Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 5 การบรรจุ การเก็บรักษาผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ

หน่วยที่ 5 การบรรจุ การเก็บรักษาผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ

Published by yaowadee rungruang, 2019-06-13 23:01:39

Description: กลุ่มที่ 3 ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ

Search

Read the Text Version

วนั ท่ี] หนว่ ยท่ี 5 การบรรจุ การเกบ็ รกั ษาและการจ้าหน่ายผลติ ภัณฑ์สตั วน์ า้ เยาวดี รุ่งเรอื ง วิทยาลัยประมงติณสลู านนท์

หนว่ ยท่ี 5 การบรรจุ การเก็บรกั ษาและการจา้ หนา่ ยผลิตภัณฑส์ ัตว์น้า 1.หวั ข้อเรอื่ ง 1. หน้าท่ีของบรรจุภณั ฑ์ 2. ประเภทและคุณสมบัติของวสั ดุบรรจุภัณฑ์ 3. การบรรจแุ ละเก็บรักษาผลิตภัณฑส์ ัตว์น้า 4. การจาหน่ายผลิตภัณฑส์ ตั วน์ า้ 2.สาระสาคัญ การเลือกใช้บรรจภุ ัณฑท์ ี่สวยงาม แข็งแรง และเหมาะสมกับผลติ ภณั ฑเ์ ปน็ ส่วนท่ีสาคัญอีกสว่ นหนง่ึ ท่ี จะชว่ ยใหผ้ ลติ ภณั ฑเ์ ปน็ ท่ตี ้องการของผู้บรโิ ภค โดยจะต้องเลอื กใชต้ ้งั แต่ชนดิ ของวสั ดุทใ่ี ชท้ าบรรจภุ ัณฑเ์ พื่อ ปกป้องคมุ้ ครองเกบ็ รักษาผลติ ภณั ฑใ์ ห้มีคุณภาพดี นอกจากนัน้ รปู แบบและความสวยงามของบรรจุภัณฑ์ ยงั เป็นปจั จยั สาคญั ในการจัดจาหน่ายอกี ประการหน่งึ ด้วย 3.จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เม่ือศึกษาจบหน่วยนีแ้ ล้วผ้เู รียนสามารถ 1. บอกหนา้ ท่ีของบรรจุภัณฑ์ได้ทง้ั หนา้ ท่หี ลักและหน้าทรี่ อง 2. จาแนกประเภทและคุณสมบตั ิของวสั ดบุ รรจภุ ณั ฑ์ได้ 3. สามารถเลอื กใช้บรรจุภณั ฑ์สาหรับผลติ ภัณฑ์สตั ว์นา้ ได้ 4. บรรจุและเก็บรักษาผลิตภณั ฑส์ ัตวน์ า้ ได้ 5. จาหน่ายผลติ ภัณฑส์ ตั วน์ ้าได้ 4.เนือหา ส่ิงสาคัญทีด่ งึ ดูดผู้บรโิ ภคใหซ้ ้อื สนิ ค้า คือ การบรรจหุ ีบหอ่ ที่สวยงาม สะอาด ถกู หลกั อนามยั น่า รบั ประทาน การรจู้ ักเลือกใช้บรรจภุ ณั ฑจ์ ะช่วยยดื อายุ ชว่ ยปกปอ้ งคุ้มครองผลติ ภัณฑ์ ชว่ ยลดหรอื กนั การซึม ผา่ นของไอนา้ อากาศ กลิน่ ความร้อน การแตกหักหรือบุบสลาย และยงั สามารถให้ขอ้ มูลรายละเอยี ดของ สินค้าบนบรรจุภัณฑ์ เช่น ข้อมลู ทางโภชนาการ ชนดิ ของสินค้า แหล่งผลิต ปริมาณบรรจุ วธิ กี ารใช้ และที่ สาคญั ยงั ชว่ ยส่งเสริมการขายไดอ้ ีกดว้ ย เพราะบรรจุภัณฑท์ ี่สวยงามสามารถเป็นสอ่ื โฆษณาได้ ชว่ ยเพม่ิ ผลกาไร ใหก้ ับสินค้า ทาให้ตงั้ ราคาขายได้สูงขึ้น จึงต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการใชบ้ รรจภุ ัณฑ์ให้เหมาะกับสินค้า 4.1 หน้าที่ของบรรจุภัณฑ์ หน้าทีข่ องบรรจภุ ัณฑ์สาหรบั ผลิตภัณฑอ์ าหารแต่ละประเภทอาจมีความแตกตา่ งกนั บา้ งข้ึนอยกู่ ับวัตถุประสงค์ ของความตอ้ งการดูแลปกป้องคุม้ ครองผลติ ภัณฑ์ วธิ ีการเกบ็ รักษา การขนส่ง และการจัดจาหน่ายทแี่ ตกตา่ ง กนั โดยทวั่ ไปแบ่งเปน็ 2 หน้าท่ี คือ หนา้ ท่ีหลกั และหนา้ ท่รี อง ดงั นี้ 4.1.1 หนา้ ทีห่ ลัก สามารถแบง่ หน้าทีห่ ลักของบรรจภุ ณั ฑ์ได้ 5 ประการ ดงั นี้ 1. บรรจผุ ลิตภัณฑ์ บรรจภุ ัณฑต์ อ้ งสามารถบรรจุ ห่อหมุ้ และรวบรวมผลติ ภณั ฑไ์ ว้ดว้ ยกันเพอ่ื ความสะดวก รวดเรว็ ในการขนยา้ ย การเก็บรกั ษา และการจดั การ 2. คุม้ ครองผลติ ภัณฑ์ บรรจุภณั ฑต์ ้องสามารถค้มุ ครองผลติ ภัณฑ์จากปัจจยั ภายนอกทเี่ ป็นสาเหตขุ องการเสอ่ื ม เสยี คณุ ภาพของผลติ ภณั ฑ์ เชน่ กา๊ ซออกซิเจน ไอน้า ความรอ้ น แสง 3. ใหค้ วามสะดวกในการใชผ้ ลติ ภัณฑ์ ทง้ั ให้ความสะดวกแก่ผู้ผลิตและผบู้ รโิ ภค เชน่ การใชก้ ลอ่ งบรรจุนมซึ่ง สะดวกต่อการขนส่งมากกวา่ การใช้ขวดแก้วบรรจุนม

4. สอ่ื สารและใหข้ ้อมูล บรรจุภัณฑ์ทาหน้าท่ีใหข้ ้อมลู แก่ผบู้ รโิ ภคอาจโดยการพิมพ์ขอ้ มูลลงโดยตรงบนบรรจุ ภัณฑห์ รอื การใช้ฉลากปิด โดยท่วั ไปข้อมูลที่ควรใหแ้ ก่ผูบ้ รโิ ภคคอื -ชื่อ ชนิดของผลติ ภณั ฑ์ กระบวนการผลิต -องค์ประกอบที่สาคัญ -ปรมิ าตรหรอื น้าหนักสุทธิ -วันท่ีผลติ /วันหมดอายุ -วิธีการใชแ้ ละสรรพคุณ -ขอ้ ควรระวังในการใช้ -ชื่อ-ทีอ่ ยูข่ องผผู้ ลิต หรอื ผบู้ รรจุ หรือผแู้ ทนจาหนา่ ย -สถานที่มาของผลติ ภณั ฑ์ 5. ดึงดูดใจผ้บู รโิ ภค บรรจภุ ัณฑ์ทอี่ อกแบบไดเ้ หมาะสมสวยงามสามารถเปน็ สงิ่ จูงใจผู้บรโิ ภคใหต้ ดั สินใจซือ้ สินคา้ ได้ เราจึงมกั เรยี กบรรจุภัณฑ์วา่ เปน็ นักขายใบ้ 4.1.2 หนา้ ทีร่ อง หนา้ ที่รองของบรรจุภัณฑ์มีความสาคัญแตกตา่ งกนั ออกไปตามชนดิ ของผลติ ภณั ฑ์ ท่สี าคัญ ไดแ้ ก่

1. เหมาะสมกับการทางานของเคร่ืองจักร บรรจภุ ณั ฑต์ อ้ งตอบสนองการทางานของเคร่ืองจกั รไดด้ ี เม่ือบรรจุ แลว้ สามารถจดั เรียงรวบรวมเปน็ หมวดหมู่ เพอ่ื การขนสง่ ได้โดยเครอ่ื งจกั รต่อไปได้ เป็นการลดกาลังคนและ เพ่ิมผลผลิต 2. แสดงเอกลกั ษณ์ของผลติ ภณั ฑ์ บรรจภุ ณั ฑ์ควรมีลักษณะโดดเด่น ท่ีทาใหผ้ ้บู รโิ ภคจดจาผลิตภัณฑไ์ ด้ เมอ่ื นา ไปวางเรยี งกบั ผลติ ภณั ฑข์ องคู่แขง่ ขัน 3. ทนทานต่อกระบวนการผลิต เชน่ บรรจุภณั ฑ์อาหารแชเ่ ยอื กแขง็ ต้องสามารถทนต่ออุณหภูมิต่ามาก ๆ ได้ ถึง -196 องศาเซลเซยี ส 4. ปอ้ งกันการปลอมปนผลติ ภณั ฑ์ โดยทว่ั ไปจะเปน็ หน้าท่ีของบรรจภุ ณั ฑ์ ทใ่ี ช้ปดิ ผนึก เชน่ พลาสตกิ หดตวั รดั ฝาขวด ฉลาก 4.2 ประเภทและคณุ สมบตั ขิ องวัสดบุ รรจภุ ัณฑ์ วัสดบุ รรจุภัณฑท์ ่ีนิยมใช้กบั ผลิตภัณฑอ์ าหาร มีหลายประเภท ไดแ้ ก่ กระดาษ พลาสติก แก้วและโลหะ วสั ดแุ ต่ ละประเภทมีคณุ สมบัตซิ ่ึงใชเ้ ปน็ เกณฑ์ในการนาไปพิจารณาเลือกใช้ เพอ่ื บรรจผุ ลติ ภณั ฑ์ให้เหมาะสมแตกต่าง กัน 4.2.1 กระดาษ เปน็ บรรจภุ ณั ฑ์ทน่ี ยิ มใช้กนั มากทสี่ ุด และมีแนวโน้มสูงขึ้นเนื่องจากย่อยสลายไดง้ ่าย นา กลบั มารไี ซเคลิ ง่าย พมิ พ์ตกแตง่ ไดง้ ่าย และสวยงาม เคลือบหรือประกบติดกับวัสดุอน่ื ได้ดี แตถ่ ้าผลติ ภัณฑ์มี สว่ นผสมของนา้ มันควรใช้ พลาสติก กระดาษแก้ว หรอื กระดาษฟอยล์รองผลติ ภัณฑก์ ่อนใช้บรรจภุ ณั ฑ์ทเ่ี ป็น กระดาษ รปู แบบของบรรจุภณั ฑ์กระดาษทีใ่ ชก้ นั มาก คอื 1. กระดาษห่อสินค้า กระดาษห่อสนิ คา้ นามาใชไ้ ดห้ ลายรปู แบบ ไดแ้ ก่ กระดาษแข็ง กระดาษกลา๊ สซนี กระดาษเคลือบไข กระดาษลูกฟูก และกระดาษทชิ ชู กระดาษแข็ง จะมีความแข็งแรงมากกว่ากระดาษทัว่ ไป นิยมใช้ทาบรรจุภณั ฑ์ที่ทาหนา้ ที่ใหค้ วามคุ้มครองเพ่ือ การขนส่ง และบรรจุภัณฑ์ขนาดเล็กเพ่ือจาหนา่ ยโดยตรงให้ผู้บรโิ ภคอาจมีการเคลอื บไขหรอื พลาสตกิ เพื่อเพิ่ม ความตา้ นทานการซึมผ่านของน้าและไขมนั เชน่ กลอ่ งนม ถาดอาหารสาเรจ็ รปู กระดาษกลา๊ สซนี หนาแน่นเปน็ มันเงา ทนไขมนั ได้ดี ใช้ประกบกบั พลาสติกเพ่ือให้พิมพไ์ ดส้ วยงาม นยิ มใชห้ อ่ อาหารท่ีมีไขมนั สูง เชน่ เนยแขง็ เนยสด ขนมอบ กระดาษเคลือบไข มผี วิ หน้าเรียบเคลือบดว้ ยข้ผี ง้ึ ที่ช้ันนอกหรอื อาจมไี ขแทรกในเนอ้ื กระดาษ ป้องกนั ไอน้าและ ไขมันไดด้ ี ใชห้ อ่ ผลิตภัณฑ์ทม่ี ีไขมนั สูง เช่น ผลติ ภัณฑ์ธัญชาตชิ นิดต่าง ๆ ขนมปงั

กระดาษลกู ฟูก ประกอบดว้ ยกระดาษผวิ หน้าและกระดาษลอนลูกฟูก ประกบติดกันดว้ ยกาวอาจมีหลายช้ัน เรียงสลับกันแลว้ แต่การต้องการความแข็งแรงและการใช้งาน นยิ มใช้ทากลอ่ งเพ่ือการขนส่ง ทาแผ่นกัน กระแทกภายในกลอ่ ง และหุ้มสินคา้ เพื่อปอ้ งกันรอยขูดขีด กระดาษทิชชู เปน็ กระดาษนุ่มและบาง ซับนา้ ไดด้ ี ใช้หอ่ ผลติ ภัณฑเ์ พ่ือป้องกนั รอยขดู ขีด 2. ถงุ กระดาษ มีหลายขนาดและหลายรูปแบบดงั ภาพท่ี 1 อาจมีชัน้ เดยี วหรือหลายช้นั กาหนดให้เหมาะสมกบั ผลติ ภัณฑไ์ ดต้ ามต้องการ ภาพที่ 1 ถุงกระดาษแบบต่าง ๆ 3. เยอ่ื กระดาษขึน้ รปู ทาจากเยอ่ื กระดาษผสมสารเคมี ขน้ึ รูปเปน็ รปู ร่างเฉพาะ เชน่ ถาดท่มี ีหลุมบรรจผุ ลติ ภณั ฑ์ดังภาพที่ 2 ภาพที่ 2 เยอื่ กระดาษขึ้นรปู 4. กลอ่ งกระดาษแข็ง มีชนิดของกระดาษให้เลือกไดต้ ามคุณสมบตั ิทีต่ อ้ งการ มี 2 แบบ คือ กลอ่ งแบบพับได้ดัง ภาพท่ี 3 และกลอ่ งแบบคงรูป โดยทว่ั ไปนิยมใชก้ ลอ่ งพับได้สาหรับบรรจอุ าหารท่ีใสใ่ นถุง

หรอื หอ่ เป็นหน่วยยอ่ ยมาก่อน เพ่อื ความแขง็ แรง ป้องกันการแตกหกั และใช้เป็นสื่อโฆษณา เชน่ กลอ่ งขนมปัง กรอบ กลอ่ งบรรจุกาแฟชนดิ ผง กล่องใส่มะกะโรนี กล่องพับได้มีข้อดีทสี่ ามารถพบั เกบ็ ได้ทาใหไ้ ม่เปลืองเนอื้ ที่ ในการเก็บและขนส่ง สาหรับกลอ่ งกระดาษคงรปู นยิ มใช้กับงานท่ีตอ้ งการความแข็งแรงแต่ไมส่ ามารถพับเกบ็ ได้ ใช้บรรจุอาหารที่ต้องการความแขง็ แรงและสวยงาม เชน่ ลูกกวาด ช็อคโกแลต คุกกี้ โดยทั่วไปมีการใช้งาน นอ้ ยกว่ากล่องที่พับได้ ภาพท่ี 3 กล่องกระดาษแขง็ แบบพบั ได้ 5. กระปอ๋ งกระดาษ วัสดุที่ใช้ทาตัวกระป๋องอาจเป็นกระดาษเหนียวหรือวสั ดหุ ลายช้ันผสมกนั ประกอบด้วย กระดาษเหนยี ว อลมู เิ นียมฟอยล์ (aluminium foil) และพลาสตกิ ขน้ึ อยู่กับคุณสมบัตทิ ่ีต้องการ ใช้บรรจุ ผลติ ภณั ฑท์ ้ังของแขง็ ของเหลวเพอ่ื การขนสง่ นยิ ม มแี ผ่นหรอื ถุงพลาสตกิ รองดา้ นใน ก่อนบรรจุผลิตภัณฑ์ดัง ภาพที่ 4 ภาพที่ 4 กระป๋องกระดาษ 4.2.2 พลาสติก เป็นวสั ดุทีม่ อี ัตราการเจริญเติบโตสูงมาก เปน็ วสั ดบุ รรจุชนิดใหม่ทส่ี ดุ คณุ สมบตั ทิ ีด่ ี คอื มี ความแขง็ แรงเพียงพอกบั การใช้งานและมีน้าหนักเบา ราคาค่อนข้างตา่ เหมาะกับการใชง้ านหลากหลาย ป้องกันการซมึ ผ่านของก๊าซและอากาศได้ระดับหนึ่ง สามารถต่อตา้ นการทาลายของแบคทเี รยี และ

เช้อื รา ทนความร้อนและเย็น บางชนดิ ยงั เป็นฉนวนกนั ความรอ้ นด้วย บรรจุภณั ฑ์พลาสติกแบ่งเปน็ 2 ประเภท คอื 1. ฟิล์มพลาสติก อาจมีช้นั เดียวหรอื หลายชัน้ แบ่งตามคุณสมบัติใชง้ าน ไดแ้ กฟ่ ลิ ์มพลาสตกิ ธรรมดา ฟลิ ์มหด และฟิล์มยืด ฟิล์มพลาสติกธรรมดาที่ใชห้ ่อผลิตภัณฑ์มลี กั ษณะดังภาพที่ 5 ภาพที่ 5 ฟลิ ม์ พลาสติกธรรมดา ฟิล์มหด เป็นฟลิ ม์ ท่ีหดตวั เมื่อไดร้ บั ความร้อน ใชร้ วมหนว่ ยสนิ ค้าเปน็ หนว่ ยใหญ่และใชร้ ัดรอบฝาขวดดงั ภาพที่ 6 ภาพที่ 6 ฟิลม์ หด

ฟิล์มยดื เปน็ ฟิล์มทีย่ ืดไดเ้ ล็กน้อยและเกาะตดิ กันเอง ใช้ห่อผลติ ภัณฑ์ ดงั ภาพที่ 7 ภาพที่ 7 ฟิล์มยดื 2. ภาชนะพลาสตกิ เปน็ พลาสตกิ ท่ไี ด้รบั การข้ึนรปู เปน็ รูปทรงต่าง ๆ ที่แน่นอน ดงั ภาพท่ี 8 เช่น ขวดหลาย รูปแบบ ถว้ ยแบบต่าง ๆ ถาด ภาพที่ 8 ขวดพลาสตกิ 4.2.3 แก้ว เป็นบรรจภุ ณั ฑ์ท่ีมีความเฉ่ือยต่อการทาปฏิกริ ิยากับสารเคมีและชีวภาพ ทนทานต่ออุณหภูมิสงู ทใี่ ช้ ในกระบวนการบรรจุและฆ่าเชอื้ ได้ดี รักษาคุณภาพภายในของสนิ ค้าได้ดีมาก มคี วามใส คงรูป และทาเปน็ สี ตา่ ง ๆ ได้สวยงามผบู้ ริโภคสามารถมองเหน็ ผลติ ภัณฑ์ท่บี รรจภุ ายในได้ดี กรณีที่ผลิตภณั ฑ์เสียงา่ ยเม่อื ถกู แสงก็ สามารถใช้แก้วสนี า้ ตาลหรือ สเี ขียวที่กรองแสงได้ นิยมใชบ้ รรจผุ ลติ ภัณฑส์ ัตว์น้าที่เป็นของเหลวหรอื กงึ่ เหลว มี หลายรปู แบบทีใ่ ชก้ นั อยเู่ ปน็ ประจา ได้แก่ 1. บอทเทลิ (bottle) หมายถึง ขวดรูปรา่ งตา่ ง ๆ ทมี่ ีส่วนคอและปากแคบกวา่ ตวั ขวดอย่างเด่นชดั เพ่อื ความ สะดวกในการเท นยิ มบรรจอุ าหารทเี่ ป็นของเหลว เช่น น้าบดู ู นา้ ปลา ดงั ภาพท่ี 9

ภาพที่ 9 ภาชนะแกว้ แบบบอตเทลิ 2. จาร์ (jar) หมายถงึ ภาชนะแกว้ ปากกว้างคอขวดสนั้ มากหรือเกือบไม่มดี งั ภาพที่ 10 นยิ มบรรจุอาหารทตี่ ้อง ใช้ชอ้ นหรืออปุ กรณ์ตักขึ้นมา ไดแ้ ก่ กาแฟ น้าพริกเผา กะปิ แยม เต้าหยู้ ี้ ภาพท่ี 10 ภาชนะแก้วแบบจาร์ 3. ทมั เบลอร์ (tumbler) หมายถงึ ภาชนะแกว้ ปากกวา้ งท่ีไมม่ ีคอ คล้ายแกว้ สาหรบั ดม่ื น้าดังภาพท่ี 11 นยิ มใช้ บรรจุอาหารแหง้ อาหารทม่ี ีความหนดื สูง อาหารหมักดอง ภาชนะแก้วชนดิ น้สี ามารถนามาใชเ้ ปน็ แกว้ ด่มื น้าได้ หลังจากใชผ้ ลิตภณั ฑ์หมดแล้ว

ภาพที่ 11 ภาชนะแก้วแบบทัมเบลอร์ 4. จกั (jug) หมายถึง ภาชนะแก้วทม่ี ลี กั ษณะคล้ายบอทเทิลแต่ขนาดใหญ่กวา่ คอขวดสัน้ และมีหูหิ้วท่ีคอขวด ด้วยดงั ภาพท่ี 12 นิยมใชบ้ รรจอุ าหารเหลว เช่น นา้ ผลไม้เข้มข้น หัวนา้ ปลา ภาพที่ 12 ภาชนะแกว้ แบบจัก 5. คารบ์ อย (carboy) หมายถึง ภาชนะแกว้ ขนาดใหญค่ ล้ายบอทเทลิ แตค่ อสั้นและไม่มีหหู ิว้ ดงั ภาพท่ี 13 นิยม ใชบ้ รรจเุ คร่ืองดม่ื เพ่ือการขนสง่ โดยทัว่ ไป มกี ลอ่ งกระดาษ ไมห้ รือพลาสตกิ หุ้มภายนอก เพือ่ ป้องกันการแตก เช่น ขวดน้าดม่ื ทใี่ ชก้ ับเคร่ืองทาน้าเย็น ขวดสาหรับบรรจุอาหารขนาดใหญ่

ภาพท่ี 13 ภาชนะแก้วแบบคาร์บอย 6. ไวอัล (vial) และแอมพลู (ampoule) หมายถงึ ภาชนะแก้วขนาดเลก็ มาก ดงั ภาพท่ี 14 ไวอัล นยิ มใชบ้ รรจุ สผี สมอาหาร กลน่ิ สังเคราะห์ แอมพูลนิยมใช้บรรจุของเหลวทต่ี ้องการให้อย่ใู นสภาพปลอดเช้อื หรอื สารท่ี ระเหยไดง้ ่าย เช่น กลิ่นสังเคราะห์ ภาพที่ 14 ภาชนะบรรจแุ บบไวอัล ทม่ี า: นิรนาม ก. (ม.ป.ป.) 4.2.4 โลหะ มคี ุณสมบตั ิแข็งแรง ทนทาน ไม่มีการซมึ ผ่านของไอนา้ และก๊าซ ปอ้ งกนั แสงสว่างได้ แต่มีขอ้ เสีย คอื เกดิ การกัดกร่อนง่าย ทาปฏิกริ ยิ ากับผลติ ภัณฑท์ ่ีบรรจุ จึงตอ้ งมีการเคลือบผวิ ดว้ ยวัสดุต่าง ๆ และระวัง บรเิ วณรอยตอ่ ทไี่ ม่ปดิ สนิทอาจทาให้เกิดการรว่ั ซมึ ของอาหารทบ่ี รรจุ โลหะทนี่ ยิ มใช้กบั ผลิตภณั ฑ์อาหาร ไดแ้ ก่ แผน่ เหล็กกลา้ เคลือบดีบกุ (tinplate) โครเมียมออกไซด์ (chromiumoxide) และเคลอื บแลคเกอร์ (lacquer) โลหะชนดิ ท่ีนิยมใช้ คือ กระป๋อง หลอดบีบ แผ่นอลมู ิเนยี มฟอยล์ กระป๋องโลหะสาหรับใส่ผลิตภัณฑอ์ าหาร แบง่ ออกเป็น 2 ลกั ษณะคือ

1. กระปอ๋ ง 3 ชน้ิ (Three-Piece Can) ประกอบด้วยตวั กระปอ๋ งกบั ฝาอีก2 ช้นิ ดงั ภาพที่ 15 สว่ นใหญผ่ ลิต จากแผ่นเหล็กเคลือบดบี ุก มักปดิ ฝาดา้ นล่างมาก่อน เมื่อผผู้ ลติ อาหารบรรจุอาหารแลว้ จึงปิดฝาดา้ นบน ภาพท่ี 15 กระป๋องแบบ 3 ชิ้น 2. กระปอ๋ ง 2 ชิ้น (Two-piece Can) ประกอบดว้ ยตัวกระปอ๋ ง ซ่ึงมีก้นกระป๋องตดิ อย่ดู ้วยเป็น 1 ชน้ิ กบั ฝาอกี 1 ชิ้นดงั ภาพที่ 16 ตวั กระป๋องจะไม่มตี ะเข็บขา้ ง และก้นกระป๋องจะเปน็ ชนิ้ เดียวกบั ตวั กระปอ๋ ง นิยมผลติ จาก อลูมเิ นียมมากทสี่ ุด ฝากระป๋องดา้ นบนส่วนใหญท่ าจากอลมู ิเนยี มและนิยมใช้ฝาที่มหี ว่ งดงึ เพื่อใหเ้ ปิดได้ สะดวกไม่ต้องมีอุปกรณ์อนื่ ชว่ ย เปน็ ที่นยิ มมากในการผลิตระดบั อุตสาหกรรม ภาพที่ 16 กระป๋องแบบ 2 ชนิ้

4.3 การบรรจุและเกบ็ รกั ษาผลิตภณั ฑ์สัตว์นา้ ในการพิจารณาเลือกใชก้ ารบรรจุภณั ฑ์เพื่อเก็บรักษาผลิตภัณฑ์สัตว์นา้ ใหเ้ หมาะสมน้ันสามารถทาไดห้ ลาย รปู แบบตามชนิดของผลติ ภัณฑ์ วิธกี ารทใี่ ช้แปรรูป การขนสง่ ตลาดจาหนา่ ย และระยะเวลาการเกบ็ รกั ษา มี ข้อควรพิจารณาในการบรรจุและเกบ็ รกั ษาผลิตภัณฑส์ ตั วน์ า้ ทีผ่ ่านการแปรรูปตา่ ง ๆ ดงั น้ี 4.3.1 การบรรจแุ ละเกบ็ รกั ษาผลิตภัณฑส์ ตั วน์ า้ แช่เยือกแข็ง ในข้นั ตอนการบรรจผุ ลิตภณั ฑ์สัตว์น้าแช่เยือก แขง็ ตอ้ งใช้แผ่นฟิลม์ พลาสตกิ ชนดิ ที่ทนความเยน็ ห่อผลิตภณั ฑ์สตั วน์ ้า กอ่ นท่ีจะนาไปแช่เยอื กแขง็ เพอ่ื ป้องกนั การสญู เสยี ความช้ืนของผลติ ภัณฑ์สัตวน์ ้า เมื่อเยือกแข็งแล้ว จึงนาผลติ ภณั ฑ์สตั ว์นา้ ทีห่ ่อดว้ ยแผ่นฟลิ ์ม พลาสตกิ ชนิดท่ีทนความเย็นน้ัน มาบรรจลุ งในกล่องกระดาษทเ่ี คลือบไขอีกชนั้ หนงึ่ ก่อน หรืออาจใชถ้ ุงพลาสติก ชนิดที่ทนความเยน็ สวมทบั กล่องกระดาษเคลอื บไขอีกชั้นหนึ่งกไ็ ด้ แล้วแต่ระยะเวลาการเกบ็ รกั ษา ถ้าต้องเก็บ นานใชเ้ พียงกล่องกระดาษเคลือบไขอาจเกดิ การเปื่อยยยุ่ เนอ่ื งจากต้องเกบ็ รักษาผลติ ภัณฑไ์ ว้ในท่ีมีอุณหภูมิไม่ สูงกว่า -18 องศาเซลเซียส และตอ้ งรักษาอุณหภูมิให้คงที่ตลอดเวลา เพื่อคณุ ภาพท่ดี ขี องผลติ ภัณฑ์ สามารถ เกบ็ รกั ษาได้นานกวา่ 1 ปี แล้วแตช่ นดิ ของผลติ ภณั ฑ์ ตัวอย่างผลติ ภัณฑ์ท่บี รรจุแล้วดงั ภาพท่ี 17 ภาพท่ี 17 การบรรจแุ ละเก็บรักษาผลติ ภัณฑส์ ตั ว์นา้ แช่เยือกแขง็ 4.3.2 การบรรจุและเก็บรกั ษาผลติ ภัณฑ์สตั ว์นา้ ทาแห้ง นยิ มบรรจุผลิตภัณฑ์สตั วน์ ้าทาแห้งในภาชนะบรรจุ พลาสตกิ ชนิดทีท่ นต่อความร้อนเน้ือหนา ท้งั ในแบบถงุ บรรจแุ ละกลอ่ งพลาสติกใส เพอื่ ให้เห็นผลิตภณั ฑภ์ ายใน ดังภาพท่ี 18 ภาชนะบรรจนุ ้นั ต้องปดิ สนิท และไมค่ วรวางไว้ในทีท่ ถ่ี ูกแสงแดดโดยตรง เพราะอาจทาใหเ้ กดิ กล่นิ หืนหรือผลติ ภณั ฑ์เปลี่ยนสคี ล้าลงได้ ถ้าบรรจุโดยทีไ่ มใ่ หส้ มั ผสั อากาศจะยง่ิ เกบ็ ไว้ได้นาน โดยรกั ษา คุณภาพไดด้ กี ว่า เชน่ ผลิตภณั ฑ์ กงุ้ แห้ง ปลาแหง้ ข้าวเกรยี บปลา ข้าวเกรยี บกงุ้ ปลาหมึกแหง้ ผลิตภัณฑ์สตั ว์ นา้ ทาแหง้ นมี้ ักจะเสื่อมคณุ ภาพเนือ่ งจากเช้ือราและการถูกกดั กินเจาะไชโดยแมลง เชน่ แมลงวนั มด ขณะเกบ็ รกั ษาจงึ ควรหม่ันตรวจดูด้วย ผลติ ภัณฑป์ ระเภทน้ีเป็นผลิตภณั ฑท์ ม่ี ีความช้ืน 15-20 เปอรเ์ ซน็ ต์

สามารถเก็บไว้ท่ีอุณหภูมิหอ้ งไดร้ ะยะหนงึ่ ประมาณ 7-10 วนั ถา้ ตอ้ งการเก็บนานกว่านี้ ควรใช้ความเยน็ ชว่ ย โดยการเกบ็ ไวใ้ นตู้เยน็ อุณหภมู ิ 10 องศาเซลเซยี ส สามารถเกบ็ ไวไ้ ดน้ านย่ิงข้นึ ภาพท่ี 18 การบรรจแุ ละเก็บรักษาผลติ ภัณฑ์สัตวน์ ้าทาแห้ง 4.3.3 การบรรจุและเกบ็ รักษาผลิตภัณฑ์สัตว์นา้ ทาเคม็ การใช้เกลอื ในการเก็บรักษาสตั ว์น้าช่วยยดื อายุไว้ได้ นานกวา่ แต่ควรเลือกใชบ้ รรจุภณั ฑแ์ ละวิธีการบรรจุท่ีเหมาะสม โดยการบรรจใุ นภาชนะบรรจทุ ่ีปิดสนิทและ ไม่ให้สัมผสั กับอากาศ จะเกบ็ ไว้ไดน้ านอีกทง้ั ไม่มี กลนิ่ หนื เชน่ การบรรจุปลาทูเคม็ ในภาชนะบรรจุท่ีปิดสนทิ เพ่อื ป้องกันการสมั ผัสกับอากาศดงั ภาพที่ 19 หรอื อาจเกบ็ รักษาไว้ในตเู้ ย็นจะเกบ็ ไดน้ านประมาณ 1 สัปดาห์ ภาพท่ี 19 การบรรจแุ ละเกบ็ รักษาผลติ ภณั ฑส์ ัตวน์ ้าทาเคม็ 4.3.4 การบรรจุและเก็บรกั ษาผลติ ภณั ฑ์สตั วน์ า้ หมัก บรรจใุ นภาชนะที่เป็นขวดแกว้ หรอื ขวดพลาสติกหนา ปากแคบหรือกวา้ ง แลว้ แต่ชนิดของผลติ ภณั ฑ์ เช่น นา้ ปลา นา้ บดู บู รรจุในภาชนะที่เปน็ ขวดแก้ว หรือขวด พลาสตกิ หนาปากแคบ สว่ นกะปบิ รรจุในภาชนะทเี่ ป็น ขวดแก้ว หรอื ขวดพลาสติกหนาปากกว้าง

เคลือบทับผิวหนา้ ด้วยพาราฟินดังภาพที่ 20 เพ่ือไม่ใหส้ ัมผัสกบั อากาศ และเกบ็ รักษาไว้ในท่ีไม่ถกู แสงแดดตรง ๆ เพื่อป้องกนั การเปลยี่ นสขี องผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑป์ ลาสม้ ปลาร้า ปลาเจ่าก็เก็บรักษาไว้ในลักษณะเดียวกนั หรือเก็บไวใ้ นตู้เย็นและไม่ควรเก็บนานเกนิ 1 สปั ดาห์ ภาพที่ 20 การบรรจุและเก็บรกั ษาผลติ ภัณฑส์ ตั วน์ า้ หมัก 4.3.5 การบรรจแุ ละเกบ็ รักษาผลิตภัณฑส์ ัตว์น้ารมควัน ผลิตภณั ฑช์ นิดน้ีเปน็ ผลิตภณั ฑ์ทยี่ ังคงมีปรมิ าณ ความช้ืนสงู ยงั คงอยู่ในสภาพที่คอ่ นขา้ งเนา่ เสียง่าย ถึงแม้จะมีสารเคมจี ากควันช่วยปอ้ งกันเช้ือจลุ นิ ทรีย์ได้ บางสว่ น ถา้ เก็บรักษาท่ีอณุ หภูมหิ อ้ งไม่เกนิ 35 องศาเซลเซียส ไม่ควรเกบ็ ไวเ้ กนิ 24 ชว่ั โมง ถ้าเกบ็ รักษาไว้ใน ต้เู ยน็ อุณหภูมิไมส่ งู กว่า 10 องศาเซลเซยี สจะเกบ็ ไดน้ าน 3 วนั ถ้าเก็บไว้ในชอ่ งแขง็ ของตู้เย็นในบ้านเกบ็ ได้ นาน 2-3 เดอื นแต่คุณภาพจะด้อยลง เนื้อสมั ผสั จะแห้งและแขง็ ข้นึ และควรบรรจไุ ว้ในภาชนะบรรจทุ เ่ี ป็น พลาสติกทนความเย็น แบบหนา ปดิ สนทิ และไมม่ ีอากาศ ดังภาพที่ 21 ภาพท่ี 21 การบรรจุและเกบ็ รกั ษาผลิตภัณฑ์สตั วน์ า้ รมควัน ท่มี า : นิรนาม ข. (ม.ป.ป.)

4.3.6 การบรรจุและเก็บรักษาผลิตภณั ฑ์สัตวน์ ้าในภาชนะบรรจปุ ดิ สนทิ ผลติ ภัณฑส์ ัตว์น้าหลายชนดิ บรรจุ ในกระป๋องเคลอื บดบี ุกชนิด 3 ชนิ้ เช่น ปลาทแู ขกในซอสมะเขือเทศ ไขป่ ูบรรจุกระป๋อง ซงึ่ ตอ้ งห่อไขป่ ูใน กระดาษไขก่อนชนั้ หนง่ึ และกระป๋องชนดิ 2 ชน้ิ เช่น ผลิตภณั ฑ์ปลาทนู า่ เกบ็ รกั ษาเช่นเดยี วกับอาหารใน ภาชนะบรรจุปดิ สนทิ อนื่ ท่วั ไป คือ เกบ็ ไว้ในท่ีแห้ง อากาศถ่ายเทสะดวกและไม่มแี สงแดดสอ่ งถึง นอกจากนั้น ต้องระวังไมใ่ ห้ภาชนะบรรจุบุบ เป็นรหู รอื เปน็ รอยขดี ข่วน จะเก็บได้นานประมาณ 2 ปี โดยที่คณุ ภาพยงั เปน็ ที่ ยอมรบั ดังภาพที่ 22 ภาพท่ี 22 การบรรจแุ ละเก็บรกั ษาผลิตภณั ฑส์ ตั ว์นา้ ในภาชนะบรรจปุ ิดสนทิ 4.4 การจาหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์สัตวน์ ้า ระบบชอ่ งทางการจัดจาหน่าย คือ ทางเลอื กทง้ั หลายของช่องทางการจัดจาหน่ายท่นี าผลิตภัณฑไ์ ปถึงมือ ผูบ้ รโิ ภคคนสุดทา้ ย แบ่งเปน็ ระบบชอ่ งทางการจัดจาหน่ายสินค้าอุปโภคบรโิ ภค และระบบชอ่ งทางการจดั จา หน่ายสินคา้ อตุ สาหกรรม 4.4.1 ระบบช่องทางการจดั จาหน่ายสนิ คา้ อปุ โภคบรโิ ภค ระบบชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ยสนิ คา้ อปุ โภคบรโิ ภค ประกอบดว้ ยองค์ประกอบต่าง ๆ ท่ีเกยี่ วข้อง ดงั นี้ 1. ตวั แทนจาหน่ายและคนกลาง โดยปกติแลว้ ตวั แทนจาหน่ายและคนกลางจะไม่ถอื ครองสินค้าไว้ คนกลาง ส่วนใหญ่ทาหนา้ ท่นี าฝ่ายผูซ้ อ้ื และผู้ขายมาพบปะเจรจาซื้อขายกัน สว่ นตัวแทนมกั จะเปน็ ตัวแทนจาหน่ายของ ผู้ผลิตหรอื ผูค้ า้ ส่งโดยตรง และจะปฏิบตั ติ ามเง่ือนไขการขายตา่ ง ๆ ซึ่งมกั กาหนดมาจากผผู้ ลิตหรอื ผคู้ ้าส่ง 2. ผ้คู า้ สง่ คอื ผู้ท่ที าหน้าท่ขี ายสินค้าใหแ้ ก่ผู้ขายปลีก สถาบันหรอื หน่วยงาน ตา่ ง ๆ บริษทั ผู้ผลติ ท่จี ะนา ช้นิ สว่ นสนิ คา้ ไปประกอบเปน็ ผลิตภณั ฑ์ 3. ผู้คา้ ปลีก จะเกีย่ วข้องกับกิจกรรมทัง้ หลายทเี่ กี่ยวข้องกับการขายสนิ ค้าและบริการไปใหแ้ กผ่ ู้บริโภคสุดทา้ ย ที่เป็นบุคคลและมใิ ชเ่ พ่ือการใช้ในทางธุรกิจ

4. ผบู้ ริโภคหรือลูกค้า คือ ผ้บู รโิ ภคสุดท้ายที่ซอื้ สินค้าและบรกิ าร เพื่อนาไปใช้อุปโภคบริโภคและเพื่อ ตอบสนองความต้องการของตน 4.4.2 ระบบช่องทางการจัดจาหนา่ ยสินค้าอตุ สาหกรรม ระบบชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ยสนิ ค้าอตุ สาหกรรม ประกอบดว้ ย 1. ตัวแทนจาหนา่ ยและคนกลาง ทาหนา้ ท่ีเช่นเดียวกบั ระบบช่องทางการจัดจาหน่ายสินค้าอปุ โภคบริโภค 2. ผู้กระจายสนิ ค้าในอตุ สาหกรรม คอื หน่วยงานผู้คา้ ส่งที่เปน็ อสิ ระซงึ่ ซอ้ื ผลิตภณั ฑจ์ ากผผู้ ลิตหลายรายและ ขายใหแ้ กผ่ ู้ใชใ้ นทางอุตสาหกรรม มักมฝี า่ ยขายของตนเองเพอ่ื พบปะเย่ยี มเยยี นกลุม่ ลูกค้าเป้าหมาย ทาหน้าท่ี ในการให้เครดติ และขอ้ มูลข่าวสารท่เี กีย่ วข้อง 3. ผู้ใชใ้ นทางอตุ สาหกรรม จะซอ้ื ผลิตภณั ฑ์หลายอยา่ งเพ่ือการใช้ภายในบรษิ ทั ของตน หรอื นาไปผลิตต่อเนื่อง เปน็ สว่ นหน่งึ ของกระบวนการผลิต ผใู้ ชใ้ นทางอุตสาหกรรมนีป้ ระกอบดว้ ยผผู้ ลิตในทางอุตสาหกรรมและ หน่วยงานทข่ี ายบรกิ ารด้วย โดยทัว่ ไปแลว้ การจาหนา่ ยผลิตภัณฑส์ ตั วน์ ้าในประเทศไทยแบ่งเป็น 2 ลกั ษณะ คอื จาหน่ายภายในประเทศ และสง่ ไปจาหน่ายตา่ งประเทศ ผลติ ภณั ฑ์สัตว์นา้ ทีจ่ าหน่ายภายในประเทศ จาหน่ายในตลาดทุกระดับต้งั แต่ตลาดพ้ืนบา้ น รา้ นคา้ รมิ ทาง รา้ น จาหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ของฝาก ภตั ตาคาร รา้ นอาหาร รา้ นสะดวกซื้อ ซปุ เปอรม์ ารเ์ กต็ (supermarket) ซปุ เปอร์ สโตร์ (superstore) ผลิตภณั ฑ์สัตว์นา้ ท่มี จี าหน่ายในสถานทดี่ ังกลา่ วมีทุกประเภทและชนิด ไดแ้ ก่ ผลติ ภณั ฑ์ สัตวน์ า้ ในภาชนะบรรจุปดิ สนิท ผลิตภัณฑ์สตั วน์ ้าแชเ่ ยอื กแขง็ เครอ่ื งประดบั จากเปลือกสัตวน์ า้ ตลอดจนถงึ ผลติ ภัณฑส์ ัตวน์ ้าพน้ื บา้ นที่มกี ารผลิตในระดับพนื้ บา้ น จาหนา่ ยในลักษณะแบ่งบรรจุปรมิ าณตา่ งกันแล้วแต่ ความตอ้ งการของผูบ้ รโิ ภค เชน่ กะปิ น้าปลา กุ้งแห้ง บูดู ไตปลา และผลิตภณั ฑ์สัตวน์ ้าพ้นื บ้านทผี่ ลิตในระบบ อตุ สาหกรรมมักบรรจใุ นบรรจุภัณฑท์ ี่เหมาะสม ในปรมิ าณแตกต่างกันแล้วแตผ่ ู้บริโภคจะเลือกซ้ือ ผลติ ภณั ฑส์ ตั ว์น้าท่จี าหน่ายต่างประเทศ ปรมิ าณการส่งออกผลิตภัณฑ์สตั วน์ ้าของประเทศไทย กุ้งแชแ่ ข็งเป็น ผลิตภณั ฑท์ ่สี ง่ ไปจาหน่ายปริมาณสูงมาโดยตลอด ในปีพทุ ธศักราช 2549 ประเทศสหรฐั อเมริกานาเขา้ กุง้ ได้ จากประเทศไทยเป็นอันดับหน่ึง คดิ เปน็ 32.5 เปอร์เซ็นต์ หรอื 130,443.9 ตนั และในปีเดยี วกันนี้ ประเทศ ไทยสง่ ออกอาหารทะเลบรรจุกระป๋องและแปรรูป มลู ค่าอยู่ในอนั ดบั ท่ี 13 ของสนิ คา้ ออกสาคัญ 50 อันดบั แรก ของไทย

5. เอกสารอา้ งองิ งามทิพย์ ภู่วโรดม. 2538. หลกั การบรรจุ. มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 169น. ดารงศกั ด์ิ ชัยสนิท และ กอ่ เกียรติ วริ ยิ ะกิจพัฒนา. 2547. หลักการตลาด. โสภณการพมิ พ์, กรุงเทพฯ. 358น. งามทิพย์ ภ่วู โรดม. 2545. การบรรจุภณั ฑอ์ าหารเบ้ืองตน้ , น.313-365 ใน เอกสารการสอนชดุ วชิ า วทิ ยาศาสตร์การอาหารเบ้ืองตน้ . มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช, นนทบุรี. ประเสรฐิ สทุ ธิประสิทธิ์ และ วราวฒุ ิ ครูสง่ . 2544. กลยุทธ์การใชบ้ รรจุภณั ฑส์ าหรบั ผลติ ภณั ฑ์ อาหารเพื่อ สง่ เสรมิ การขาย, น.171-217. ใน เอกสารการสอนชดุ วชิ าการประกนั คณุ ภาพ และการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ อาหาร. มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช, นนทบรุ ี. มัทนา แสงจนิ ดาวงษ.์ 2548. ผลิตภณั ฑ์ประมงของไทย. สานกั พิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ. 309น. อบเชย วงศ์ทอง และ ขนษิ ฐา พูนผลกลุ . 2547. หลักการประกอบอาหาร. สานกั พิมพ์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ. 155น. นริ นาม ก. ม.ป.ป. รูปภาชนะบรรจแุ บบไวอลั . [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก: http://www.pacificvial.com/screw_vials.html.(วันที่ค้นขอ้ มูล: 21 ธันวาคม 2549) นิรนาม ข. ม.ป.ป. รปู การบรรจุและเกบ็ รักษาผลิตภณั ฑ์สตั ว์น้ารมควัน [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก: http://www.johnsonstoreandcampground.com. (วนั ทีค่ น้ ข้อมลู : 21 ธันวาคม 2549) Javier Lopez(2007). US Shrimp Market Report. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก :http://www.thefishsite.com. (วันท่คี น้ ขอ้ มลู :14 กรกฎาคม 2552). ศูนยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร สานักงานปลัดกระทรวงพาณชิ ย์ โดยความรว่ มมือจากกรมศลุ กากร. (ม.ป.ป.) สินคา้ สง่ ออกสาคญั 50 รายการแรกของไทย ปี 2545 – 2549 (มกราคม-ธนั วาคม) [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก: http://www2.ops3.moc.go.th/export/recode_export /report.asp. (วนั ทคี่ ้นข้อมูล:14 กรกฎาคม 2552).


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook