Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ilovepdf_merged

ilovepdf_merged

Published by มลศิการณ์ นงรัตน์, 2021-07-17 07:08:04

Description: ilovepdf_merged

Search

Read the Text Version

วทยาลัยอาชวี ศึกษาผดงุ ประชายะลา แผนการสอน วิชาการบัญชี ต้นทนุ 1 อ.มลศิการณ์ นงรัตน์

บทที่ 2 เอกสารการทฤษฎที เ่ี กี่ยวข้อง การศึกษาเอกสารและทฤษฎีที่เก่ียวข้องในการดาเนินงานโครงงานครั้งนี้ผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษา เอกสารและทฤษฎที เ่ี กยี่ วข้องตามหวั ข้อตอ่ ไปน้ี 2.1 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2.2 การจัดการ 2.3 ระบบฐานขอ้ มลู 2.4 ภาษาทใ่ี ชใ้ นการพัฒนาระบบ 2.1 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2.1.1 ความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ สารสนเทศ หรือสารนิเทศ เป็นคาศัพท์บัญญัติของคาว่า “Information” ราชบัณฑิตยสถาน กาหนดให้ใช้คาได้ทั้งสองคาในวงการคอมพิวเตอร์การส่ือสาร และธุรกิจนิยมใช้คาว่า “สารสนเทศ” ซึ่งมี ความหมายกว้างๆ ว่า ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ต่างๆ ท่ีมีการบันทึกอย่างเป็น ระบบ ตามหลักวิชาการ เพื่อนามาเผยแพร่และใช้งานต่างๆ ทุกสาขา ส่วนคาว่า “เทคโนโลยี สารสนเทศ” หรือ Information Technology ที่มักเรียกว่า ไอที(IT) น้ัน เน้นถึง การจัดการใน กระบวนการดาเนินงานสารสนเทศหรือ สารนิเทศในข้ันตอนต่างๆ พันจันทร์ อาจอินทร์(2548) เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถงึ เทคโนโลยที ี่ใชจ้ ัดการ สารสนเทศ เป็นเทคโนโลยที ่เี กย่ี วขอ้ งตงั้ แต่การรวบรวม การจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล การพิมพ์ การสร้างรายงาน การส่ือสารข้อมูลฯลฯ เทคโนโลยีสารสนเทศยังรวมถึงเทคโนโลยี ทท่ี าให้เกดิ ระบบการใหบ้ รกิ าร การใช้ และการดูแลขอ้ มูลดว้ ย วาสนา สุขกระสานติ(2541 : 79) กล่าวว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการ ต่างๆ และ ระบบงานท่ีชว่ ยใหไ้ ด้สารสนเทศทตี่ อ้ งการ โดยจะรวมถงึ 1. เคร่ืองมือและอุปกรณ์ต่างๆ ซึ่งส่วนมากแล้วจะหมายถึง เคร่ืองคอมพิวเตอร์ เคร่ืองใช้สานักงาน อุปกรณ์โทรคมนาคมต่างๆ รวมท้ังซอฟต์แวร์ท้ังแบบสาเร็จรูปและแบบพัฒนาข้ึน เพ่ือใช้ในงานเฉพาะด้าน ซงึ่ เคร่ืองมือเหล่านจ้ี ัดเป็นเคร่อื งมือสมัยใหม่ และใช้เทคโนโลยีระดับสูง เพอ่ื ใช้ในงานเฉพาะดา้ น ซึ่งเคร่ืองมือ เหล่านจ้ี ดั เป็นเครื่องมือสมยั ใหมแ่ ละใชเ้ ทคโนโลยรี ะดับสงู 2. กระบวนการในการนาอุปกรณ์เคร่ืองมือต่างๆ ข้างต้นมาใช้งาน เพื่อรวบรวม จัดเก็บประมวลผล และแสดงผลลัพธ์เป็นสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ท่ีสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ ต่อไป จากที่กล่าวมาสรุปได้ ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ การนาเอาเทคโนโลยีทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์และระบบการสื่อสารมาใช้ในการ ประมวลผลขอ้ มูลจนไดส้ ารสนเทศมาใช้งานหรือมา เผยแพร่ไปสผู่ ้อู ่ืนโดยผา่ นระบบเครอื ขา่ ย ช่วงโชติพันธุเวช (2542 : 17) กล่าวว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการ นาเอา คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ซอฟต์แวรข์ ้อมูลมาทาการประมวลผล และการสืบคน้ หาแล้วเรยี กใช้ 6 งานข้อมลู ทผี่ ่าน การประมวลผลแล้ว มีสื่อและอุปกรณ์เข้ามาช่วยในการสื่อสารข้อมูล สารสนเทศโดย ผ่านระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์

9 วิทวัส วรินทรเวช (2545 : 31) ได้สรุปความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีที่ เกี่ยวกับการดาเนินงานท้ังปวง เพื่อตัดทาสารสนเทศไว้ใช้งาน ซึ่งประกอบไปด้วย เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีโทรคมนาคมเปน็ หลัก และรวมถึงเทคโนโลยีอื่นๆ ทเี่ กี่ยวข้องกบั การน าข้อมูลข่าวสารมาใช้ให้เป็น ประโยชน์ โดยคอมพวิ เตอร์เปน็ เคร่อื งมือในการจดั การและจดั เกบ็ ขอ้ มูล ส่วนการสอ่ื สารโทรคมนาคมใช้เปน็ ส่ือในการจัดส่งข้อมูลเผยแพร่และเสียงออกไปเพื่อส่ือสาร กัน ตลอดจนถึงแนวความคิด ระบบ วิธี เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ทางการส่ือสารหรืออุปกรณ์ท่ีใช้ในการ จัดเก็บ ประมวลผล ค้นคืน และเผยแพร่ข้อสนเทศ ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ระบบสารสาร ข้อมูลและโทรคมนาคม รวมท้ังการประยุกต์ใช้เคร่ืองมือหรือ อปุ กรณเ์ หล่าน้นั ในงานสารสนเทศและ งานบริการดา้ นอ่ืนๆ กิตติ ภักดีวัฒนะกุล. (2546 : 281-282) ได้ให้ความหมายของระบบสารสนเทศ (Information System) ว่า หมายถึง การรวบรวมองค์ประกอบต่างๆ (ข้อมูล การประมวลผล การ เช่ือมโยงเครือข่าย) เพื่อ นาเข้า (Input) สู่รูปแบบใดๆ แล้วนามาผ่านกระบวนการบางอย่าง (Process) ที่อาจใช้คอมพิวเตอร์ช่วยเพื่อ เรียบเรียงเปลี่ยนแปลงและจัดเก็บเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ (Output) คือ สารสนเทศท่ีสามารถใช้สนับสนุนการ ตดั สินใจได้ 2.2 การจัดการ 2.1.1 ความหมายเกี่ยวกบั การจดั การ สมยศ นาวีการ (2536: 23) กล่าวไว้ว่า กระบวนการจัดการว่าเป็นกิจกรรมของการบริหาร ท่ีสาคัญ 4 อย่าง คือ การวางแผน การจัดองค์การ การสั่งการ และการควบคุม รูปแบบของการ บริหารดงั กลา่ วนี้ ไดร้ บั การพัฒนาขึ้นเม่ือประมาณปลายศตวรรษท่ีสบิ เก้า สร้อยตระกูล อรรถมานะ (2545: 421) ได้กล่าวไว้ว่า กระบวนการจัดการ หมายถึง กระบวนการดาเนินงานจะต้องเป็นไปตามข้ันตอนตามลาดับ เป็นการตัดสินใจล่วงหน้าว่าจะทาอะไร ที่ไหน เม่ือใด โดยใคร นอกจากจะเป็นการลดความไม่แน่นอนแล้ว ยังทาให้สมาชิกในองค์กรมีความ ม่ันใจในการท า งานทาให้การท างานมีประสิทธิผล การจัดลาดับการท างานที่ดีไม่ควรมีลักษณะตายตัว ต้องยืดหยุ่น ได้ตาม สถานการณ์อาจมีการปรับปรุงแก้ไข หรือปรับเปล่ียนลาดับการท างานได้เสมอ ส่งผลให้การปฏิบัติงานเกิด ประสิทธิผลมากขนึ้ ด้วย สุรั สว ดี รา ช กุล ชัย ( 2543: 3) กล่ า ว ไ ว้ว่ า “กา ร บริ หา ร ” (Administration) แ ล ะ “การ จัดการ” (Management) มีความหมายแตกต่างกันเล็กน้อย โดยการบริหารจะสนใจและสัมพันธ์กับ การกาหนดนโยบายไปลงมือปฏิบัติ นักวิชาการบางท่านให้ความเห็นว่าการบริหารใช้ในภาครัฐ ส่วน การ จัดการใช้ในภาคเอกชน อย่างไรก็ดี ในตาราหรือหนังสือส่วนใหญ่ท้ัง 2 คานี้มีความหมายไม่ แตกต่างกัน สามารถใชแ้ ทนกนั ไดแ้ ละเป็นทีย่ อมรบั โดยทวั่ ไป

10 ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ (2545: 18-19) กล่าวไว้ว่า ความหมายของคาว่า “การบริหาร จัดการ” และ “การจดั การ” ได้ดงั นี้ การบรหิ าร (Administration) จะใช้ในการบริหารระดบั สูงโดย เนน้ ทกี่ าร กาหนดนโยบายที่สาคัญและการกาหนดแผนของผู้บริหารระดับสูง เป็นค่านิยมใช้ในการ บริหารรัฐกิจ (Public Administration) หรือใช้ในหนว่ ยงานราชการ และคาวา่ “ผู้บรหิ าร” 8 (Administrator) จะหมายถึง ผู้บริหารที่ทางานอยู่ในองค์กรของรัฐ หรือองค์กรท่ีไม่มุ่งหวังกาไร ส่วนการจดั การ (Management) จะเนน้ การ ปฏิบัติการให้เป็นไปตามนโยบาย (แผนท่ีวางไว้) ซ่ึงนิยม ใช้ในการจัดการธุรกิจ (Business management) ส่วนคาว่า “ผู้จัดการ” (Manager) จะหมายถึง บุคคลในองค์กรซ่ึงทาหน้าที่รับผิดชอบต่อกิจกรรมในการ บรหิ ารทรัพยากรและกิจการงานอน่ื ๆ เพ่อื ให้บรรลุวัตถุประสงคท์ ก่ี าหนดไวข้ ององคก์ ร 2.3 ระบบฐานขอ้ มูล 2.3.1 ความหมายระบบฐานข้อมลู David M. Kroenke และ David J. Auer (2010) ได้กล่าวไว้ว่า ฐานข้อมูล คือ การเก็บ รวบรวมของ ตารางความสมั พนั ธห์ รืออาจเป็นในลักษณะโครงสรา้ งอน่ื ๆ มหาวทิยาลยัราชภฏธั นบรุ ี Saeed K. Rabimi and Frank S. Haug (2010) กล่าวว่า ฐานข้อมูล คือ ชุดข้อมูลของการ เก็บ รวบรวมข้อมูลในคอมพิวเตอร์ และในรูปแบบของการกระจายของระบบคอมพิวเตอร์ในการ ร่วมกันในการ ดาเนนิ งานบางอย่าง สมชาย วรัญญานุไกร (2555) กลา่ วว่า ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง การนาข้อมูล ในองค์กรท่ีมีความเกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กันมารวมไว้อย่างมีระบบในที่เดียวกันโดยผู้ใช้แต่ ละคนจะมองข้อมูล ในแง่มุมท่แี ตกตา่ งกันไปตามจุดประสงค์ของการประยุกต์ใชง้ าน โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์ (2558) กล่าวไว้ว่า ฐานข้อมูลเป็นศูนย์รวมของข้อมูลต่างๆ ที่มี ความสัมพันธ์กัน โดยจะมีกระบวนการจัดหมวดหมู่ข้อมูลอย่างมีระบบแบบแผน กอ่ ใหเ้ กิดฐานข้อมลู ท่ี เป็นแหล่งรวมข้อมูลจาก แผนกต่างๆ ทถี่ กู นามาจัดเกบ็ รวมกนั ไว้ภายใตฐ้ านข้อมูลเพียงชุดเดยี ว สุจิตรา อดุลย์เกษม และวรัฐา นพพรเจิรญกุล (2560) กล่าวว่า ฐานข้อมูล คือ แหล่งหรือ ศูนย์รวม ข้อมูลท่มี ีความสมั พนั ธก์ ัน 2.3.2ประโยชน์ของฐานข้อมูล ศศิเกตุ ประณีตพลกรัง(2545) จากลักษณะความแตกต่างระหว่างระบบฐานข้อมูลกับแฟ้มข้อมูลจะ เห็นได้ว่า ระบบฐานข้อมูลมีประสิทธิภาพในการทางานที่ดีกว่า ซึ่งหน้าที่ในการจัดการต่างๆ เป็นของ ซอฟตแ์ วรด์ บี ีเอ็มเอส ผลประโยชน์จากการใช้ซอฟตแ์ วรน์ ้ี สรปุ ไดด้ งั นี้ 2.3.2.1 ควบคมุ ความซ้าซ้อนของขอ้ มลู 2.3.2.2 ควบคมุ ความปลอดภยั ของขอ้ มลู โดยการกาหนดระดับของการเขา้ ถงึ ข้อมูลอย่างถูกต้อง 2.3.2.3 เตรียมส่วนตดิ ต่อกบั ผู้ใช้แมใ้ นกรณที ีม่ ผี ู้ใช้หลายๆคนพรอ้ มกัน 2.3.2.4 นาเสนอความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งข้อมูลทีซ่ บั ซ้อนได้เปน็ อย่างดี 2.3.2.5 ควบคุมข้อบังคบั ต่างๆของข้อมูลไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.3.2.6 ดูแลสว่ นการสารองข้อมลู (Back up) และการกูข้ อ้ มลู (Recovery) ของฐานขอ้ มลู

11 2.4 ภาษาทใี่ ช้ในการพฒั นาระบบ 2.4.1 ภาษา PHP อัครวฒุ ิ ตาราเรยี ง (2554) PHP ภาษาสครปิ ต์แบบเซิรฟ์ เวอร์ไซด์ (server-side scripting language) หมายถึง การประมวลผลจะเกิดข้ึนบนเครื่องแม่ข่าย หรือเซิร์ฟเวอร์ (server) แล้วจึงสร้างผลลัพธ์เป็นภาษา HTML ส่งใหก้ บั เครือ่ งลูกขา่ ยหรือไคลเอ็นต์ (client) เพอื่ แสดงผล ซงึ่ ลดภาระการสง่ ถา่ ยข้อมลู จานวนมากเพ่ือ มาประมวลผลบนเคร่อื งลกู ข่ายการเขียนสามารถทาได้โดยเขียน โค๊ด PHP แทรกลงไปในโค๊ด HTML ดว้ ยการ เปิดแท็ก <?PHP และปิดด้วย ?> (ในกรณีท่ีไม่มีการใช้ร่วมกับสคริปต์ XML สามารถเปิดด้วยแท็ก <?ก็ได้) หรือเขยี นเป็นโค๊ด PHP อย่างเดยี วก็ได้ เช่นกนั และทาการบันทึกเป็นไฟล์ท่ีมีนามสกุล .php .php3 ขึน้ อยู่กับ ที่ไดก้ าหนดไว้ในการตดิ ตัง้ เว็บเซริ ฟ์ เวอร์ PHP จัดเป็นภาษาท่ีง่ายในการเขียน สามารถนามาใช้ทาเว็บเพจที่จาเป็นต้องมีการตอบสนองกับผู้ใช้ โดยเฉพาะยิ่ง PHP มีความสามารถในการนาข้อมูลจาก Database Server มาแสดงในเว็บเพจ จึงเหมาะแก่ การนามาใชท้ าเว็บบอรด์ ,เว็บเมล์ หรอื ใชป้ ระโยชน์ในทางพาณิชย์ อิเล็กทรอนิคส์ หรือสร้างแอพลิเคชันใช้ในองค์กรกลไกการทางานของเว็บเพจและไฟล์ PHP ด้วย ความพิเศษของ PHP ทาให้มันเพิ่มความสามารถให้กับเว็บเพจท่ัวไป เราจะมาเปรียบเทียบการทางานใน รปู แบบทว่ั ไปกบั รูปแบบใหม่ที่ใช้ PHP รปู แบบของภาษา PHP จัดเป็นภาษาสคริปต์ภาษาหน่ึงที่ดาเนินการที่ฝั่งเซิร์ฟเวอร์ (server-side) คือ เมื่อโคด้ ถูกเรยี กใช้โดยบราวเซอร์โปรแกรม PHP ทอี่ ยู่ในเครื่องที่เป็นเวบ็ เซิร์ฟเวอรจ์ ะทาการประมวลผลแล้ว สร้าง (generate) ผลลัพธ์ที่อยู่ในรูปของภาษา HTML ข้ึนแล้วจึงส่งมาให้กับเคร่ืองไคลเอ็นต์เพื่อให้ บราวเซอร์แสดงผล ลักษณะการเขียนสคริปต์จะเขียนแทรกไว้ภายในไฟล์ HTML โดยเปิดด้วยแท็ก <?php หรือ <? หรอื <script language=”php”> และเปดิ ด้วย ?> หรอื </script> ดังน้ี ?> <Ptriitnlet >“PmHy<P<<<f</ibhhFhr?oesteipmtdarahsdPydltp>>>H>ruPns<c/rtiittlpe”>; <br><Pblera>s<<ef/hoe<<2nn//>jtbhooc<tymod/flytlooh>>nre=ts>bclruiep>t.<h2> ภาพที่ 2.6 แสดงรปู แบบภาษา PHP

12 2.4.2 ภาษา My SQL สาธิต ชัยวิวัฒน์ตระกูล (2551) ประวัติของภาษา My SQLประมาณปี ค.ศ. 1970 ได้มีการพัฒนา ภาษาในยุคท่ี 4 คือ ภาษา My SQL ซึ่งในอดีตจะเรียกภาษา SEQUEL อ่านว่า ซีคั่ว ถูกออกแบบและพัฒนา โดย DD. Cham Berlin ณ ห้องวิจัยของ IBM ในรัฐซานโฮเซ และมีการพัฒนาจนกลายเป็นผลิตภัณฑ์ในเชิง พาณิชย์ต้ังแต่ปี ค.ศ.1981 เช่น VM/CMS,ORACLE,DATA Gene RAL SQLจากน้ัน ประมาณปี ค.ศ.1982 หน่วยงานกาหนดมาตรฐาน ANSI ได้มีการกาหนดมาตรฐานให้ภาษา SQL เป็น ANSI-86 และ-89 -92 SQL ตามลาดับ ต่อมาได้เข้าสู่การปรบั ปรงุ มาตรฐานจากเดิมมาเป็น SQL/2,SQL/3 ตามแบบของ ISO โปรแกรม My SQL จัดเป็นระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ตัวหน่ึง ซึ่งเป็นที่นิยมกันมาก ในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโลกของอินเตอร์เน็ต สาเหตุก็เพราะ My SQL เป็นซอร์ฟแวร์ทางด้าน ฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพสูง เป็นทางเลือกใหม่จากผลิตภัณฑ์ระบบฐานข้อมูลในตลาดปัจจุบัน ท่ีมักจะเป็น การผูกขาดของผลิตภัณฑ์เพียงไม่ก่ีตัว นักพัฒนาระบบฐานข้อมูลท่ีเคยใช้ My SQL ต่างยอมรับใน ความสามารถความรวดเร็ว การรองรับจานวนผู้ใช้ และขนาดของข้อมูลจานวนมหาศาล ทั้งยังสนับสนุนการใช้ งานบนระบบปฏิบัติการมากมายไม่ว่าจะเป็น Unix, OS/2 , Mac Os หรือ Windows ก็ตาม นอกจากน้ี My SQL ยงั สามารถใชง้ านรว่ มกับ Web Development Platform ทง้ั หลายไม่วา่ จะเป็น C, C++, My SQL ยังสามารถใช้งานร่วมกับ Web Development Platform ทั้งหลายไม่ว่าจะเป็น C, C++, Java, Perl, PHP, Python , TCL หรือ ASP ก็ตามที ดังนั้นจึงไม่เป็นท่ีน่าแปลกใจเลยว่าทาไม My SQL จึงได้รับความนิยมอย่าง มากในปัจจบุ นั และมแี นวโน้มสูงยิ่งขึน้ เรือ่ ยๆต่อไปในอนาคต My SQL จัดเป็นซอฟต์แวร์ประเภท Open Source Software สามารถดาวน์โหลด Source Code ตน้ ฉบับได้จากอินเทอร์เน็ต โดยไม่เสียคา่ ใช้จ่ายใดๆ การแก้ไขก็สามารถกระทาได้ตามความต้องการ My SQL ยึดถือสิทธิบัตรตาม GPL ซึ่งเป็นข้อกาหนดของซอฟต์แวร์ประเภทน้ีส่วนใหญ่ โดยจะเป็นการช้ีแจงว่า ส่ิงใด ทาได้หรือทาไม่ได้สาหรับการใช้งานในกรณีต่างๆ ทั้งนี้ถ้าต้องการข้อมูลเพ่ิมเติม หรือรายละเอียดของ GPL สามารถหาข้อมูลได้จากเว็บไซด์ My SQL ได้รับการยอมรับและทดสอบเร่ืองของความรวดเร็วในการใช้งาน โดยจะมีการทดสอบและเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์ทางด้านฐานข้อมูลอ่ืนอยู่เสมอ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยเริ่มตั้งแต่เวอร์ช่ันแรกๆ ท่ียังไม่ค่อยมีความสามารถนัก มาจนถึงทุกวันนี้ My SQL ได้รับการพัฒนาให้มี ความสามารถมากย่ิงข้ึน รอบรับข้อมูลจานวนมหาศาล สามารถใช้งานหลายผู้ใช้ได้พร้อมๆกัน มีการออกแบบ ให้สามารถแตกงานออก เพื่อนชว่ ยการทางานใหเ้ ร็วย่ิงขึ้น วิธีและการเชอ่ื มตอ่ ที่ดขี น้ึ นอกจากน้ีสิง่ สาคญั คอื MYSQL ได้รบั การพฒั นาไปในแนวทางตามข้อกาหนดมาตรฐาน SQL ดงั นนั้ เราสามารถใช้คาสงั่ SQL ในการทางานกับ My SQL ได้ นักพัฒนาท่ีใช้ SQL มาตรฐานอยู่แล้ว ไม่ต้องศึกษาเพ่ิมเติม ทุกวันน้ีมีการนา My SQL ไปใช้ในระบบต่างๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็นระบบเล็กๆ ท่ีมีจานวนตารางข้อมูลน้อย มีความสัมพันธ์ ของข้อมูลในแต่ละตารางไม่ซับซ้อน เช่น ระบบฐานข้อมูลบุคคลในแผนกเล็กๆ ไปจนถึงระบบจัดการข้อมูล ขนาดใหญ่ ทป่ี ระกอบดว้ ยตารางขอ้ มูลมากมาย

13 My SQL มีการทางาน ในลักษณะ Client/Server ที่ฝั่งของ Server จะมีโปรแกรมหรือระบบสาหรับ จัดการฐานข้อมูลทางานรอคอยการร้องขอการใช้บริการจาก Client เม่ือมีการร้องขอการใช้บริการเข้ามา Server จะทาการตรวจสอบตามวิธีการของตน เชน่ อาจจะมีการให้ผู้ใช้บริการระบุชอื่ และรหัสผ่าน และสาหรับ My SQL สามารถกาหนดได้ว่าจะอนุญาตหรือปฏิเสธ Client ใดๆ ในระบบที่จะเข้าใช้บริการอีกด้วย ซ่ึงจะได้ แสดงรายละเอยี ดในเรอ่ื งต่อไป ถ้าผ่านการตรวจสอบ Server ก็จะอนุมตั กิ ารใหบ้ ริการแก่ Client ทีร่ อ้ งขอการ ใช้บริการนั้น ๆ ต่อไป และ ถ้าในกรณีที่ไม่ได้รับการอนุมัติ Server ก็จะส่งข่าวสารความผิดพลาดแจ้งกลับไป ท่ี Client ทร่ี ้องขอการใช้บรกิ ารนน้ั นี่คือหลักการทางานโดยรวมของ My SQL

13 บทที่ 3 ข้นั ตอนและวธิ ีการดำเนนิ งาน 3.1 ประชากรและการสุ่มกลุม่ ตวั อย่าง ประชากร ประชากรท่ีใชใ้ นการศกึ ษาครง้ั นี้เป็นนักเรียน นักศกึ ษาทง้ั วิทยาลยั ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 วิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จำนวน 100 คน กล่มุ ตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียน นักศึกษาทั้งวิทยาลัย ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2563 วิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จำนวน 100 คน 3.2 เครื่องมอื ในการวิจัยและการตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมือ เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการวิจยั ครงั้ นี้ ประกอบดว้ ย - แบบประเมินความพงึ พอใจนักเรยี น นกั ศึกษาทม่ี ีต่อโครงงานระบบการจดั การฐานข้อมูล ของนักเรียนนักศึกษา (รามาเรยี นกนั เถอะ) ขัน้ ตอนการสร้างเครอ่ื งมือแบบประเมินความพึงพอใจ 1. ศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยทเ่ี กีย่ วข้อง 2. วิเคราะห์เนื้อหา เพ่ือกำหนดจดุ ม่งุ หมายทมี่ คี วามพงึ พอใจต่อช้ินงาน 3. เขยี นจุดประสงค์ และกำหนดคุณลกั ษณะทตี่ ้องการประเมินให้ผเู้ ชย่ี วชาญพิจารณาความ เหมาะสมระหว่างวัตถุประสงค์การพัฒนาผลิตภัณฑ์กับคุณลักษณะของแบบประเมิน ความพึงพอใจ 4. เขียนแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน นักศึกษาที่มีต่อโครงงานนักศึกษาที่มีต่อ โครงงานระบบการจัดการฐานข้อมูลของนักเรียนนักศึกษา (รามาเรียนกันเถอะ) 1 ฉบับ มี 3 สว่ น ดงั น้ี ส่วนท่ี 1 เป็นขอ้ มูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม สว่ นท่ี 2 แบบประเมิน ความพึงพอใจที่มีต่อโครงงานนักศึกษาที่มีต่อโครงงานระบบการจัดการฐานข้อมูลของ นักเรยี นนกั ศึกษา (รามาเรียนกนั เถอะ) และสว่ นท่ี 3 ข้อเสนอแนะ 5. นำแบบประเมินความพึงพอใจที่ผ่านการพิจารณาไปทำการประเมินกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน 6. นำข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ตามวิธีทางการวิจัยโดยการหาค่าร้อยละส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน

14 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล ผวู้ ิจัยไดด้ ำเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มูลตามข้นั ตอนดังน้ี 3.1 ผ้ศู กึ ษาดำเนินการแจกแบบประเมินด้วยตนเอง ให้แกก่ ลุ่มเปา้ หมาย คือ นกั เรียน นักศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2563 วิทยาลัยอาชีวศึกษาผดงุ ประชายะลา จำนวน 100 คน 3.2 รวบรวมแบบประเมนิ จากกล่มุ ตัวอยา่ งกลับคืน 3.3 ตรวจสอบความถกู ต้อง สมบรู ณข์ องแบบประเมนิ 3.4 นำแบบประเมนิ ไปวิเคราะหข์ ้อมลู ตอ่ ไป 3.4 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล สถิตทิ ใี่ ชใ้ นการวิเคราะห์การทำประเมินแบบประเมินความพงึ พอใจของระบบติดตาม พฤติกรรมการลาของนกั เรยี น นกั ศึกษาผ่านแอปพลิเคชนั ออนไลน์ คือสถติ ิพ้ืนฐาน ไดแ้ ก่ คา่ เฉลี่ย และความเบ่ียงเบนมาตรฐาน 3.5 ข้นั ตอนการสร้างระบบ ฮารด์ แวร์ ประกอบดว้ ยดังน้ี 1.1 Computer 1.2 Printer 1.3 Flash Drive ซอฟแวร์ที่ใช้ในการประกอบโครงงาน 2.1 ระบบปฏิบตั ิการ Microsoft windows 10 professional 2.2 โปรแกรม AppServ ในการจัดการข้อมลู 2.3 โปรแกรม adobe Photoshop cs6 เพ่อื การออกแบบและตกแต่งภาพ 2.4 โปรแกรม FileZilla Client เพอื่ การถา่ ยโอนขอ้ มลู ขน้ึ เวบ็ Server 2.7 โปรแกรม Phonegap Desktop 2.8 โปรแกรม Phonegep Developer 2.9 เวบ็ build. Phonegep.com 3.6 วธิ ดี ำเนนิ การ ความพงึ พอใจของระบบการจัดการฐานข้อมลู ของนักเรียนนักศึกษา (รามาเรยี นกันเถอะ) การพัฒนาแอพพลิเคชั่นมือถือสรุปการมาเรียนมาสายและขาดเรียนของนักเรียนนักศึกษา บนออนไลน์ของวิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลา เพื่อการทำงานด้านการลาของนักเรียน นักศึกษา สิ่งที่ต้องทำการศึกษาก่อนการสร้างแอพพลิเคชั่นคือกฎเกณฑ์การลาของทางวิทยาลัยก่อน ว่ามีหลักการลาแบบไหนบ้างเพื่อการวางแผนและการเขียนเงื่อนไขการทำงานของแอพพลิเคชั่นลา ออนไลน์ แอพพลเิ คชัน่ มอื ถือชุดน้เี ป็นการสร้างในรูปแบบการข้ามแพลตฟอรม์ โดยนำหลักการของ

15 การเขียนภาษาPHP เข้ามาช่วยในการทำงานรับส่งข้อมูลและใช้การเชื่อมฐานข้อมูล MySQL ในการจัดการฐานข้อมูล แล้วในแอพพลิเคชั่นการจัดการฐานข้อมูลออนไลน์สามารถนำเครื่องมือต่าง ๆ เข้ามาช่วยเพื่อการทำงานที่สะดวกและรวดเร็วและสามารถทำงานตามความต้องการของผู้ใช้งาน ไดม้ ากที่สุดประเมินความพึงพอใจ โดยการสร้างระบบการจดั การฐานข้อมลู ของนักเรียนนักศึกษา(เรา มาเรียนกันเถอะ) สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ และการจัดการธุรกิจค้าปลีก วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาผดงุ ประชายะลา จำนวน 100 คน 3.6.1 ขัน้ ตอนการออกแบบการทำงานของโปรแกรม เป็นขั้นตอนการเริ่มต้นการจัดทำโครงงานโดยการนำหลักการวางแผนสร้างแอพพลิเคชั่นมือ ถือ เช่น ระยะเวลาในการพัฒนาการศึกษาความเป็นไปได้ เป็นต้น เพื่อนำเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา หลังจากน้ันทำการออกแบบลักษณะการทำงานของโปรแกรมโดยการออกแบบฟอร์มการทำงานของ หน้าจอแต่ละหน้า และการออกแบบฐานข้อมูลเพ่ือรองรับการใช้ข้อมูลในระบบการจดั การฐานข้อมูล ของนักเรียนนักศึกษา(เรามาเรียนกันเถอะ) ซึ่งไดอะแกรมของโปรแกรมนั้นสามารถศึกษาได้จาก รปู ภาพดา้ นลา่ ง 3.1.1 Use Case Diagram แอพพลิเคชน่ั มือถือลางานออนไลน์ Admin บนั ทึกมาเรียน นกั เรียน/นกั ศึกษา มาสายขาดเรียน ผปู้ กครอง ครูผสู้ อน อาจารยท์ ่ีปรึกษา ตรวจสอบ ฝ่ ายปกครอง เกบ็ ขอ้ มลู สรุปขอ้ มูล แจง้ เตือนผา่ นไลน์ ภาพท่ี 3-1 Use Case Diagram

16 3.1.2 Activity Diagram แอพพลเิ คชั่นมือถือลางานออนไลน์ นกั เรียน/นกั ศึกษา ผปู้ กครอง ครูผสู้ อน ฝ่ ายปกครอง Admin/อาจารยท์ ่ปี รึกษา นกั เรียนนมาสาย บนั ทึกขอ้ มูล และขาดเรียน มาเรียนมาสาย ตรวจสอบ เก็บขอ้ มูล แจง้ เตอื น สรุปขอ้ มลู ผา่ นไลน์ แสดงการ แสดงการ แสดงการ ออกจากระบบ มาเรียนมา มาเรียนมา มาเรียนมา สายและ สายและ สายและ ขาดเรียน ขาดเรียน ขาดเรียน ภาพที่ 3-2 Activity Diagram

17 3.1.3 Sequence Diagram แอพพลเิ คช่ันมือถือลางานออนไลน์ database User ระบบ นาเขา้ แอพพลเคชนั่ เขา้ หนา้ Login Page พมิ พเ์ ลขประจาตวั แสดงหนา้ Main page แสดงรายการลา่ สุด ส่งขอ้ มลู แสดงขอ้ มลู ออกจากระบบ ภาพท่ี 3-3 Sequence Diagram 3.1.5 State Chart Diagram แอพพลิเคช่นั มือถือลางานออนไลน์ ปดิ ระบบ เปดิ ให้บรกิ าร ปดิ ใหบ้ ริการ เรมิ่ ตน้ เปดิ ระบบ ภาพท่ี 3-4 State Chart Diagram

18 3.6.2 ความต้องการพนื้ ฐานของโครงงาน ในการใช้งานระบบการจัดการฐานข้อมลู ของนักเรียนนักศึกษา(เรามาเรียนกนั เถอะ) สามารถ รัน บนบราวเซอร์ได้และสามารถรันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ได้ เพื่อการทำงานอย่างมี ประสิทธภิ าพ โดยมกี ารพฒั นาในส่วนจดั การบนเดสก์ท็อป และการใช้งานผา่ นมือถือสมารท์ โฟน โดย รองรบั บนระบบปฏิบตั ิการแอนดรอนด 3.6.3 Web Application หรือ Web Site เป็นเว็บไซต์ที่มีระบบการทำงานหลักของระบบงานอยู่ ซึ่งถูกพัฒนาขึ้นมาด้วยภาษา HTML และจัดการฐานข้อมูลด้วยภาษา PHP ซึ่งในเว็บไซต์จะมีการใช้ Bootstrap 3.0 เข้ามาช่วยในการ ออกแบบหนา้ จอการทำงานให้ดสู วยงาม และทันสมัยมากยิ่งขึน้ เพื่อการใชง้ านท่สี ะดวกและรวดเร็วใน การแสดงข้อมลู ในฐานขอ้ มลู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook