Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประภาสธารทองแดง

การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประภาสธารทองแดง

Published by sperm.s17, 2022-08-07 03:15:53

Description: รายงานผลการวิจัย เรื่อง การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประภาสธารทองแดง โดย นายชูศักดิ์ เชื้อคำจันทร์

Search

Read the Text Version

บทที่ 3 วธิ ดี ำเนินกำรวจิ ยั การวิจัยเร่ืองการพัฒนาสื่อมลั ตมิ ีเดียเพอ่ื การเรียนรู้ เรอ่ื ง เร่ือง ชนิดของประโยคในภาษาไทย สาหรับ นกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ในครง้ั นี้ มขี ้นั ตอนและรายละเอียดการดาเนนิ การวิจยั ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. การกาหนดประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง 2. กาหนดเครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการวจิ ัย 3. การสร้างและหาคณุ ภาพของเครือ่ งมือ 4. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 5. การวเิ คราะหข์ อ้ มูล 6. สถติ ทิ ีใ่ ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู กำรกำหนดประชำกรและกลมุ่ ตวั อย่ำง ประชากรทใี่ ช้ในการวจิ ยั คอื นักเรียนระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนธวัชบรุ วี ิทยาคม อาเภอธวัช บุรี จังหวดั รอ้ ยเอด็ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน 113 คน กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนธวัชบุรีวิทยาคม อาเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน จานวน 15 คน ท่ีได้จากวิธีการเลือก แบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือท่ใี ชใ้ นกำรวิจยั เครอื่ งมือทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูลคร้ังน้ี ไดแ้ ก่ 1. สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เร่ือง กาพย์ห่อโคลง ประพาสธารทองแดง สาหรบั นกั เรยี นชั้นมะยมศึกษาปีท่ี 2 จานวน 1 ชดุ 2. แผนการจัดการเรยี นรเู้ รอ่ื ง กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง จานวน 4 แผน 3. แบบทดสอบระหว่างเรียนและหลังเรียน สาหรับวัดผลการเรียนรู้ระหว่างเรียนและหลังเรียน จาก การเรียนรู้โดยใช้สื่อมัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เร่ือง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง เพ่ือใช้สาหรับวัดพื้น ความรเู้ ดิมและผลการเรียนรหู้ ลงั การใช้ส่ือมัลตมิ ีเดยี 4. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ท่ีมีต่อสื่อมัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เรอ่ื ง การพัฒนาส่ือมัลตมิ ีเดยี เพอ่ื การเรียนรู้ เร่ือง กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง ลักษณะเป็นแบบมาตรา ส่วนประเมินคา่ (Rating Scales) 5 ระดบั จานวน 15 ขอ้ กำรสร้ำงและหำคณุ ภำพเครอ่ื งมือ 1. การสร้างสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ ผู้วิจัยได้ทาการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง สาหรับนักเรียนชั้นมะยมศึกษาปีท่ี 2 ตามข้ันตอนของรูปแบบ Generic (ADDIE) มขี นั้ ตอนดงั น้ี 1.1 ผู้วจิ ยั ไดท้ าการวเิ คราะห์เนื้อหา และพฤตกิ รรมของผูเ้ รียนในระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2 และ พบว่า กาลังศึกษาเน้ือหาวิชาภาษาไทย เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง ตามหลักสูตรของ สถานศึกษา ซึ่งเป็นเรอื่ งทีม่ ีเนื้อหาค่อนข้างซับซ้อนและและเข้าใจยาก ซ่ึงโดยปกติแล้วครูผู้สอนจะใช้วิธีการ ท่ี

46 สอนโดยวีการบรรยาย การท่องจา และยกตัวอย่าง ในด้านพฤติกรรมของผู้เรียน ผู้วิจัยได้ทาการสัมภาษณ์ ครูผู้สอนและพบว่า ผู้เรียนมักจะให้ความสนใจกับส่ือที่เป็นเทคโนโลยี และมักจะสนใจบทเรียนมากข้ึนเม่ือครู ใช้สื่อการสอนที่มีความแปลกใหม่ จากนั้นทาการกาหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมของส่ือการสอน และ คัดเลอื กเนอื้ หาทเ่ี หมาะสม 1.2 ทาออกแบบส่ือมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ จัดทาโครงร่างส่ือมัลติมีเดียเพื่อ การเรยี นรูใ้ นรูปแบบของบทดาเนนิ เรือ่ ง (story board) เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการพฒั นาสื่อมลั ตมิ ีเดียเพ่อื การ เรียนรู้ไม่วา่ จะเป็นการออกแบบหน้าจอคอมพิวเตอร์ ขนาดตัวอักษร การจัดวางเนื้อหา รปู ภาพ ตัวละคร และ เสียงดนตรี เพื่อให้เหมาะสมกับผู้เรียน การกาหนดเง่ือนไขในการนาเสนอเนื้อหาแต่ละหัวข้อเร่ือง และคาส่ัง ของการประมวลผลแบบทดสอบ 1.3 สร้างสื่อมัลติมีเดีย เป็นขั้นตอนของการนาการออกแบบมาสู่การพัฒนาส่ือมัลติมีเดียเพื่อการ เรียนรู้ โดยการนาข้อมูลที่ออกแบบและวางแผนไว้มีสร้างโดยใช้โปรแกรม Microsoft powerpoint ซ่ึง ประกอบด้วย ตัวอักษร ภาพน่ิง ภาพเคล่ือนไหว เสียงบรรยายประกอบเน้ือหา และปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน ภายในส่ือมัลตมิ ีเดียเพื่อการเรียนรปู้ ระกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ได้แก่ ช่ือเร่อื ง จุดประสงค์การเรียนรู้ หน้ารายการ หลัก เนื้อหาบทเรยี น และแบบทดสอบเพ่ือทบทวนความรู้ โดยออกแบบให้แต่ละหน้าสามารถเช่ือมดยงหากัน ได้ มีปฏิสัมพนั ธ์กับผู้ใช้ ตกแต่งจอแสดงผลให้สัมพันธ์กับเน้ือหาน่าสนใจมากย่ิงข้ึนโดยใช้ภาพและเสียงจากตัว การ์ตูนเพือ่ ดึงดูดความสนใจของผเู้ รียน ดังน้ี หน้าแรกของสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ประกอบด้วย ข้อความหัวข้อเรื่อง ท่ีใช้ภาพที่มีสีสัน มี เสียงบรรยายแนะนาบทเรียน และเสียงดนตรีบรรเลงกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน หน้าเมนูหลักของสื่อ มลั ติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ ประกอบดว้ ยตัวการ์ตูน ประกอบด้วย เด็กผู้หญิงเป็นตัวการ์ตูนหลักของสื่อทาหน้าท่ี อธิบายวิธีการใช้งาน เพ่ือกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน โดยจะมีปุ่มเมนูให้เลือก ได้แก่ 1) เนื้อหาส่วนต่าง ๆ ของบทเรียน 2) แบบทดสอบ 3) ผจู้ ดั ทา และ 4) ออกจากบทเรยี น หน้าเน้ือหาหรือข้อมูลของบทเรียน ประกอบด้วยชื่อหัวข้อเร่ืองและข้อความบรรยายเนื้อหาของ บทเรียน พร้อมทั้งมีภาพและเสียงบรรยายประกอบ มีตัวการ์ตูนเคล่ือนไหว มีปุ่มกลับไปยังหน้ารายการหลัก และปุ่มเข้าสู่เนื้อหาในหน้าถัดไป ซึ่งเน้ือหาจะแบ่งออกเป็นส่วนและมีตัวอย่างประกอบ เม่ือจบเนื้อหาแล้ว บทเรียนก็จะเข้าสู่แบบทดสอบเพ่ือให้ผู้เรียนได้ทบทวนเน้ือหาที่ได้ศึกษามา ซ่ึงจะประกอบด้วยข้อคาถาม จานวน 10 ข้อ และตัวเลือกให้เลือกตอบจานวน 4 ตัวเลือก เมื่อคลิกท่ีคาตอบก็จะมีปฏิสัมพันธ์ตอบโต้กับ ผ้เู รียนท้ังภาพ เสยี ง และขอ้ ความอธบิ ายเพิ่มเติม 1.4 นาส่ือมัลติมีเดียท่ีพัฒนาขึ้น เพ่ือให้ผู้เชี่ยวชาญทาการประเมินคุณภาพ โดยใช้แบบประเมิน คุณภาพสอื่ (IOC) ประกอบด้วย 3 ด้าน ได้แก่ ด้านเนื้อหา ด้านการออกแบบ และด้านเทคนิคและวธิ ีการ 1.5 นาผลการพิจารณาของผู้เช่ียวชาญ และกรอบโครงสร้างเน้ือหาท่ีได้มาปรับปรุง บทเรียน คอมพิวเตอรช์ ่วยสอน ตามคาแนะนาของผ้เู ชย่ี วชาญ 1.6 จดั เตรียมสื่อมัลติมเี ดียเพื่อการเรียนรู้วิชาภาษาไทยเร่ือง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง ท่ผี า่ นการตรวจสอบคณุ ภาพแลว้ เพ่อื นาไปใชเ้ ป็น เครื่องมือในการวิจัยและเกบ็ รวบรวมข้อมลู ต่อไป 2. การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ สาหรับใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อมัลติมีเดียเพ่ือการ เรียนรู้ เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง ผู้วิจัยได้กาหนดขั้นตอนในการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ 2.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ ภาษาไทย หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนธวัชบรุ ีวทิ ยาคม สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ชั้น

47 มัธยมศึกษาปีที่ 2 เก่ียวกับเนื้อหาสาระและ ตัวช้ีวัด การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ และเอกสารท่ี เกี่ยวข้องกับวธิ ีการสรา้ งแบบทดสอบแบบปรนัย 2.2 กาหนดจุดประสงค์ของการเรียนรู้ โดยพิจารณาจากจุดประสงค์ของการสอน แต่ละเรื่อง/ ประเด็น แลว้ กาหนดอตั ราส่วนของแบบทดสอบใหค้ รอบคลุมเนอ้ื หาของการสอน แต่ละเรื่อง/ประเด็น 2.3 เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแต่ละบทเรียน ซ่ึงประกอบไป ด้วยสาระสาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการประเมินผล จานวนท้งั ส้นิ 4 แผน โดยกาหนดการสอนเปน็ 4 ชว่ั โมง แบ่งเปน็ แผนละ 1 ชัว่ โมง 2.4 นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างข้ึนไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้อง และหาค่าความ เทย่ี งตรงทางเนอ้ื หา โดยมีเกณฑด์ งั นี้ คะแนน +1 คอื แผนการจัดการเรยี นร้สู ามารถใช้ได้ คะแนน 0 คือ ไม่แนใ่ จ คะแนน -1 คอื แผนการจัดการเรยี นร้ไู ม่สามารถใช้ได้ ซึ่งหากค่าดัชนี IOC ท่ีคานวณได้ มากกว่า หรือเท่ากับ 0.50 แสดงว่าแผนการจัดการเรียนรู้ มีความ เท่ียงตรงตามเนือ้ หาและสามารถใชไ้ ด้ 3. การสร้างแบบทดสอบระหว่างเรียนและหลังเรียน สาหรับวัดผลการเรียนรู้ระหว่างเรียนและหลัง เรียน จากการเรียนรู้โดยใช้สื่อจากการมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง ผู้วิจัยได้กาหนดขั้นตอนในการสร้างแบบทดสอบดังนี้ 3.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ ภาษาไทย หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นธวัชบรุ ีวทิ ยาคม สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 27 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 เก่ียวกับเน้ือหาสาระและ ตัวชี้วัด การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ และเอกสารที่ เกยี่ วข้องกบั วธิ ีการสรา้ งแบบทดสอบแบบปรนัย 3.2 กาหนดจุดประสงค์ของการทดสอบ โดยพิจารณาจากจุดประสงค์ของการสอน แต่ละเรื่อง/ ประเดน็ แล้วกาหนดอัตราส่วนของแบบทดสอบให้ครอบคลมุ เนื้อหาของการสอน แตล่ ะเรอื่ ง/ประเดน็ 3.3 สร้างแบบทดสอบที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแตล่ ะบทเรยี น โดยประเภทของ ขอ้ สอบใน แต่ละบทเรียนเป็นข้อสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 15 ข้อ (ออกเพื่อผู้เช่ียวชาญในการ ตรวจสอบ จานวน 5 ข้อ รวมท้ังหมด 20 ขอ้ หาความสอดคลอ้ ง) 3.4 สร้างแบบทดสอบ ทางการเรียนให้ครอบคลุม วัตถุประสงค์และเนื้อหา เร่ืองกาพย์ห่อโคลง ประพาสธารทองแดง 3.5 นาแบบทดสอบท่ีสร้างข้ึนไปให้ผู้เช่ียวชาญด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา ตรวจสอบ และนามาปรับปรุงแก้ไข 3.6 นาแบบทดสอบท่ีปรับปรุงแก้ไขแล้วให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบความสอดคล้องระหว่าง ข้อ คาถามกับวัตถุประสงคห์ รือเน้ือหาแล้วนาผลการประเมินของผู้เช่ียวชาญมาคานวณหาคา่ ดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence: IOC) เป็นรายข้อ เป็นผู้เช่ียวชาญดา้ นวิจัย ได้แนะนาเกี่ยวกับการ เก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสรุปผลการศึกษาค้นคว้า แล้วนาผลการประเมินของ ผู้เชี่ยวชาญมาคานวณหาคา่ ดัชนคี วามสอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence: IOC) เป็นรายข้อ คะแนน +1 คือ แนใ่ จวา่ ขอ้ สอบน้ีวดั ตรงจดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม คะแนน 0 คอื ไม่แน่ใจว่าข้อสอบนี้วดั ตรงจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม คะแนน -1 คือ แนใ่ จว่าขอ้ สอบนว้ี ดั ไม่ตรงจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

48 ซ่ึงหากค่าดัชนี IOC ท่ีคานวณได้ มากกว่า หรือเท่ากับ 0.50 แสดงว่าข้อคาถามในแบบฝึก ทักษะ มีความเหมาะสมหรือสอดคล้องกับจุดประสงค์หรือกับลักษณะพฤติกรรม (สมประสงค์ เสนารัตน์และ เบญจมาภรณ์ เสนารัตน์. 2561 : 120) 3. การสร้างแบบทดสอบระหว่างเรียนและหลังเรียน สาหรับวัดผลการเรียนรู้ระหว่างเรียนและหลัง เรียน จากการเรียนรู้โดยใช้สื่อจากการมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง ผู้วิจัยได้กาหนดข้นั ตอนในการสรา้ งแบบทดสอบดงั น้ี 3.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ ภาษาไทย หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นธวัชบรุ ีวิทยาคม สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 2 เกี่ยวกับเนื้อหาสาระและ ตัวช้ีวัด การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ และเอกสารที่ เกี่ยวข้องกับวิธีการสร้างแบบทดสอบแบบปรนยั 3.2 กาหนดจุดประสงค์ของการทดสอบ โดยพิจารณาจากจุดประสงค์ของการสอน แต่ละเร่ือง/ ประเด็น แลว้ กาหนดอัตราส่วนของแบบทดสอบให้ครอบคลุมเนือ้ หาของการสอน แตล่ ะเร่อื ง/ประเด็น 3.3 สรา้ งแบบทดสอบทีส่ อดคล้องกบั วัตถปุ ระสงค์ของแต่ละบทเรยี น โดยประเภทของ ข้อสอบใน แต่ละบทเรียนเป็นข้อสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 15 ข้อ (ออกเพื่อผู้เชี่ยวชาญในการ ตรวจสอบ จานวน 5 ข้อ รวมทงั้ หมด 20 ข้อ หาความสอดคลอ้ ง) 3.4 สร้างแบบทดสอบ ทางการเรียนให้ครอบคลุม วัตถุประสงค์และเน้ือหา เร่ืองกาพย์ห่อโคลง ประพาสธารทองแดง 3.5 นาแบบทดสอบท่ีสร้างข้ึนไปให้ผู้เช่ียวชาญด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา ตรวจสอบ และนามาปรับปรุงแก้ไข 3.6 นาแบบทดสอบที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความสอดคล้องระหว่าง ข้อ คาถามกับวัตถุประสงค์หรือเน้ือหาแล้วนาผลการประเมินของผู้เช่ียวชาญมาคานวณหาคา่ ดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence: IOC) เป็นรายข้อ เป็นผู้เช่ียวชาญดา้ นวิจัย ได้แนะนาเกี่ยวกับการ เก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสรุปผลการศึกษาค้นคว้า แล้วนาผลการประเมินของ ผเู้ ชยี่ วชาญมาคานวณหาคา่ ดชั นคี วามสอดคลอ้ ง (Index of Item Objective Congruence: IOC) เปน็ รายข้อ คะแนน +1 คอื แน่ใจว่าข้อสอบนีว้ ัดตรงจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม คะแนน 0 คือ ไม่แนใ่ จว่าข้อสอบนีว้ ดั ตรงจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม คะแนน -1 คอื แนใ่ จว่าขอ้ สอบน้ีวดั ไม่ตรงจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ซ่ึงหากค่าดัชนี IOC ที่คานวณได้ มากกว่า หรือเท่ากับ 0.50 แสดงว่าข้อคาถามในแบบฝึกทักษะ มี ความเหมาะสมหรือสอดคล้องกับจุดประสงค์หรือกับลักษณะพฤติกรรม (สมประสงค์ เสนารัตน์และเบญจมา ภรณ์ เสนารัตน.์ 2561 : 120) 4. การสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ทมี่ ีตอ่ ส่ือมลั ติมีเดียเพื่อการ เรียนรู้ เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง ผู้วิจัยได้กาหนดขั้นตอนในการสร้างแบบสอบถามความพึง พอใจดงั ตอ่ ไปน้ี 4.1 ศกึ ษาเอกสาร กาหนดกรอบเนือ้ หา แนวคดิ และขอบข่ายโครงสรา้ งเน้ือหา รูปแบบ โดยศึกษา ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวขอ้ งเพือ่ ใหไ้ ด้แบบสอบถามที่ครอบคลุมเนอื้ หาทกุ ด้าน 4.2 สร้างแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อส่ือมัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เรื่อง กาพย์ ห่อโคลงประพาสธารทองแดง โดยกาหนดพฤติกรรมช้ีวัดความพึงพอใจ จานวน 15 ข้อ โดยแบ่งเป็น 5 ระดับ ความพงึ พอใจ ดงั นี้

49 5 หมายถงึ มีความพงึ พอใจในระดับมากทสี่ ุด 4 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจในระดบั มาก 3 หมายถึง มีความพงึ พอใจในระดับปานกลาง 2 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจในระดบั นอ้ ย 1 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจในระดับน้อยทสี่ ุด คะแนนรวมท่ีได้นามาหาค่าเฉล่ียและกาหนดความหมายของค่าเฉลี่ยได้ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2554: 74) คา่ เฉล่ยี 4.51-5.00 มีความพึงพอใจต่อบทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนอยู่ในระดบั มากทสี่ ุด คา่ เฉลี่ย 3.51-4.50 มคี วามพงึ พอใจตอ่ บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนอยู่ในระดับมาก คา่ เฉล่ีย 2.51-3.50 มคี วามพึงพอใจต่อบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนอยใู่ นระดับปานกลาง คา่ เฉลี่ย 1.5-2.50 มคี วามพึงพอใจตอ่ บทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนอยู่ในระดบั น้อย ค่าเฉล่ยี 1.00-1.50 มคี วามพึงพอใจตอ่ บทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนอยู่ในระดบั นอ้ ยท่ีสุด 4.3 นาแบบประเมินความพึงพอใจท่ีสร้างขึ้นเสนอผู้เชี่ยวชาญพิจารณาตรวจสอบเพ่ือ ให้ได้ คาถามที่ครอบคลุม และตรงกับสภาพความเป็นจริง และมีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content validity) โดย การหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of item-objective congruence: IOC) ระหว่าง ข้อคาถามกับ จุดประสงค์โดยผู้เชีย่ วชาญทที่ าการตรวจสอบ จานวน 3 ท่าน (ดงั แสดงไว้ในภาคผนวก ก) เพ่ือตรวจสอบความ เท่ียงตรงตามเน้ือหา (Content validity) และพิจารณา ความเหมาะสมของสานวนภาษาที่ใช้ส่ือความหมาย ใหช้ ัดเจนและใช้ดัชนคี วามสอดคลอ้ ง (Index of congruence: IOC) โดยกาหนดคา่ ดัชนีความสอดคลอ้ งตงั้ แต่ 0.50 ข้นึ ไปถอื วา่ อยใู่ นเกณฑ์ ใชไ้ ด้ ถา้ ตา่ กวา่ น้ันต้องนามาปรับปรงุ แกไ้ ขตามข้อเสนอแนะ 4.4 นาแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อสื่อมลั ติมเี ดียเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง กาพย์ห่อ โคลงประพาสธารทองแดง ไปจัดพมิ พเ์ ป็นฉบับสมบูรณ์ 4.5 นาแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการเรียนการสอนโดยใช้การเรียน โดยใช้ สื่อมัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เร่ือง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง ไปใช้ในการประเมินความพึงพอใจของ นกั เรยี นกลมุ่ ตัวอยา่ ง 4.6 นาคะแนนทไี่ ด้มาวเิ คราะหต์ ามวธิ ีการทางสถติ ิ แบบแผนกำรวจิ ัย การเก็บรวบรวมข้อมูลในคร้ังนี้ ผู้วิจัยใช้แบบแผนการเก็บขอ้ มูลแบบ One-group Pretest-Postestt Design ตำรำงที่ 1 แสดงแบบแผนกำรวจิ ยั กล่มุ ตวั อยำ่ ง แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ทดลอง แบทดสอบหลังเรียน E T1 X T2 E แทน กลมุ่ ตวั อยา่ ง X แทน การจดั การเรยี นรู้โดยใช้สอื่ มลั ตมิ ีเดยี เพ่อื การเรียนรู้ T1 แทน การทดสอบกอ่ นเรียน T2 แทน การทดสอบหลังเรยี น

50 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยไดท้ าการเก็บรวบรวมข้อมูลตามข้นั ตอน ดงั น้ี 1 นาแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) มาทดสอบกับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง แลว้ บันทึกคะแนนไวเ้ ป็น รายบุคคล เพื่อเปรยี บเทียบกับคะแนนหลังเรยี น (Post-test) 2. ดาเนินการตามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เรื่องกาพย์ห่อโคลง ประพาสธารทองแดง 3. ทดสอบหลังเรียน โดยใช้แบบทดสอบมาทดสอบกับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง หลังจากการใช้ สื่อ มัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เร่ือง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงในการจัดการเรียนรู้ ซ่ึงดาเนินการวัดและ ประเมนิ ผลหลงั เรยี นเน้อื หาจบแลว้ (Post-test) 4. นาผลที่ได้จากการทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) และหลังเรียน (Post-test) มาคานวนผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นรู้ กำรวิเครำะห์ขอ้ มลู 1. สถติ พิ ื้นฐำน ได้แก่ สถติ ิทีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล 1.1 ค่าเฉลย่ี คา่ เฉล่ยี เลขคณิต (Mean) x̅= ∑ x N เม่ือ ������̅ แทน ค่าเฉลยี่ ความพึงพอใจ ∑ ������ แทน ผลรวมของคะแนนความพึงพอใจ N แทน จานวนกลุ่มตัวอย่าง 1.2 การหาค่าสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน (SD) โดยคานวณจากสูตร ดงั นี้ (พวงรตั น์ ทวรี ตั น์. 2543: 142) S.D. = √n ∑ x2-( ∑ x )2 n(n-1) เมื่อ ������������ แทน คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน ∑ ������2 แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละคนยกกาลังสอง (∑ ������)2 แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะคนทั้งหมดยกกาลังสอง n แทน จานวนนักเรียนในกลมุ่ ตวั อยา่ ง 1.3 หาค่าความแปรปรวนของคะแนน คานวณจากสูตร (ล้วน สายยศ และองครา สายยศ. 2536 : 59)

51 s2= n ∑ x2 − (∑ x)2 n − (n − 1) เมอื่ S2 แทน ความแปรปรวนของคะแนน ∑ x แทน ผลรวมของคะแนนท้งั หมด ∑ x2 แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะคนท้งั หมดยกกาลงั สอง n แทน จานวนนกั เรยี นในกลุ่มตวั อยา่ ง n–1 แทน ค่าของชนั้ แหง่ ความเป็นอิสระ 2. สถิติทใ่ี ชใ้ นกำรหำคณุ ภำพเครอื่ งมอื 2.1 การหาค่าดัชนีความสอดคล้อง ใชส้ ตู ร (รัตนะ บวั สนธ์, 2554, หนา้ 82) ∑R IOC= N เม่ือ IOC แทน ค่าดัชนีความสอดคล้อง ∑ แทน การรวม R แทน ความคดิ เห็นของผู้เชย่ี วชาญ โดยที่ ถ้าเห็นด้วย มีคา่ เทา่ กบั 1.00 คะแนน ถ้าไม่แน่ใจ มคี ่าเท่ากบั 0.00 คะแนน ถา้ ไม่เห็นดว้ ย มีคา่ เท่ากบั -1.00 คะแนน N แทน จานวนผ้เู ช่ยี วชาญทั้งหมด 2.2 การหาคา่ ความเชอื่ ม่ัน (Reliability) โดยใชส้ ูตรของคเู ดอร์-ริชารด์ สนั (Kuder- Richardson) ดงั น้ี (เกยี รตสิ ุดา ศรีสุข, 2552, หนา้ 149) KR-20 ������������������ = K K 1 {1 − ∑ ������������ − ������������2 } เมือ่ r������������ แทน ค่าความเชือ่ มั่นของแบบทดสอบ K แทน จานวนข้อสอบทง้ั ฉบับ p แทน สดั ส่วนของผตู้ อบถกู q แทน สดั สว่ นของผตู้ อบผดิ (1-p) ���������2��� แทน ค่าความแปรปรวนของคะแนนรวม

52 3. สถติ ิท่ใี ช้ในกำรทดสอบสมมตฐิ ำน 3.1 การเปรียบเทียบความแตกตางระหวางผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย โดยใช้สื่อ มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง ที่ไดจากการทดสอบกอนเรียนและการ ทดสอบหลังเรียนคาควณจากสตู ร t – test (Dependent simple) (บุญชม ศรสี ะอาด.2545 : 109) t= ∑D √n ∑ D2-( ∑ D )2 n-1 และ ������������ = ������ − 1 เมือ่ t แทน ค่าท่ใี ชพ้ จิ ารณาใน t-distribution D แทน ความแตกต่างของคะแนนที่ได้จากการทดสอบ ก่อนเรียนและหลังเรยี น N แทน จานวนนักเรียนในกลมุ่ ตัวอย่าง ∑ D แทน ผลรวมของคะแนนความแตกตา่ งจากการเปรียบเทยี บกัน เป็นรายบุคคลระหวา่ งคะแนนทไ่ี ดจ้ ากการทดสอบก่อนเรียนกบั หลงั เรยี น ∑ D2 แทน ผลรวมของคะแนนความแตกตา่ งจากการเปรียบเทยี บกนั เปน็ รายบุคคลระหวา่ งคะแนนทไี่ ดจ้ ากการทดสอบกอ่ นเรยี นกบั หลังเรียนยกกาลงั สอง 3.2 วิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ท่ีมีต่อสื่อมัลติมีเดีย คอมพิวเตอร์ เร่ือง ชนิดของประโยคในภาษาไทย จากแบบทดสอบความคิดเห็น โดยใช้ค่าเฉล่ีย (Mean) ส่วน เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) และระดับคณุ ภาพ

53 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ผลการวิเคราะห์การจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้ส่ือมลั ติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เร่ือง กาพย์ห่อโคลงประพาสธาร ทองแดง สาหรบั นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ผ้วู จิ ัยนาเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ดงั น้ี ตอนที่ 1 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนกอ่ นเรียนและหลังเรียนและ ของกลุ่มตัวอย่าง ทเ่ี รียนรู้โดยใช้ส่ือมลั ติมเี ดยี เพ่ือการเรียนรู้ เร่อื ง กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียนรู้โดยใช้ส่ือมัลติมีเดียเพ่ือ การเรยี นรู้ เรอื่ ง กาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนและของ กลุ่มตวั อยา่ งที่เรียนร้โู ดยใชส้ อ่ื มลั ตมิ ีเดียเพื่อการเรียนรู้ เรอ่ื ง กาพยห์ อ่ โคลงประพาสธารทองแดง ตารางที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนและของกลุ่มตัวอย่าง ที่ เรยี นรโู้ ดยใชส้ ่อื มลั ตมิ ีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เร่ือง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง ประชากร N x̅ S. D. t sig. แบทดสอบกอ่ นเรยี น 15 7.2143 1.96813 แบทดสอบหลังเรยี น 13.131 .000 15 13.2143 2.11872 มนี ัยทางสถติ ิทีระดับ 0.5 จากตารางที่ 2 พบว่า นักเรียนกลุ่มทดลองทีไ่ ด้รับการจัดการเรยี นรู้โดยใช้สื่อมัลติมเี ดียเพื่อการเรียนรู้ มีความสามารถในการเรียนรเู้ น้ือหาวิชาภาษาไทย เรื่อง กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง แตกต่างกนั อย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.5 แสดงว่า การจัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เร่ือง กาพย์ห่อ โคลงประพาสธารทองแดง ทาใหค้ วามสามารถในการเรียนรขู้ องกลุม่ ตัวอยา่ งมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นทีส่ ูงข้ึน ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนรู้โดยใช้สื่อมัลติมีเดียเพื่อการ เรยี นรู้ เร่ือง กาพยห์ อ่ โคลงประพาสธารทองแดง เมื่อดาเนินการใช้สื่อมัลติมีเดยี เพื่อการเรียนรู้ เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงในการจัดการ เรียนรู้ และดาเนินการให้กลุ่มตัวอย่างกรอกแบบสอบถามความพึงพอใจ สามารถนาเสนอผลการวิเคราะห์ได้ ดังน้ี

54 ตารางท่ี 3 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนรู้โดยใช้ส่ือมัลติมีเดียเพ่ือ การเรยี นรู้ เรื่อง กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง จากกลมุ่ ตัวอยา่ ง จานวน 15 คน รายการประเมนิ ������̅ S.D. แปลผล 1. ด้านเนือ้ หา 4.22 .70 มาก 1.1 เนือ้ หาในสื่อมัลตมิ ีเดียไมง่ ่ายหรือยากเกนิ ไป 3.41 .80 ปานกลาง 1.1 มีเน้ือหาใหม่ ๆ ใหไ้ ดเ้ รยี นรู้ 3.92 .91 มาก 1.3 ผเู้ รียนมีความเขา้ ใจเนอ้ื หาสอ่ื มัลตมิ เี ดีย 3.67 .78 มาก 1.4 เนอื้ หาเปน็ ประโยชนต์ ่อผู้เรียน 3.80 .80 มาก คา่ เฉล่ยี ด้านเนอ้ื หา 4.81 .58 มากท่สี ดุ 2. ด้านการนาเสนอสื่อมลั ติมีเดีย 4.15 .46 มาก 4.44 .51 มาก 2.1 ภาพที่นาเสนอในสอื่ มลั ติมเี ดียมคี วามชดั เจนเขา้ ใจง่าย 4.78 .68 มากที่สุด 2.2 คณุ ภาพของเสยี งประกอบมีความชัดเจนเขา้ ใจง่าย 4.43 .55 มากทส่ี ุด 2.3 รูปแบบตัวอักษร ขนาดและสีตวั อักษรมคี วามชัดเจนเข้าใจงา่ ย 2.4 ส่ือมัลติมเี ดยี มคี วามนา่ สนใจ 3.93 .71 มาก คา่ เฉล่ียดา้ นการนาเสนอสอ่ื มัลติมีเดยี 2.70 .87 ปานกลาง 3. ดา้ นกิจกรรม 4.52 .51 มากทส่ี ดุ 3.1 กจิ กรรมเสรมิ สร้างความรู้ 4.26 .76 ปานกลาง 3.2 กิจกรรมสามารถเรียนร้ไู ดท้ กุ เวลา 3.86 .71 มาก 3.3 คาอธิบายเนือ้ หามคี วามชดั เจนและเขา้ ใจง่าย 3.4 ความพงึ พอใจโดยรวมท่มี ตี ่อสื่อมัลตมิ ีเดีย 4.07 .60 มาก คา่ เฉลย่ี ดา้ นกจิ กรรม รวม จากตารางท่ี 3 ผลการเปรียบเทียบพบว่า ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ความพึงพอใจของ นักเรียนที่มีต่อส่ือมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เรอ่ื ง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง จานวน 15 คน พบว่า มี ความพึงพอใจในระดับ มาก โดยเน้ือหาในสื่อมัลติมีเดียไม่ง่ายหรอื ยากเกินไป เท่ากบั 4.22 มีเนื้อหาใหม่ ๆ ให้ ได้เรียนรู้ เท่ากับ 3.41 ผู้เรยี นมีความเข้าใจเน้ือหาสือ่ มัลติมีเดีย เท่ากับ 3.92 เน้ือหาเปน็ ประโยชน์ต่อผู้เรียน เท่ากับ 3.67 ภาพท่ีนาเสนอในสื่อมัลติมเี ดียมคี วามชัดเจนเข้าใจงา่ ย เทา่ กบั 4.81 คุณภาพของเสียงประกอบ มคี วามชัดเจนเข้าใจง่าย เท่ากับ 4.15 รูปแบบตัวอักษร ขนาดและสีตัวอักษรมีความชัดเจนเข้าใจง่าย เท่ากับ 4.44 สื่อมัลติมีเดียมีความน่าสนใจ เท่ากับ 4.78 กิจกรรมเสริมสร้างความรู้เท่ากับ 3.93 กิจกรรมสามารถ เรียนรู้ได้ทุกเวลา เท่ากับ 2.70 คาอธิบายเนื้อหามีความชัดเจนและเข้าใจง่ายเท่ากับ 4.52 ความพึงพอใจ โดยรวมท่มี ตี ่อส่ือมลั ตมิ ีเดยี เท่ากบั 4.26

บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ การวิจัยเร่ือง การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง สาหรับนักเรียนชัน้ มะยมศึกษาปีที่ 2 ผูว้ ิจยั สรุปผลและอภิปรายผลการวจิ ยั ดงั นี้ สรปุ ผลการวิจัย 1. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยส่ือมัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เรื่อง เร่ือง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง สาหรับนักเรียนช้ันมะยมศึกษาปีท่ี 2 พบว่า ผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูง กวา่ กอ่ นเรยี นอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติท่รี ะดับ 0.5 2. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2 ท่ีมีต่อสื่อมัลติมีเดยี เพื่อการเรียนรู้ เร่ือง กาพย์ห่อ โคลงประพาสธารทองแดง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (������̅ = 4.07, S.D. = 0.60) อภปิ รายผล การวิจัยเรื่อง การพฒั นาส่อื มัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เรือ่ ง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง ผู้วิจัย สรปุ ผลการวจิ ยั ดังน้ี 1.การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง เร่ือง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง สาหรับนักเรียนช้ันมะยมศึกษาปีที่ 2 พบว่า ผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนสูง กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.5 ซ่ึงเป็นไปตามสมมุติฐานท่ีตั้งไว้ หมายความว่านักเรียนได้ คะแนนเฉล่ียจากการทาแบบทดสอบก่อนเรียนของส่ือมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง คดิ เป็นรอ้ ยละ 36.07 และคะแนนเฉลี่ยจากการทาแบบทดสอบหลงั เรียนการเรียน คิดเป็นร้อยละ 66.07 แสดงว่าสื่อมัลติมีเดียการเรียนรู้ท่ีสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพและมีความเหมาะสมท่ีจะนาไปใช้ในการ จดั การเรยี นรู้ ทง้ั นี้สืบเนื่องมาจากสาเหตุ ดงั น้ี ประการที่ 1 ด้านเน้ือหา ขัน้ ตอนและวิธีการนาเสนอเน้อื หา ได้ผ่านการตรวจสอบข้อมูลจาก ผู้เท่ียวชาญ ด้านภาษาไทย โดยภาพรวมแล้วผู้เท่ียวชาญมีความเห็นอยู่ในระดับมาก นอกจากน้ีผู้วิจัยจึงได้ ทาการศึกษาหาข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ทาการคัดเลือกเน้ือหาจากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน ปีพุทธศักราช 2551 ใหม้ ีความสอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั ผเู้ รียน ประการที่ 2 ด้านการออกแบบสื่อมัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ ผู้วิจัยได้ทาออกแบบส่ือ มลั ติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ตามวัตถปุ ระสงค์ จดั ทาโครงร่างสอ่ื มัลติมีเดียเพ่ือการเรยี นรู้ในรูปแบบของบทดาเนิน เร่ือง (story board) เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบ หน้าจอคอมพิวเตอร์ ขนาดตัวอักษร การจัดวางเนื้อหา รูปภาพ ตัวละคร และเสียงดนตรี เพ่ือให้เหมาะสมกับ ผเู้ รียน การกาหนดเง่ือนไขในการนาเสนอเนือ้ หาแตล่ ะหวั ข้อเรื่อง และคาส่ังของการประมวลผลแบบทดสอบ ประการที่ 3 การรูปแบบการนาเสนอ ผู้วิจัยจะจัดเนื้อหาโดยแบ่งออกเป็นหมวดหมู่อย่าง ชัดเจน มีการจัดลาดับเน้ือหาจากง่ายไปหายาก แบ่งเน้ือหาเป็นตอน ๆ จัดโครงสร้างอย่างเป็นระบบและมี ความสัมพนั ธ์กนั มกี ารยกตัวอย่างใหผ้ ู้เรยี นได้เห็นภาพ งา่ ยต่อการใชง้ าน ซึง่ ทาใหผ้ เู้ รียนสามารถเรยี นรู้ไดต้ าม ความสามารถของแต่ละบุคคล และเรียนรู้ได้อย่างอิสระ มีการทดสอบระหว่างเรียนรู้และให้ผลย้อนกลับ ในทันที เพ่ือเป็นการเสริมแรงให้กับผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนได้ทราบผลการเรียนรู้ของตัวเองในทันที ผู้เรียนเกิด ความสนใจในการเรยี น ไมร่ ู้สึกเบือ่ หน่าย และเกิดความกระตือรือรน้ ในการเรยี นมากข้นึ

56 ซงึ่ สอดคลอ้ งกับความคดิ เหน็ ของ (ณฐั กร สงคราม, 2553) ทว่ี ่า “สอ่ื มลั ตมิ เี ดียเปน็ สอ่ื ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ สงู ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ไม่ยุ่งยากซับซ้อน ผู้เรียนนามาศึกษาได้อย่างสะดวก ผู้เรียนสามารถควบคุมลาดับ การเรียนรู้ เลือกเน้ือหาบทเรียน การทากิจกรรมในบทเรียน การตรวจสอบความก้าวหน้า สามารถตอบสนอง ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล” 2. ความพึงพอใจของนักเรียนขั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่า ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อส่ือ มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เร่ือง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง จานวน 15 คน พบว่า มีความพึงพอใจใน ระดบั มาก โดยเนื้อหาในสื่อมัลตมิ ีเดยี ไม่ง่ายหรือยากเกนิ ไป เทา่ กับ 4.22 มเี น้อื หาใหม่ ๆ ใหไ้ ด้เรยี นรู้ เท่ากับ 3.41 ผู้เรียนมีความเข้าใจเนื้อหาส่ือมัลติมีเดีย เท่ากับ 3.92 เน้ือหาเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน เท่ากับ 3.67 ภาพท่ีนาเสนอในสื่อมัลติมีเดียมีความชัดเจนเข้าใจง่าย เท่ากับ 4.81 คุณภาพของเสียงประกอบมีความ ชัดเจนเข้าใจง่าย เท่ากับ 4.15 รูปแบบตัวอักษร ขนาดและสีตัวอักษรมีความชัดเจนเข้าใจง่าย เท่ากับ 4.44 ส่ือมลั ติมีเดียมีความนา่ สนใจ เท่ากับ 4.78 กจิ กรรมเสรมิ สร้างความรเู้ ทา่ กบั 3.93 กิจกรรมสามารถเรยี นรูไ้ ด้ ทกุ เวลา เท่ากบั 2.70 คาอธิบายเน้ือหามีความชัดเจนและเข้าใจงา่ ย เท่ากับ 4.52 ความพึงพอใจโดยรวมท่ีมี ตอ่ ส่ือมัลติมีเดีย เท่ากบั 4.26 และผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรยี นท่ีมีตอ่ สื่อมัลตมิ ีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เรื่อง เร่ือง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง มีค่าเท่ากับ 4.07 ซ่ึงอยู่ในระดับมาก ท้ังน้ีเน่ืองจากส่ือ มลั ติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ท่ีพัฒนาขึ้น มีองค์ประกอบที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน และทาให้ผู้เรียนเกิด ความสนใจได้ เช่น ตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว เสียงบรรยาย เสียงดนตรีประกอบ และปฏิสัมพันธ์ โต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับสื่อจึงทาให้ผู้เรียน เกิดความสนุกกับการใช้ส่ือ สอดคล้องกับ บุญชม ศรีสะอาด (2545) ที่กล่าวว่า การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียท่ีมี ขนาดตัวอักษรและภาพประกอบการเรียนการสอนท่ีเหมาะสม เม่ือผู้เรียนได้เห็นภาพที่คมชัด และเหมาะสม กับเน้ือหาที่ผู้เรียนศึกษาอยู่ ทาให้ผู้เรียนได้เข้าใจเนื้อหาได้ง่าย ขึ้น และตัวอักษรทใี่ หญ่พอสมควร และไมม่ าก จนเกินไป ทาให้ผู้เรียนไม่เบอื่ หนา่ ยกับการเรยี น สามารถนาสื่อ มัลติมีเดียกลับมาทบทวนความรู้ได้ตามความต้องการ สอดคล้องกับงานวิจัยของ ปรเมศวร์ สิริสุรภักดี, ธเรศวร์ เตชะไตรภพ และบริบูรณ์ ชอบทาดี (2561) ท่ีได้พัฒนาสื่อมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ เรื่อง หลักการ ทางานของคอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดพุทไธศวรรย์ ด้วยโปรแกรม Adobe Flash CS6 และโปรแกรม Adobe Illustrator CS6 พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อ การเรียนด้วย ส่ือ มลั ติมีเดียคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาข้ึนอยู่ในระดับมาก นอกจากน้ียังสอดคล้องกับ อัญญปารย์ ศิลปนิลมาลย์ และ ศรัณยวัฒน์ พลเรียงโพน (2558) ที่ได้พัฒนาบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง การสร้างผังงานด้วย โปรแกรม Microsoft Visio 2010 สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ทั้งนี้ เพราะการพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดีย โดยอาศัยหลักการใช้ส่ิงเร้าเพ่ือให้เกิดการตอบสนองมีการเสริมแรง ในขณะเรียน การนาเสนอเน้ือหาจะเป็นรูปภาพเคล่ือนไหว ข้อความ เสียง และผู้เรียนสามารถทราบผล ความก้าวหน้าของตนเองทันทีเมอ่ื ตอบเสร็จ เพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงความสามารถของตนเอง และการแก้ไข ขอ้ บกพรอ่ งด้วย ถ้าผ้เู รียนไดร้ ับผลท่นี า่ พงึ พอใจ จะช่วยให้การเรยี นประสบความสาเรจ็ ข้อเสนอแนะ ผู้วิจัยมขี ้อเสนอแนะในการทาวิจัยคร้ังต่อไป ดังนี้ 1. ควรมีการสร้างและพัฒนาส่ือมัลติมีเดียเพอื่ การเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ในเนื้อหาอืน่ ๆ เพื่อช่วย ใหก้ ารจดั การเรียนรรู้ ายวิชาภาษาไทยสามารถเข้าถึงผู้เรียน และทาให้จดั การเรียนรไู้ ด้สะดวกยง่ิ ขน้ึ 2. สร้างสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ในรูปแบบอื่น ๆ ให้มีความหลากหลายมากขึ้น อาทิ รูปแบบ เวบ็ ไซต์ แอพพลเิ คชนั่ เพเอให้เกิดรูปแบบการเรียนรู้ทีห่ ลากหลายและทนั สมยั

บรรณานุกรม กนั นิกา ผิวออ่ นดี. 2548. การพฒั นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนวิชาภาษาองั กฤษด้านการอา่ นเพ่อื ความเข้าใจ ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรียนในสังกดั อาเภอบางปลามา้ จงั หวัด สพุ รรณบรุ .ี สาขาวชิ าเทคโนโลยีการศึกษา, มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2551. หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย เกรยี งศกั ด์ิ รอดเล็ก. 2556. การพฒั นาบทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6 เสภาเรือ่ งขนุ ช้างขนุ แผน ตอนขนุ ชา้ งถวายฎกี า. วารสารวิชาการ Veridian E- Journal. (6)2 โกเมณ ดกโบราณ. (2560). การพัฒนาสอื่ มัลตมิ ีเดยี เพ่อื การเรียนร้ดู ้วยตนเอง เร่อื ง ระบบสารสนเทศ สาหรบั บคุ ลากรสายปฏบิ ตั ิการ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยสี ุรนาร.ี วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาศกึ ษา ศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยแี ละสื่อสารการศึกษา คณะครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร.ี กรองแก้ว กงิ่ สวสั ดิ์. 2546. เปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนและความคงทนในการเรียนรูว้ ิชาภาษาไทย สาหรบั นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 จากบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนทม่ี ีตัวช้นี าและไม่มตี วั ชน้ี า. วทิ ยานิพนธ์ปริญญาศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต. สาขาวชิ าเทคโนโลยีการศกึ ษา บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . ชลยิ า ลิมปิยากร. 2536. เทคโนโลยีการศึกษา. กรงุ เทพฯ : พศิ ษิ ฐ์การพมิ พ์. ชวลติ เขง่ ทอง. 2560. เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง สื่อการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : สานกั พฒั นา เทคนิค ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ชัยยงค์ พรหมวงศ์. 2520. ระบบสอ่ื การสอน. . กรงุ เทพฯ : สานักพิมพจ์ ุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . ชตุ ิมา จนั ทรจิตร. 2544. ผลการใชบ้ ทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนเร่ือง คาศพั ท์ในวิชาภาษาไทย สาหรับ นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคาแหง. เชยี รศรี วิวิธสริ ิ. 2535. การศกึ ษาผใู้ หญแ่ ละการศกึ ษานอกโรงเรียน : เทคโนโลยที างการศึกษา = Adult & nonformal education : educational technology. กรงุ เทพฯ : ภาควิชาการศกึ ษาผูใ้ หญ่ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมติ ร. ไชยยศ เรอื งสุวรรณ. 2526. การบริหารสอ่ื และเทคโนโลยที างการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : วฒั นาพาณิช. ณัฐกร สงคราม. 2554. การออกแบบและพัฒนามลั ติมีเดยี เพอื่ การเรียนรู.้ พิมพ์คร้งั ที่ 2. กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ณฐั พงษ์ ญานวัฒนะ. (2559). การศกึ ษาความสามารถในการวิเคราะห์วรรณคดีไทย ของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ทเ่ี รยี นตามรปู แบบการเรียนการสอนดว้ ยวิธีวจิ ยั . วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาศึกษา ศาสตรมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. กรุงเทพมหานคร. ณัฐศกั ด์ิ จนั ทรเ์ พชร, วลั ลยา ธรรมอภิบาล และจนิ ตนา กสินันท.์ 2558. การพฒั นาบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ ชว่ ยสอน รายวิชาการเขยี นโปรแกรมเรอื่ งการเขยี นโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ สาหรบั นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5. 7(1) : 112.

58 บรรณานุกรม (ตอ่ ) ทวศี ลิ ป์ อัยวรรณ. 2549. การพัฒนาบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน เพ่ือแก้ไขข้อบกพร่องทางการเขียน สะกดคา ไม่ตรงมาตรา สาหรับนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 โรงเรยี นวดั พระแท่นดงรัง อาเภอ ท่ามะกา จังหวดั กาญจนบรุ ี. สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารศึกษา, มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. เทื้อน ทองแก้ว. 2563. การออกแบบการศกึ ษาในชีวิตวถิ ึใหม่ (Design- Based New Normal) : ผลกระทบจากการแพร่ระบาด COVID-19. คุรสุ ภาวทิ ยาจารย์ JOURNAL OF TEACHER PROFESSIONAL DEVELOPMENT. (1)2 : 1-8 นลินพร แกว้ ศศวิ มิ ล. 2552. การพัฒนาบทเรียนคอมพวิ เตอรม์ ลั ตมิ ีเดีย เรื่อง การใช้กาวซีเมนต์ สาหรับ บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์. 2525. การทดสอบแบบอิงเกณฑ์ : แนวคิดและวิธีการ. กรุงเทพฯ : ภาควิชา พนื้ ฐานการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร เบญจมาภรณ์ เสนารตั น์ และสมประสงค์ เสนารตั น.์ 2561. หลกั การวดั และประเมินผลทางการศกึ ษา – Principles of Education Measurement and Evaluation. พมิ พค์ รั้งท่ี 4. มหาสารคาม : อภิชาตการพิมพ์. ประกิจ รตั นสวุ รรณ. 2525. การวัดและการประเมินผลทางการศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร : คณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร. ปรเมศวร์ สริ สิ รุ ภกั ดธี เรศวร์, เตชะไตรภพ และบริบรู ณ์ ชอบทาดี. 2561. การพฒั นาส่ือมัลตมิ เี ดีย คอมพิวเตอร์ เรื่อง หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ สาหรบั นกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนวดั พุทไธศวรรย์. วารสารนวตั กรรมการเรียนรู้ มหาวทิ ยาลัยวลัยลกั ษณ.์ 4(1) : 49-62. เผชิญ กจิ ระการ. 2544. การวเิ คราะหส์ ่ือและเทคโนโลยีการศึกษา (E1/E2). วารสารการวดั ผลการศึกษา. 7(4), 46-56 พงศวรี ์ สภุ านนท์. 2548. การพฒั นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วชิ าภาษาฝรัง่ เศส เรอ่ื ง วัฒนธรรม ฝรง่ั เศส ด้านวฒั นธรรมการกิน. สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. พวงรตั น์ทวีรัตน์. 2543. วธิ ีการวิจยั ทางพฤตกิ รรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์. พิมพค์ ร้งั ที่ 7. กรงุ เทพฯ: สานักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ. ไพศาล หวังพานิช. 2523. การวัดผลการศึกษา. กรุงเทพฯ : สานักทดสอบทางการศึกษาและ. จิตวิทยา มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒน์ กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นพานชิ , 2537. ภพ เลาหไพบูลย. 2537. การสอนวิทยาศาสตรใ์ นโรงเรียนมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: เชียงใหม่. คอมเมอรเ์ ซียล. มาลณิ ี จุโฑปะมา. 2554. จิตวทิ ยาการศึกษา = Educational psychology. บรุ ีรมั ย์ : คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบรุ รี มั ย์ ลวน สายยศ และองั คณา สายยศ. 2536. หลกั การวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : ศกึ ษาพร วารณุ ี กีเ่ อย่ี น. 2552. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรม์ ลั ติมีเดีย เรอ่ื ง การใช้ภาษาพูดและภาษาเขียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนช่วงชั้นท่ี 2. สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ. วเิ ชียร เกษปทมุ , 2557. หลักภาษาไทย. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ทรัพย์การพิมพ์ วิไลพร จนี เมือง. 2545. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนเรื่องคาลกั ษณะนาม สาหรบั สอน ภาษาไทยให้กบั ชาวตา่ งประเทศ. สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร.

59 บรรณานุกรม (ต่อ) ศริ ิพล แสนบุญสง่ , นปิ เอมรฐั และศักดา จันทราศร. 2561. การพฒั นาส่อื มลั ตมิ เี ดยี เพ่ือการเรียนรู้ เร่อื ง โปรแกรมค้นหา สาหรับนกั เรียนระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนวัดพระขาว (ประชานุ เคราะห)์ จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา. วารสารนวตั กรรมการเรยี นรู้ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา. (4)2 สคุ นธ์ สนิ ธพานนท.์ 2551. นวตั กรรมการเรยี นการสอนเพ่ือพัฒนาคุณภาพของเยาวชน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์9119 เทนนคิ พร้ินติง. สชุ าดา โพธสิ มภาพวงษ.์ 2545. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน เพือ่ ประกอบการสอนเสยี ง ภาษาองั กฤษทเี่ ป็นปัญหา สาหรับนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2 ของโรงเรียนพระปฐมวทิ ยาลัย จังหวดั นครปฐม. สาขาวชิ าการสอนภาษาองั กฤษในฐานะภาษาตา่ งประเทศ มหาวิทยาลยั ศิลปากร. สุนิตา โดยอาษา. 2550. การพฒั นาบทเรยี นคอมพวิ เตอร์เรื่องการออกแบบเวบ็ ไซต์ กล่มุ สาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยีสาหรับนกั เรียนช่วงช้นั ที่ 3. สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา หาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. สรุ างค์ โค้วตระกลู . 2552. จิตวิทยาการศกึ ษา. พมิ พ์ครงั้ ท่ี 8. กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั สมบรู ณ์ สงวนญาติ. 2534. เทคโนโลยที างการเรียนการสอน. กรงุ เทพฯ : ภาคพฒั นาตาราเรยี นและเอกสาร ทางวชิ าการ หนว่ ยศกึ ษานิเทศก์ กรมการฝกึ หดั ครู. สมประสงค์ เสนารตั น์. 2561. การวจิ ัยทางการศกึ ษา – Educational Resarch. พิมพ์ครงั้ ที่ 3. มหาสารคาม : อภชิ าตการพมิ พ.์ อัจฉรา สุขารมณ์และอรพินทร์ ชูชม. 2530. การศึกษาเปรียบเทียบนักเรียนท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ต่า กว่าระดับความสามารถ กับนักเรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปกติ. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัย พฤตกิ รรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรท์ รวิโรฒ ประสานมิตร, อัชรา เอบิ สุขสริ ิ. 2556. จิตวิทยาสาหรับครู. กรุงเทพฯ : สานักพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั อัญญปารย์ ศลิ ปะนิลมาลย์ และศรัณยวัฒน์ พลเรยี งโพน. 2558. การพฒั นาบทเรียนมลั ตมิ ีเดีย เร่ือง การ สรา้ งผังงานดว้ ยโปรแกรม Microsoft Visio 2010 สาหรบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5. วารสารวิชาการ การจดั การเทคโนโลยสี ารสนเทศและนวัตกรรม, 2(1), 61-68 อรรณพ วริ ยิ ะสจั จะ. 2549. การพฒั นาบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน เร่ือง คาศัพทภ์ าษาองั กฤษเกยี่ วกับ คานาม สาหรับนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรยี นวัดปากบ่อ [เหลืองราษฎร์บารุง] อาเภอ เมอื งสมุทรสาคร จงั หวัดสมุทรสาคร. สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารศกึ ษา, มหาวิทยาลยั ศิลปากร.

60 บรรณานุกรม (ต่อ) Good,Cartor V. (1973). Dictionary of Education. New York: Mc Graw-Hill. Herzberg, Frederick ; Manusner, Bernard; & Snyderman,Babary Block. (1959). The Motivation to work. 2nd ed. New York: John Wiley&Sons. Alkahtani, Saad. Teaching ESL Reading using Computers [Online]. Accessed 6 March 2003. Available from http://www.aitech. Ac.jp/-iteslj/ Techniques/ Alkahtani Computer Reading/ Balderas, Teresa. High school business students ability to read computer-generated reference Material [CD-ROM] . 1998.Abstract from Proguest File :Dissertation Abstract Item Aac 1394576. Maslow, A. H. (1970). Motivation and personality. New York: Harper and Row. Prescott, B. A. (1961). Report of Conference on Child Student. Education Bulletin. Bangkok : Faculty of Education. Chulalongkorn University. Soe,Kyaw. Effect of computer-assisted Instruction (CAI) on Reading Achievement: A Meta-Analysis [ Online ]. Accessed. 25 July 2003. Available from http://www. prel. org/products/effect-cai. Html

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก รายนามผทู้ รงคณุ วฒุ ิ

1. นายสุวพงษ์ คามวลั ย์ 63 2. นางประพาพร สุทธธิ าดาทับทิม 3. นางสงวน มลู ศรแี ก้ว รายนามผ้ทู รงคณุ วุฒิ 5. นางสาวโฉมเฉลา แสวงผล 5. นางณปภัส กาเนดิ ขอนแก่น รองผอู้ านวยการฝ่ายวิชาการ โรงเรียนธวัชบรุ วี ทิ ยาคม อ. ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนธวัชบรุ วี ทิ ยาคม อ. ธวชั บุรี จ.รอ้ ยเอด็ ครชู านาญการพิเศษ โรงเรียนธวชั บรุ วี ิทยาคม อาเภอธวัชบรุ ี จงั หวดั ร้อยเอ็ด ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรียนธวชั บรุ วี ิทยาคม อาเภอธวัชบุรี จงั หวดั รอ้ ยเอด็ ครชู านาญการพิเศษ โรงเรียนธวัชบุรวี ทิ ยาคม อาเภอธวัชบุรี จงั หวดั ร้อยเอด็

ภาคผนวก ข แผนการจดั การเรียนร้โู ดยใชส้ อ่ื มลั ติมีเดยี เพอ่ื การเรียนรู้ เรอื่ ง กาพย์หอ่ โคลงประพาสารทองแดง

65 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 กาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง เวลา 6 ชว่ั โมง เรื่อง ประวตั คิ วามเปน็ มาของกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง เวลา 1 ชว่ั โมง ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2/1 จดั กจิ กรรมวนั ท่ี 9 เดอื น กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 13.00-13.50 น. ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2/2 จัดกิจกรรมวันที่ 7 เดือน กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 13.55-14.45 น. ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2/3 จดั กิจกรรมวันที่ 9 เดือน กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 12.05-12.55 น. สาระการเรียนรู้ - ความเป็นมาของกาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง - ประวตั ผิ แู้ ต่งกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง สาระสาคญั การศกึ ษาเร่ือง กาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง จะต้องศกึ ษาความเป็นมาและประวัตผิ แู้ ต่ง รวมทงั้ การจบั ใจความสาคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อา่ น เจา้ ฟ้าธรรมธเิ บศรทรงนพิ นธ์ กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงขึน้ เน่ืองในโอกาสตามเสดจ็ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศพระราชบดิ า ไป นมัสการพระพุทธบาท จังหวัดสระบรุ ี ซงึ่ เสดจ็ โดยทางชลมารคกาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดงน้ไี ด้ทรง นพิ นธต์ อ่ จากกาพยเ์ ห่เรอื มลี ักษณะคาประพนั ธเ์ ปน็ กาพย์ห่อโคลง ตัวชว้ี ดั ท 5.1 ม. 2/2 สรุปเนอ้ื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อ่านในระดบั ทยี่ ากข้ึน มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท 5.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คุณค่า และนามาประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. นกั เรียนสามารถบอกชอื่ ผู้แต่งกาพยห์ อ่ โคลงประพาสธารทองแดงได้ (K) 2. นักเรียนสามารถสรุปยอ่ ประวัติความเปน็ มาของกาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดงได้ ( P) ๓. นกั เรยี นตระหนกั ถงึ คุณค่าของวรรณคดี (A) สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น ขอ้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร ขอ้ 2. ความสามารถในการคิด ข้อ 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

66 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ข้อ 3. มีวนิ ยั ขอ้ 4. ใฝ่เรยี นรู้ ข้อ 6. มุ่งมั่นในการทางาน กจิ กรรมพัฒนาการเรยี นรู้ ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรียน ๑. ครูและนกั เรียนร่วมกันพูดคุยถึงวรรณคดีที่เคยเรยี นและชืน่ ชอบ พรอ้ มแสดงความคิดเหน็ ถึง เหตุผลท่ีชอบหรอื สนใจวันคดีนน้ั ๆ ๒. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี นจานวน 20 ขอ้ ข้นั กิจกรรมการเรียนรู้ ๑. นกั เรยี นเปิดสือ่ มลั ตมิ เี ดยี เพอื่ การเรียนรู้ เร่ือง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง จากน้นั ศกึ ษา วิธีการใชง้ านเบ้ืองต้น ๒. นกั เรยี นศึกษาความร้เู รือ่ งกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงในเนื้อหาบทท่ี 1 เรอื่ งประวตั ิ ความเป็นมาของกาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง โดยครูเป็นผู้คอยให้คาแนะนาและตอบข้อสงสัยของ นกั เรียน 3. ครูอธบิ ายความร้เู พิ่มเตมิ เก่ียวกับประวตั ผิ แู้ ต่งกาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง เชน่ ประวตั ิ ผลงานการประพนั ธ์ ฯลฯ 4. นักเรียนสรปุ ยอ่ เนอื้ หาเรื่องประวตั คิ วามเป็นมาของกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงลงในสมดุ ขน้ั สรปุ ๑. ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรุปความรเู้ กีย่ วกบั ประวตั คิ วามเป็นมาของกาพย์ห่อโคลงประพาสธาร ทองแดง ตามประเด็นต่อไปน้ี - ประเพณีในสมัยอยธุ ยา - ผูแ้ ตง่ กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง - ข้อมูลเกีย่ วกับเจา้ ฟา้ ธรรมธิเบศ (เจ้าฟ้ากุง้ ) - สาเหตใุ นการแต่งวรรณคดี สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๑. สอื่ มลั ตมิ ีเดียเพื่อการเรยี นรู้ เรอื่ ง กาพยห์ อ่ โคลงประพาสธารทองแดง

67 กระบวนการวดั และประเมนิ ผล วิธีการวดั /ประเมนิ เคร่ืองมือ เกณฑ์การประเมนิ คาถามทบทวนความรู้ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ สงั เกตการณ์ตอบ มีผลการประเมินใน คาถามในชั้นเรยี น ระดบั ดี ขน้ึ ไป 1. นักเรยี นสามารถบอกช่อื ผู้แตง่ กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง ได้ (K) 2. นักเรยี นสามารถสรุปยอ่ ประวัติ ตรวจงานที่ งานที่มอบหมาย มผี ลการประเมินใน ความเป็นมาของกาพยห์ ่อโคลง มอบหมาย ระดับ ดี ขนึ้ ไป ประพาสธารทองแดงได้ ( P) สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤติกรรม มผี ลการประเมินใน ๓. นกั เรียนตระหนักถึงคุณค่าของ ระดับ ดี ข้นึ ไป วรรณคดี (A) เกณฑ์การวัด/เกณฑก์ ารให้คะแนนเกณฑ์การประเมนิ ผลงานนกั เรยี น - ครูผูส้ อนได้กาหนดเกณฑใ์ นการทางานท่ีรบั มอบหมายจากการสรปุ เน้ือหาบทเรยี น โดยกาหนด เกณฑ์คะแนนไวท้ ี่ 5 คะแนน โดยพิจารณาตามดุลพินจิ ของครูผสู้ อน

68 แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 2 กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 กาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง เวลา 6 ช่วั โมง เรอ่ื ง ลักษณะคาประพันธ์ของกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง เวลา 1 ชัว่ โมง ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 2/1 จัดกจิ กรรมวันท่ี 9 เดอื น กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 13.00-13.50 น. ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2/2 จดั กจิ กรรมวันท่ี 7 เดอื น กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 13.55-14.45 น. ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2/3 จดั กจิ กรรมวันที่ 9 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 12.05-12.55 น. สาระการเรียนรู้ - ลักษณะคาประพันธ์ของกาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง - กาพย์ห่อโคลง - ฉนั ทลกั ษณ์ของกาพย์หอ่ โคลง สาระสาคัญ กาพยห์ ่อโคลง เปน็ ช่ือของบทประพนั ธ์ที่แต่ขน้ึ โดยใช้กาพย์ยานี ๑๑ สลบั กับโคลง ๔ สุภาพ กาพย์ ยานี ๑๑ กบั โคลง ๔ สภุ าพนัน้ จะตอ้ งมขี ้อความอย่างเดียวกัน คอื ให้วรรคท่ี ๑ ของกาพยย์ านกี ับบาทที่ ๑ ของ โคลง ๔ สุภาพจะบรรยายขอ้ ความอย่างเดยี วกนั หรอื บางทีก็ใหค้ าตน้ วรรคของกาพย์กับคาต้นบทของโคลง เป็นคาเหมือนกัน สว่ นบัญญตั ิหรือกฎข้อบงั คบั จะเหมือนกบั กฎของกาพยย์ านี ๑๑ และโคลง ๔ สุภาพท้ังสิ้น ตัวชวี้ ัด ท 5.1 ม. 2/2 สรปุ เนอื้ หาวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี ่านในระดบั ทยี่ ากขนึ้ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท 5.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เหน็ วิจารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คณุ ค่า และนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จรงิ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นักเรยี นสามารถระบลุ ักษณะของกาพยห์ ่อโคลงได้ (K) 2. นักเรยี นสามารถวาดแผนผังฉนั ทลักษณ์ของกาพย์ห่อโคลงได้ ( P) ๓. นกั เรียนตระหนกั ถึงคณุ คา่ ของวรรณคดี (A) สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น ข้อ 1. ความสามารถในการส่ือสาร ขอ้ 2. ความสามารถในการคิด ข้อ 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต

69 คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ขอ้ 3. มีวนิ ยั ข้อ 4. ใฝ่เรยี นรู้ ขอ้ 6. มงุ่ มน่ั ในการทางาน กจิ กรรมพัฒนาการเรียนรู้ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั พูดคุยถงึ วรรณคดีทเี่ คยเรยี นและชืน่ ชอบ พรอ้ มแสดงความคดิ เห็นถงึ เหตผุ ลทชี่ อบหรอื สนใจวันคดีนั้น ๆ ๒. ครพู ดู คยุ กับนักเรยี นเกยี่ วกบั การรปู แบบการแต่งกลอนทน่ี ักเรยี นเคยรูจ้ ัก 3. ครใู ห้นักเรยี นลองคาดการณ์ว่าลักษณะของกาพยห์ ่อโคลงจะมีลกั ษณะเป็นอย่างไร ข้นั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. นักเรียนเปดิ สอ่ื มลั ตมิ ีเดยี เพื่อการเรยี นรู้ เรอื่ ง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง จากนนั้ ศกึ ษา วธิ ีการใช้งานเบือ้ งต้น ๒. นักเรยี นศึกษาความร้เู รื่องกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงในเนือ้ หาบทที่ 2 เรอ่ื งลกั ษณะ การประพนั ธ์ของกาพยห์ อ่ โคลงประพาสธารทองแดง โดยครูเป็นผู้คอยใหค้ าแนะนาและตอบข้อสงสยั ของ นกั เรียน 3. ครูอธิบายความรเู้ พ่ิมเติมเกย่ี วกับกาพย์หอ่ โคลงชนิดอ่ืน ๆ ที่เปน็ ท่รี ู้จกั เชน่ กาพย์เห่เรือ 4. ครุใหน้ ักเรยี นสามารถวาดแผนผงั ฉันทลักษณข์ องกาพย์ห่อโคลงลงในสมดุ ขัน้ สรปุ ๑. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปความรูเ้ ก่ยี วกบั กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง ตามประเดน็ ตอ่ ไปน้ี - กาพยห์ ่อโคลงมีลักษณะทแี่ ตกตา่ งจากกลอนชนิดอนื่ อย่างไร - ทาไมจงึ เรียกคาประพันธช์ นิดน้ีวา่ กาพย์ห่อโคลง สื่อ/แหล่งเรยี นรู้ ๑. ส่อื มลั ติมเี ดยี เพื่อการเรยี นรู้ เรอื่ ง กาพยห์ อ่ โคลงประพาสธารทองแดง

70 กระบวนการวดั และประเมนิ ผล วิธีการวดั /ประเมนิ เคร่ืองมือ เกณฑ์การประเมนิ คาถามทบทวนความรู้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สงั เกตการณ์ตอบ มีผลการประเมินใน คาถามในชั้นเรยี น ระดบั ดี ขน้ึ ไป 1. นกั เรียนสามารถบอกชื่อผู้แตง่ กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง ได้ (K) 2. นักเรยี นสามารถสรปุ ย่อประวัติ ตรวจงานที่ งานที่มอบหมาย มผี ลการประเมินใน ความเปน็ มาของกาพยห์ อ่ โคลง มอบหมาย ระดับ ดี ขนึ้ ไป ประพาสธารทองแดงได้ ( P) สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤติกรรม มผี ลการประเมินใน ๓. นักเรียนตระหนักถงึ คุณค่าของ ระดับ ดี ข้นึ ไป วรรณคดี (A) เกณฑก์ ารวดั /เกณฑ์การให้คะแนนเกณฑ์การประเมนิ ผลงานนกั เรยี น - ครผู ู้สอนได้กาหนดเกณฑใ์ นการทางานท่ีรบั มอบหมายจากการสรปุ เน้ือหาบทเรยี น โดยกาหนด เกณฑ์คะแนนไว้ที่ 5 คะแนน โดยพิจารณาตามดุลพินจิ ของครูผสู้ อน

71 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 3 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง เวลา 6 ชวั่ โมง เร่อื ง ลักษณะคาประพันธข์ องกาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง เวลา 1 ชัว่ โมง ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2/1 จดั กจิ กรรมวนั ท่ี 9 เดือน กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 13.00-13.50 น. ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2/2 จดั กจิ กรรมวันท่ี 7 เดือน กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 13.55-14.45 น. ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2/3 จัดกจิ กรรมวนั ท่ี 9 เดอื น กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 12.05-12.55 น. สาระการเรยี นรู้ - กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง สาระสาคญั การศกึ ษาเร่ือง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง จะต้องศึกษาความเปน็ มาและประวัตผิ แู้ ตง่ รวมทัง้ การจับใจความสาคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอยี ดจากเร่ืองท่ีอา่ น เจ้าฟ้าธรรมธเิ บศรทรงนพิ นธ์ กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดงขึ้น เนอ่ื งในโอกาสตามเสด็จพระเจา้ อยหู่ ัวบรมโกศพระราชบิดา ไป นมัสการพระพุทธบาท จงั หวัดสระบุรี ซง่ึ เสดจ็ โดยทางชลมารคกาพยห์ อ่ โคลงประพาสธารทองแดงนไ้ี ด้ทรง นิพนธต์ ่อจากกาพยเ์ ห่เรือ มีลักษณะคาประพนั ธเ์ ปน็ กาพย์หอ่ โคลง ตวั ชวี้ ดั ท 5.1 ม. 2/2 สรปุ เน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรมท่อี า่ นในระดับท่ียากขึ้น มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท 5.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คณุ ค่า และนามาประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ จริง จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นักเรยี นสามารถบอกเน้ือหาโดยรวมของกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงได้ (K) 2. นกั เรยี นสามารถอ่านบทอาขยานกาพยห์ อ่ โคลงประพาสธารทองแดงได้ ( P) ๓. นักเรียนตระหนกั ถงึ คณุ ค่าของวรรณคดี (A) สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น ข้อ 1. ความสามารถในการสื่อสาร ขอ้ 2. ความสามารถในการคิด ขอ้ 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ข้อ 3. มวี ินยั ขอ้ 4. ใฝเ่ รียนรู้

72 ข้อ 6. มงุ่ มน่ั ในการทางาน กิจกรรมพัฒนาการเรยี นรู้ ขั้นนาเข้าสบู่ ทเรยี น ๑. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั พูดคยุ ถึงวรรณคดีทีเ่ คยเรยี นและชน่ื ชอบ พรอ้ มแสดงความคิดเหน็ ถึง เหตุผลท่ชี อบหรือสนใจวนั คดีนนั้ ๆ ๒. ครูพูดคุยกับนักเรยี นเกยี่ วกับการรปู แบบการแต่งกลอนที่นกั เรียนเคยรจู้ ัก 3. ครูใหน้ ักเรียนลองคาดการณ์ว่าลักษณะของกาพยห์ ่อโคลงจะมลี ักษณะเป็นอย่างไร ขั้นกจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. นกั เรยี นเปิดสอื่ มลั ติมเี ดยี เพ่อื การเรียนรู้ เรอ่ื ง กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง จากนั้นศกึ ษา วธิ ีการใชง้ านเบอื้ งตน้ ๒. นกั เรียนศกึ ษาความรูเ้ รอ่ื งกาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดงในเนือ้ หาบทที่ 3 เร่อื ง เน้ือหา กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง โดยครูเป็นผู้คอยใหค้ าแนะนาและตอบข้อสงสยั ของนักเรยี น 3. ครใู ห้นักเรียนบอกชื่อของสตั วท์ ีพ่ บในเรอ่ื งกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงมาอย่างนอ้ ยคนละ 2 ชนดิ 4. นักเรยี นร่วมกันเลือกบทอาขยานในกาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดงมา 1 บท และฝกึ ทอ่ ง ตาม จากนนั้ อ่านพ้อมกันเปน็ ทานองเสนาะ ขัน้ สรุป ๑. ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรุปความร้เู ก่ียวกบั กาพยห์ อ่ โคลงประพาสธารทองแดง ตามประเดน็ ต่อไปนี้ - เนือ้ หาโดยรวมของกาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดงพูดถึงเรอ่ื งอะไร - นอกจากการพรรณนาเกี่ยวกบั สัตว์ป่าแล้วกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงมกี ารกล่าวถงึ อะไรอีกบ้าง ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้ ๑. สอื่ มัลติมีเดยี เพื่อการเรยี นรู้ เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 2. หนังสอื เรยี นวรรณคดี และวรรณกรรม ช้นั ม.2

73 กระบวนการวัดและประเมินผล วธิ ีการวัด/ประเมนิ เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ คาถามทบทวนความรู้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สงั เกตการณต์ อบ มผี ลการประเมินใน คาถามในชน้ั เรียน ระดับ ดี ขน้ึ ไป 1. นกั เรยี นสามารถบอกเน้ือหา โดยรวมของกาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดงได้ (K) 2. นักเรยี นสามารถอา่ นบท สังเกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤติกรรม มีผลการประเมินใน อาขยานกาพยห์ ่อโคลงประพาส สังเกตพฤตกิ รรม ระดบั ดี ข้ึนไป ธารทองแดงได้ (P) แบบสงั เกตพฤติกรรม มีผลการประเมินใน ๓. นกั เรยี นตระหนักถงึ คณุ คา่ ของ ระดบั ดี ขึ้นไป วรรณคดี (A)

74 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 4 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 กาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง เวลา 6 ช่วั โมง เร่ือง พจิ ารณาคณุ คา่ กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง เวลา 1 ช่ัวโมง ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2/1 จดั กจิ กรรมวนั ที่ 9 เดือน กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 13.00-13.50 น. ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 2/2 จัดกิจกรรมวันท่ี 7 เดือน กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 13.55-14.45 น. ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2/3 จดั กิจกรรมวันท่ี 9 เดอื น กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 12.05-12.55 น. สาระการเรียนรู้ - คุณค่าของกาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง - ข้อคดิ ของกาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง สาระสาคญั การพจิ ารณาคุณคา่ กาพย์ห่อโคลง เป็นการพนิ ิจพจิ ารณาแยกแยะสงิ่ ต่าง ๆ ทีผ่ ู้แตง่ มุ่งถา่ ยทอดออกมา อย่างเปน็ ศิลปะเพอื่ คนหาความรู้ ข้อคิด คตคิ าสอนที่สอดแทรกในบทร้อยกรองเหลา่ นนั้ มา ปรบั ใช้ใหเ้ ป็น ประโยชน์ต่อการดาเนินชวี ติ ตัวชี้วัด ท 5.1 ม. 2/2 สรุปเน้ือหาวรรณคดแี ละวรรณกรรมทีอ่ ่านในระดับทีย่ ากข้ึน มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคณุ ค่า และนามาประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ จริง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นกั เรยี นสามารถบอกข้อคิดท่ีได้จากวรรณคดีเร่ืองกาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง ได้ (K) 2. นกั เรยี นสามารถวิเคราะห์คุณค่าของกาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดงได้ (P) 3. เหน็ คณุ คา่ และซาบซ้ึงในการอา่ นวรรณคดีและวรรณกรรมไทย (A) สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ขอ้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร ข้อ 2. ความสามารถในการคิด ข้อ 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

75 คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ขอ้ 3. มีวินัย ข้อ 4. ใฝ่เรียนรู้ ข้อ 6. มงุ่ ม่ันในการทางาน กจิ กรรมพฒั นาการเรยี นรู้ ข้นั นาเขา้ ส่บู ทเรยี น ๑. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนเนือ้ หาของกาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง 3. ครตู ้องคาถามกับนกั เรียนวา่ เหตุการณ์ในกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงมคี วามแตกต่างกับ ยุคปัจจบุ ันอยา่ งไรบา้ ง ขัน้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. นักเรียนเปดิ สื่อมัลตมิ เี ดยี เพือ่ การเรียนรู้ เรอื่ ง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง จากนน้ั ศึกษา วธิ กี ารใช้งานเบอ้ื งตน้ ๒. นักเรยี นศึกษาความร้เู รอ่ื งกาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดงในเนอ้ื หาบทท่ี 4 เร่ืองการ วิเคราะห์กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง โดยครเู ปน็ ผู้คอยให้คาแนะนาและตอบข้อสงสัยของนักเรยี น 3. ครูยกตัวอย่างบทประพนั ธ์ในเนอ้ื หากาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง เพ่ือเป็นตัวอย่างให้ นกั เรียน โดยแบ่งแบ่ง - ศลิ ปะการประพันธ์ - คุณค่าของรรรคดี 4. นักเรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี นจานวน 20 ข้อ ขั้นสรปุ ๑. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรุปความรู้เกีย่ วกับกาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง ตามประเด็น ตอ่ ไปนี้ - ขอ้ คดิ ท่ีได้จากเรอ่ื ง - คณุ คา่ ที่ได้จากเร่ือง ส่ือ/แหล่งเรยี นรู้ ๑. ส่ือมัลติมเี ดยี เพ่ือการเรียนรู้ เรอื่ ง กาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง 2. หนงั สอื เรยี นวรรณคดี และวรรณกรรม ช้ัน ม.2

76 กระบวนการวัดและประเมินผล วิธกี ารวัด/ประเมนิ เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สงั เกตการณ์ตอบ คาถามทบทวนความรู้ มผี ลการประเมินใน คาถามในชั้นเรยี น ระดับ ดี ข้ึนไป 1. นักเรียนสามารถบอกข้อคิดที่ได้ คาถามทบทวนความรู้ จากวรรณคดีเร่ืองกาพยห์ ่อโคลง สงั เกตการณต์ อบ มีผลการประเมินใน ประพาสธารทองแดง คาถามในช้ันเรียน แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั ดี ขึ้นไป ได้ (K) 2. นกั เรยี นสามารถวิเคราะห์ สงั เกตพฤตกิ รรม มีผลการประเมินใน คุณคา่ ของกาพยห์ อ่ โคลงประพาส ระดับ ดี ขนึ้ ไป ธารทองแดงได้ (P) 3. เหน็ คณุ ค่าและซาบซ้ึงในการ อา่ นวรรณคดีและวรรณกรรมไทย (A)

77 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง เวลา 6 ชวั่ โมง เร่อื ง พิจารณาคุณคา่ กาพยห์ ่อโคลง เวลา 1 ช่วั โมง ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 2/1 จดั กจิ กรรมวนั ท่ี 10 เดอื น กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 13.00-13.50 น. ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2/2 จัดกิจกรรมวันที่ 9 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 13.55-14.45 น. ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2/3 จัดกิจกรรมวันท่ี 10 เดือน กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 12.05-12.55 น. สาระการเรยี นรู้ - คณุ ค่าของกาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง - ข้อคดิ ของกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง สาระสาคญั การพิจารณาคุณค่ากาพย์ห่อโคลง เป็นการพินจิ พจิ ารณาแยกแยะสง่ิ ต่าง ๆ ที่ผู้แตง่ ม่งุ ถา่ ยทอดออกมา อย่างเปน็ ศลิ ปะเพื่อคนหาความรู้ ข้อคิด คตคิ าสอนที่สอดแทรกในบทร้อยกรองเหลา่ นัน้ มา ปรบั ใช้ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต ตัวชวี้ ดั ท 5.1 ม. 2/2 สรปุ เน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรมท่อี า่ นในระดับทย่ี ากขึ้น มาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คณุ ค่า และนามาประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจรงิ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. นกั เรยี นสามารถสรุปใจความสาคัญวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองท่ีอา่ นได้ (K) 2. นกั เรียนสามารถวเิ คราะหเ์ รือ่ งท่ีอ่านตามหลักการและแนวทางในการพิจารณาคุณคา่ ของวรรณคดี หรอื วรรณกรรมได้ (P) 3. นกั เรยี นเหน็ คณุ คา่ และซาบซ้ึงในการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมไทย (A) สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ข้อ 1. ความสามารถในการสื่อสาร ขอ้ 2. ความสามารถในการคิด ข้อ 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต

78 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อ 3. มวี ินัย ขอ้ 4. ใฝเ่ รยี นรู้ ข้อ 6. มงุ่ ม่ันในการทางาน กิจกรรมพัฒนาการเรยี นรู้ ขั้นนาเขา้ สู่บทเรียน ๑. ครูซกั ถามนักเรียนเก่ียวกับแนวทางในการพิจารณาวรรณกรรม ในหัวข้อเนอ้ื เรอ่ื งศิลปะ การประพันธ์ข้อคิด คติคาสอน และความจรรโลงใจและการนาไปใช้ในชีวิตจรงิ จากเรื่องกาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง ตอน พรรณนาสัตว์ในป่า เพ่อื เปน็ การทบทวน ขัน้ กิจกรรมการเรียนรู้ ๒. ครูตดิ แผ่นปา้ ยบทรอ้ ยกรองจากเรือ่ งกาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง ตอน พรรณนาสัตว์ ใน ป่าให้นกั เรยี นอ่านและร่วมกันพิจารณาว่าบทร้อยกรองน้ีให้คุณคา่ ในด้านใดบ้างอย่างไร ๓. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรุปคุณค่าที่ได้จากบทร้อยกรองในข้อ 2 ๔. แบง่ นกั เรียนออกเป็นกลมุ่ ให้แตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั วิเคราะห์คณุ ค่าที่ได้รบั จากเร่ืองกาพย์หอ่ โคลง ประพาสธารทองแดง ตอน พรรณนาสัตวใ์ นป่า ตามหัวข้อทก่ี าหนดให้พร้อมยกตัวอยา่ งบทรอ้ ยกรองในเน้ือ เรือ่ งประกอบ ๑) ดา้ นความรู้ ๒) ด้านภาษา ๓) ดา้ นอารมณ์ ๔) ดา้ นสังคมและวฒั นธรรม ๕. ครสู ่มุ เรียกนักเรยี น ๑–๒ กลุ่ม ออกมาวเิ คราะห์ให้เพื่อนฟังหน้าชัน้ เรียน ครูสรปุ เป็นความรู้ เพม่ิ เติมเมื่อจบการนาเสนอของแต่ละกลุม่ ข้นั สรุป ๑. นกั เรยี นรว่ มกันสรุปหลักเกณฑ์ในการพิจารณาคุณค่ากาพย์หอ่ โคลง บันทกึ ลงสมดุ ๒. ครใู หน้ กั เรยี นสืบค้นข้อมลู เกีย่ วกับการพดู บรรยาย จากแหลง่ สืบค้นต่าง ๆ แล้วสรุปเปน็ ความรู้ เป็นการบ้านเพอ่ื เตรยี มจัดการเรยี นรคู้ รั้งต่อไป สื่อ/แหล่งเรยี นรู้ ๑. หนังสอื เรียนภาษาไทยพ้นื ฐาน ๒. แหลง่ ข้อมลู ต่าง ๆ หรือเว็บไซตใ์ นสื่ออินเทอรเ์ นต็

79 กระบวนการวดั และประเมนิ ผล วิธีการวดั /ประเมนิ เครื่องมอื เกณฑก์ ารประเมนิ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม มผี ลการประเมินใน 1. สรุปใจความสาคัญวิเคราะห์ ระดับ ดี ข้นึ ไป และแสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกับ เร่ืองที่อา่ นได้ (K) สังเกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤติกรรม มีผลการประเมินใน ระดบั ดี ขนึ้ ไป 2. วิเคราะห์เรือ่ งท่ีอา่ นตาม หลักการและแนวทางในการ สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม มีผลการประเมินใน พจิ ารณาคณุ คา่ ของวรรณคดีหรอื ระดบั ดี ข้นึ ไป วรรณกรรม ได้ (P) 3. เหน็ คณุ คา่ และซาบซ้ึงในการ อา่ นวรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย (A)

80 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 กาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง เวลา 6 ช่วั โมง เร่ือง ประยุกตใ์ ชค้ วามรจู้ ากกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง เวลา 1 ช่ัวโมง ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2/1 จัดกิจกรรมวันท่ี 11 เดอื น กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 13.00-13.50 น. ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2/3 จดั กิจกรรมวนั ที่ 10 เดือน กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 12.05-12.55 น. ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2/3 จัดกิจกรรมวันท่ี 11 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 13.55-14.45 น. สาระการเรียนรู้ - คุณค่าของกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง - ข้อคิดของกาพยห์ อ่ โคลงประพาสธารทองแดง สาระสาคญั การพิจารณาคุณค่ากาพย์ห่อโคลง เป็นการพนิ จิ พจิ ารณาแยกแยะส่ิงต่าง ๆ ท่ีผู้แตง่ มงุ่ ถา่ ยทอดออกมา อย่างเปน็ ศิลปะเพอ่ื คนหาความรู้ ข้อคิด คตคิ าสอนทส่ี อดแทรกในบทร้อยกรองเหลา่ นนั้ มา ปรบั ใช้ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ตอ่ การดาเนินชีวติ ตวั ชีว้ ัด ท 5.1 ม. 2/2 สรปุ เนื้อหาวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี ่านในระดับท่ียากขนึ้ มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท 5.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เห็น วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคุณค่า และนามาประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตจรงิ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นกั เรียนสามารถบอกประโยชน์และคุณค่าของสัตวแ์ ละป่าไม้ได้ (K) 2. นกั เรียนสามารถเขยี นพรรณนาธรรมชาติได้ (P) 3. นักเรียนเห็นคณุ ค่าและซาบซึ้งในการอ่านวรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย (A) สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน ข้อ 1. ความสามารถในการส่ือสาร ข้อ 2. ความสามารถในการคิด ข้อ 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ขอ้ 3. มวี ินัย ข้อ 4. ใฝ่เรียนรู้ ขอ้ 6. ม่งุ มั่นในการทางาน

81 กจิ กรรมพัฒนาการเรยี นรู้ ขั้นนาเข้าสู่บทเรยี น ๑. ครแู ละนักเรียนร่วมกันทบทวนความรเู้ ร่ืองกาพยห์ อ่ โคลงประพาสารทองแดง ขั้นกิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครพู านกั เรยี นออกไปศึกษานอกห้องเรยี น เชน่ ปา่ ท่งุ นา สนาม จากนน้ั ให้นักเรียนสงั เกตสิ่งท่ี พบแลบนั ทึกลงในสมุด 2. นกั เรียนหาสัตวห์ รือสิ่งท่ีท่ีสนใจเพ่ือที่จะเขยี นพรรณนา 3. นกั เรียนเขียนพรรณนาส่ิงทส่ี นใจลงในสมุดไม่ตา่ กวา่ 5 บรรทดั 4. นักเรยี นวาดภาพประกอบสิ่งที่บรรยาย ขัน้ สรุป ๑. นกั เรยี นรว่ มกันสรุปความร้ทู ไ่ี ดร้ บั เก่ียวกับการสงั เกตธรรมชาติ ๒. นักเรียนบอกความแตกต่างของส่งิ ท่พี บว่ามีความแตกต่างกับกาพยห์ ่อโคลงประพาสารทองแง หรอื ไม่ อยา่ งไร 3. นกั เรยี นร่วมกันอภิปรายวา่ เราจะสามารถชว่ ยกันอนุรักษธรรมชาติได้อย่างไร สอ่ื /แหลง่ เรียนรู้ ๑. แหล่งเรียนรธู้ รรมชาติ กระบวนการวดั และประเมินผล วิธีการวัด/ประเมนิ เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมิน สังเกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ มีผลการประเมินใน 1. นักเรียนสามารถบอกประโยชน์ ระดบั ดี ขึ้นไป และคณุ คา่ ของสัตว์และป่าไม้ได้ (K) 2. นักเรยี นสามารถเขียนพรรณนา ตรวจงานท่ี งานทมี่ อบหมาย มีผลการประเมินใน ธรรมชาติได้ (P) มอบหมาย แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั ดี ขึ้นไป 3. นกั เรียนเห็นคณุ คา่ และซาบซึ้ง สงั เกตพฤตกิ รรม มผี ลการประเมินใน ในการอ่านวรรณคดแี ละ ระดับ ดี ขึน้ ไป วรรณกรรมไทย (A)

ภาคผนวก ค ภาพสอ่ื มัลติมีเดยี เพอ่ื การเรียนรู้ เรือ่ ง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง

83 ตัวอย่างสอ่ื มลั ติมเี ดียเพอ่ื การเรียนรู้ เร่อื ง ชนดิ ของประโยคในภาษาไทย สาหรบั นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 1. หน้าจอแนะนาส่ือมัลตมิ เี ดยี เพือ่ การเรยี นรู้ เรอ่ื ง กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง 2. หน้าจอแนะนาการใช้งาน

84 3. หน้ารายการหลัก (เมน)ู 4. หน้าจอแสดงเน้อื หาตามลาดบั

85

86

87

88

89

90

91

92

93

94