Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ปี2565

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ปี2565

Published by palmmy-my, 2022-08-07 15:20:25

Description: หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ปี2565

Search

Read the Text Version

๔๘ คำอธิบำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำนศลิ ปะ รหัสวิชำ ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศลิ ปะ ชน้ั ประถมศึกษำปที ี่ ๑ เวลำ ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกิต ..................................................................................................................................................................................... ศึกษาเก่ียวกับรูปร่าง ลักษณะ และขนาดของสิ่งรอบๆตัวในธรรมชาติและส่ิงท่ีมนุษย์สร้างข้ึน ใช้วัสดุ อุปกรณ์ สร้างงานศิลป์ ทดลองใช้สีด้วยเทคนิคง่ายๆ วาดภาพระบายสีธรรมชาติตามความรู้สึก ของตนเอง บอกงานทัศนศิลป์ ในชีวิตประจาวันและในท้องถ่ิน ความรู้สึกที่มีต่อธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมรอบตัว ความเกี่ยวข้องของเพลงที่ใช้ ในชีวิตประจาวันของท้องถ่ิน ลักษณะของเสียงดัง-เบา และความเร็ว-ช้าของจังหวะ ให้รู้ว่าสิ่งต่าง ๆ สามารถก่อกาเนิด เสียงท่ีแตกต่างกัน ท่องบทกลอน ร้องเพลงท้องถิ่นง่าย ๆ มีส่วนร่วม ในกิจกรรมดนตรีอย่างสนุกสนาน เล่าท่ีมาของบท กลอนในท้องถิน่ ส่ิงที่ชื่นชอบของบทเพลง ในท้องถิ่น การละเล่นของเดก็ ไทย การร่วมแสดงนาฏศลิ ป์(มอญรา) เลียนแบบ การเคล่ือนไหวแสดงท่าทางง่าย ๆ ตามธรรมชาติ ใช้ภาษาท่าประกอบเพลงเก่ียวกับธรรมชาติของคน สัตว์ และสิ่งของ และเปน็ ผชู้ มทด่ี ี โดยใช้กระบวนการฝึกปฏิบัติ สังเกต จาแนก วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ สรุปความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับงาน ทศั นศลิ ป์ ดนตรี และนาฏศลิ ป์อย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความเชื่อม่ันในตนเอง กล้าแสดงออก ชื่นชม และเห็นคุณค่าของงานทศั นศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์ ท่ีเปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและสากล สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน และมีค่านิยมที่เหมาะสม โดยนาหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา จดั การเรยี นการสอน ตวั ชีว้ ดั ศ ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕ ศ ๑.๒ ป.๑/๑ ศ ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕ ศ ๒.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ศ ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ศ ๓.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒ รวมทั้งหมด ๑๘ ตวั ชว้ี ัด

๔๙ คำอธิบำยรำยวชิ ำพื้นฐำนศิลปะ รหสั วชิ ำ ศ ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ กลุม่ สำระกำรเรียนรู้ศลิ ปะ ชนั้ ประถมศึกษำปที ี่ ๒ เวลำ ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ สำระทัศนศิลป์ บรรยาย และระบุทัศนธาตุ นามาสร้างงานทศั นศิลป์ มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างงาน ๓ มิติ สร้างภาพปะ ติด วาดภาพถ่ายทอดเร่ืองราวครอบครัวของตนและเพ่ือนบ้าน เลือกและบรรยายส่ิงท่ีมองเห็น สร้างงานทัศนศิลป์เป็น รูปแบบงานโครงสร้างเคลื่อนไหว ศึกษาความสาคัญของงานทัศนศิลป์ในชุมชนและท้องถิ่น แยกประเภทงานทัศนศิลป์ใน ท้องถิน่ และบอกเลา่ ความเปน็ มาของทัศนศิลป์ในท้องถิ่น โดยใชก้ ระบวนการวเิ คราะห์ งานศลิ ปะสรา้ งสรรค์และใช้จินตนาการให้เปน็ ผลงานทศั นศลิ ป์ เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ ใฝ่รใู้ ฝเ่ รียน มงุ่ มัน่ ในการทางาน รักความเป็นไทย สำระดนตรี ศึกษาการจาแนกแหล่งกาเนิดของเสียงที่ได้ยินและคุณสมบัติของเสียงสูง - ต่า ดัง - เบา ยาว - ส้ัน ของดนตรี โดยการเคาะจังหวะ การเคลื่อนไหวรา่ งกายให้สอดคล้องกบั เนือ้ หาของเพลง และร้องเพลงง่ายๆ ท่เี หมาะสมกับวัย พร้อม ทง้ั บอกความหมาย ความสาคัญของเพลงที่ได้ยิน รวมทั้งบอกความสัมพันธ์ของเสยี งร้อง ของเพลงโนเน บอกลักษณะเสียง เครอื่ งดนตรีในเพลงทอ้ งถิน่ และเข้าร่วมกิจกรรมทางดนตรีในทอ้ งถ่ิน โดยการแสดงและเข้าร่วมกิจกรรมทางดนตรีในท้องถ่ิน ในโอกาสพิเศษ อยา่ งวงปี่พาทยม์ อญ โดยการใชก้ ระบวนการถา่ ยทอด กระบวนการคิด การใฝเ่ รยี นรู้ และการฝึกฝนทกั ษะจนชานาญ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ การแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ ทราบซ่ึงในบทเพลง และตระหนักถึงคุณค่าของ ดนตรีทถี่ อื เป็นเอกลักษณ์ประจาชาติและเหน็ คุณคา่ ของดนตรที ้องถิน่ สำระนำฏศลิ ป์ ศกึ ษาการเคล่อื นไหวในรูปแบบต่างๆ สถานการณส์ ้นั ๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยใช้หลักและวิธกี ารปฏบิ ัติทางนาฏศิลป์ การใช้ประโยชนข์ องการแสดงนาฏศิลป์ในชีวติ ประจาวัน ใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์แสดงท่าทางประกอบเพลงตามรปู แบบ นาฏศิลป์ อย่างเข้าใจและสนุกสนาน โดยใช้กระบวนการทางการฝึกปฏิบตั ิ อภปิ รายส่ิงที่เปน็ ลกั ษณะเด่นและเอกลกั ษณ์ของการแสดงนาฏศิลปห์ รือการ แสดงนาฏศิลป์พ้ืนบา้ น โดยการ ระบุและเล่นการละเล่นพ้ืนบ้าน ราพาข้าวสาร ในทอ้ งถ่นิ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความชานาญ และความคิดที่จะสร้างสรรค์ผลงาน รับรู้ประโยชน์ของการแสดง นาฏศิลป์ในชวี ติ ประจาวนั เพอื่ ทาใหเ้ หน็ คณุ คา่ และรักความเป็นไทย ตวั ชว้ี ดั ศ. ๑.๑ ป. ๒/๑ – ป. ๒/๘ ศ. ๑.๒ ป. ๒/๑ – ป. ๒/๒ ศ. ๒.๑ ป. ๒/๑ – ป. ๒/๕ ศ. ๒.๒ ป. ๒/๑ – ป. ๒/๒ ศ ๓.๑ ป. ๒/๑ – ป. ๒/๕ ศ ๓.๒ ป. ๒/๑ – ป. ๒/๓ รวมท้ังหมด ๒๕ ตัวชี้วัด

๕๐ คำอธิบำยรำยวชิ ำพื้นฐำนศลิ ปะ รหสั วชิ ำ ศ ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ กลุ่มสำระกำรเรยี นรศู้ ิลปะ ช้นั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๓ เวลำ ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ สำระทัศนศลิ ป์ บรรยาย จาแนกทศั นธาตุ ระบวุ ัสดุ อปุ กรณ์ทใ่ี ช้เม่ือชมงานทศั นศลิ ป์ และมีทกั ษะในการใชว้ าดภาพ ระบายสีถา่ ยทอดความคดิ ความรูส้ กึ จากเหตุการณช์ ีวติ จริง บรรยายเหตุผลและวิธีการสร้างงานทศั นศลิ ป์ ลักษณะรูปรา่ ง รูปทรงในงานออกแบบ บอกความสาคญั และอภิปรายงานทศั นศิลปใ์ นชวี ติ ประจาวันในทอ้ งถิ่น เล่าทม่ี า วัสดุ อุปกรณ์ และวธิ กี ารสร้างงานทัศนศิลป์ในท้องถ่นิ เช่น พวงมโหตร สไบมอญ เครื่องป้นั ดินเผา ระบสุ ิ่ง ที่ชืน่ ชมและควรปรับปรุงในงานทัศนศิลป์ของตน โดยใช้กระบวนการทางศลิ ปะ สร้างสรรคแ์ ละใชจ้ นิ ตนาการให้เป็นผลงานทัศนศิลป์ เพอื่ ให้เกดิ ความรู้ความเขา้ ใจ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มุ่งมน่ั ในการทางาน รกั ทอ้ งถิ่น รกั ความเป็นไทย สำระดนตรี ศึกษาการระบรุ ูปร่าง ลักษณะของเครื่องดนตรีที่เห็นและได้ยินในชีวิตประจาวัน โดยการใช้รูปภาพหรือ สัญลักษณ์แทนเสียงและจังหวะเคาะ พร้อมท้ังบอกบทบาทหน้าท่ีของเพลง ราพาข้าวสาร ระบุลักษณะเด่นและ เอกลักษณ์ ลักษณะเสียงร้องของดนตรี ภาษาและเนอ้ื หาในบทรอ้ งของเพลง ราพาขา้ วสาร รวมถึงเครือ่ งดนตรแี ละ วงดนตรีในท้องถ่ิน (มอญรา) การเคล่ือนไหวร่างกายท่าทางสอดคล้องกับอารมณ์ของเพลง รวมท้ังแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี เสียงขับร้องของตนเองและผู้อื่นด้วยการนาดนตรีไปใช้ในโอกาสต่างๆ ได้อย่าง เหมาะสม โดยการใชก้ ระบวนการถ่ายทอด กระบวนการคิด การใฝ่เรียนรู้ การเห็นคุณคา่ ของความเป็นไทย การ ฝึกทกั ษะความชานาญ เข้าถึงอารมณข์ องเพลง เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงคุณค่าของดนตรีท่ีถือเป็นการถ่ายทอดเอกลักษณ์ประจา ชาตแิ ละเห็นคณุ คา่ ของดนตรีท้องถ่นิ สำระนำฏศิลป์ ศกึ ษาการเคลอ่ื นไหวในรปู แบบตา่ งๆ สถานการณ์สัน้ ๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยใช้หลักและวิธกี ารปฏิบัติทาง นาฏศิลป์ การใช้ประโยชน์ของการแสดงนาฏศิลป์ในชีวิตประจาวัน ใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์แสดงท่าทาง ประกอบเพลงตามรปู แบบนาฏศิลป์ อย่างเขา้ ใจและสนกุ สนาน โดยใช้กระบวนการทางการฝึกปฏิบัติ โดยการเล่า ระบุ อธิบายความสาคัญของการแสดงนาฏศิลป์พื้นบ้าน หรือท้องถ่ินของตน (มอญรา) บอกท่ีมาของการแสดงนาฏศิลป์(มอญรา)อภิปรายสิ่งท่ีเป็นลักษณะเด่นและ เอกลกั ษณข์ องการแสดงนาฏศลิ ปห์ รือการแสดงนาฏศิลป์พน้ื บ้านในท้องถนิ่ เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ ความชานาญ และความคิดที่จะสรา้ งสรรค์ผลงาน รับรู้ประโยชนข์ องการ แสดงนาฏศลิ ป์ในชวี ิตประจาวนั เพ่ือทาให้เห็นคุณค่าและรักความเป็นไทย ตัวชี้วัด ศ. ๑.๑ ป. ๓/๑ – ป.๓/๑๐ ศ. ๑.๒ ป. ๓/๑ – ป.๓/๒ ศ. ๒.๑ ป. ๓/๑ – ป. ๓/๗ ศ. ๒.๒ ป. ๓/๑ – ป. ๓/๒ ศ ๓.๑ ป. ๓/๑ – ป. ๓/๕ ศ ๓.๒ ป. ๓/๑ – ป. ๓/๓ รวมทั้งหมด ๒๙ ตัวชว้ี ดั

๕๑ คำอธิบำยรำยวชิ ำพืน้ ฐำนศลิ ปะ รหสั วิชำ ศ ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรศู้ ลิ ปะ ช้นั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๔ เวลำ ๘๐ ชัว่ โมง จำนวน ๒.๐ หนว่ ยกติ ......................................................................................................................................................................... ศกึ ษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียน ให้เรียนรู้ด้วยตวั เองตามความสนใจ ทักษะความถนัดความ สามรถของผเู้ รียนได้อย่างจริงมีระบบและข้ันตอน การปลูกฝังลกั ษณะที่ดี การเรยี นรใู้ นการทางาน สร้างแบบและ นาเสนอผลงานศิลปะ จากจินตนาการความคิดสร้างสรรค์การสังเกตทางศิลปะ ให้รับรู้เห็นคุณค่า ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ศิลปะไทยศิลปะท้องถ่ินอธิบายความหมายของทัศนศิลป์ ทัศนธาตุ องค์ประกอบดนตรี องค์ประกอบ นาฏศิลป์ สารวจ ทดลอง ทักษะในการใช้เทคนิควิธีการใหม่ๆ ให้เกิดความต้องการของตนเอง ศึกษาสังเกต รวบรวมข้อมูล และวิวัฒนาการงานศิลปะท่ีเก่ียวข้องกับวัฒนธรรมท้องถ่ิน อภิปราย บรรยาย ความเป็นมาของ การทาพวงมโหตร สไบมอญ เคร่ืองปั้นดินเผา โดยเช่ือมโยงความรู้ของวัฒนธรรมท้องถิ่นกับงานทัศนศิลป์ใน ทอ้ งถิ่น การถ่ายทอดชีวิต ความประทับใจ เช่น ในประวัติศาสตร์หรือเหตุการณ์ในปจั จุบันที่ได้รบั อิทธิพลจากงาน ศิลปะ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ กลุ่มสาระอ่ืนๆและธรรมชาติแวดล้อม มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมปิ ัญญาไทย และสากลมาประยุกต์ เพ่ือให้เกิดความคิดความเข้าใจ สามารถส่ือสารถึงสิ่งท่ีเรียนรู้ ความสามารถในการตัดสินใจ สร้างสรรค์ งานศิลปะให้มีคุณค่า การนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ความม่ันใจในการแสดงออก มีความสุขกับการทางาน และยอมรับความคดิ ความสามารถของผู้อื่น ตระหนัก ช่นื ชม รับรู้ เหน็ คุณคา่ ของธรรมชาตสิ งิ่ แวดลอ้ ม ศลิ ปะไทย ศิลปะท้องถิน่ อย่างเหมาะสม สำระดนตรี ศึกษาการจาแนกประเภทของเคร่ืองดนตรีที่ใช้ในเพลงที่ฟังและบอกประโยคเพลงอย่างง่าย พร้อมท้ังระบุทิศทางการ เคลื่อนท่ีข้ึน - ลงง่ายๆ ของทานอง รูปแบบ ความเร็วของจังหวะเพลงฟัง และระบุดนตรีที่ สามารถใช้ในการส่ือสาร เร่ืองราวความสาคัญในการอนุรักษ์ส่งเสริมวัฒนธรรมทางดนตรี โดยการบอกแหล่งท่ีมาของความสัมพันธ์ของวิถีชีวิต ไทยท่สี ะทอ้ นในดนตรีและเพลงท้องถน่ิ ศึกษาเนื้อหาเรือ่ งราวในบทเพลงกับวถิ ีชีวิต (ทะแยมอญ) โอกาสในการบรรเลงดนตรี (ป่ีพาทยม์ อญ : เพลงยกศพ) ที่สะท้อนในดนตรแี ละเพลงทอ้ งถ่ิน โดยการฝึกทักษะ การฝึกฝนการขับร้องใช้ช่วงเสียงท่ีเหมาะสมกับตนเอง รวมท้ังใช้และเก็บเคร่ืองดนตรีอย่าง ถูกต้องและปลอดภยั เพ่ือให้รู้ประเภท ประโยคของเพลงและเครื่องดนตรี ทิศทาง การเคล่ือนท่ีข้ึน - ลงของทานองเพลง ความสาคญั ตา่ งๆ ในทอ้ งถนิ่ สำระนำฏศิลป์ ศึกษา ฝึกทักษะพื้นฐานทางนาฏศิลป์และการละครที่ใช้ส่ือความหมายและอารมณ์โดยใช้ภาษาท่าและ นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครง่าย ๆ ในการถ่ายทอดเรื่องราว แสดง การเคล่ือนไหวในจังหวะต่าง ๆ ตาม ความคิดของตน แสดงนาฏศิลป์เป็นคู่ เป็นหมู่ พร้อมทั้งเล่าสิ่งท่ีชื่นชอบในการแสดงโดยเน้นจุดสาคัญของเร่ืองและ ลักษณะเด่นของตัวละคร ประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ หรือชุดการแสดงอย่างง่าย ๆ การแสดงท่ีมาจาก วฒั นธรรมอน่ื ความสาคญั ของการแสดงความเคารพในการเรียนและการแสดงนาฏศิลป์ โดยการอธิบาย เปรียบเทยี บ ความเปน็ มาของนาฏศลิ ป์พ้ืนบา้ น(มอญรา) กบั การแสดงวัฒนธรรมอนื่ ๆ ใช้กระบวนการถา่ ยทอด กระบวนการคดิ การเปรียบเทียบ เพื่อใหเ้ กิดความรู้ความเข้าใจ และทกั ษะความชานาญ สามารถถา่ ยทอดเพื่อการอนรุ ักษ์ ตระหนักถงึ คณุ ค่า

๕๒ ของนาฏศลิ ปท์ ี่ถือเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติ และนิยมไทย ตวั ชว้ี ัด ศ. ๑.๑ ป. ๔/๑ – ป.๓/๙ ศ. ๑.๒ ป. ๔/๑ – ป.๔/๒ ศ. ๒.๑ ป. ๔/๑ – ป. ๔/๗ ศ. ๒.๒ ป. ๔/๑ – ป. ๔/๒ ศ ๓.๑ ป. ๔/๑ – ป. ๔/๕ ศ ๓.๒ ป. ๔/๑ – ป. ๔/๔ รวมทง้ั หมด ๒๙ ตวั ชีว้ ัด

๕๓ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพืน้ ฐำนศิลปะ รหัสวิชำ ศ ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ กลุ่มสำระกำรเรียนรูศ้ ลิ ปะ ชัน้ ประถมศกึ ษำปีที่ ๕ เวลำ ๘๐ ชว่ั โมง จำนวน ๒.๐ หน่วยกติ สำระทัศนศิลป์ ศึกษาและวิเคราะห์สร้าง นาเสนอและผลงานศิลปะจากจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ รับรู้งานที่ เกย่ี วกับวัฒนธรรมในทอ้ งถ่ิน ตระหนกั ชนื่ ชมในคุณคา่ ของศิลปะ ภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ ภูมปิ ัญญาไทย และสากล โดยการถ่ายทอดจินตนาการ ความรู้สึก และส่ิงแวดล้อมด้วยเทคนิค วิธีการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ด้วย วิธีการต่างๆ การอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ระบุ บรรยาย อภิปราย ศึกษาวิธีการทา ลกั ษณะรูปแบบของงานทัศนศิลป์ในท้องถน่ิ เชน่ พวงมโหตร สไบมอญ เครอ่ื งปนั้ ดินเผา เพอื่ ให้เห็นคุณค่าของศิลปะสาขาต่างๆ ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาวัน รับผิดชอบ รู้ความเปน็ มาของภูมิ ปัญญาท้องถ่ิน สำระดนตรี ศึกษาการระบุองค์ประกอบของดนตรีในเพลงที่ใช้ในการส่ืออารมณ์ การจาแนกลักษณะของเสียงขับร้องและ เครื่องดนตรที ี่อยู่ในวงดนตรีประเภทตา่ งๆ โดยการอา่ น - เขยี นโน้ตไทย - สากล ๕ ระดับเสียงรวมทัง้ การใช้เคร่ืองดนตรี บรรเลงจงั หวะและทานอง พร้อมท้งั รอ้ งเพลงไทย เพลงสากลที่เหมาะสมกบั วยั การดน้ สดง่ายๆ การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับประเพณีในวัฒนธรรมต่าง ๆ บทเพลงในงานประเพณีในท้องถ่ิน (ประเพณีการแห่นางหงส์ ) บทบาทของดนตรีในแต่ละประเพณี (ป่ีพาทย์มอญ) และการอธิบายความสัมพันธ์ คุณค่า ระหว่างดนตรกี บั ประเพณีทมี่ าจากวัฒนธรรมท่ีตา่ งกัน เพ่ือให้รู้ถึงองค์ประกอบของดนตรี การเขียนโน้ตไทย - สากล ตามลาดับเสียง เห็นคุณค่า ความสัมพันธ์ ระหวา่ งดนตรกี ับประเพณที ม่ี าจากวฒั นธรรมทต่ี ่างกัน สำระนำฏศิลป์ ศึกษาองค์ประกอบของนาฏศิลป์ การแสดงท่าทางประกอบเพลงหรือเรื่องราวตามความคิดของตน โดย เน้นการใช้ภาษาท่า และนาฏยศัพท์ในการส่ือความหมายและการแสดงออก มีส่วนร่วมในการเขียนเค้าโครงเรื่อง หรือบทละครสั้น ๆ รวมถึงการแสดงนาฏศิลป์พ้ืนบ้านท่ีสะท้อนถึงวัฒนธรรมและประเพณี ในแต่ละท้องถิ่น การ แสดงนาฏศลิ ป์ชุดตา่ ง ๆ รวมทง้ั ประโยชน์ทไ่ี ด้รับจากการชมการแสดง โดยใช้กระบวนการถา่ ยทอด กระบวนการคิด การเปรียบเทียบ การฝึกทักษะความชานาญ การอธิบาย ความสาคัญ ความเป็นมาของ ทะแยมอญ ระบเุ หตุผลทค่ี วรรกั ษา และสืบทอด การแสดงนาฏศลิ ป์ คุณค่าของการแสดง ทะแยมอญ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ และทักษะความชานาญ สามารถถ่ายทอดเพ่ือการอนุรักษ์ ตระหนักถึง คณุ คา่ ของนาฏศลิ ป์ท่ีถอื เป็นเอกลกั ษณ์ทอ้ งถิ่นประจาชาติ และนยิ มไทย ตัวช้ีวดั ศ. ๑.๑ ป. ๕/๑ – ป.๕/๗ ศ. ๑.๒ ป. ๕/๑ – ป.๕/๒ ศ. ๒.๑ ป. ๕/๑ – ป. ๕/๗ ศ. ๒.๒ ป. ๕/๑ – ป. ๕/๒ ศ ๓.๑ ป. ๕/๑ – ป. ๕/๖ ศ ๓.๒ ป. ๕/๑ – ป. ๕/๒ รวมทั้งหมด ๒๖ ตัวชี้วดั

๕๔ โครงสรำ้ งรำยวชิ ำ วิชำ ศลิ ปะ(ดนตรี – นำฏศิลป์) รหสั วชิ ำ ๑๕๑๐๑ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ศิลปะ ระดับชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๕ เวลำ ๔๐ ชวั่ โมง หน่วยกิต ๑.๐ หน่วยกิต ท่ี ชื่อหน่วย มำตรฐำน/ สำระสำคญั เวลำ คะแนน ภำระงำน/ กำรเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั ๕ ๑๕ ชน้ิ งำนรวบยอด เครอ่ื งดนตรีไทยประกอบจังหวะและทานอง ๕ ๑๕ - สมดุ เลม่ เล็ก ๑ เครอื่ งดนตรี มฐ. ศ๒.๑ ป. แต่ละประเภท มวี ิธกี ารบรรเลงแตกตา่ งกัน ๕ ๑๐ ทาจงั หวะ ๕/๔ เมือ่ นามาบรรเลงร่วมกัน จะเกิดเปน็ บทเพลง ๖ ๑๐ งานภาพดนตรี และทานอง ที่มที ่วงทานองไพเราะนา่ ฟัง สร้างสรรค์ วงดนตรไี ทยและดนตรีสากล แต่ละประเภท เน้อื เพลง จะใช้เครือ่ งดนตรีต่างกัน และใหเ้ สียง ๒ วงดนตรี มฐ. ศ๒.๑ ป. ความรสู้ ึกและอารมณต์ า่ งกนั ไปตามการ โนต้ ไทยเดมิ ๑ ไทยและ ๕/๔ บรรเลง พลง สากล จังหวะ เสียง ทานอง และการประสานเสยี ง เป็นองคป์ ระกอบดนตรีทีท่ าใหบ้ ทเพลงที่ ๓ องค์ มฐ.ศ ๒.๑ป. บรรเลงและขบั ร้องมีความไพเราะน่าฟัง และ ประกอบ ๕/๑ ทาใหผ้ ้ฟู ังเขา้ ใจความหมายของเพลงมากขนึ้ ดนตรี โน้ตดนตรไี ทย เปน็ สญั ลกั ษณ์ทใี่ ชใ้ นการ กาหนดระดบั เสยี งสงู ตา่ และเปน็ ตัวกาหนด ๔ เครื่องหมาย มฐ.ศ ๒.๑ป. ความชา้ เร็วของจังหวะในบทเพลง และ ๕/๓ สัญลักษณ์ การร้องเพลงตามหลัก และวิธีการรอ้ งเพลงที่ ๖ ๑๐ บทเพลงสากล ๑ ทางดนตรี ถกู ต้อง จะต้องมีการฝกึ ฝนบ่อย ๆ จึงจะทาให้ ๑๐ เพลง ผู้ขับร้องร้องเพลงได้ไพเราะน่าฟงั ๕ หลักการขับ มฐ.ศ ๒.๑ป. งานภาพดนตรี ร้อง ๕/๕ การแสดงนาฏศิลปถ์ ้ามีการนาดนตรมี าใช้ ๖ สร้างสรรค์ บรรเลงจะทาให้การแสดงน่าสนใจและมสี สี ัน ๖ สร้างสรรค์ มฐ.ศ ๒.๑ป. มากขึน้ ดนตรเี รอ่ื ง ๕/๗ การบรรเลง ดนตรที ใ่ี ชบ้ รรเลงในประเพณีท้องถิน่ ภาค ๕ ๑๐ ภาพประเพณี ดนตรี ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จะเปน็ เคร่อื งดนตรี ท้องถน่ิ ๔ ภาค พืน้ บา้ นท่สี ร้างความคึกคัก เปน็ ดนตรีพื้นบ้าน ๑๐ ๗ ดนตรกี บั มฐ.ศ ๒.๒ป. ทม่ี ที ว่ งทานองคกึ คัก เร้าใจ สร้างสสี ันใหก้ ับ ๑๐ ประเพณี ๕/๑ งานประเพณเี ป็นอย่างมาก ทาใหผ้ ูเ้ ขา้ ร่วม ๑๐๐ ท้องถิ่นเรื่อง ประทบั ใจมากข้นึ ดนตรี ระหว่างปี ๑ ปลายปี ๑ รวมตลอดปี ๔๐

๕๕ โครงสร้ำงรำยวิชำ วชิ ำ ศิลปะ(ทัศนศลิ ป์) รหัสวชิ ำ ๑๕๑๐๑ กลุ่มสำระกำรเรียนรูศ้ ลิ ปะ ระดบั ชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี ๕ เวลำ ๔๐ ช่ัวโมง หน่วยกิต ๑.๐ หนว่ ยกติ ที่ ชือ่ หน่วย มำตรฐำน/ สำระสำคญั เวลำ คะแนน ภำระงำน/ กำรเรียนรู้ ตวั ชวี้ ัด ชน้ิ งำนรวบยอด ๑ เหมอื นตา่ ง ศ. ๑.๑ ป.๕/๑ เส้น สี รูปรา่ ง รูปทรง ที่ปรากฏเปน็ ระยะที่มี ๖ ๑๕ - สมุดเล่มเลก็ สร้างสรรค์ ศ.๑.๑ ป.๕/๒ ความสม่าเสมอ อปุ กรณ์การทา ความสะอาดบา้ น ๒ การจัด ศ.๑.๑ ป.๕/๖ ในการสรา้ งผลงานทัศนศลิ ป์ อาจพบปัญหา ๖ ๑๕ งานเดินแบบ องคป์ ระกอ หลายอย่าง ควรหาสาเหตแุ ล้วแกไ้ ขเพ่ือให้มี แฟช่ันโชว์เสือ้ ผ้า บและการ ผลงานที่มีความสมบรู ณ์ ตามฤดูกาลและ สื่อสาร สภาพอากาศ ความหมาย ในงาน ทศั นศลิ ป์ ๓ วาดแสงเลน่ ศ.๑.๑ ป.๕/๓ น้าหนกั แสงเงา การใชว้ รรณะสีมผี ลตอ่ การ ๖ ๑๐ การแข่งขนั การ สี วาดภาพแสดงแสงเงาตามธรรมชาติ ประกอบอาหาร จานเดียว ๔ ปั้นตาม ศ.๑.๑ ป.๕/๔ จนิ ตนาการเกดิ จากความคิดสรา้ งสรรค์ และ ๗ ๑๐ การประดิษฐ์ จินตนาการ จินตนาการชว่ ยสร้างประโยชน์กบั โลกของเรา กระถางปลูกผัก สวนครัวจากเศษ วสั ดุเหลอื ใช้ ๕ การจดั วาง ศ. ๑.๑ ป.๕/๕ การจกั วางตาแหน่งของสิ่งตา่ งๆในการ ๖ ๑๐ การออกแบบการ งานพมิ พ์ สรา้ งสรรค์งานพมิ พ์ภาพ จดุ เด่น รปู ร่าง ซ่อมแซมของเลน่ รูปทรง ระยะหา่ งของสง่ิ ตา่ งๆ ใหเ้ หมอื นใหม่ ๖ ภมู ิปัญญา ศ ๑.๑ ป.๕/๗ ผลงานทัศนสิลปท์ ่มี าจากภูมิปัญญาของ ๗ ๑๐ การประดิษฐ์ของ ในงาน ชาวบ้านในทอ้ งถนิ่ ตา่ งๆ เป็นงานสร้างสรรค์ เล่นจาก ทัศนศลิ ป์ มคี ณุ ค่า ทางดา้ นความงาม ความคิดสรา้ สรรค์ ระหว่างปี ๑ ๑๐ ปลายปี ๑ ๑๐ รวมตลอดปี ๔๐ ๑๐๐

๕๖ คำอธิบำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำนศลิ ปะ รหัสวิชำ ศ ๑๖๑๐๑ ศิลปะ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ศิลปะ ชั้นประถมศกึ ษำปที ่ี ๖ เวลำ ๘๐ ชั่วโมง จำนวน ๒.๐ หน่วยกติ สำระทศั นศลิ ป์ ศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียน ให้เรียนรู้ด้วยตัวเอง ตามความสนใจทักษะความถนัด ความสามารถของผู้เรียนไดป้ ฏิบัติจรงิ สามารถส่ือสารงานด้านทัศนศิลป์ให้เป็นเรื่องราว สร้างและนาเสนอผลงาน ศิลปะจากจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์จะสังเกตความรู้สึกและความประทับใจ รับรู้งานศิลปะท่ีเก่ียวกับ วัฒนธรรมในท้องถิ่น ได้แก่ ทัศนธาตุ องค์ประกอบดนตรี องค์ประกอบนาฏศิลป์ การวิเคราะห์และอธิบายให้ ผู้อ่ืนได้เข้าใจในประวัติศาสตร์หรือเหตุการณ์ในปัจจุบันได้ ศึกษาบทบาทของพวงมโหตร สไบมอญ เคร่ืองปน้ั ดินเผา ท่มี ตี อ่ วิถึชวี ิตของคนในชมุ ชนและสังคม รวมถึงอทิ ธพิ ลของศาสนาทีม่ ีต่องานทศั นศลิ ปใ์ นท้องถนิ่ โดยการถ่ายทอดจินตนาการ ความสวยงาม ความม่ันใจในการแสดงออก ยอมรับความสามารถของ ผู้อื่นให้ตระหนัก ชื่นชม ในคุณค่าของศิลปะ ธรรมชาติส่ิงแวดล้อม วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญา ไทยและสากล วิธกี ารสรา้ งสรรคง์ านทศั นศิลป์ด้วยวธิ กี ารต่างๆ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ให้เห็นคุณค่าในศิลปะสาขาต่างๆ ไปใช้ประโยชน์ใน ชวี ิตประจาวนั และการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทางานอย่างปลอดภยั และรับผิดชอบ รู้ความหมาย ร้คู วามเป็นมา ของภูมปิ ัญญาในท้องถิน่ ดาเนนิ ชวิ ติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สำระดนตรี ศึกษาการบรรยายเพลงท่ีฟัง ความรู้สึกท่ีมีต่อดนตรี โดยอาศัยองค์ประกอบของดนตรีและศัพท์สังคีต และ การจาแนกประเภทประเภท บทบาท หน้าท่ีของเคร่ืองดนตรีไทย เครื่องดนตรที ี่มาจากวัฒนธรรมต่างๆ รวมทั้งการ อา่ น - เขยี นโนต้ ไทย - สากลทานองง่ายๆ โดยการศึกษา การใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบ การร้องเพลงด้นสดที่มีจังหวะและทานองง่ายๆ พร้อมท้ัง แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับทานอง จังหวะ การประสานเสียง คุณภาพเสียงของเพลงท่ีฟัง และอธิบายเรื่องราวของ ดนตรีไทยในประวัติศาสตร์ การจาแนกดนตรที ี่มาจากยคุ สมยั ทตี่ ่างกัน อีกทั้งอภปิ รายอิทธพิ ลของวัฒนธรรมต่อดนตรี ในท้องถ่ิน ดนตรีในเหตุการณ์สาคัญทางประวัติศาสตร์ (ป่ีพาทย์มอญ บ้านบัวหลวง) ดนตรีในยุคสมัยต่าง ๆ ประเพณี การแหน่ างหงส์ เพื่อให้รู้ถึงองค์ประกอบของดนตรี ศัพท์สังคีต การจาแนกประเภท การเขียนโน้ตไทยและโน้ตสากล อธบิ ายเร่อื งราวตา่ งๆ ของดนตรีไทยในประวตั ิศาสตร์ เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจในเนอ้ื หา สำระนำฏศิลป์ ศึกษาการเคลื่อนไหวและการแสดงโดยเน้นการถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ ออกแบบเครื่องแต่งกาย หรือ อุปกรณ์ประกอบการแสดงอย่างง่าย ๆ การแสดงนาฏศิลป์และละครง่าย ๆ เจตคติทมี่ ีต่องานนาฏศิลป์และการละคร หลักการชมการแสดง ความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับสิ่งท่ีประสบในชีวิตประจาวัน ส่ิงท่ีมี ความสาคัญต่อการแสดงนาฏศิลป์และละคร ประโยชน์ท่ีได้รับจากการแสดงหรือการชมการแสดงนาฏศิลป์และ ละคร โดยใชก้ ระบวนการถา่ ยทอด กระบวนการคิด การเปรยี บเทยี บ การฝึกทักษะความชานาญ เพื่อใหเ้ กิดความรคู้ วามเข้าใจ และทักษะความชานาญ สามารถถ่ายทอดเพือ่ การอนุรักษ์ ตระหนกั ถงึ คุณค่า ของนาฏศลิ ป์ที่ถอื เป็นเอกลักษณ์ประจาชาติ ตวั ช้ีวัด ศ. ๑.๑ ป. ๖/๑ – ป.๖/๗

๕๗ ศ. ๑.๒ ป. ๖/๑ – ป.๖/๓ ศ. ๒.๑ ป. ๖/๑ – ป. ๖/๖ ศ. ๒.๒ ป. ๖/๑ – ป. ๖/๓ ศ ๓.๑ ป. ๖/๑ – ป. ๖/๖ ศ ๓.๒ ป. ๖/๑ – ป. ๖/๒ รวมทั้งหมด ๒๗ ตวั ช้วี ดั

๕๘ คำอธิบำยรำยวิชำดนตรี นำฏศิลป์ รหสั วชิ ำ ศ ๒๑๑๐๑ ดนตรี - นำฏศลิ ป์ ๑ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศลิ ปะ ช้นั มธั ยมศึกษำปที ่ี ๑ เวลำ ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕หน่วยกติ ศกึ ษาเครื่องหมาย สญั ลกั ษณ์ทางดนตรี เสยี งรอ้ ง เสยี งเครอ่ื งดนตรี ร้องเพลง ขับร้องเพลงพ้ืนบ้าน ใช้เครอื่ งดนตรีประกอบการร้องเพลง จัดประเภทวงดนตรี อารมณข์ องบทเพลง คณุ ภาพของบทเพลง ใชแ้ ละ บารุงรักษาเครือ่ งดนตรี บทบาทอิทธิพลของดนตรี องคป์ ระกอบของดนตรใี นแต่ละวฒั นธรรม โดยใช้กระบวนการ การอ่าน การเขียน รอ้ งโนต้ ไทยสากล เปรียบเทียบเสยี ง การรอ้ งและการบรรเลง เครื่องดนตรีจดั ประเภทวงดนตรี เปรยี บเทยี บอารมณ์เพลง นาเสนอผลงานเพลง ประเมินคณุ ภาพใช้และ บารงุ รักษาเครื่องดนตรี อธิบายบทบาทและอิทธิพลของดนตรที แ่ี ตกกัน สรา้ งสรรคผ์ ลงาน เพ่ือใหเ้ กดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจ และทักษะความชานาญ มุง่ มัน่ ในการทางาน มจี ติ สาธารณะ เหน็ ประโยชน์ และนาไปใช้ในชวี ิตประจาวัน รหัสตวั ช้ีวัด ศ ๒.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔,ม.๑/๕,ม.๑/๖,ม.๑/๗,ม.๑/๘, ม.๑/๙ ศ ๒.๒ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ รวมท้ังหมด ๑๑ ตัวชวี้ ัด

๕๙ โครงสรำ้ งรำยวชิ ำ รายวชิ าดนตรี-นาฏศิลป์ รหสั ศ ๒๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๒๐ ชว่ั โมง หนว่ ยกติ ๐.๕ หนว่ ยกติ ท่ี ช่อื หน่วยการ มาตรฐาน/ สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา คะแนน ภาระงาน เรยี นรู้ ตัวชว้ี ดั (ชว่ั โมง) รวบยอด ๑ เพลงไทย ศ.๒.๑ ม.๑/ ๑. การอ่าน เขียน ร้อง และบันทึก ๑๐ ๓๐ การนาเสนอผลของ เพลงสากล ๑ ศ.๒.๑ ม. โน้ตเพลงจะทาให้เข้าใจบทเพลงได้ง่าย เคร่ืองดนตรีในแต่ละ แ ล ะ ก า ร ๑/๒ ศ.๒.๑ ข้ึน สามารถบรรเลงบทเพลงหรือขับร้อง ภาค/ทักษะการออก ปฏิ บัติ ตา ม ม.๑/๓ ไดถ้ กู ต้องตามจงั หวะ และอารมณเ์ พลง เสียงตามตัวโน้ต/ใบ ตวั โนต้ ๒. ในแต่ละวัฒนธรรมจะมีเครื่องดนตรี ง า น แ บ บ ฝึ ก หั ด ก า ร แตกต่างกันใช้ประกอบบทเพลงต่าง ๆ ปฎบิ ตั ิ ในท้องถ่ิน เป็นสิ่งท่ีเกิดจากภูมิปัญญา ข อ ง ค น ใ น ท้ อ ง ถ่ิ น ส ร้ า ง ค ว า ม สุ ข สนกุ สนานให้กับคนในท้องถิ่น ๓. บทเพลงแต่ละบทเพลงมีรูปแบบ ลั ก ษ ณ ะ ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น ใ ห้ อ า ร ม ณ์ ความรูส้ กึ แกผ่ ู้ฟังแตกตา่ งกัน และแต่ละ บทเพลงยังสอดแทรก ข้อคิดที่ผู้ฟัง สามารถนามาปรบั ใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้ ที่ ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐาน/ สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา คะแนน ภาระงาน เรยี นรู้ ตัวชี้วดั (ชว่ั โมง) รวบยอด ๒ ว ง ด น ต รี ศ.๒.๑ ม.๑/ ๑. วงดนตรีไทยแต่ละวงประกอบด้วย ๑๐ ๓๐ การประดิษฐโมเดล คุณภาพของ ๔ ศ.๒.๑ ม. เคร่ืองดนตรีประเภทดีด สี ตี เป่า เม่ือ เ ค ร่ื อ ง ด น ต รี ไ ท ย / เ สี ย ง แ ล ะ ๑/๕ ศ.๒.๑ นามาบรรเลงร่วมกันจะทาให้เกิดความ ผลงานการจัดวงดนตรี องค์ประกอบ ม.๑/๖ ศ. ไพเราะน่าฟงั ไทย/รายงานการ ดนตรี ๒.๑ ม.๑/๗ ๒. วงดนตรีพ้ืนเมืองแต่ละภาคเกิดจาก ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ บ ท ศ.๒.๑ ม.๑/ ภูมิปัญญาของคนในท้องถ่ิน มีลักษณะ เพลง ๘ ศ.๒.๑ ม. แตกต่างกัน สะท้อนให้เห็นวิถีชีวิต ๑/๙ วัฒนธรรม ประเพณีของคนในท้องถน่ิ ศ ๒.๒ ม.๑/ ๓ . ว ง ด น ต รี ส า ก ล เ ป็ น ว ง ด น ต รี ท่ี ๑ ศ ๒.๒ ม. ประกอบด้วย ๑/๒ เครอื่ งดนตรีสากล ซ่ึงแต่ละวง มลี ักษณะ แตกต่างกัน ใช้บรรเลงในโอกาสที่ แตกต่างกันไปตามความเหมาะสมของ งาน

๖๐ ๔. การถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลงจะ ๒๐ ๖๐ ทาให้เข้าใจบทเพลงมากขึ้น เกิดความ ๑ ๒๐ ซาบซึ้งไปกับบทเพลง ๑ ๒๐ ๕. การประเมินคุณภาพของบทเพลงทา ๒๐ ๑๐๐ ให้เข้าใจองค์ประกอบของบทเพลงและ สามารถวิเคราะห์บทเพลงได้ ทาให้ นาเสนอบทเพลงไดถ้ กู ตอ้ ง ๖. ดนตรีมีอิทธิพลต่อสังคมไทย ทาให้ คนในสังคมเกิดความผ่อนคลาย มีความ สามัคคี และทาให้เกิดความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และแสดงให้เห็นถึงวิถี ชีวติ ของคนในสงั คม คะแนนเก็บระหว่างเรยี น ระหวา่ งภาค ปลายภาค รวมตลอดปี

๖๑ คำอธบิ ำยรำยวิชำทศั นศิลป์ รหัสวิชำ ศ ๒๑๑๐๒ ทัศนศลิ ป์ ๑ กล่มุ สำระกำรเรยี นรศู้ ิลปะ ช้ันมธั ยมศกึ ษำปีที่ ๑ เวลำ ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต ศกึ ษางานทศั นศิลป์ ทศั นธาตุ หลักการออกแบบ สัญลกั ษณ์ ความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน ความ สมดลุ ระยะไกลใกล้ ๓ มิติ วาดภาพทัศนยี ภาพ งานปนั้ ส่ือผสม กราฟฟกิ ลกั ษณะงานทัศนศลิ ป์ภาคตา่ ง ๆ โดยใชก้ ระบวนการ ระบุ และบรรยาย วิเคราะห์ เก่ยี วกบั ลักษณะ รปู แบบงานทศั นศิลป์ของชาติและของ ท้องถิ่นตนเองจากอดีตจนถึงปัจจุบนั การพฒั นา รูปแบบงานทัศนศลิ ปท์ ้องถิ่น พวงมโหตร สไบมอญ เครอื่ งปน้ั ดินเผา เปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ของภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย รวบรวม นาเสนอความคดิ เพ่ือให้เกดิ ความร้คู วามเข้าใจ และทักษะความชานาญ มงุ่ ม่ันในการทางาน มจี ิตสาธารณะ รักความเปน็ ไทย เหน็ ประโยชนข์ องงานทัศนศิลป์ ตัวชว้ี ัด ศ ๑.๑ ม. ๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม .๑/๖ รวมท้ังหมด ๖ ตัวช้ีวดั

๖๒ โครงสรำ้ งรำยวชิ ำ รายวิชาทัศนศลิ ป์ รหัส ศ ๒๑๑๐๒ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐ ชวั่ โมง หนว่ ยกติ ๐.๕ หนว่ ยกิต ที่ ชื่อหนว่ ย มาตรฐาน/ สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา คะแนน ภาระงาน รวบยอด การเรยี นรู้ ตัวช้ีวดั (ชวั่ โมง) ภาระงาน ๑ ทัศนศลิ ป์ ศ ๑.๑ ม.๑/ ๑. ทัศนธาตุเป็นองค์ประกอบพ้นื ฐาน ๑๐ ๓๐ รวบยอด และ ๑ ของสง่ิ แวดล้อมและทศั นศลิ ป์ แตจ่ ะมี สิ่งแวดล้อม ศ ๑.๑ ม.๑/ ความเหมือนและแตกตา่ งกนั การเรียนรู้ ๒ และเขา้ ใจทัศนธาตจุ ะทาใหจ้ าแนกความ แตกตา่ งและความคล้ายคลงึ กันของงาน ทัศนศลิ ปแ์ ละสงิ่ แวดล้อมได้ ๒. หลักการออกแบบและหลักการจดั องคป์ ระกอบท่ีมเี อกภาพ มีความสาคญั เพราะจะทาใหผ้ ลงานมี ความสมบูรณ์และสวยงาม ท่ี ชือ่ หน่วย มาตรฐาน/ สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เวลา คะแนน การเรยี นรู้ ตวั ช้วี ดั (ชว่ั โมง) ๒ การวาดภาพ ศ ๑.๑ ม.๑/ ๑. การวาดภาพหุ่นน่ิงหรอื ภาพทวิ ทศั น์ ๑๐ ๓๐ ทศั นียภาพ ๓ ให้ออกมาดสู วยงามตอ้ งอาศยั หลักของ ศ ๑.๑ ม.๑/ ทัศนยี ภาพเพ่ือให้ภาพออกมาสมจรงิ ๔ เหมอื นกับทีต่ าเรามองเหน็ ๒. ความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืนและ การสื่อถึงเร่ืองราวของงาน เป็นสิ่งสาคัญใน การสร้างสรรค์งานปั้นและงานส่ือผสม ซ่ึง เปน็ งานทศั นศิลป์ คะแนนเก็บระหวา่ งเรยี น ๒๐ ๖๐ ระหวา่ งภาค ๑ ๒๐ ปลายภาค ๑ ๒๐ รวมตลอดปี ๒๐ ๑๐๐

๖๓ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำดนตรี นำฏศลิ ป์ รหสั วชิ ำ ศ ๒๑๑๐๓ ดนตรี - นำฏศิลป์ ๒ กลุ่มสำระกำรเรียนรูศ้ ลิ ปะ ชน้ั มัธยมศึกษำปที ่ี ๑ เวลำ ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษาอิทธิพลของนักแสดง นาฏยศัพท์ แสดงละคร การจัดการแสดง การแสดงท่าทางการเคลื่อนไหว หลักในการชมการแสดง การเปลย่ี นแปลงนาฏศลิ ป์ไทย ประเภท ยคุ สมัยของละครไทย โดยใช้กระบวนการอธบิ าย ปฏบิ ัติเปน็ ผู้แสดง ผ้ชู ม ใชภ้ าษาทา่ นาฏยศพั ท์ เคล่อื นไหวร่างกาย ราวง แสดงนาฏศิลป์ง่ายๆและการแสดงนาฏศิลป์พ้นื บ้าน ใช้กระบวนการทางานเป็นกลุ่ม ผลิตการแสดง สร้างสรรค์ กิจกรรมการแสดง พิจารณาคุณภาพการแสดง หลักการชมการแสดง มีมารยาทในการแสดง และการเรยี น เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ และทักษะความชานาญ มุ่งมั่นในการทางาน มีจิตสาธารณะ รักความเป็น ไทย เหน็ ประโยชน์ของนาฏศิลป์และนาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน ตวั ช้ีวัด ศ ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕ ศ ๓.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒ รวมทั้งหมด ๗ ตัวชี้วัด

๖๔ โครงสรำ้ งรำยวชิ ำ รายวิชาดนตรี-นาฏศิลป์ รหัส ศ ๒๑๑๐๓ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๒๐ ชว่ั โมง หนว่ ยกติ ๐.๕ หน่วยกิต ที่ ช่ือหนว่ ย มาตรฐาน/ สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เวลา คะแนน ภาระงาน การเรียนรู้ ตวั ชีว้ ัด (ชว่ั โมง) รวบยอด ๑ การแสดง ศ ๓.๑ ม.๑/ การแสดงนาฏศิลป์แต่ละประเภทท้ังไทย ๑๓ ๔๐ แบบฝกึ หัดทักษะการ นาฏศลิ ป์ ๑ ศ ๓.๑ ม. และสากล มีรูปแบบการแสดงที่แตกต่าง ปฎิบัตนิ าฏศลิ ป์ ๑/๒ ศ ๓.๑ กนั ไป แต่ละประเภทมกี ารพฒั นารปู แบบ ม.๑/๓ การแสดงให้น่าสนใจ ทาให้ผู้ชมเกิด ความรู้สึกสนุกสนานเม่ือได้ชมการแสดง เป็นการแสดงท่ีสะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิต ข อ ง ค น ใ น สั ง ค ม เ ป็ น เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ศิลปวัฒนธรรมประจาชาติที่ควรอนุรักษ์ ไว้ ที่ ช่ือหนว่ ย มาตรฐาน/ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา คะแนน ภาระงาน การเรยี นรู้ ตัวชวี้ ัด (ชว่ั โมง) รวบยอด ๒ สรา้ งสรรค์ ศ ๓.๑ ม.๑/ ๑. การสร้างสรรค์กิจกรรมการแสดงต้อง ๗ ๒๐ การจัดการแสดง กจิ กรรมการ ๔ ศ ๓.๑ ม. เกิดการร่วมมือกันในทุกฝ่าย มีความ แสดง ๑/๕ สามัคคี มีน้าใจแบ่งหน้าที่ให้ชัดเจน จะ ศ ๓.๒ ม.๑/ ทาให้การแสดงออกมา มีคุณภาพและ ๑ ศ ๓.๒ ม. เปน็ ท่ปี ระทบั ใจตอ่ ผู้ชม ๑/๒ ๒. การมีมารยาทในการชมการแสดงจะ ทาให้เข้าใจ ซาบซ้ึงไปกับการแสดงและ ทาให้ผู้แสดงมีสมาธิในการแสดง รวมถึง ไม่เป็นการรบกวนการชมการแสดงของ ผชู้ มท่านอ่ืน ๓. ละครไทย เป็นการแสดงท่ีสะท้อนวิถี ชีวิต วัฒนธรรม ประเพณีของสังคม มี การพัฒนารูปแบบเพ่ือให้ทันสมัยเข้ากับ ยคุ สมยั และเหตกุ ารณ์ปัจจุบนั เพ่อื สรา้ ง ความสนุกสนาน และสอดแทรกข้อคิด ตา่ ง ๆ ใหก้ ับผูช้ ม คะแนนเกบ็ ระหว่างเรียน ๒๐ ๖๐ ระหวา่ งภาค ๑ ๒๐ ปลายภาค ๑ ๒๐ รวมตลอดปี ๒๐ ๑๐๐

๖๕ รหัสวชิ ำ ศ ๒๑๑๐๔ ทัศนศลิ ป์ ๒ คำอธบิ ำยรำยวิชำทศั นศลิ ป์ ชัน้ มัธยมศึกษำปที ่ี ๑ กล่มุ สำระกำรเรยี นรูศ้ ลิ ปะ เวลำ ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… รู้เขา้ ใจ สือ่ ความหมาย วิเคราะห์ วิจารณ์ สร้างสรรค์ งานทัศนศิลป์จากจนิ ตนาการ ประสบการณ์ด้วย วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิค ทศั นธาตุและเทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมกับยุคสมัย รับรู้ สนใจและเหน็ คณุ คา่ ความงาม ของธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม ศิลปวฒั นธรรมไทย ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ ภมู ิปญั ญาไทยและสากล อยอู่ ย่างพอเพียง โดยใชก้ ระบวนการ บรรยายความ เปรียบเทียบ รวบรวม นาเสนอความคิด เพอ่ื ให้เกิดความรู้ความเข้าใจ และทกั ษะความชานาญ มงุ่ มั่นในการทางาน มจี ิตสาธารณะ รกั ความเป็นไทย เหน็ ประโยชนข์ องงานทัศนศิลป์และนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ์ ตวั ชว้ี ดั ศ ๑.๑ ม. ๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม. ๑/๕,ม. ๑/๖ ศ ๑.๒ ม. ๑/๑ , ม.๑/๒, ม. ๑/๓ รวมท้ังหมด ๙ ตัวช้ีวดั

๖๖ โครงสร้ำงรำยวิชำ รายวิชาทัศนศิลป์ รหัส ศ ๒๑๑๐๔ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐ ชวั่ โมง หนว่ ยกิต ๐.๕ หนว่ ยกติ ท่ี ช่ือหน่วย มาตรฐาน/ สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา คะแนน ภาระงาน รวบยอด การเรยี นรู้ ตวั ชี้วัด (ช่วั โมง) ภาระงาน ๑ การ ศ ๑.๑ ม.๑/ ๑. การออกแบบเกี่ยวขอ้ งกับส่งิ แวดลอ้ ม ๑๐ ๓๐ รวบยอด ออกแบบ ๕ รอบตวั การเรยี นร้เู รื่องการออกแบบ และประเมนิ ศ ๑.๑ ม.๑/ สามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ น งาน ๖ ชีวิตประจาวันได้ ทศั นศลิ ป์ ๒. การตัดสินผลงานทัศนศลิ ป์ ผู้ ประเมนิ แตล่ ะคนย่อมมมี ุมมองและ ความคิดที่แตกต่างกนั ออกไป การ ประเมนิ ผลงานทัศนศลิ ปต์ ามหลกั ในการ ประเมนิ จึงมีความสาคัญและมี ความจาเป็น เพือ่ ให้การประเมนิ ดาเนิน ไปอย่างยตุ ธิ รรมและเกิดประโยชนส์ ูงสดุ แก่ผู้สร้างผลงานและผ้ปู ระเมิน ที่ ช่อื หนว่ ย มาตรฐาน/ สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา คะแนน การเรียนรู้ ตัวชวี้ ดั (ช่วั โมง) ๒ การ ศ ๑.๒ ม.๑/ ๑. ทศั นศิลป์ มีวิวัฒนาการยาวนานมา ๑๐ ๓๐ สร้างสรรค์งาน ๑ ศ ตง้ั แต่สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ ซงึ่ สืบทอด ศลิ ปะไทย ๑.๒ ม.๑/๒ ต่อกนั มาแตล่ ะยุคสมยั ท้ังทศั นศลิ ป์ของ ศ ๑.๒ ม.๑/ ชาตแิ ละของท้องถิน่ ท่ลี ว้ นแล้วแตม่ ี ๓ เอกลักษณ์อนั สะทอ้ น ให้เหน็ ถึงความเชื่อ วิถีชีวิต ของคนในสงั คม การศึกษา เกีย่ วกับลกั ษณะรูปแบบงานทัศนศลิ ป์ จะ ทาให้เกดิ ความเข้าใจและสามารถ เปรียบเทียบผลงานตา่ ง ๆ ได้ ๒. งานทศั นศิลปข์ องไทยและสากลน้ัน มี จดุ ประสงค์ ในการสรา้ งสรรคท์ ี่มี ความเหมือนและความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่ กับวัฒนธรรม ความเช่ือของสังคมนั้น ๆ ซึ่งควรจะต้องศึกษาพร้อมท้ังเปรียบเทียบ ความแตกต่างของผลงานเพ่ือความเข้าใจ ในงานทัศนศิลป์ไทยและสากล

๖๗ คะแนนเกบ็ ระหวา่ งเรียน ๒๐ ๖๐ ระหวา่ งภาค ๑ ๒๐ ปลายภาค ๑ ๒๐ รวมตลอดปี ๒๐ ๑๐๐

๖๘ คำอธบิ ำยรำยวิชำดนตรี นำฏศลิ ป์ รหสั วิชำ ศ ๒๒๑๐๑ ดนตรี -นำฏศิลป์ ๑ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ศลิ ปะ ชั้นมธั ยมศึกษำปีท่ี ๒ เวลำ ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ศกึ ษาเอกสารประกอบวิชาดนตรี โน้ตไทยและสากล เครื่องหมายแปลงเสียง อิทธพิ ลต่อการสร้างสรรค์ งานดนตรี หลกั การร้องเพลง หลกั การรวมวง อารมณ์เพลง การขบั ร้องเพลงพืน้ บ้าน หลกั การฝึกปฏบิ ตั ิ บทบาท ดนตรี เหตกุ ารณแ์ ละประวตั ิศาสตร์ รปู แบบของดนตรีในประเทศ โดยใช้กระบวนการเปรยี บเทียบ อธบิ าย บรรยาย ทกั ษะการอ่าน เขียน รอ้ งโน้ต ระบุปจั จัยสาคัญขอกการ รอ้ งเพลง การเล่นดนตรเี ดี่ยว และรวมวง ประเมินทกั ษะทางดนตรี ระบอุ าชีพทเี่ กี่ยวข้องกบั ดนตรี เพ่ือให้เกิดความร้คู วามเข้าใจ และทักษะความชานาญ มงุ่ มัน่ ในการทางาน มจี ิตสาธารณะ รักความเปน็ ไทย เห็นประโยชนข์ องนาฏศิลปแ์ ละนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวัน ตวั ช้ีวดั ศ ๒.๑ ม๒/๑ , ม.๒/๒ , ม.๒/๓ , ม.๒/๔ , ม.๒/๕ , ม.๒/๖ , ม.๒/๗ ศ ๒.๒ ม.๒/๑ ,ม๒/๒ รวมท้ังหมด ๙ ตัวช้ีวดั

๖๙ โครงสรำ้ งรำยวชิ ำ รายวิชาดนตรี-นาฏศลิ ป์ รหัส ศ ๒๒๑๐๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ เวลา ๒๐ ชว่ั โมง หนว่ ยกิต ๐.๕ หนว่ ยกติ ท่ี ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน/ สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เวลา คะแนน ภาระงาน รวบยอด การเรียนรู้ ตัวชี้วดั (ชั่วโมง) ภาระงาน ๑ สร้างสรรค์ ศ ๒.๑ ม.๒/ ๑. เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี ๑๐ ๓๐ รวบยอด บทเพลง ๒ เป็นสิ่งท่ีใช้ในการขับร้องและบรรเลง บ ร ร เ ล ง ศ ๒.๑ ม.๒/ ดนตรี ทาให้ผู้ขับร้องและบรรเลงดนตรี เครือ่ งดนตรี ๓ สามารถเข้าใจจังหวะและทานองของบท ศ ๒.๑ ม.๒/ เพลง ทาให้ขับร้องและบรรเลงดนตรีได้ ๕ ถูกต้อง ไพเราะ ศ ๒.๑ ม.๒/ ๒. การสร้างสรรค์บทเพลง ผู้ประพันธ์ ๔ เพลงจะต้องมีจินตนาการในการสร้างสรรค์ ศ ๒.๑ ม.๒/ บทเพลงและถ่ายทอดเรื่องราวความคิด ๖ ผ่านบทเพลงมาสู่ผู้ฟัง ทาให้ผู้ฟังเข้าใจ อารมณ์ของบทเพลงและความหมายของ บทเพลงตามที่ผู้ประพันธ์ต้องการสื่อ ออกมาใหผ้ ู้ฟงั ได้รบั ร้เู ข้าใจ ๓. การขับร้องและบรรเลงดนตรี ผู้ขับ ร้องและบรรเลงต้องมีเทคนิคในการร้อง และบรรเลง เพ่ือให้ขับร้องและบรรเลง ดนตรีได้ไพเราะ และการประเมิน ความสามารถทางดนตรี ผู้ประเมิน จะต้องมีความรู้ความเข้าใจทางดนตรี ด้วยจงึ จะทาให้ประเมนิ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ท่ี ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน/ สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา คะแนน การเรียนรู้ ตัวชี้วดั (ช่วั โมง) ๒ ดนตรใี นชวี ติ ศ ๒.๑ ม.๒/ ๑. อาชพี ดนตรีมีมากมายหลายอาชีพ เปน็ ๑๐ ๓๐ ๗ อาชีพที่สร้างความสุขให้ผู้ฟังและเป็น ศ ๒.๑ ม.๒/ อาชีพท่ีสาคัญอาชีพหนึ่ง อีกทั้งอาชีพ ๑ ดนตรีและการดนตรียังมีบทบาทต่อธุรกิจ ศ ๒.๒ ม.๒/ บันเทิงด้วย เพราะงานบนั เทงิ จาเปน็ ต้องมี ๑ ด น ต รี เ ข้ า ไ ป มี ส่ ว น ร่ ว ม ท า ใ ห้ ง า น ศ ๒.๒ ม.๒/ สนุกสนาน มีสีสัน และน่าสนใจต่อคนใน ๒ สงั คม ๒. ดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมของไทย

๗๐ มลี ักษณะแตกต่างกันไปตามถิ่นที่อยู่อาศัย ๒๐ ๖๐ ขนบธรรมเนยี มประเพณีของแต่ละท้องถ่ิน ๑ ๒๐ ที่ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ขึ้ น ม า เ พื่ อ ส ร้ า ง ค ว า ม สุ ข ๑ ๒๐ สนุกสนานให้กับคนในท้องถิ่น สะท้อนถึง ๒๐ ๑๐๐ วัฒนธรรมท้องถ่ิน และเป็นมรดกท่ี ทรงคณุ ค่า ควรอนุรกั ษแ์ ละสบื ทอดตอ่ ไป ๓. ดนตรีในแต่ละประเทศ แตล่ ะทวีป ท่ัวโลกมีลักษณะแตกต่างกัน มีบทบาท และอิทธิพลต่อคนในชาติ เป็นสิ่งที่แสดง ถึงลักษณะภูมิประเทศ ถ่ินท่ีอยู่ การ ดารงชีวิต ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม ประเพณีของแต่ละชาติ รวมถึงสะท้อน ถึงสังคมและลักษณะของคนในชาติน้ัน เป็นส่ิงที่สร้างความสุข สนุกสนานให้กับ คนในชาติ ดนตรีจึงมีบทบาทและ อทิ ธิพลต่อประเทศตา่ ง ๆ ทั่วโลก ๔. การเปล่ียนแปลงทางการเมืองและทาง เทคโนโลยีส่งผลให้งานดนตรีไทยมีการ เปล่ียนแปลงไป อีกทั้งยังมีวัฒนธรรม ตา่ งชาติเข้ามาแพร่หลายในสังคมไทยมาก ขึ้นจึงทาให้ดนตรีไทยได้รับความนิยม น้อยลง ดังน้ันคนไทยทุกคนต้องร่วมกันสืบ ทอด พฒั นา และให้ความให้สนใจดนตรีไทย มากขน้ึ เพือ่ ใหด้ นตรไี ทยคงอยคู่ ู่ชาติสบื ไป คะแนนเก็บระหว่างเรยี น ระหว่างภาค ปลายภาค รวมตลอดปี

๗๑ คำอธบิ ำยรำยวิชำทัศนศิลป์ รหสั วชิ ำ ศ๒๒๑๐๒ ทศั นศลิ ป์ ๑ กลุ่มสำระกำรเรยี นรูศ้ ลิ ปะ ชั้นมัธยมศกึ ษำปีท่ี ๒ เวลำ ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ......................................................................................................................................................................... ศกึ ษาวธิ ีการทางทัศนศิลป์ การเขยี นภาพระบายสี การป้ัน การพิมพ์ภาพ การออกแบบตกแต่งภายใน และภายนอกอาคาร การออกแบบงานศลิ ปใ์ นรูปแบบและดา้ นต่าง ๆ การใช้เทคนิคการเขียนภาพทัศนียภาพใน วธิ ีการต่าง ๆ โดยใชก้ ระบวนการบรรยายความ เปรยี บเทียบ รวบรวม นาเสนอความคิด สกู่ ารวาดสรางสรรคผลงาน ทศั นศลิ ป เพอ่ื ใหเกดิ ความใฝรใู ฝเรียน มุงในการถายทอดความคดิ ความรูสึก ความชน่ื ชมและเห็นคุณคาในการนาไป ปฏบิ ตั แิ ละประยุกตใชในชวี ิตประจาวนั ไดอยางเหมาะสม ตวั ชวี้ ัด ศ ๑.๑ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๖ รวมท้ังหมด ๔ ตัวช้ีวดั

๗๒ โครงสร้ำงรำยวิชำ รำยวิชำ ทศั นศิลป์ รหสั วิชำ ศ ๒๒๑๐๒ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ศลิ ปะ ระดบั ช้นั มัธยมศึกษำปีท่ี ๒ เวลำ ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต สัดสว่ นคะแนน ระหวำ่ งเรียน : ปลำยภำคเรียน ๘๐ : ๒๐ ที่ ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา คะแนน ภาระงาน/ ชิ้นงานรวบยอด ๑ พน้ื ฐานงานศลิ ป์ ศ ๑.๑ ม.๒/๑ รูปแบบของทัศนธาตุและแนวคดิ ใน ๙ ๓๐ ผงั มโนทศั น์ การสร้าง ศ ๑.๑ ม.๒/๒ งานทัศนศลิ ป์ เทคนิคในการวาดภาพ งานทศั นศลิ ป์ สอื่ ความหมาย ความเหมือนและ ความแตกตา่ งของรูปแบบการใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศิลปิน เทคนิคในการวาดภาพส่ือ ความหมาย รูปแบบของงานทศั น ศิลป นยิ มถายทอดความงามเปน ๓ รปู แบบ คอื รูปแบบเหมือนจริง (Realistic) รปู แบบแบบตดั ทอน (Distortion) และรปู แบบตาม ความรูสกึ (Abstraction) สามารถ วิเคราะหทศั นธาตุแลวนามา สรางสรรคผลงานทศั นศลิ ปให ส่ือความหมายไดอยางชดั เจน ๒ สรางสรรคงาน ศ ๑.๑ ม.๒/๓ การสร้างงานทัศนศิลป์นั้นมีเทคนคิ ท่ี ๙ ๓๐ การสร้างสรรคง์ าน ทัศนศิลป์ ศ ๑.๑ ม.๒/๖ หลากหลาย ขึน้ อยู่กบั จินตนาการ ทศั นศิลป์ ๒มิติ๓มติ ิ และการลงมอื ปฏิบตั ิของศลิ ปินว่าจะ ใชเ้ ทคนิคใดบ้าง ซ่ึงการใช้เทคนคิ ใน การสรา้ งสรรคผ์ ลงานนน้ั ศิลปนิ จะต้องมคี วามรอบรู้ และตอ้ งหม่ัน ศกึ ษาทัง้ เร่ืองเสน้ สี ฯลฯ เพื่อเป็น พ้นื ฐาน และเป็นประสบการณใ์ นการ สรา้ งสรรค์และพฒั นาผลงานต่อไป ระหว่างภาค/ปี ๑ ๒๐ ปลายภาค/ปี ๑ ๒๐ รวมตลอดปี ๒๐ ๑๐๐

๗๓ คำอธิบำยรำยวชิ ำดนตรี นำฏศิลป์ รหัสวชิ ำ ศ ๒๒๑๐๓ ดนตรี - นำฏศิลป์ ๒ กลุ่มสำระกำรเรียนรศู้ ิลปะ ช้นั มัธยมศึกษำปที ี่ ๒ เวลำ ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ศกึ ษาศิลปะการแสดง องค์ประกอบนาฏศลิ ป์ และการละคร นาฏยศพั ท์ ภาษาท่า ราวงมาตรฐาน เชอื่ มโยงการเรยี นรนู้ าฏศลิ ป์ และการละคร กับสาระอ่ืน นาฏศลิ ปพ์ ื้นเมือง ละครไทย ละครพืน้ บ้าน มหรสพทีเ่ คย มใี นอดตี ละครสมัยตา่ ง ๆ โดยใชก้ ระบวนการเปรียบเทียบ อธิบาย บรรยาย เสนอข้อคดิ เหน็ ระบุ สรา้ งสรรคก์ ารแสดง วเิ คราะห์ วิจารณ์การแสดง ปฏบิ ตั ิทา่ รา แสดงนาฏศิลป์รปู แบบต่างๆ เพ่ือใหเ้ กิดความรูค้ วามเขา้ ใจ และทักษะความชานาญ มงุ่ ม่นั ในการทางาน มจี ติ สาธารณะ รักความเปน็ ไทย เหน็ ประโยชน์ของนาฏศิลปแ์ ละนาไปใช้ในชวี ิตประจาวัน ตัวชวี้ ดั ศ ๓.๑ ม๒/๑ , ม.๒/๒ , ม.๒/๓ , ม.๒/๔ , ม.๒/๕ ศ ๓.๒ ม.๒/๑ ,ม.๒/๒ ม.๒/๓ รวมทั้งหมด ๘ ตัวช้ีวดั

๗๔ โครงสร้ำงรำยวชิ ำ รายวชิ าดนตรี-นาฏศลิ ป์ รหัส ศ ๒๒๑๐๓ กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ เวลา ๒๐ ชวั่ โมง หนว่ ยกิต ๐.๕ หน่วยกติ ที่ ช่ือหน่วย มาตรฐาน/ สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา คะแนน ภาระงาน รวบยอด การเรยี นรู้ ตวั ชวี้ ัด (ชว่ั โมง) ๑ ค ว า ม รู้ ศ ๓.๑ ม.๒/ ๑. นาฏศลิ ปไ์ ทยเปน็ ศิลปะการแสดง ๑๐ ๓๐ พื้นฐานด้าน ๑ ทีม่ คี วามออ่ นช้อย งดงาม เป็นศิลปะ น า ฏ ศิ ล ป์ ศ ๓.๑ ม.๒/ ทแ่ี สดงถงึ ความเป็นชาติไทย ซง่ึ ใน ไทย ๒ ศ ๓.๑ ม. การจัดการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทยจะต้อง ๒/๓ มศี ลิ ปะดา้ นตา่ ง ๆ มาเก่ยี วข้องและ ศ ๓.๑ ม.๒/ มีหลกั ในการสร้างสรรคก์ ารแสดงเพอื่ ให้ ๔ การแสดงสวยงาม และประทับใจตอ่ ผู้ชม ศ ๓.๑ ม.๒/ ๒. ในการวเิ คราะห์ วจิ ารณ์การแสดง ๔ ผู้วิเคราะห์และวิจารณ์จะต้องมีความรู้ ศ ๒.๒ ม.๒/ เก่ียวกับการแสดงจะทาให้วิเคราะห์และ ๒ วิจารณ์ได้ถูกต้องและต้องไม่มีอคติต่อ ศ ๓.๒ ม.๒/ การแสดง ใช้ความคิด เหตุผลในการ ๑ วิเคราะห์ วิจารณ์ เพื่อให้การแสดงมีการ ศ ๓.๑ ม.๒/ พฒั นาตอ่ ไป ๕ ๓. การแสดงนาฏศลิ ป์ นาฏศิลปพ์ ื้นเมือง และราวงมาตรฐาน เปน็ การแสดง นาฏศิลป์ไทยทเ่ี ป็นเอกลักษณ์ของชาติ สะท้อนถงึ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และภูมปิ ญั ญาของคนในชาติ เป็นมรดก ของชาติที่ควรรว่ มกนั อนรุ ักษ์ และ สืบทอดตอ่ ไปยังเยาวชนรนุ่ หลัง ๔. วฒั นธรรมไทย ๔ ภูมิภาค มลี กั ษณะ แตกตา่ งกนั ไปตามแต่ละท้องถ่นิ ขน้ึ อยกู่ ับสภาพภูมปิ ระเทศ ภูมอิ ากาศ ประเพณี วถิ ีชีวติ ของคนในท้องถิน่ ทาให้การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองของแต่ ละภูมิภาคแตกต่างกันไปด้วย ซ่ึงการ แ ส ด ง น า ฏ ศิ ล ป์ พ้ื น เ มื อ ง ข อ ง แ ต่ ล ะ ภูมิภาคสะท้อนถึงวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตของคนในท้องถ่ิน สร้างความสุข สนุกสนาน ผอ่ นคลายให้กบั คนในท้องถ่ิน

เป็นมรดกท้องถ่ินที่ควรอนุรักษ์และสืบ ๗๕ ทอดต่อไป ภาระงาน รวบยอด ๕. การนานาฏศิลป์มาบูรณาการกับกลุ่ม สาระการเรียนรู้อื่น ๆ จะทาให้การแสดง นาฏศิลป์มีความสวยงามสมบูรณ์ ผู้ชม และผู้แสดงได้รับความรเู้ พ่ิมมากขึ้น อีกท้ัง ในการเรียนนาฏศิลป์จะทาให้ผู้เรียนมี พัฒนาการด้านความคิดที่ดีสามารถ เข้าใจนาฏศิลป์ได้มากขน้ึ ที่ ชื่อหน่วย มาตรฐาน/ สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เวลา คะแนน การเรยี นรู้ ตัวช้วี ดั (ชว่ั โมง) ๒ หลักและ ศ ๓.๑ ม.๒/ ๑. การแสดงละครไทยให้มีความสวยงามได้ ๑๐ ๓๐ วธิ กี ารแสดง ๑ น้ันจะต้องอาศัยองค์ประกอบของละคร ละคร ศ ๓.๑ ม.๒/ และศิลปะแขนงต่าง ๆ มาใช้ในการแสดง ๒ ศ ๓.๑ ม. จะทาให้การแสดงละครมีความสมบูรณ์ ๒/๓ สวยงาม เป็นทชี่ ื่นชอบประทับใจต่อผู้ชม ศ ๓.๑ ม.๒/ ๒. การวเิ คราะห์ วจิ ารณ์การแสดงละครผู้ ๔ วิเคราะห์ วจิ ารณ์ต้องมีความรู้ ศ ๓.๒ ม.๒/ ความสามารถเกยี่ วกบั ละครจะทาให้ ๒ วิเคราะห์ และวิจารณ์ได้ถูกต้อง ทาให้ ศ ๓.๒ ม.๒/ ละครเกิดการพัฒนา และต้องไม่มีอคติใช้ ๓ ถ้อยคาสุภาพ และใช้เหตุผลในการ ศ ๓.๑ ม.๒/ วเิ คราะห์ วิจารณ์ ๕ ๓. ละครไทยและละครพืน้ บ้าน เป็นการ แสดงของไทยท่มี รี ูปแบบการแสดง แตกต่างกนั ละครไทยจะมีความงดงาม แสดงเร่ืองราวที่เปน็ วรรณกรรมท่ีงดงาม ส่วนละครพ้ืนบา้ นเป็นการแสดงแบบ ชาวบา้ น เรือ่ งราวทแ่ี สดงจะมาจากนทิ าน พืน้ บ้านตา่ ง ๆ แต่ท้งั ละครไทยและละคร พื้นบ้าน เปน็ มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ ที่สะท้อนเร่อื งราวในชาติวถิ ชี วี ิตของคนใน สงั คม และสอดแทรกข้อคิดใหก้ บั ผชู้ ม ทา ให้ผูช้ มได้รับความสนุกสนาน เพลิดเพลนิ และนาข้อคิดทีไ่ ด้ไปปรบั ใช้ในชวี ิต จึงเป็น สิ่งท่คี นไทยควรใหค้ วามร่วมมือใน การอนรุ ักษ์ สืบทอดให้ละครไทย และละครพ้ืนบ้านคงอยู่ตอ่ ไป

๗๖ ๔. การละครไทยเกิดขึ้นมาต้ังแตส่ มัยอดีต และมีการพัฒนาปรบั ปรุงรูปแบบการ แสดงเรื่อยมาจนมาถึงปัจจบุ ัน มกี ารนา เทคโนโลยแี ละศิลปะตา่ ง ๆ มาใช้ในการ แสดง ทาให้เกิดความทนั สมยั สวยงาม สมจรงิ ทาให้ผชู้ มชนื่ ชอบ ประทบั ใจ และ การละครไทยยังได้รบั อทิ ธิพลจาก วัฒนธรรมต่างชาติ จึงทาใหล้ ะครไทยมี รูปแบบใหม่เกดิ ขึน้ มากมาย เพอ่ื ตอบสนอง ผชู้ ม ปจั จบุ นั ละครไทยจะสะท้อนเรื่องราว ในสงั คมมากขึน้ สอดแทรกข้อคิดตา่ ง ๆ ไว้ให้ผู้ชมนาไปปรบั ใช้ในชวี ติ และไดร้ บั ความสนกุ สนานไปพรอ้ มกัน ๕. การบูรณาการละครกับกลุม่ สาระการ เรียนรู้อ่นื ๆ ทาให้ละครมีความสวยงาม น่าสนใจ และสมบูรณ์ ผ้ชู มเกิด ความประทับใจ และเปน็ สง่ิ ที่ชว่ ย ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะ ในดา้ นตา่ ง ๆ มากขึ้น คะแนนเกบ็ ระหวา่ งเรยี น ๒๐ ๖๐ ระหว่างภาค ๑ ๒๐ ปลายภาค ๑ ๒๐ รวมตลอดปี ๒๐ ๑๐๐

๗๗ คำอธิบำยรำยวชิ ำทศั นศิลป์ รหสั วิชำ ศ ๒๒๑๐๔ ทศั นศลิ ป์ ๒ กลมุ่ สำระกำรเรียนรศู้ ิลปะ ช้ันมัธยมศกึ ษำปที ี่ ๒ เวลำ ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ......................................................................................................................................................................... ศึกษางานทศั นศลิ ป์ ที่ต้องวิเคราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับงานทัศนธาตุ ใน งานศลิ ป์ รหู้ ลกั และความงามในทศั นศลิ ป์ มคี วามเชื่อทางวฒั นธรรม ศิลปะบนผนังตามวัด โบสถ์ ในทอ้ งถน่ิ ของเรา และอิทธพิ ลท่ีทาให้ เกดิ การสรา้ งงานศลิ ปะในยคุ สมยั ต่างๆ ใชภ้ ูมปิ ญั ญามรดกอันทรงคุณคา่ ของ ศิลปวฒั นธรรมไทย โดยใชก้ ระบวนการบรรยายความ เปรียบเทียบ รวบรวม นาเสนอความคดิ มุ่งม่ันในการทางาน มจี ติ สาธารณะ รกั ความเป็นไทย เหน็ ประโยชน์ของทัศนศิลป์ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้ความเขา้ ใจ และทกั ษะความชานาญ มุ่งมัน่ ในการทางาน มจี ิตสาธารณะ รกั ความเป็น ไทย เห็นประโยชน์ของทศั นศลิ ปแ์ ละนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน ตัวชี้วัด ศ ๑.๑ ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๗ ศ ๑.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓ รวมทั้งหมด ๖ ตัวช้ีวัด

๗๘ รำยวิชำ ทัศนศิลป์ โครงสร้ำงรำยวชิ ำ กลุ่มสำระกำรเรยี นร้ศู ลิ ปะ ระดับชั้นมัธยมศกึ ษำปีท่ี ๒ รหสั วิชำ ศ ๒๒๑๐๔ จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ สัดสว่ นคะแนน เวลำ ๒๐ ชัว่ โมง ระหวำ่ งเรยี น : ปลำยภำคเรยี น ๘๐ : ๒๐ ที่ ช่อื หน่วยการ มาตรฐาน/ สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เวลา คะแนน ภาระงาน/ เรียนรู้ ตัวชวี้ ัด ชิน้ งานรวบยอด ๑ การออกแบบใน ศ ๑.๑ ม.๒/๔ การโฆษณา คือ การออกแบบจาก ๙ ๓๐ ออกแบบโฆษณา การโฆษณาและ ศ ๑.๑ ม.๒/๕ การท่ีผผู้ ลติ นาเสนอสินค้า หรือ ผลติ ภณั ฑ์ โลโก้ เกณฑ์การวจิ ารณ์ ส่ิงของ ต่อสงั คมหรือประชาชน จึง ผลงาน ศ ๑.๑ ม.๒/๗ เกดิ การศึกษางานออกแบบและงาน ทัศนศลิ ป์ เพ่ือนามาประยุกตใ์ ช้ใน การโฆษณาให้เกิดความรู้ ความ เขา้ ใจ และผลักดันใหเ้ กิดความ ประทบั ใจในการโฆษณาน้นั เกดิ เปน็ ผลงาน ชิน้ งานท่ีสมบูรณ์ ซง่ึ ต้อง ผ่านกระบวนการแก้ไข ปรับปรุง และพฒั นา ซึ่งเปน็ ผลมาจากการ พฒั นาการประเมินและวจิ ารณ์ของผู้ ท่ีไดช้ นื่ ชมผลงานชนิ้ นนั้ เพ่อื การ ปรับปรงุ และพฒั นาผลงานให้มคี วาม สมบูรณแ์ ละเกดิ ประโยชน์สงู สุด ๒ งานทศั นศิลป์ใน ศ ๑.๒ ม.๒/๑ งานทัศนศิลป์ เปน็ ผลงานศิลปะจาก ๙ ๓๐ รายงาน เรื่อง ทศั นศลิ ใ์ น วัฒนธรรม ศ ๑.๒ ม.๒/๒ ศ ๑.๒ ม.๒/๓ การรับร้ดู ว้ ยสายตา ประกอบไปด้วย วฒั นธรรม จติ รกรรม ประติมากรรม และ สถาปตั ยกรรม งานทัศนศลิ ป์ทง้ั ของ ไทยและสากลมีวิวฒั นาการสืบมา ตง้ั แต่อดีต มีความงดงามหลากหลาย มคี วามแตกตา่ ง และมีเอกลกั ษณ์ เฉพาะตามยุคสมยั นน้ั ๆ งาน ทัศนศิลป์ในอดีตสะท้อนให้เห็น ความสัมพันธเ์ ชอื่ มโยงระหว่างศลิ ปะ กบั วิถีชีวิตของมนษุ ย์ งานทศั นศิลป์ ยังมีคุณคา่ และบทบาทที่สาคัญใน การจรรโลงสังคมมนษุ ย์ตั้งแต่อดตี มา จนถงึ ปัจจุบัน ระหว่างภาค/ปี ๑ ๒๐ ปลายภาค/ปี ๑ ๒๐ รวมตลอดปี ๒๐ ๑๐๐

๗๙ คำอธบิ ำยรำยวิชำดนตรี นำฏศิลป์ รหสั วชิ ำ ศ ๒๓๑๐๑ ดนตรี -นำฏศลิ ป์ ๑ กลุ่มสำระกำรเรียนรศู้ ิลปะ ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๓ เวลำ ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษาองคป์ ระกอบที่ใช้ในงานดนตรี หลกั การร้องเพลง การเล่นดนตรเี ด่ยี ว หลกั การแต่งเพลงส้ัน ๆ องคป์ ระกอบในการสร้างสรรค์งานดนตรี อทิ ธิพลของดนตรที ่มี ีต่อบุคคลและสงั คม การจดั การแสดงดนตรี ววิ ัฒนาการดนตรีแต่ละยคุ สมัย ลักษณะเด่นของงานดนตรที ่ไี ด้รบั การยอมรับและการขับร้องเพลงพื้นบา้ น โดยใชก้ ระบวนการเปรียบเทยี บ อธบิ าย บรรยาย นาเสนอ ร้องเพลง เลน่ ดนตรีและการแสดงออก เพ่อื ใหเ้ กิดความรู้ความเขา้ ใจ และทักษะความชานาญ มุง่ มั่นในการทางาน มจี ติ สาธารณะ รักความเปน็ ไทย เห็นประโยชนข์ องดนตรีและนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ตวั ช้ีวัด ศ ๒.๑ ม๓/๑ , ม.๓/๒ , ม.๓/๓ , ม.๓/๔ , ม.๓/๕ , ม.๓/๖ , ม.๓/๗ ศ ๒.๒ ม.๓/๑ ,ม๓/๒ รวมทั้งหมด ๙ ตัวช้ีวดั

๘๐ โครงสรำ้ งรำยวชิ ำ รายวิชาดนตรี-นาฏศลิ ป์ รหัส ศ ๒๓๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ เวลา ๒๐ ชว่ั โมง หนว่ ยกิต ๐.๕ หนว่ ยกติ ท่ี ชื่อหน่วยการ มาตรฐาน/ สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เวลา คะแนน ภาระงาน เรยี นรู้ ตัวชีว้ ัด (ชั่วโมง) รวบยอด ๑ องค์ประกอบ ศ ๒.๑ ม.๓/ ๑. ดนตรีท่ีมีความไพเราะ จะต้องมี ๑๐ ๓๐ การนาเสนอผลของ ดนตรี ๑ องคป์ ระกอบดนตรที ่คี รบถ้วนสมบูรณ์จะ เครื่องดนตรีในแต่ละ ศ ๒.๑ ม.๓/ ทาให้บทเพลงไพเราะ นา่ ฟงั และสามารถ ภาค/ทักษะการออก ๒ นาดนตรีมาใชค้ วบคู่กบั ศิลปะ เพ่ือให้เกิด เสียงตามตัวโน้ต/ใบ ศ ๒.๑ ม.๓/ การสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปะให้มี ง า น แ บ บ ฝึ ก หั ด ก า ร ๓ ศ ๒.๑ ม. เอกลักษณ์สวยงามนา่ สนใจ ปฎิบัติ ๓/๔ ๒. การขบั รอ้ งและการบรรเลงดนตรโี ดย ศ ๒.๑ ม.๓/ ใช้เทคนคิ การขบั ร้องและบรรเลงจะทา ๕ ใหข้ บั ร้องและบรรเลงดนตรีได้อย่าง ถูกต้องและไพเราะ ผู้ฟงั เกดิ ความชนื่ ชอบประทับใจ ๓. การแตง่ เพลงผปู้ ระพนั ธ์เพลงต้องมี ความรู้ ความเขา้ ใจในองค์ประกอบของดนตรี มี ความรคู้ วามสามารถในการแตง่ เพลง และมีจินตนาการเพ่ือใหส้ ามารถ ประพันธบ์ ทเพลงได้อยา่ งไพเราะ นา่ ฟงั ๔. การเปรยี บเทยี บงานดนตรีเป็นสิ่งท่ี ทาใหผ้ ้ฟู ังเขา้ ใจลกั ษณะของบทเพลง และทาใหผ้ ปู้ ระพันธเ์ พลงสามารถ นามาใช้สรา้ งสรรคผ์ ลงานในบทเพลง และเขา้ ใจถงึ ลกั ษณะบทเพลงของตนเอง และผูอ้ ่นื ที่ ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐาน/ สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เวลา คะแนน ภาระงาน เรยี นรู้ ตวั ช้วี ดั (ชั่วโมง) รวบยอด ๒ ร้ อ ง ร า ศ ๒.๑ ม.๓/ ๑. ดนตรีมีอทิ ธพิ ลต่อมนษุ ย์และสงั คม ๑๐ ๓๐ ผลงานการจัดวงดนตรี ทาเพลง ๖ เป็นสง่ิ ทส่ี รา้ งความสนกุ สนาน ผ่อนคลาย ไทย/รายงานการ ศ ๒.๒ ม.๓/ ใหก้ ับคนในสงั คม และใช้ประกอบพธิ ีการ ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ บ ท ๒ ต่าง ๆ เพลง ศ ๒.๑ ม.๓/ อีกทั้งยงั ชว่ ยพฒั นาดา้ นอารมณ์ จติ ใจและ ๗ สตปิ ัญญาของมนุษย์

๘๑ ศ ๒.๒ ม.๓/ ๒. ปัจจัยทที่ าใหง้ านดนตรีได้รบั การ ๑ ยอมรบั มีหลายประการ ซ่ึงเป็นสิ่งท่ีทาให้ดนตรี เปน็ ท่ีรู้จักนยิ มช่นื ชอบต่อคนในสังคม ๒๐ ๖๐ ๓. การจัดการแสดงดนตรีในวาระต่าง ๆ ๑ ๒๐ ควรมีการวางแผนขั้นตอนในการจัดงาน ๑ ๒๐ จะทาให้การจัดงานมีความเรียบร้อย ๒๐ ๑๐๐ สมบูรณ์ มีคุณภาพ อีกท้ังในการจัดงาน แสดงดนตรียังสามารถบูรณาการกับ ศิลปะด้านต่าง ๆ เพ่ือให้การแสดงมี ความนา่ สนใจมากข้นึ ๔. ดนตรีไทยและดนตรีสากลมี วิวัฒนาการมาต้ังแต่สมัยอดีตจนถึง ปัจจุบัน ซ่ึงพัฒนาข้ึนมาเพื่อสร้าง ความสุข ความสนุกสนาน ผ่อนคลาย ให้กับมนษุ ย์ และใชใ้ นประเพณี พธิ ีกรรม ต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในสังคม เป็นสิ่งท่ีควร ไ ด้ รั บ ก า ร พั ฒ น า ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ อ ยู่ คู่ ประเทศชาตสิ ืบไป คะแนนเกบ็ ระหวา่ งเรยี น ระหวา่ งภาค ปลายภาค รวมตลอดปี

๘๒ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำทัศนศิลป์ รหัสวิชำ ศ ๒๓๑๐๒ ทัศนศลิ ป์ ๑ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ ชน้ั มธั ยมศึกษำปที ี่ ๓ เวลำ ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ศึกษาสิ่งแวดล้อม ธรรมชาติ งานทัศนศิลป์ การถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก เก่ียวกับงานจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรมโดยใช้ความรู้เร่ืองทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ เทคนิค วิธีการของศิลปินและ ของตนเองในการสรา้ งงานทัศนศลิ ป์ โดยการฝึกวิเคราะห์และอภิปรายรูปแบบ เน้ือหา วิธีการใช้ทัศนธาตุ หลักการออกแบบ ให้นักเรียนมี ทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์ ท้ัง ๒ มิติ และ ๓ มิติ สามารถผสมผสานวัสดุต่าง ๆ ในการสร้างงานทัศนศิลป์ เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการให้เป็นเร่ืองราว เพื่อบรรยายเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้เทคนิคที่ หลากหลาย จนมีทักษะและความชานาญและตอ่ ยอผลงานได้ เพือ่ ใหเ้ กิดความรคู้ วามเขา้ ใจ มุ่งมั่นในการทางาน มีวินัย ใฝเ่ รียนรู้ รกั ความเป็นไทย ชื่นชมผลงานของ ตนเองและผ้อู น่ื เหน็ คุณคา่ เกี่ยวกบั งานทศั นศิลป์ท่สี ะทอ้ นคณุ ค่าของวฒั นธรรมไทยและทอ้ งถนิ่ สามารถนา ความรู้และทักษะตา่ งๆนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ตวั ชี้วดั ศ ๑.๑ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔ ,ม.๓/๕ , ม.๓/๖ , ม.๓/๗ ,ม.๓/๙ รวมทั้งหมด ๘ ตัวชีว้ ัด

๘๓ รายวชิ าทัศนศลิ ป์ รหัส ศ ๒๓๑๐๒ โครงสร้ำงรำยวิชำ ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ สดั ส่วนคะแนน กลุม่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ เวลา ๒๐ ชว่ั โมง หน่วยกิต ๐.๕ หน่วยกติ ระหวา่ งเรยี น : ปลายภาคเรียน ๘๐ : ๒๐ ที่ ช่อื หนว่ ย มาตรฐาน/ สาระสาคญั เวลา คะแนน ภาระงาน/ การเรยี นรู้ ตัวชว้ี ัด ชิ้นงานรวบยอด ๑ ขดี เขียนงาน ศ ๑.๑ ม.๓/๑ การนาหลกั การออกแบบงานทศั นศิลป์ ๙ ๓๐ การออกแบบ ศิลปอ์ ย่าง ศ ๑.๑ ม.๓/๓ โดยประยกุ ต์ใช้ ทศั นธาตุและเทคนคิ สร้างสรรค์ลวดลาย สร้างสรรค์ ศ ๑.๑ ม.๓/๙ วิธีการ ทหี่ ลากหลายในการสร้างสรรค์ บนผลติ ภณั ฑ์ DIY ศ ๑.๑ ม.๓/๗ งานทัศนศิลป์ เพอื่ ส่ือความหมายเปน็ เรื่องราว และเหตุการณต์ า่ ง ๆ อยา่ ง สร้างสรรค์ ที่ ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐาน/ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา คะแนน ภาระงาน การเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ัด (ช่วั โมง) รวบยอด ๒ สรา้ งสรรค์ ศ ๑.๑ ม.๓/๒ การสร้างงานทัศนศลิ ป์ แบบ ๒ มติ ิ ๓ สรา้ งศลิ ป์ ศ ๑.๑ ม.๓/๖ มิติ เพื่อถ่ายทอด ประสบการณ์และ ๑๑ ๓๐ ศลิ ปะประดิษฐ์ ศ ๑.๑ ม.๓/๕ จนิ ตนาการท่ดี ี ควรนาเทคนคิ วธิ กี าร ศ ๑.๑ ม.๓/๘ หลักการออกแบบในการสรา้ งงานที่ กระถางจากเศษผา้ สร้างสรรค์ และสามารถวิเคราะห์ DIY รูปแบบเน้ือหาและคุณค่าของงาน ทศั นศิลปข์ องตนเองและผอู้ น่ื หรอื ของ ศิลปินมาประยุกตใ์ ช้ คะแนนเก็บระหว่างเรยี น ๒๐ ๖๐ ระหวา่ งภาค ๒๐ ๒๐ ปลายภาค ๒๐ รวมตลอดปี ๑๐๐

๘๔ คำอธิบำยรำยวชิ ำดนตรี นำฏศิลป์ รหัสวิชำ ศ ๒๓๑๐๓ ดนตรี - นำฏศิลป์ ๒ กลุ่มสำระกำรเรียนรศู้ ลิ ปะ ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ่ี ๓ เวลำ ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศกึ ษาโครงสร้าง องค์ประกอบของบทละคร ศัพท์ทางการแสดง นาฏยศพั ท์ ภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์ ราวง มาตรฐาน รปู แบบการแสดง ประดษิ ฐ์ท่าราประกอบการแสดง องคป์ ระกอบนาฏศิลป์ การจัดการแสดง บทบาท หน้าทข่ี องการแสดง ละครกับชวี ติ การออกแบบสรา้ งสรรค์เครือ่ งแตง่ กาย ความสาคัญและบทบาทของนาฏศิลป์ การละครในชวี ติ ประจาวัน การอนุรักษน์ าฏศิลป์ไทยและการแสดงนาฏศิลป์พน้ื บา้ น โดยใชก้ ระบวนการ อธบิ าย ระบุ ปฏิบัตทิ ่าทางนาฏศิลปไ์ ทย บรรยายเปรียบเทียบ ทักษะการคิด สรา้ งสรรค์ การแปลความการสอ่ื ความ วจิ ารณ์เปรยี บเทยี บ การจัดการแสดง นาเสนอความคิด แสดงความคิดเห็น ออกแบบสร้างสรรค์อุปกรณ์เคร่ืองแต่งกาย เพอื่ ใหเ้ กิดความรคู้ วามเขา้ ใจ และทกั ษะความชานาญ มงุ่ ม่ันในการทางาน มีจิตสาธารณะ รกั ความเป็น ไทย เห็นประโยชนข์ องนาฏศิลปแ์ ละนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน ตวั ช้ีวัด ศ ๓.๑ ม๓/๑ , ม.๓/๒ , ม.๓/๓ , ม.๓/๔ , ม.๓/๕ , ม.๓/๖ , ม.๓/๗ ศ ๓.๒ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒ รวมทั้งหมด ๑๑ ตัวชีว้ ัด

๘๕ โครงสร้ำงรำยวิชำ รายวชิ าดนตรี-นาฏศลิ ป์ รหัส ศ ๒๓๑๐๓ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ เวลา ๒๐ ช่วั โมง หนว่ ยกิต ๐.๕ หน่วยกติ ที่ ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐาน/ สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เวลา คะแนน ภาระงาน รวบยอด การเรียนรู้ ตัวชวี้ ดั (ช่วั โมง) ภาระงาน ๑ องค์ประก ศ ๓.๑ ม.๓/๕ ๑. องค์ประกอบนาฏศลิ ป์ เป็นสงิ่ ทท่ี าให้ ๑๐ ๓๐ รวบยอด อบของ ศ ๓.๑ ม.๓/๖ การแสดงนาฏศิลป์มีความสมบูรณ์ สวยงาม นาฏศิลป์ ศ ๓.๒ ม.๓/๑ นา่ สนใจ และมเี อกลักษณ์ ศ ๓.๒ ม.๓/๒ ๒. การสรา้ งสรรค์การแสดงจะต้อง ศ ๓.๒ ม.๓/๓ คานึงถึงความเหมาะสมของงาน และการ ออกแบบอปุ กรณ์และเคร่ืองแต่งกาย เพื่อ การแสดงนาฏศลิ ป์ จะต้องมีความ เหมาะสมกับชุดการแสดง เพื่อให้การ แสดงมีความสวยงาม น่าประทับใจ และมี เอกลักษณ์ ๓. การแสดงนาฏศลิ ป์และการละครเปน็ สิ่งทีแ่ สดงถึงเอกลักษณข์ องชาติท่ี ทรงคณุ ค่า สร้างความผ่อนคลายให้กบั คนในชาติ และเป็นศลิ ปวัฒนธรรมของ ชาตทิ ่ีควรอนรุ กั ษไ์ ว้สืบไป ที่ ชื่อหนว่ ย มาตรฐาน/ สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา คะแนน การเรียนรู้ ตวั ชวี้ ัด (ชั่วโมง) ๒ การแสดง ศ ๓.๑ ม.๓/๑ ๑. ละครเปน็ การแสดงทเ่ี ป็นเรือ่ งราว ซึ่ง ๑๐ ๓๐ นาฏศลิ ป์ ศ ๓.๑ ม.๓/๗ จะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบของ ศ ๓.๑ ม.๓/๒ ละคร จะทาให้ละครมีความสมบูรณ์ อีก ศ ๓.๑ ม.๓/๒ ท้ังละครยังเป็นส่ิงที่สะท้อนวิถีชีวิต ศ ๓.๑ ม.๓/๓ เรื่องราวของสังคม ซ่ึงผู้ชมสามารถนา ศ ๓.๑ ม.๓/๔ ข้อคดิ ทไ่ี ดจ้ ากละครมาปรบั ใชใ้ นชีวติ ได้ ๒. นาฏยศัพท์และภาษาท่าทางนาฏศิลป์ เป็นส่ิงที่ใช้ในการแสดงนาฏศิลป์ ทาให้ การแสดงมีความสมบรู ณ์ สวยงาม และมี เอกลกั ษณ์ ๓. ราวงมาตรฐานเป็นการแสดงท่ีพัฒนา มาจากการเล่นราโทน เป็นการแสดงท่ี สร้างความสนกุ สนานผ่อนคลายให้กับคน ในชาติ และเป็นศิลปะการแสดงท่ีแสดง

๘๖ ถึงเอกลักษณ์ของชาติที่ควรอนุรักษ์ไว้ ๒๐ ๖๐ สืบไป ๑ ๒๐ ๑ ๒๐ คะแนนเก็บระหว่างเรยี น ๒๐ ๑๐๐ ระหว่างภาค ปลายภาค รวมตลอดปี

๘๗ คำอธิบำยรำยวชิ ำทัศนศลิ ป์ รหัสวชิ ำ ศ๒๓๑๐๔ ทัศนศิลป์ ๒ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ศลิ ปะ ชั้นมัธยมศกึ ษำปีที่ ๓ เวลำ ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ศึกษางานทศั นศลิ ป์ ศิลปะการตกแต่ง งานประดษิ ฐ์ของที่ระลึก การวิจารณ์งาน การจดั แสดงผลงาน ทางศิลปะ ผลติ ภัณฑ์ภมู ปิ ญั ญาไทย ภูมิปญั ญาสากล ศิลปะพืน้ บา้ นแต่ละภาค ศลิ ปะบนผนงั ตามวดั โบสถ์ ใน ทอ้ งถนิ่ ของเรา คุณคา่ ในศลิ ปวฒั นธรรม ด้านจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปตั ยกรรมและหัตถกรรม โดยใช้กระบวนการบรรยายความ เปรียบเทียบ รวบรวม นาเสนอความคิด การฝึกทักษะลงมือปฏบิ ัติงาน ทศั นศลิ ป์ได้ อย่างน้อย ๓ ประเภท สามารถนาเสนอผลงานจดั โชว์นทิ รรศการผลงานออกสผู่ ูช้ มได้ เพอ่ื ให้เกิดความรูค้ วามเขา้ ใจ และทักษะความชานาญ มุ่งม่ันในการทางาน มวี ินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย ช่นื ชมผลงานของตนเองและผูอ้ ่ืน เหน็ คุณค่า ประโยชนข์ องทศั นศิลปแ์ ละนาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน ตวั ช้ีวัด ศ ๑.๑ ม.๓/๖ , ม.๓/๘ ,ม.๓/๑๐ ,ม.๓/๑๑ ศ ๑.๒ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ รวมทั้งหมด ๖ ตัวชี้วดั

๘๘ โครงสรำ้ งรำยวชิ ำ รำยวชิ ำ ทัศนศิลป์ รหสั วิชำ ศ ๒๓๑๐๔ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ศลิ ปะ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษำปีท่ี ๓ เวลำ ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ สดั ส่วนคะแนน ระหว่ำงเรยี น : ปลำยภำคเรยี น ๘๐ : ๒๐ ท่ี ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐาน/ สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา คะแนน ภาระงาน/ เรียนรู้ ตัวชวี้ ัด ช้นิ งานรวบยอด ๑ สรา้ งงานทศั นศิลป์ ศ ๑.๑ ม.๓/๒ ศกึ ษาทฤษฎีสีและการนาไปใช้ใน ๙ ๓๐ สร้างสรรคง์ าน และอาชีพในงาน ศ ๑.๑ ม.๓/๔ การ ออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์ ศิลปภ์ าพลาย ทศั นศลิ ป์ ศ ๑.๑ ม.๓/๑๐ วิธีการใช้ทัศนธาตุ การจดั ไทย งานปน้ั องคป์ ระกอบศิลป์และหลักการ ภาพพมิ พ์ฉลุ ออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ ทั้ง ๒ มติ แิ ละ ๓ มิติ โดย สร้างงานประติมากรรมกระดาษ และงานทัศนศลิ ปส์ ่อื ผสม โดยใช้ ทกั ษะสรา้ งสรรคผ์ ลงานดว้ ย เทคนิคทางศลิ ปะและวสั ดุอุปกรณ์ ท่หี ลากหลาย ถา่ ยทอดส่อื ความหมายความคดิ และ จินตนาการ บรรยายสิ่งแวดล้อมและงาน ทัศนศลิ ป์ท่ีเลือกมา โดยใช้ความรู้ เรอื่ งทัศนธาตุและการออกแบบ ระบุและบรรยายเทคนิค วิธีการ ของศิลปินในการสรา้ งงาน ทัศนศลิ ป์ วิเคราะห์ อภปิ ราย รูปแบบเน้ือหาคณุ ค่า และทักษะท่ี จาเปน็ จากอาชีพท่ีเกี่ยวขอ้ งกับงาน ทศั นศิลป์ ๒ วิวฒั นาการทาง ศ ๑.๒ ม.๓/๑ งานศลิ ปกรรมทั้งของไทยและ ๙ ๓๐ รายงานศลิ ปะ ศลิ ปะและการจดั ศ ๑.๒ ม.๓/๒ นิทรรศการผลงาน ศ ๑.๑ ม.๓/๑๑ สากลต่างมรี ากฐานมาจาก ไทยและสากล สภาพแวดล้อม วิถีชีวิต วฒั นธรรม การจดั ประเพณี ธรรมชาติ และ นิทรรศการโชว์ สง่ิ แวดลอ้ ม ในปัจจุบนั ทว่ั โลกมี ผลงาน การศกึ ษาเรียนรู้เรื่องราวของ ทัศนศลิ ป์ ประเทศอืน่ มากขึ้น มกี ารเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ เช่ือมพรมแดนการ ติดตอ่ สื่อสาร การเรยี นรู้ เพื่อชว่ ย เสนอแนวทางให้กันและกัน ในการ จัดนิทรรศการ เปน็ การนาข้อมูล

๘๙ ความรู้เก่ยี วกบั การแสดงออกทาง ๒๐ ศลิ ปะหรอื การออกแบบ นาเสนอ ๒๐ แก่ประชาชน โดยใชห้ ลกั ในการ ๑๐๐ ออกแบบทีส่ ัมพันธ์กบั โครงเร่ือง แนวความคดิ และวตั ถปุ ระสงค์ ระหว่างภาค/ปี ๑ ปลายภาค/ปี ๑ รวมตลอดปี ๒๐

๙๐ คำอธิบำยรำยวิชำศลิ ปะ(ดนตรี นำฏศลิ ป)์ รหัสวชิ ำ ศ ๓๑๑๐๑ ดนตรี-นำฏศลิ ป์ กลมุ่ สำระกำรเรียนรศู้ ลิ ปะ ช้นั มธั ยมศกึ ษำปีท่ี ๔ เวลำ ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ศึกษาการอา่ นเขยี นโนต้ ดนตรีไทยในอตั ราจังหวะต่าง ๆ จาแนกประเภทและรูปแบบของวงดนตรีไทยได้ เปรียบเทยี บรูปแบบของบทเพลงและวงดนตรีแตล่ ะประเภท วเิ คราะหร์ ูปแบบของดนตรไี ทยในยุคสมัยตา่ ง ๆ เปรยี บเทียบลกั ษณะเดน่ ของดนตรใี นท้องถ่ินและในวัฒนธรรมต่างๆ เขา้ ใจในความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทยและ การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย โดยใชก้ ระบวนการวเิ คราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์ เปรียบเทียบ อธิบาย บรรยาย นาเสนอ ร้องเพลง และ แสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ย่างสรา้ งสรรค์ เพอื่ ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคดิ อย่างอสิ ระ ให้เห็นคุณค่าของการนาความรู้ด้านดนตรีไปใชป้ ระโยชน์ใน ชีวิตประจาวนั มีวนิ ยั รบั ผิดชอบ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีความม่งุ ม่ัน ขยัน ซื่อสตั ย์ และมคี ่านยิ มทเ่ี หมาะสม และนาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน ตัวชวี้ ดั ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๔, ม.๔-๖/๘ ศ ๒.๒ ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๔, ม.๔-๖/๕ ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๕, ม.๔-๖/๖ ศ ๓.๒ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๓ รวมทั้งหมด ๑๓ ตัวช้ีวัด

๙๑ โครงสร้ำงรำยวิชำ รำยวชิ ำ ศิลปะ(ดนตรี นำฏศิลป)์ รหัสวิชำ ศ ๓๑๑๐๑ กลุ่มสำระกำรเรยี นรศู้ ิลปะ ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษำปีที่ ๔ เวลำ ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต สดั สว่ นคะแนน ระหวำ่ งเรยี น : ปลำยภำคเรียน ๘๐ : ๒๐ ท่ี ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวช้วี ัด สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เวลา คะแนน ๑ ดนตรไี ทยและดนตรี ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๑ วงดนตรีไทยแต่ละประเภทมี ๙ ๓๐ พ้ืนบ้าน ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๒ ลกั ษณะการจัดวง การใช้เคร่ือง ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๔ ดนตรที แ่ี ตกตา่ งกันไป เป็นสงิ่ ทีใ่ ช้ ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๘ สรา้ งความบนั เทิงใจให้กบั คนไทย ศ ๒.๒ ม.๔-๖/๓ รวมถึงการใชใ้ นพิธีต่าง ๆ มาตั้งแต่ ศ ๒.๒ ม.๔-๖/๔ อดีตจนถงึ ปัจจุบนั เป็นมรดกของ ศ ๒.๒ ม.๔-๖/๕ ชาติทคี่ วรค่าแก่การอนรุ ักษแ์ ละสบื ทอดให้คงอยู่ต่อไป ซึ่งดนตรีในแต่ ละวัฒนธรรมมลี ักษณะที่แตกตา่ ง กันไปตามแต่ละทอ้ งถนิ่ มี เอกลกั ษณซ์ ึ่งเกดิ จากภูมิปญั ญา ท้องถน่ิ สะท้อนให้เห็นถึงวถิ ีชวี ติ วัฒนธรรมประเพณีของคนใน ทอ้ งถ่นิ สรา้ งความสุข สนุกสนาน ผอ่ นคลาย เปน็ ส่งิ ที่มีคุณคา่ ต่อ ทอ้ งถ่นิ เป็นมรดกทีค่ วรอนุรักษไ์ ว้ สบื ไป ๒ นาฏศลิ ป์ไทย ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๑ นาฏศิลป์ไทย มีรูปแบบการแสดง ๙ ๓๐ ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๕ ประเภทต่าง ๆ วิวฒั นาการของ ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๓ นาฏศลิ ปแ์ ละละครไทย วิเคราะห์ ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๖ วจิ ารณ์ และประดิษฐ์ทา่ รา รวมทัง้ ศ ๓.๒ ม.๔-๖/๑ การบรหิ ารจดั การแสดงนาความรู้ ศ ๓.๒ ม.๔-๖/๓ ความเขา้ ใจประสบการณท์ าง นาฏศิลป์ มาเช่อื มโยงกับชีวิตและ สังคม เขา้ ใจวิวฒั นาของนาฏศลิ ป์ ไทยตามบรบิ ททางประวัติศาสตร์ และสังคม เห็นคุณคา่ ภาคภูมิใจ รว่ มกันอนุรักษแ์ ละสบื สานงาน นาฏศิลป์ อนั เปน็ มรดกทาง วฒั นธรรมและภูมิปญั ญาไทย ระหว่างภาค ๑ ๒๐ ปลายภาค ๑ ๒๐ รวมตลอดปี ๒๐ ๑๐๐

๙๒ คำอธบิ ำยรำยวิชำศิลปะ(ทัศนศลิ ป์) รหสั วชิ ำ ศ ๓๑๑๐๒ ทศั นศลิ ป์ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ศิลปะ ชั้นมธั ยมศกึ ษำปที ่ี ๔ เวลำ ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ศึกษา วเิ คราะหก์ ารใช้ทศั นธาตุ และหลกั การออกแบบในการสื่อความหมาย ในรปู แบบต่างๆและการ เลือกใช้วัสดอุ ปุ กรณ์ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และเลือกเทคนิคของศลิ ปนิ ในการแสดงออกทาง ทศั นศิลป์ บรรยายจุดประสงคแ์ ละเน้ือหาของงานทศั นศลิ ป์ โดยใชศ้ ัพท์ทางทศั นศิลป์ โดยใชท้ กั ษะและเทคนิคในการใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์ และกระบวนการทสี่ งู ข้ึนในการสร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ สรา้ งสรรค์งานทัศนศิลป์ด้วยเทคโนโลยตี ่างๆ โดยเนน้ หลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศลิ ป์ เพือ่ ใหเ้ กิดความมรี ะเบยี บวนิ ัยในการปฏิบัตงิ านด้วยความมงุ่ มนั่ ด้วยความตง้ั ใจใฝร่ ใู้ ฝเ่ รียนมคี วามซื่อสตั ย์ สุจรติ ต่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลปอ์ ยา่ งเห็นคณุ ค่าและรักความเป็นไทย สามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ตาม หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตวั ชี้วดั ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๕, ม.๔-๖/๖ , ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๔, ม.๔-๖/๗, ม.๔-๖/๘ รวมท้ังหมด ๘ ตัวชี้วดั

๙๓ รำยวิชำ ศิลปะ(ทัศนศิลป์) โครงสร้ำงรำยวิชำ กลุ่มสำระกำรเรียนรศู้ ิลปะ ระดับชั้นมัธยมศึกษำปที ่ี ๔ รหสั วิชำ ศ ๓๑๑๐๒ จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ สัดสว่ นคะแนน เวลำ ๒๐ ช่ัวโมง ระหว่ำงเรยี น : ปลำยภำคเรียน ๘๐ : ๒๐ ที่ ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวชีว้ ดั สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา คะแนน ๑ ทศั นธาตุและหลักการ ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๑ การใชท้ ัศนธาตุและหลกั การการจัด ๙ ๓๐ ออกแบบและศัพท์ทาง ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๒ องคป์ ระกอบศลิ ป์ทแี่ ตกตา่ งกันทา ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๕ ใหไ้ ดผ้ ลงานทัศนศิลปท์ ่ี สอื่ ทศั นศิลป์ ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๖ ความหมายได้แตกต่างกัน การ ออกแบบงานศิลปะนั้นจาเปน็ ต้อง ออกแบบใหเ้ หมาะกบั โอกาสและ สถานท่ีจะทาให้ไดง้ านทเี่ หมาะสม สมบูรณ์แบบ และจาเป็นต้องมี ความรู้พนื้ ฐานเร่ืองศัพทท์ าง ทศั นศลิ ป์ จะทาให้เข้าใจและเกิด ความชื่นชมในผลงาน สามารถ ประเมินหรอื วจิ ารณ์งานทัศนศลิ ป์ ได้ถูกต้องและเหมาะสม ๒ กระบวนการสร้างสรรค์ ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๓ งานจติ รกรรมเป็นผลงานทัศนศลิ ป์ ๙ ๓๐ งานทัศนศลิ ป์และทฤษฎี ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๔ แขนงหนึง่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งสมั พนั ธ์กับ การวิจารณศ์ ลิ ปะ ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๗ การวาดเขยี นและการระบายสี มี ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๘ ลักษณะทว่ั ไปเป็นผลงานบนแผ่น พ้นื ๒ มติ ิ โดยใช้ สชี นิดต่าง ๆ เช่น สนี ้า สนี ้ามนั สฝี ่นุ เปน็ สอ่ื กลางใน การแสดงเจตนาในการสร้างสรรค์ งานผู้สรา้ งสรรคต์ ้องคานงึ ถึงทศั น ธาตุ เพอื่ ใหง้ านออกมาสมบรู ณ์ ในการวิจารณง์ านศิลปะเป็นการ ประเมนิ คุณคา่ งานเพื่อพฒั นา ผลงานใหด้ ขี น้ึ เพื่อพัฒนาผลงานที่ดี ต่อไป ระหว่างภาค ๑ ๒๐ ปลายภาค ๑ ๒๐ รวมตลอดปี ๒๐ ๑๐๐

๙๔ คำอธิบำยรำยวชิ ำศิลปะ(ดนตรี นำฏศิลป์) รหัสวชิ ำ ศ ๓๒๑๐๑ ดนตรี - นำฏศิลป์ กลุ่มสำระกำรเรียนรศู้ ิลปะ ชัน้ มธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๕ เวลำ ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ศึกษาประวัติสงั คตี กวี เครื่องหมายและสัญลกั ษณท์ างดนตรี การถา่ ยทอดอารมณ์ความรูส้ กึ ของงาน ดนตรีจากแตล่ ะวฒั นธรรม บทบาทของดนตรีในการสะทอ้ นสงั คม การอ่านโน้ตเพลงไทยและสากล เทคนิคการ ถ่ายทอดอารมณเ์ พลงดว้ ยการขับรอ้ งและบรรเลงเพลง การละเลน่ ดนตรพี ื้นบ้านประวัติความเปน็ มา ความหมาย และรปู แบบของการแสดงระบา รา ฟ้อน การแสดงพืน้ เมือง และนาฏศลิ ปพ์ ้นื บ้าน รวมท้ังองคป์ ระกอบของการ แสดงนาฏศิลปป์ ระเภทตา่ ง ๆ โดยนาทักษะการแสดงระบา รา ฟอ้ น การแสดงพน้ื เมืองมาประดษิ ฐท์ ่าราเพลงต่างๆสรา้ งสรรคผ์ ลงานการ แสดงนาฏศิลปไ์ ทยในโอกาสต่างๆ สามารถประเมินคุณภาพการแสดงโดยใชอ้ งค์ประกอบทางการแสดง เพอื่ ให้เหน็ คุณค่าในศลิ ปะการแสดงระบา รา ฟ้อน การแสดงพื้นเมือง อนุรกั ษ์นาฏศลิ ป์ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ใฝเ่ รียนรูแ้ ละมุ่งม่ันในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานทางการแสดงเพื่อสืบสานศลิ ปวัฒนธรรมไทยและนาไปใชใ้ น ชีวติ ประจาวนั ตวั ช้ีวัด ศ ๒.๑ ม.๕/๔, ม.๕/๗, ม.๕/๒, ม.๕/๔ , ม.๕/๔ ,ม.๕/๕ ศ ๓.๑ ม.๕/๑, ม.๕/๓, ม.๕/๗, ม.๕/๘ ศ ๓.๒ ม.๕/๑, ม.๕/๔ รวมท้ังหมด ๑๒ ตัวชวี้ ัด

๙๕ รำยวิชำ ศิลปะ(ดนตรี นำฏศิลป)์ โครงสรำ้ งรำยวิชำ กลุ่มสำระกำรเรยี นร้ศู ิลปะ ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๕ รหัสวิชำ ศ ๓๒๑๐๑ จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต สัดสว่ นคะแนน เวลำ ๒๐ ช่ัวโมง ระหวำ่ งเรียน : ปลำยภำคเรยี น ๘๐ : ๒๐ ที่ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา คะแนน ๑ ความรทู้ วั่ ไปเกย่ี วกบั ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๒ การเรียนรู้เกย่ี วกับประเภทของเพลง ๔ ๑๕ ดนตรสี ากล ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๘ สากล และประวัตสิ ังคตี กวดี นตรีสากล ศ ๒.๒ ม.๔-๖/๒ จะทาใหเ้ ขา้ ใจภาษาของดนตรีและ ศ ๒.๒ ม.๔-๖/๔ สามารถนาดนตรสี ากลไปประยุกต์ใช้ กบั งานอ่นื ๆ ได้ ๒ การปฏบิ ตั ิดนตรีสากล ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๔ การอ่านและเขียนโน้ตสากลในอัตรา ๖ ๑๕ ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๕ จังหวะตา่ งๆ ได้ จะทาให้ร้องเพลง ๑๕ หรือเลน่ เครอื่ งดนตรีแบบเดยี่ วหรอื ๓ นาฏศลิ ป์และการละคร ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๕ รวมวงไดถ้ ูกต้อง ๑๕ ของไทย การแสดงนาฏศลิ ป์และละครไทยมี ๕ ๒๐ ๔ การแสดงนาฏศลิ ป์เป็นคู่ ศ 3.1 ม.4-6/3 กาเนดิ มาชา้ นาน เปน็ ศิลปะท่ีมคี วาม ๒๐ และหมู่ ศ 3.1 ม.4-6/4 งดงามในทุกด้านและมีคุณค่าต่อสงั คม ๑๐๐ ทาให้ผ้ชู มมคี วามสุข สนกุ สนานเมือ่ ได้ รบั ชม เป็นศลิ ปะทเ่ี ป็นเอกลักษณ์สืบ ทอดต่อไป การแสดงนาฏศิลปเ์ ปน็ คู่และหมู่ เป็น ๕ การแสดงที่มีกระบวนทา่ ราท่ีมคี วาม สวยงาม และในการแสดง ต้องมีความ พรอ้ มเพรยี ง จะทาให้การแสดงมี ความสวยงามมากขึน้ การสร้างสรรคแ์ ละการวิจารณ์การ แสดงนาฏศิลป์และละคร ผูว้ ิจารณ์ ควรมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในการ แสดง เป็นการวิจารณเ์ พ่ือสรา้ งสรรค์ เพ่อื ให้ การแสดงเกิดการพฒั นา และผู้ชมการ แสดงควรมีหลกั ในการชมการแสดง จะทาให้เขา้ ใจการแสดงมากข้ึน ระหว่างภาค ๑ ปลายภาค ๑ รวมตลอดปี ๒๐

๙๖ คำอธิบำยรำยวชิ ำศลิ ปะ(ทัศนศลิ ป)์ รหัสวชิ ำ ศ ๓๒๑๐๒ ทศั นศลิ ป์ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ศลิ ปะ ชั้นมธั ยมศกึ ษำปีที่ ๕ เวลำ ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ศกึ ษาวเิ คราะห์และอธบิ ายจดุ ม่งุ หมายของศลิ ปินในการเลือกใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ เทคนิค และเนือ้ หา โดยจดั กลมุ่ งานทัศนศลิ ป์เพื่อสะท้อนพฒั นาการและความกา้ วหนา้ ของตนเอง ศึกษาแนวคิดและวิธกี ารสรา้ งงานของ ศิลปนิ เพื่อแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั สภาพสงั คมในปัจจุบัน โดยมที ักษะการเลือกใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ เทคนิค ในการออกแบบงานทัศนศิลป์ไทย และสากลอยา่ ง สรา้ งสรรค์ จดั กลุ่มงานทัศนศิลปใ์ นการจัดทาแฟ้มสะสมงานของตนเอง เพอ่ื ให้เกดิ ความม่งุ มั่น ทางานด้วยความตงั้ ใจ ใฝ่รใู้ ฝเ่ รยี น อยา่ งเห็นคณุ ค่าและรักความเป็นไทยและนาไปใช้ ในชวี ติ ประจาวนั ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตวั ช้ีวดั ศ ๑.๑ ม.๕/๖, ม.๕/๗, ม.๕/๙, ม.๕/๑๐, ม.๕/๑๑ รวมท้ังหมด ๕ ตัวชี้วัด

๙๗ รำยวิชำ ศิลปะ(ทัศนศิลป์) โครงสรำ้ งรำยวชิ ำ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ศิลปะ ระดับชน้ั มธั ยมศึกษำปที ่ี ๕ รหสั วิชำ ศ ๓๒๑๐๒ จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ สัดส่วนคะแนน เวลำ ๒๐ ช่วั โมง ระหวำ่ งเรยี น : ปลำยภำคเรียน ๘๐ : ๒๐ ที่ ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ดั สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา คะแนน ๑ ทศั นธาตแุ ละหลักการ ทัศนธาตุและหลักการออกแบบเปน็ ออกแบบ คาศัพท์ทางทัน ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๑ องคป์ ระกอบสาคัญในการส่ือ ศลิ ป์ ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๒ ความหมายในรูปแบบตา่ งๆ เนอื้ หา ๕ ๑๕ ของงานทศั นศลิ ป์โดยใช้คาศัพทเ์ รยี ก ทางทัศนศิลปใ์ นการบรรยายผลงาน นั้นจะทาใหเ้ ข้าใจจดุ ประสงค์และ เน้อื หาของงานทศั นศิลป์ ๒ การแสดงออกทาง งานทศั นศิลป์ เกิดจากการสร้างสรรค์ ทศั นศลิ ปข์ องศลิ ปิน ของศลิ ปนิ แต่ละคนทม่ี ีจดุ ม่งุ หมาย ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๔ แตกตา่ งกนั ทาให้มีการเลอื กใชว้ สั ดุ ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๗ อปุ กรณ์อย่างหลากหลาย และมี เทคนคิ ในการสรา้ งสรรค์งานทแี่ ปลก ๕ ๑๕ ใหมอ่ ยูเ่ สมอ การเรยี นร้วู ธิ ีการ สรา้ งสรรคง์ านทัศนศลิ ป์แต่ละ ประเภทเพ่ือใหน้ าไปปรบั ใช้พัฒนาการ สร้างสรรคง์ านของตนเอง ๓ การสร้างสรรค์ผลงาน ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๓ การสรา้ งสรรคง์ านทัศนศลิ ป์ไทย ทัศนศลิ ป์ ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๗ ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๑๐ สากล โดยศกึ ษาจากแนวคิดและ ศ ๑.๒ ม.๔-๖/๒ วิธกี ารสรา้ งสรรคง์ านของศิลปนิ ที่ตน ชืน่ ชอบ ช่วยใหเ้ รยี นรเู้ ทคนิคท่ี ๑๐ ๓๐ หลากหลายของศลิ ปิน และเป็นแรง บันดาลใจในการพัฒนางานเป็น รปู แบบของตนเองต่อไป ระหวา่ งภาค ๑ ๒๐ ปลายภาค ๑ ๒๐ รวมตลอดปี ๒๐ ๑๐๐


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook