Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 18 ต้นทำมัง

18 ต้นทำมัง

Description: 18 ต้นทำมัง

Search

Read the Text Version

กศน.อาเภอชะอวด มาอา่ นซิว่า พชื ผกั สมุนไพร ที่ ครู กศน.อาเภอชะอวด ปลกู มี สรรพคุณ และประโยชนอ์ ะไรบ้าง

ชอื่ ท้องถ่นิ : ต้นทามัง ตน้ ชะมัง และแมงดา ชื่อวิทยาศาสตร์ : Litsea Petiolata Hook.f. ช่ือวงศ์ : LAURACEAE เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง มีถ่ินกาเนิด แหลมมาลายู และ ภาคใต้ของไทย ลาต้นสูงเท่าที่เห็น คือราวๆ 5-10 เมตร ลาต้น ตรง ก่ิงก้านแตกเป็นทรงพุ่มราว 4-6 เมตร ทรงพุ่มรูปกรวย กว้างหรือรูปไข่ ไม่ผลัดใบ เปลือกต้นสีน้าตาลอมเทา ผิวเปลือก ต้น ค่อนข้างเรียบ แต่บางต้นอาจแตกเป็นสะเก็ดเล็ก และมี รอยดา่ งสีขาวกระจายทั่วไป เปลือกอ่อนใกลย้ อดสีเขียว ไ ม้ ต้ น น้ี พ บ มี ข้ึ น ต า ม ป่ า ธ ร ร ม ช า ติ ใ น ป่ า โ ป ร่ ง ป่าเบญจพรรณ เฉพาะถ่ินทางภาคใต้เพียงถ่ินเดียว โดยคนใน พื้นที่ทางภาคใต้จะรู้จักและคุ้นเคยกับ ต้น “ทามัง” เป็นอย่างดี เน่ืองจาก เปลือกของต้น “ทามัง” แบบสดจะมี กล่ินหอมแรงเหมือนกับกล่ินตัวแมงดา

จริงๆมาก ทาให้คนในพื้นที่นิยมถากเอาเปลือกต้นสดไปปรุง ผสมกับน้าพริกกะปิหรือน้าพริกชนิดต่างๆ ช่วยเพิ่มกล่ินหอม แทนการใชแ้ มงดาจรงิ ๆได้ รับประทานอร่อยมาก ชาวบ้าน ในพ้ืนท่ีมีเรื่องเล่าเป็นตานานเกี่ยวกับต้น “ทามัง” มาแต่โบราณอีกด้วยว่า ตัวแมงดาจริงๆ ชอบบินเข้า ไปวางไขไ่ ว้บนต้น “ทามงั ” เปน็ ประจาเม่อื ถึงฤดูวางไข่ จากนั้น จะรอจนกระท่ังมีลมพายุพัดมากระทบกับต้น “ทามัง” ตาม ธรรมชาติในช่วงก่อนฤดูฝนเล็กน้อยแล้วพัดเอาตัวแมงดาตัว น้อยๆ ท่ีเกิดจากไข่ที่วางไว้บนต้น “ทามัง” บินกระจายไปใน ท้องท่ีอ่ืนมากมาย จึงถูกต้ังชื่อว่าต้น “ทามัง” ดังกล่าว หรืออีก ช่อื วา่ “ไม้แมงดา” ท า มั ง ห รื อ “ไ ม้ แมงดา” มีลักษณะทาง พฤกษศาสตร์เป็นไม้ยืนต้น สูง 10-15 เมตร ใบเป็นใบ เดี่ยว ออกเรียงสลับเป็นรูป ไข่กว้าง ปลายและโคนใบ มน ขอบใบเรียบ เน้ือใบ

ค่อนข้างหนา สีเขียวสดและเป็นมัน ใบดกหนาแน่นมาก ดอก ออกเป็นช่อตามก่ิงก้าน กลีบดอกเป็นสีขาวและเป็นปุย “ผล” เปน็ รปู ทรงกลม ผลสกุ เปน็ สดี า ภายในมีเมล็ดมีดอกและ ติดผลเกอื บท้งั ปี ขยายพันธุด์ ้วยเมล็ด และตอนกิ่ง มีชื่อเรียกอีกคือ แมงดา ต้นชะมัง และ กาดสลอง ทางอาหาร ใบสดใส่แกงเผ็ด ใบและเปลือกต้นกับผล แก่ตากับน้าพริกกะปิทาให้มีกล่ินหอม ใบอ่อนดอกอ่อนผลอ่อน ลวกกินเป็นผักเหนาะอร่อยมาก ทางยา เปลือกต้นปรุงเป็นยา ขบั ลมในลาไส้ แก้ท้องอืดทอ้ งเฟอ้ และแก้จุกเสียดดมี าก สรรพคณุ - ใบ เปลอื ก ผล ใชข้ บั ลม แก้ทอ้ งอดื ท้องเฟ้อ บารงุ เลอื ด

ลักษณะท่วั ไป - ใบ เป็นใบเด่ียวออกเวียนสลับตามก่ิง มีก้านใบยาว 1-3 ซม. สีเขียว ใบรูปทรงรี โคนใบมนกลม ปลายใบแหลมมีติ่ง เล็กน้อย กว้าง 4-8 ซม.ยาว 6-10 ซม.ขอบใบเป็นคล่ืน ผิวใบ ด้านบนย่นเป็นลอน ใบอ่อนสีน้าตาล อมชมพู ใบสีเขียว ดา้ นล่างสจี างเลก็ น้อย แต่ละใบมีเส้นแขนง 5-9 คู่ - ดอก ออกเป็นช่อกระจุกราว 6-8 ดอก ตามก่ิงแก่ สีเหลืองอมเขียว มีกล่ินหอม ดอกตูมทรงกลม กลีบรวมเรียง 2 ช้ันๆ ละ 3 กลีบ สีเขียวคล้ายช้อน มีเกสรเพศผู้ 12 อัน เส้น ผ่านศูนย์กลางของดอก 0.4-0.7 ซม. ก้านดอกยาวราว 1 ซม. ออกดอกเดอื นประมาณกุมภาพนั ธ์-มีนาคมของทุกปี - ผล รูปทรง ทรงกลมรีคล้ายรปู ไข่ กวา้ ง 0.5-0.8 ซม. ยาว 1-1.5 ซม. สีเขยี วเขม้ เมอื่ สุกสนี ้าเงินเข้ม ปลายแยกเป็น 6 แฉก ด้านในมเี มล็ดสีนา้ ตาล

นิเวศวิทยา พบตามป่าโปร่ง ทร่ี าบเชงิ เขาทมี่ ีความชื้นสูง การใช้ประโยชนด์ ้านสมุนไพร เปลอื ก ขับลม แก้ท้องอดื ทอ้ งเฟ้อ และจุกเสียด

ประโยชน์ - นยิ ม ใช้ ใบอ่อน นามาทาเปน็ ผกั จ้ิม - ใบแก่ เปลือก นิยมนามาตากบั นา้ พริก - ให้กลิน่ คล้ายกลน่ิ แมงดานา เหมาะสาหรบั คนที่ รับประทานมงั สวริ ัติ - ลาตน้ ในอดีตนิยมนามาทาเป็นไม้กระดาน ซงึ่ เน้อื ไม้ ปลวกหรือ มอด จะไมก่ ดั กนิ - นิยมนาไมม้ าทาสาก ตานา้ พรกิ เนอ่ื งจากให้กลิ่นคล้าย กับกลน่ิ แมงดานาตัวผู้

ต้นทามังเป็นไม้หวงห้ามประเภท ข ทามังพบกระจาย ในเขตร้อนและ ก่ึงร้อนของเอเชีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และ อเมริกา ส่วนใหญ่จะข้ึน อยู่ตามท่ีช้ืนในหุบเขา ตามริมลาธาร ในป่าดงดิบจนถึงในป่าพรุ แต่ไม่ค่อย พบในป่าบนภูเขาเป็นไม้ ยืนต้นขนาดกลาง สงู 30-44 เมตร โตค่อนข้างชา้ ใบแก่จะฉุนและเผ็ดมากกว่าใบอ่อน เนื้อไม้แข็งมีกลิ่น ฉุน นิยมนาไม้มาทาสากและใช้ในการก่อสร้างทั่วไป ต้นท่ีมี ขนาดใหญ่สามารถนามาเลื่อยทาไม้กระดานได้ ปัจจุบัน ถูกตัด ทาลายจนเกือบสูญพันธุ์ จากการที่ต้นทามังมีกลิ่นแมงดาอย่ใู น ส่วนของใบ เปลือกลาต้น และเน้ือไม้ ชาวบ้านในภาคใต้ จึง นิยมนาใบอ่อนมาทาเป็นผักใช้ผสมลงใน แกงเลียง เพ่ือให้มี กลิน่ ฉนุ ของแมงดาติดอยู่ เมื่อนาใบแก่มายา่ งไฟ แล้วตาผสมลง

ในน้าพริกก็จะได้น้าพริกกลิ่นแมงดา นอกจากน้ันยังมีการนาไม้ ทามัง มาทาสากสาหรับตาน้าพริกท่ีต้องการให้มีกลิ่นแมงดาได้ อีกด้วย ต้นทามังจึงควรเป็นพืชท่ีปลูกข้ึนมาเพื่อใช้ประโยชน์ใน ครัวเรอื น กอ่ นทพ่ี ชื ชนิดนจ้ี ะสูญไปจากเมอื งไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook