Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แอนนน.pdf2

แอนนน.pdf2

Published by Darawadee Phali, 2019-09-17 22:04:28

Description: แอนนน.pdf2

Search

Read the Text Version

สารบัญ เรอื่ ง ประวตั ิศาสตร์[] สภาพภูมอิ ากาศ[] ประวัตกิ ารแบ่งเขตการปกครอง[] การแบง่ เขตการปกครองในปัจจบุ นั [ การปกครองส่วนท้องถ่ิน ถนน[ รถโดยสารประจาทาง[ การคมนาคมภายในตวั จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา ดา้ นศาสนา

ประวัติศาสตร์[] ดูบทความหลกั ท่ี: อาณาจักรอยุธยา กรงุ ศรีอยุธยา (พ.ศ. 2209) วาดโดยบรษิ ัทอินเดียตะวันออกของเนเธอรแ์ ลนด์ พระนครศรีอยุธยาเคยเปน็ ราชธานี (เมอื งหลวง) ของอาณาจกั รอยธุ ยา หรืออาณาจกั ร สยาม ตลอดระยะเวลา 417 ปี ตง้ั แต่ พ.ศ. 1893 กระทัง่ เสียกรุงแก่พมา่ เมือ่ พ.ศ. 2310 ครนั้ เมือ่ พระเจ้าตากสินมหาราชทรงสถาปนาราชธานีแห่งใหม่ที่กรงุ ธนบรุ ี กรุงศรี อยธุ ยากไ็ ม่ได้กลายเป็นเมอื งรา้ ง ยงั มคี นท่ีรักถน่ิ ฐานบา้ นเดิมอาศัยอยแู่ ละมรี าษฎรท่ี หลบหนไี ปอยู่ตามปา่ กลับเข้ามาอาศัยอยู่รอบ ๆ เมือง รวมกันเข้าเป็นเมือง จนทางการยก เปน็ เมอื งจตั วาเรยี กวา่ \"เมืองกรุงเก่า\" เมอ่ื พ.ศ. 2325 ในรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงยก เมอื งกรงุ เกา่ ข้นึ เปน็ หวั เมอื งจัตวา เช่นเดียวกับในสมยั กรุงธนบุรี หลงั จาก น้นั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หวั โปรดให้จัดการปฏริ ูปการปกครองท้ัง สว่ นกลางและส่วนภูมิภาค โดยการปกครองสว่ นภมู ิภาคน้นั โปรดให้จัดการปกครองแบบ เทศาภบิ าลขึ้น โดยใหร้ วมเมอื งที่อย่ใู กลเ้ คียงกนั 3-4 เมอื ง ขึ้นเปน็ มณฑล มขี า้ หลวง เทศาภิบาลเป็นผปู้ กครอง

โดยในปี พ.ศ. 2438 โปรดให้จัดตง้ั มณฑลกรงุ เกา่ ขน้ึ ประกอบด้วยหวั เมืองตา่ ง ๆ คอื กรงุ เก่าหรืออยุธยา อ่างทอง สระบุรีพระพุทธบาท ลพบุรี พรหมบุรี อินทรบ์ รุ ี และสงิ หบ์ รุ ี ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหร้ วมเมืองอนิ ทร์บรุ ีและเมืองพรหมบรุ ีเข้ากับเมอื ง สงิ ห์บรุ ี รวมเมอื งพระพุทธบาทเข้ากบั เมืองสระบุรี ต้ังทว่ี ่าการมณฑลท่ีอยธุ ยา และในปี พ.ศ. 2469 เปลย่ี นชื่อจาก \"มณฑลกรุงเก่า\" เป็น \"มณฑลอยธุ ยา\" ซ่ึงจากการจัดตง้ั มณฑลอยุธยามีผลใหอ้ ยธุ ยามีความสาคัญทางการบริหารการปกครองมากขึ้น การสรา้ ง ส่งิ สาธารณปู โภคหลายอยา่ งมีผลต่อการพฒั นาเมืองอยุธยาในเวลาต่อมา จนเมอื่ ยกเลิก การปกครองระบบมณฑลเทศาภบิ าล ภายหลงั การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 อยธุ ยาจึงเปล่ยี นฐานะเปน็ จงั หวัดพระนครศรีอยุธยาจนถงึ ปัจจุบัน ในสมยั จอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรฐั มนตรี ไดม้ ีนโยบายบรู ณะโบราณสถานภายใน เมอื งอยธุ ยา เพ่อื เป็นการฉลองย่ีสบิ ห้าพุทธศตวรรษ ประจวบกบั ในปี พ.ศ. 2498 นายกรัฐมนตรีประเทศพมา่ เดินทางมาเยือนประเทศไทย และไดม้ อบเงินจานวน 200,000 บาท เพื่อปฏสิ ังขรณ์วัดและองค์พระมงคลบพิตร เปน็ การเร่ิมต้นบูรณะโบราณสถานใน อยธุ ยาอย่างจรงิ จัง ซึ่งต่อมากรมศลิ ปากรเปน็ หนว่ ยงานสาคญั ในการดาเนนิ การ จน องค์การศกึ ษาวิทยาศาสตรแ์ ละวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรอื ยเู นสโกมีมติใหป้ ระกาศ ขนึ้ ทะเบียนอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา เป็น \"มรดกโลก\" เมอ่ื วันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2534 มีพืน้ ท่ีครอบคลมุ ในบริเวณโบราณสถานเมอื งอยธุ ยา

ภูมศิ าสตร์[] สภาพภมู ิอากาศ[] สัญลักษณป์ ระจาจังหวัด[  คาขวญั ประจาจงั หวดั : ราชธานีเกา่ อูข่ ้าวอนู่ ้า เลิศล้ากานท์กวี คนดีศรีอยุธยา เลอ คุณค่ามรดกโลก  ตราประจาจงั หวัด : รปู สงั ข์ซึ่งประดิษฐานอยู่ในพานแว่นฟ้าภายในปราสาทใต้ต้น หมัน ซึ่งนับถือกนั [ใครกลา่ ว?] วา่ เปน็ สัญลักษณ์อันประเสริฐ  ต้นไม้ประจาจงั หวดั : หมัน a  ดอกไม้ประจาจงั หวดั : ดอกโสน (สะ-โหน) ( ba)  สตั วน์ ้าประจาจงั หวดั : กุ้งกา้ มกรามหรือกุ้งสมเด็จ (obrbergii) การเมอื งการปกครอง[ ประวัตกิ ารแบง่ เขตการปกครอง[] ในสมยั อาณาจักรอยุธยามกี ารแบ่งการปกครองในราชธานอี อกเปน็ 2 ส่วนใหญ่ ๆ ได้แก่ การปกครองภายในบรเิ วณกาแพงเมือง และภายนอกบริเวณกาแพงเมือง โดยในบรเิ วณ กาแพงเมอื งกจ็ ะแบ่งออกเปน็ 4 แขวง ได้แก่ แขวงขนุ ธรณีบาล แขวงขนุ โลกบาล แขวง ขนุ ธราบาล และแขวงขนุ นราบาล ต่อมาในสมัยอาณาจักรธนบรุ ีจนถึงรัชสมัย พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกลา้ เจา้ อย่หู วั ได้รวมทงั้ 4 แขวงภายในกาแพงเมอื งเป็นแขวง เดียวกนั

เรียกวา่ แขวงรอบกรงุ และขยายอาณาเขตออกมาเทา่ ที่มีอยู่ในปจั จบุ ัน และต่อมาเปล่ยี น มาเป็นอาเภอรอบกรุง อาเภอกรงุ เกา่ และอาเภอพระนครศรีอยุธยาในปัจจบุ นั ตามลาดบั สว่ นการปกครองภายนอกบรเิ วณกาแพงเมอื ง บริเวณนอกกาแพงเมอื งแบง่ ออกเปน็ 3 แขวง ได้แก่ แขวงขุนนคร แขวงขุนอุทัย และแขวงขุนเสนา และต่อมามีการแบง่ ออกเปน็ แขวงต่าง ๆ ดงั น้ี  แขวงขนุ นคร อยู่ทางทิศเหนอื และตะวันออกเฉยี งเหนอื ของกาแพงพระนครต้ังแต่ ลาน้าลพบรุ ีและลุ่มน้าป่าสกั ต่อมามกี ารแบ่งออกเป็นแขวง คือ ทางดา้ นตะวันตก เปน็ แขวงนครใหญ่และด้านตะวนั ออกเป็น แขวงนครนอ้ ย  แขวงขนุ อทุ ัย อยู่ทางใต้ต้งั แต่เขตของแขวงขนุ นครตลอดลงมายังมายังแม่น้า เจา้ พระยาด้านตะวันออก ต่อมาไดม้ ีการแบง่ ออกเป็นแขวง คือ แขวงอุทัยใหญ่ และ แขวงอทุ ัยน้อย  แขวงขนุ เสนา อยู่ทางด้านตะวันตกมีอาณาเขตด้านเหนือจรดตะวนั ตกเฉียงใต้ของ แขวงขุนนครและตะวนั ตกของแมน่ า้ เจ้าพระยา ต่อมาได้มีการแบ่งออกเปน็ แขวง คอื แขวงเสนาใหญ่ ทางด้านตะวนั ตก และแขวงเสนาน้อย ทางด้านตะวนั ออก ดังนัน้ ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกลา้ เจ้าอยู่หัว แขวงในจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยาจึง มที ัง้ หมด 7 แขวง ไดแ้ ก่ แขวงรอบกรุง แขวงนครใหญ่ แขวงนครนอ้ ย แขวงอุทยั ใหญ่ แขวงอุทัยน้อย แขวงเสนาใหญ่ และแขวงเสนาน้อย ต่อมาในรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ไดม้ กี ารจัดระเบียบการปกครองเป็นมณฑลเทศาภิบาล มีการรวมเมืองเข้าด้วยกนั เป็น มณฑล เปลย่ี นคาเรยี กเมืองเปน็ จังหวัด แขวงจึงตอ้ งเปลยี่ นเปน็ อาเภอตามไปดว้ ย และ ต่อมาสมเดจ็ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้นไดท้ รง ดาริว่า อาเภอแต่ละอาเภอมีพลเมืองมากและมีท้องที่กว้าง จึงให้แบง่ เขตการปกครอง ออกไปอกี ในทกุ อาเภอ ยกเว้นอาเภอรอบกรงุ อาเภออุทยั ใหญ่ และอาเภออุทัยน้อย ดังน้ี  อาเภอนครใหญ่ ให้ทางตอนเหนอื คงเป็นอาเภอนครใหญ่ และแบ่งเขตท้องทต่ี อนใต้ ออกเป็นอาเภอนครใน  อาเภอนครน้อย ใหท้ างตอนเหนอื คงเปน็ อาเภอนครน้อย และแบ่งเขตท้องทต่ี อนใต้ ออกเป็นอาเภอนครกลาง  อาเภอเสนาใหญ่ ให้ทางด้านทิศเหนือคงเปน็ อาเภอเสนาใหญ่ และแบง่ เขตท้องท่ีดา้ น ทศิ ใตอ้ อกเป็นอาเภอเสนากลาง  อาเภอเสนานอ้ ย ให้ทางด้านทิศใตค้ งเป็นอาเภอเสนาน้อย และแบง่ เขตท้องท่ีด้านทศิ เหนือออกเป็นอาเภอเสนาใน ต่อมาได้มกี ารเปล่ยี นชอ่ื อาเภอต่าง ๆ โดยในปี พ.ศ. 2443 เปล่ยี นชือ่ อาเภออุทัยน้อยเป็น อาเภอพระราชวัง ในปี พ.ศ. 2446 เปล่ยี นช่อื อาเภอนครกลางเป็นอาเภอนครหลวงมา จนถึงปัจจบุ ัน ในปี พ.ศ. 2450 ได้แบ่งเขตท้องทอี่ าเภอพระราชวงั ด้านตะวันออกรวมกบั อาเภออทุ ัยใหญ่ด้านใต้ แลว้ ยกขึ้นเปน็ อาเภออุทัยน้อย แทนอาเภออุทัยน้อยเดมิ ทไ่ี ด้เปลี่ยน ชอ่ื เป็นอาเภอพระราชวงั เม่ือปี พ.ศ. 2443 และมีการเปลีย่ นชอ่ื อาเภอตา่ ง ๆ อกี คร้งั หน่ึง

เพ่ือให้ตรงกับช่อื ตาบลท่ีตั้งของทวี่ ่าการอาเภอ อาเภอตา่ ง ๆ ของจังหวัด พระนครศรีอยุธยาจึงได้มีการเปล่ียนแปลงชอื่ ใหม่ ดังน้ี[5] • อาเภอรอบกรงุ เปล่ียนเป็นอาเภอกรุงเก่า และเปล่ียนเป็นอาเภอพระนครศรีอยธุ ยา ตามลาดับ • อาเภอนครใหญ่ เปล่ียนเปน็ อาเภอมหาราช • อาเภอนครใน เปล่ียนเปน็ อาเภอบางปะหัน • อาเภอนครน้อย เปลี่ยนเป็นอาเภอทา่ เรือ • อาเภอนครหลวง คงเป็นอาเภอนครหลวงดงั เดิม • อาเภอเสนาใหญ่ เปลีย่ นเป็นอาเภอผกั ไห่ • อาเภอเสนาใน เปลี่ยนเป็นอาเภอบางบาล • อาเภอเสนากลาง เปลี่ยนเป็นอาเภอเสนา • อาเภอเสนาน้อย เปลีย่ นเป็นอาเภอราชคราม และเปล่ียนเปน็ อาเภอบางไทร ตามลาดบั • อาเภอพระราชวัง เปลยี่ นเป็นอาเภอบางปะอิน • อาเภออทุ ัยใหญ่ เปล่ียนเป็นอาเภออุทัย • อาเภออทุ ัยนอ้ ย เปลี่ยนเป็นอาเภอวงั นอ้ ย และอีก 4 กง่ิ อาเภอไดแ้ ก่ กง่ิ อาเภอลาดบวั หลวง (ขนึ้ กับอาเภอบางไทร), ก่งิ อาเภอภาชี (ขึน้ กับอาเภออุทัย), กิ่งอาเภอบางซ้าย (ขึน้ กับอาเภอเสนา) และกิ่งอาเภอบา้ นแพรก (ขน้ึ กบั อาเภอมหาราช) ได้รบั การยกฐานะขน้ึ เป็นอาเภอตามลาดบั จนครบในปี พ.ศ. 2502

การแบ่งเขตการปกครองในปัจจบุ นั [ การปกครองสว่ นภมู ภิ าค[] แผนทอ่ี าเภอในจังหวัดพระนครศรอี ยุธยาในปจั จบุ ัน ปัจจุบันจังหวดั พระนครศรีอยุธยาประกอบดว้ ย 16 อาเภอ ได้แก่ 1. อาเภอพระนครศรอี ยุธยา 2. อาเภอท่าเรือ 3. อาเภอนครหลวง 4. อาเภอบางไทร 5. อาเภอบางบาล 6. อาเภอบางปะอนิ 7. อาเภอบางปะหัน 8. อาเภอผักไห่ 9. อาเภอภาชี 10. อาเภอลาดบัวหลวง 11. อาเภอวงั นอ้ ย 12. อาเภอเสนา 13. อาเภอบางซา้ ย 14. อาเภออทุ ัย 15. อาเภอมหาราช 16. อาเภอบ้านแพรก

การปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ จงั หวัดพระนครศรีอยุธยามีองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นจานวนท้ังส้นิ 158 แห่ง แบ่ง ออกเป็น องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด 1 แห่ง คือ องค์การบริหารส่วนจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา, เทศบาลนคร 1 แหง่ คอื เทศบาลนครพระนครศรอี ยุธยา, เทศบาล เมือง 4 แหง่ , เทศบาลตาบล 31 แหง่ , และองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล 121 แห่ง โดย เทศบาลสามารถจาแนกได้ตามอาเภอต่าง ๆ ดังน้ี เศรษฐกิจ[ สวนอุตสาหกรรมโรจนะในชว่ งมหาอุทกภัย พ.ศ. 2554 จงั หวดั พระนครศรีอยุธยาถอื เป็นจงั หวัดท่มี ีการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ อย่างต่อเน่อื ง โดยมี ผลติ ภัณฑ์มวลรวมของจงั หวัดมมี ูลคา่ สูงเปน็ อนั ดับที่ 3 ของประเทศ รองจากจงั หวัด ระยอง และจังหวัดชลบรุ ี ทงั้ น้ีจงั หวดั

พระนครศรีอยธุ ยาอยูใ่ นเขตส่งเสรมิ การลงทนุ เขต 2 มีนิคมอตุ สาหกรรม 3 แหง่ ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน, นิคมอุตสาหกรรมบ้านหว้า (ไฮเทค), นิคมอุตสาหกรรมสห รตั นนคร และมีเขตประกอบการอตุ สาหกรรม 3 แหง่ ได้แก่ เขตประกอบการอตุ สาหกรรม แฟตเตอรี่แลนด์วงั น้อย สวนอุตสาหกรรมโรจนะ และสวนอุตสาหกรรมโรจนะ 2 ประชากร[ สถิตปิ ระชากร ตามทะเบยี นราษฎร จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา ปี ประชากร ±% 2549 753,986 — 2550 760,712 +0.9% 2551 769,126 +1.1% 2552 775,157 +0.8% 2553 782,096 +0.9% 2554 787,653 +0.7% 2555 793,509 +0.7%

ส่วนนี้รอเพิม่ เติมข้อมูล คุณสามารถชว่ ยเพ่ิมข้อมลู ส่วนนี้ได้ โครงสร้างพน้ื ฐาน[แก้] การศกึ ษา[ สถานศกึ ษาในระดบั อดุ มศึกษา  มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา  มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ สานักอธกิ ารบดี หนั ตรา  มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภูมิ ศนู ย์วาสุกรี  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวทิ ยาลัย  มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวทิ ยาลยั สถาบันเทคโนโลยีแห่งอโยธยา

 สถานศึกษาในระดบั อาชีวศกึ ษา  สถาบันอาชีวศึกษาภาครัฐ  วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยา อาเภอพระนครศรีอยุธยา  วิทยาลัยเทคนิคพระนครศรอี ยุธยา อาเภอพระนครศรอี ยธุ ยา  วิทยาลัยเทคนิคพระนครศรอี ยุธยา (วดั นิเวศธรรมประวัตริ าชวรวิหาร) อาเภอบาง ปะอนิ  วทิ ยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรมยานยนต์ อาเภออุทยั  วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรอื พระนครศรีอยธุ ยา อาเภอ พระนครศรีอยุธยา  วิทยาลัยสารพัดชา่ งพระนครศรีอยธุ ยา อาเภออุทัย  วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศนู ย์ศลิ ปาชีพบางไทร อาเภอบางไทร  วิทยาลัยการอาชีพเสนา อาเภอเสนา  วิทยาลัยการอาชพี มหาราช อาเภอมหาราช  สถาบันอาชวี ศึกษาเอกชน  วิทยาลัยเทคโนโลยีพณชิ ยการอยุธยา อาเภอพระนครศรีอยธุ ยา  วิทยาลัยเทคโนโลยีบรหิ ารธรุ กจิ อยุธยาอาเภอพระนครศรีอยุธยา  วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยอโยธยาบริหารธุรกจิ อาเภอพระนครศรีอยุธยา  วทิ ยาลัยเทคโนโลยีอยธุ ยา อาเภอพระนครศรีอยุธยา  วิทยาลัยเทคโนโลยีผดุงเสนาบริหารธรุ กิจ อาเภอเสนา  โรงเรยี นกรงุ เทพการบญั ชวี ิทยาลัย (บา้ นออ้ วทิ ยาคาร) อาเภอผกั ไห่

การขนส่ง[ ถนน[  ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 1 (ถนนพหลโยธนิ )  ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32  ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 33  ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 308  ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 309  ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340  ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 347  ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 352  ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 356 การเดินทางเขา้ สู่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา  ทางหลวงหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธนิ ) ผ่านประตูนา้ พระอนิ ทร์แลว้ แยกเขา้ ทาง หลวงหมายเลข 32 เลี้ยวซา้ ยไปตามทางหลวงหมายเลข 309 เขา้ ส่จู งั หวัด พระนครศรีอยุธยา

รถโดยสารประจาทาง[ ปจั จุบนั รถโดยสารประจาทางสาย กรุงเทพฯ-อยุธยา มีให้บรกิ าร 2 ประเภท[7] 1.รถบสั ประเภท ปรับอากาศช้ัน 2 สายที่ 901 กรุงเทพฯ (หมอชติ ใหม่) -อยุธยา ให้บริการอยู่ที่ ท่ารถไปกรุงเทพฯ (ถนนนเรศวร) 2.รถตู้ ประเภท มาตรฐาน 2 (จ) 2 (ต) 2 (ช) รถโดยสารประจาทางพัดลม สายสุพรรณบรุ ี – อยธุ ยา ประเภทรถ ตน้ ทาง เวลาบริการ ค่าโดยสาร เวลาเดนิ ทาง ปรบั อากาศชั้น 1 (ไม่มีการใหบ้ ริการแล้ว) กรงุ เทพ 69 1 ช่วั โมง 30 นาที ปรบั อากาศชน้ั 1 (ไม่มีการใหบ้ รกิ ารแล้ว) อยธุ ยา 69 1 ชว่ั โมง 30 นาที ปรับอากาศชน้ั 2 กรุงเทพ 53 1 ช่วั โมง 30 นาที ปรับอากาศชั้น 2 อยธุ ยา 05:00 07:00 16:30 เสาร์-อาทิตย์และวันหยุดพเิ ศษ 07:00 09:00 16:30 53 1 ชว่ั โมง 30 นาที

รถไฟ[ สถานรี ถไฟอยุธยา การเดินทางไปจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา สามารถใชบ้ รกิ ารรถไฟโดยสารท่มี ีปลายทางสู่ ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ขบวนรถไฟจะผ่านจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยาใน เขตอาเภอบางปะอนิ อาเภอพระนครศรีอยธุ ยา และอาเภอภาชี ทางรถไฟจะแยกไป ภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ที่สถานรี ถไฟชุมทางบา้ นภาชี การคมนาคมภายในตวั จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา[  รถสามล้อเคร่ือง คิดคา่ โดยสารตามระยะทาง (เป็นรถเหมา)  รถสามล้อถีบ คิดค่าโดยสารตามระยะทาง  รถจกั รยานยนต์รับจ้าง คิดค่าโดยสารตามระยะทาง  รถสองแถว มหี ลายสาย คดิ คา่ โดยสารตามระยะทาง

สถานทีส่ าคัญ[ วัดพระศรีสรรเพชญ์ พระราชวงั โบราณ อยธุ ยา วัดใหญช่ ยั มงคล

หอวิฑรู ทัศนาและพระท่นี งั่ เวหาศนจ์ ารูญในพระราชวังบางปะอิน  ศนู ยท์ ่องเท่ียวอยุธยา (A)  ศูนย์ศึกษาประวัติศาสตร์อยุธยา  พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา  อุทยานประวตั ิศาสตรพ์ ระนครศรีอยุธยา  วัดพระศรีสรรเพชญ์  พระราชวังโบราณ อยุธยา o พระทน่ี ่งั วิหารสมเด็จ o พระทน่ี ั่งสรรเพชญ์ปราสาท o พระที่นง่ั สุริยาสน์อมรนิ ทร์ o พระที่นง่ั จักรวรรดิไ์ พชยนต์ o พระท่ีนง่ั ตรีมุข o พระทน่ี ง่ั บรรยงค์รัตนาสน์

 วัดไชยวัฒนาราม  วดั ใหญช่ ัยมงคล  วัดสวุ รรณดาราราม  วัดสะตือ  ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร  พระราชวงั บางปะอิน  คลองรางจระเข้  เพนียดคลอ้ งชา้ ง  พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม  เขือ่ นพระรามหก เข่อื นทดน้าแหง่ แรกในประเทศไทย เมืองพีเ่ มืองน้อง[  เมอื งหนานซาง สาธารณรฐั ประชาชนจนี  เมอื งกมุ ประเทศอิหร่าน  เมืองวีเซียบส์ สาธารณรฐั เบลารุส  นครเทยี นจนิ สาธารณรฐั ประชาชนจีน  เมืองแคนดี้ ประเทศศรลี งั กา  เมืองเกียวโต ประเทศญ่ีปนุ่

บคุ คลทม่ี ชี ่อื เสียง[ ด้านศาสนา  สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ศร)ี สมเด็จพระสงั ฆราชพระองค์ แรกแหง่ กรงุ รตั นโกสินทร์ เสด็จสถติ ณ วัดบางหว้าใหญ่  สมเด็จพระอรยิ วงศาคตญาณ สมเด็จพระสงั ฆราช (วาสน์ วาสโน) สมเด็จ พระสังฆราชพระองค์ที่ ๑๘ แห่งกรงุ รัตนโกสินทร์ เสด็จสถติ ณ วัดราชบพิธสถิต มหาสีมารามราชวรวหิ าร  สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรฺ หฺมรส)ี สมเด็จพระราชาคณะ อดตี เจา้ คณะใหญ่ อรญั วาสี อดีตเจ้าอาวาสวดั ระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร  สมเด็จพระวนั รัต (ฑติ อุทโย) สมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าคณะใหญห่ นใต้ อดีต อธบิ ดสี งฆ์วดั มหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร  สมเด็จพระวันรตั (จา่ ย ปุณฺณทตฺโต) สมเดจ็ พระราชาคณะ อดีตกรรมการมหาเถร สมาคม อดีตเจา้ คณะใหญห่ นใต้ และอดีตเจ้าอาวาสวัดเบญจมบพติ รดสุ ิตวนาราม ราชวรวหิ ารรูปแรก

 สมเด็จพระวนั รัต (ทรพั ย์ โฆสโก) สมเดจ็ พระราชาคณะ อดตี ผปู้ ฏิบตั หิ นา้ ที่สมเด็จ พระสังฆราช อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม อดีตเจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก อดีต สมาชกิ สงั ฆสภาอดีตสงั ฆมนตรวี า่ การองค์การปกครอง อดีตเจ้าอาวาสวัดสังเวชวิ ศยารามวรวหิ าร  สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟืน้ ชุตินธฺ โร) สมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจา้ คณะ ใหญ่หนกลาง อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม อดีตแม่กองบาลสี นามหลวง อดีตเจ้า อาวาสวัดสามพระยา  สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (พุฒ สุวฑฺฒโน) สมเด็จพระราชาคณะ อดตี คณะผู้ ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีสมเด็จพระสังฆราช อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม และอดีตเจา้ อาวาส วัดสุวรรณารามราชวรวหิ าร  สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เสงย่ี ม จนฺทสิริ) สมเด็จพระราชาคณะ อดีตกรรมการมหา เถรสมาคม อดีตเจา้ คณะใหญห่ นเหนอื อดีตเจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราช วรมหาวหิ าร  สมเด็จพระมหาธีราจารย์ (นยิ ม ฐานสิ ฺสโร) สมเด็จพระราชาคณะ อดตี คณะผู้ ปฏิบัตหิ น้าที่สมเด็จพระสังฆราช อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม และอดีตเจ้าอาวาส วดั ชนะสงครามราชวรมหาวิหาร อดีตเจ้าคณะใหญห่ นกลาง  สมเด็จพระพุทธชนิ วงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม) (นามเดิม:สมศกั ด์ิ ชมู าลัยวงศ์) สมเด็จ พระราชาคณะ อดตี คณะผู้ปฏิบัตหิ น้าท่ีสมเด็จพระสงั ฆราช กรรมการมหาเถ สมาคม เจา้ คณะใหญห่ นกลาง เจา้ อาวาสวัดพิชยญาตกิ ารามวรวิหาร

 พระพรหมมุนี (สุชิน อคคฺ ชิโน) พระราชาคณะเจ้าคณะรอง กรรมการมหาเถร สมาคม เจ้าคณะภาค๑๔-๑๕ (ธรรมยุต) แมก่ องธรรมสนามหลวง เลขานกุ ารสมเดจ็ พระสังฆราช ผชู้ ่วยเจา้ อาวาสวดั ราชบพิธสถิตมหาสมี ารามราชวรวหิ าร รักษาการ เจา้ คณะภาค๔-๗ (ธรรมยุต)  พระธรรมปัญญาบดี (พรี ์ สุชาโต) พระราชาคณะเจา้ คณะรอง ท่ปี รกึ ษาเจา้ คณะ กรุงเทพมหานคร นายกสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อธบิ ดสี งฆ์ วดั มหาธาตุยุวราชรังสฤษฎ์ิราชวรมหาวหิ ารรปู ปจั จุบนั  พระครวู ิหารกิจจานุการ (ปาน โสนนโฺ ท) หรอื หลวงพ่อปานวดั บางนมโค พระ เกจอิ าจารยช์ ือ่ ดงั อดตี เจ้าอาวาสวดั บางนมโค อาเภอเสนา  หลวงพ่อจง พุทธสโร พระเกจิอาจารยช์ ่ือดัง อดีตเจ้าอาวาสวดั หนา้ ตา่ ง นอก อาเภอบางไทร  พระครูสังวรสมณกิจ (ทมิ อตฺตสนโฺ ต) พระเกจิอาจารยช์ ื่อดงั อดีตเจา้ อาวาสวัด พระขาว อาเภอบางบาล  แมช่ ีศันสนีย์ เสถียรสุต พทุ ธสาวกิ าในพุทธศาสนาและยังเป็นเป็นวทิ ยากรประจา และผู้ก่อตง้ั เสถียรธรรมสถาน  เออ้ื น กลิน่ สาลี อดีตพระราชาคณะเจ้าคณะรอง อดีตเจ้าอาวาสวัดสามพระยา อดตี เจ้าคณะกรงุ เทพมหานคร ถกู ถอดถอนสมณศกั ด์ิ 30 พฤษภาคม 2561

 ไพบลู ย์ วัฒนศิรธิ รรม อดีตรองนายกรฐั มนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ พัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ ในคณะรัฐมนตรคี ณะท่ี 56  วบิ ลู ย์ สงวนพงศ์ ปลดั กระทรวงมหาดไทย  พ.อ. ณรงค์ กิตตขิ จร อดตี สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฏรจังหวัด พระนครศรอี ยธุ ยา อดีตสมาชกิ สภานติ ิบญั ญัติแห่งชาติ ปี 2515 2534  สมยศ พมุ่ พันธ์มุ ่วง นายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ด้านศลิ ปวฒั นธรรมและบนั เทงิ  หลวงกัลยาณมิตตาวาส (ทบั พาทยโกศล) ครูดนตรีไทย และต้นสกุลพาทยโกศล เป็นบดิ าของจางวางท่วั พาทยโกศล  รวงทอง ทองลั่นธม นักรอ้ งวงดนตรกี รมประชาสมั พันธ์ และวงสุนทราภรณ์  ส.พลายน้อย (ชอ่ื จริง สมบัติ พลายน้อย) ศิลปินแหง่ ชาติสาขาวรรณศลิ ป์ และ นักเขยี นสารคดปี ระวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมชื่อดัง  สุชาติ สวัสด์ิศรี ศิลปินแหง่ ชาติสาขาวรรณศลิ ป์ นกั เขียนเจ้าของนามปากกาสงิ ห์ สนามหลวง ผ้กู อ่ ตั้งรางวลั ชอ่ การะเกด  สรพงศ์ ชาตรี นักแสดง และศลิ ปินแหง่ ชาติ สาขาศิลปะการแสดง














Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook