงานทส่ี อดคล้องกบั ยทุ ธศาสตรข์ องสว่ นงาน/หนว่ ยงาน(8) เปา้ ประสงค์/วัตถุประสงค์ตามยุทธศาสตร์งาน หมายถึง เป้าประสงค์/วัตถุประสงค์ตามยทุ ธศาส(9) ภารกิจด้าน/งาน หมายถึง ภารกิจหลกั หรือภารกิจสนับสนุนท่ปี ระเมนิ เช่น ภารกิจด้านการวิจยั(10) ประเภทเหตกุ ารณค์ วามเสี่ยง หมายถึง จาแนกว่าความเสยี่ งทีท่ าการวิเคราะหแ์ ละประเมินความเ(11) เหตกุ ารณ์ความเส่ยี ง หมายถึง เหตุการณ์ท่ีโอกาสเกิดข้นึ และหากเกดิ ขึ้นจะส่งผลกระทบตอ่ เปา้ ป เกีย่ วข้อง(12) สาเหตุ หมายถึง สาเหตทุ ่ีแทจ้ ริง(Root Cause) ท่ีทาให้เกิดเหตุการณค์ วามเส่ยี งตามข้อ (11) โด(13) ตวั ชีว้ ัดความเสย่ี ง หมายถงึ ตัวชีว้ ดั ท่ีตอ้ งเฝา้ ระวังก่อนทจี่ ะเกดิ เป็นความเส่ียง เช่น จานวนขอ้ ผิด(14) กิจกรรมการควบคุมท่มี อี ยู่ หมายถึง วิธกี ารหรือกิจกรรมที่ดาเนินการอยแู่ ลว้ ในปัจจบุ นั และสาม(15) ผลประเมินกจิ กรรมการควบคุมที่มอี ยู่ หมายถงึ การอธบิ ายผลของการดาเนินกิจกรรมการควบค(16) ระดับโอกาสเกิด หมายถงึ คา่ คะแนนระดับของโอกาสทจ่ี ะเกิดเหตกุ ารณค์ วามเสย่ี งภายหลังการ(17) ระดับผลกระทบ หมายถึง ค่าคะแนนระดบั ความรนุ แรงของผลกระทบหากเกิดเหตุการณ์ความเส ทสี่ ุด(18) ระดบั ความเส่ียง(หลงั การควบคุมที่มีอยู่) หมายถงึ นาค่าระดบั โอกาสเกดิ และผลกระทบไปเทยี บ(19) แนวทางการจดั การ หมายถึง ให้ระบวุ ธิ กี ารตอบสนอง โดยเลือกว่าจะยอมรับ/ลด/หลกี เลี่ยง/หาผ ดาเนินการอยแู่ ล้วในปจั จุบัน(20) ผ้รู บั ผดิ ชอบ หมายถึง หนว่ ยงาน/บคุ คลที่รับผดิ ชอบในการดาเนินกิจกรรมตามขอ้ (19)(21) ช่วงเวลาดาเนินการและกาหนดเสรจ็ หมายถึง ระยะเวลาทจ่ี ะดาเนนิ กจิ กรรมตัง้ แตเ่ ร่ิมจนแล้วเส

คู่มอื การบรหิ ารความเส่ยี ง มหาวิทยาลยั มหิดลานการวเิ คราะหแ์ ละการประเมินความเสี่ยงวามเสยี่ งความเสย่ี งามยุทธศาสตร์ของมหาวทิ ยาลัยท่ีทาการวิเคราะหแ์ ละประเมนิ ความเสีย่ ง ธศาสตร์ของมหาวทิ ยาลยั ท่ที าการวิเคราะห์และประเมนิ ความเสย่ี งสงค์ตามยุทธศาสตรข์ องส่วนงาน/หนว่ ยงานท่ีทาการวเิ คราะห์และประเมินความเสย่ี งนท่ีทาการวเิ คราะห์และประเมินความเส่ยี ง สตร์ของงานท่ีทาการวิเคราะหแ์ ละประเมินความเสีย่ ง ภารกิจดา้ นการศกึ ษา งานเทคโนโลยสี ารสนเทศ งานทรพั ยากรบคุ คล เปน็ ตน้เสยี่ งเปน็ ความเสยี่ งดา้ นใด ได้แก่ ด้านกลยุทธ์ ดา้ นการดาเนนิ การ ดา้ นการเงนิ หรอื ด้านการปฏิบัตติ ามกฎระเบียบประสงค์/วตั ถุประสงค์ของสว่ นงาน/หนว่ ยงาน โดยพจิ ารณาจากปัจจยั ทง้ั ภายในและภายนอกสว่ นงาน/หน่วยงานท่ีดยเปน็ สาเหตุทท่ี าให้เกิดความเสย่ี งของสว่ นงาน/หนว่ ยงานเองดพลาด ระดบั ความพงึ พอใจทลี่ ดลง เป็นต้นมารถควบคมุ สาเหตขุ องการเกิดความเส่ยี งได้คมุ ทม่ี อี ยูต่ ามขอ้ (14) ว่าทาให้สามารถลดความเส่ียงใหอ้ ยู่ในระดับทยี่ อมรบั ได้หรอื ไม่รควบคุมทีม่ ีอยู่ โดยพจิ ารณาจากตารางเกณฑ์โอกาสที่จะเกิดทมี่ หาวทิ ยาลยั กาหนดไว้สีย่ ง โดยพจิ ารณาจากตารางเกณฑผ์ ลกระทบทม่ี หาวทิ ยาลัยกาหนดไว้โดยเลือกผลกระทบเพยี งด้านเดยี วทรี่ ุนแรงบในตารางแสดงระดบั ความเสยี่ งทมี่ หาวิทยาลัยกาหนดไว้ และระบุว่าอยใู่ นระดบั สูงมาก สูง ปานกลาง หรอื ต่าผู้รว่ มรบั ความเสยี่ ง แล้วกาหนดวิธกี ารหรือกจิ กรรมท่ีสมั พนั ธก์ ับสาเหตุ โดยต้องไมเ่ ป็นกจิ กรรมการควบคุมทไ่ี ด้สร็จ ภายในปงี บประมาณ หนา้ ฌ

ตวั อยา่ งการกรอกข้อมลู แผนปฏบิ ตั กิ ารและรายงานผลการบรหิ ารความเส่ยี ง

ค่มู ือการบรหิ ารความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหดิ ล หนา้ ญ

ตวั อยา่ งการกรอกข้อมลู แผนปฏบิ ตั กิ ารและรายงานผลการบริหารความเส่ยี ง (ต

คู่มือการบรหิ ารความเสีย่ ง มหาวิทยาลัยมหิดลต่อ) หนา้ ฎ

คาอธิบายการกรอกข้อมลู ในแผนปฏ(1) ชือ่ ส่วนงาน / หน่วยงานหมายถงึ ชอ่ื สว่ นงาน/หนว่ ยงานที่จัดทารายงานวเิ คราะห์และประเมนิ ความเส(2) ปงี บประมาณ หมายถึง ปงี บประมาณท่ีจัดทารายงานวเิ คราะห์และประเมนิ ความเส่ยี ง(3) ยุทธศาสตรม์ หาวิทยาลยั หมายถงึ ยุทธศาสตรข์ องมหาวทิ ยาลัยทีท่ าการวิเคราะห์และประเมนิ ความ(4) เป้าประสงค/์ วตั ถุประสงคต์ ามยุทธศาสตรม์ หาวทิ ยาลัย หมายถงึ เปา้ ประสงค/์ วัตถปุ ระสงค์ตามยุท(5) ยทุ ธศาสตรส์ ่วนงาน/ หนว่ ยงานหมายถงึ ยทุ ธศาสตรข์ องสว่ นงาน/หนว่ ยงานท่ีสอดคล้องกบั ยุทธศาส(6) เป้าประสงค/์ วตั ถปุ ระสงคต์ ามยุทธศาสตร์หน่วยงาน/สว่ นงาน หมายถงึ เป้าประสงค์/วตั ถุประสงค์ต(7) ยุทธศาสตร์งาน หมายถงึ ยุทธศาสตร์ของงานที่สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์ของส่วนงาน/หนว่ ยงานที่ท(8) เป้าประสงค/์ วตั ถปุ ระสงคต์ ามยุทธศาสตร์งาน หมายถงึ เปา้ ประสงค์/วัตถปุ ระสงค์ตามยทุ ธศาสตร(9) ภารกจิ ดา้ น/งาน หมายถึง ภารกจิ หลกั หรอื ภารกจิ สนับสนุนทป่ี ระเมนิ เช่น ภารกิจดา้ นการวิจยั ภาร(10) ประเภทเหตกุ ารณ์ความเส่ียง หมายถงึ ความเส่ียงท่ที าการวิเคราะหแ์ ละประเมินความเสยี่ งเปน็ ความ(11) เหตกุ ารณค์ วามเสยี่ ง หมายถงึ เหตกุ ารณท์ ี่โอกาสเกดิ ขึน้ และหากเกิดข้ึนจะสง่ ผลกระทบต่อเปา้ ประส เกยี่ วขอ้ ง(12) ตวั ช้วี ดั ความเสย่ี ง หมายถึง ตวั ชว้ี ัดทตี่ อ้ งเฝา้ ระวังก่อนท่จี ะเกดิ เป็นความเสย่ี ง เชน่ จานวนขอ้ ผิดพลา(13) กจิ กรรมการบริหารจดั การความเส่ยี ง หมายถึง วิธกี ารหรือกิจกรรมท่ีดาเนนิ การเพื่อให้ลดโอกาสในก(14) ระยะเวลาการดาเนินการ หมายถึง ระยะเวลาทว่ี างแผนวา่ จะดาเนนิ การภายใน 1 ปงี บประมาณ (กรณ(15) ระดบั ความเสีย่ งกอ่ นการบรหิ ารจดั การความเส่ยี ง - ระดบั โอกาสเกดิ หมายถึง คา่ คะแนนระดับของโอกาสท่ีจะเกิดเหตุการณค์ วามเสีย่ งภายหลังกา - ระดับผลกระทบ หมายถึง คา่ คะแนนระดับความรุนแรงของผลกระทบหากเกดิ เหตกุ ารณ์ความเส - ระดบั ความเส่ยี ง หมายถงึ คา่ ระดบั โอกาสและผลกระทบระดับสูงมาก สูง ปานกลาง หรอื ต่า (คา่ ค(16) ระดบั ความเสย่ี งหลังการบริหารจัดการความเสย่ี ง - ระดบั โอกาสเกิด หมายถึง ค่าคะแนนระดับของโอกาสที่จะเกดิ เหตุการณ์ความเสี่ยงภายหลงั กา - ระดับผลกระทบ หมายถึง ค่าคะแนนระดับความรุนแรงของผลกระทบหากเกดิ เหตุการณค์ วามเส - ระดบั ความเสยี่ ง หมายถึง นาค่าระดับโอกาสและผลกระทบไปเทยี บในตารางแสดงระดับความเสยี่(17) ผลลพั ธท์ ่ไี ด้ หมายถงึ การสรุปผลจากการดาเนินกจิ กรรมตามแผนวา่ สามารถทาใหร้ ะดับความเส่ยี งลด กาหนดเวลา 1 ปี หรือใช้ขอ้ มลู เชงิ สถติ ิเป็นตัววเิ คราะห์เปรียบเทยี บ

คู่มอื การบรหิ ารความเส่ียง มหาวทิ ยาลยั มหิดลฏบิ ตั กิ ารและรายงานผลการบรหิ ารความเสย่ี ง ส่ียงมเส่ยี งทธศาสตร์ของมหาวิทยาลยั ท่ีทาการวเิ คราะหแ์ ละประเมินความเส่ียงสตรข์ องมหาวทิ ยาลัยท่ีทาการวิเคราะหแ์ ละประเมนิ ความเสยี่ ง ตามยทุ ธศาสตรข์ องส่วนงาน/หนว่ ยงานท่ที าการวเิ คราะห์และประเมินความเสย่ี งทาการวิเคราะหแ์ ละประเมนิ ความเสย่ี งร์ของงานท่ีทาการวิเคราะห์และประเมินความเสย่ี งรกจิ ด้านการศึกษา งานเทคโนโลยีสารสนเทศ งานทรพั ยากรบุคคล เปน็ ตน้มเสย่ี งด้านกลยทุ ธ์ ด้านการดาเนินการ ดา้ นการเงนิ หรอื ด้านการปฏิบัตติ ามกฎระเบยี บสงค์/วตั ถปุ ระสงค์ของส่วนงาน/หนว่ ยงาน โดยพจิ ารณาจากปจั จัยทง้ั ภายในและภายนอกส่วนงาน/หนว่ ยงานท่ีาด ระดบั ความพึงพอใจท่ลี ดลง เปน็ ตน้การเกดิ ความเสยี่ ง หรือลดผลกระทบในกรณีทไี่ ม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ณีวางแผน) และระยะเวลาที่ดาเนินการจรงิ (กรณีรายงานผล)ารควบคมุ ที่มีอยู่ (ค่าคะแนนท่ีระบใุ นรายงานการวเิ คราะหแ์ ละการประเมินความเส่ียง)สยี่ ง (ค่าคะแนนที่ระบุในรายงานการวเิ คราะห์และการประเมนิ ความเสีย่ ง)คะแนนท่รี ะบใุ นรายงานการวเิ คราะห์และการประเมนิ ความเสยี่ ง)ารดาเนนิ การตามแผนบริหารความเสยี่ งแลว้ 1 ปีงบประมาณสย่ี งภายหลงั การดาเนินการตามแผนบริหารความเสย่ี งแลว้ 1 ปีงบประมาณยง และระบวุ า่ อยใู่ นระดับสงู มาก สูง ปานกลาง หรือตา่ดลงอยู่ในระดับท่สี ามารถยอมรับไดแ้ ลว้ หรอื ไม่ โดยวเิ คราะห์ตามตัวชว้ี ัดความเสยี่ งท่ไี ดจ้ ากการดาเนนิ กจิ กรรมเมือ่ ครบ หนา้ ฏ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook