Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 4 ผักเหลียง ประโยชน์และสรรพคุณของผักเหลียง

4 ผักเหลียง ประโยชน์และสรรพคุณของผักเหลียง

Description: 4 ผักเหลียง ประโยชน์และสรรพคุณของผักเหลียง

Search

Read the Text Version

กศน.อาเภอชะอวด มาอา่ นซิว่า พชื ผกั สมุนไพร ที่ ครู กศน.อาเภอชะอวด ปลกู มี สรรพคุณ และประโยชนอ์ ะไรบ้าง

ผกั เหลยี ง ผกั เหลียง (Baegu) จัดเปน็ ผักเศรษฐกิจหลกั ของภาคใต้ นิยมใชใ้ บ อ่อนประกอบอาหาร อาทิ ผดั ผดั เหลยี ง แกงเหลยี ง ผดั ใสไ่ ข่ แกงจืด หอ่ หมก ลวกจม้ิ น้าพรกิ หรือรบั ประทานสดค่กู ับกบั ขา้ ว มีราคาขาย อยู่ในช่วงกิโลกรมั ละ 80-100 บาท • วงศ์ : Gnetaceae • ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Gnetum gnemon var. tenerum • ชื่อสามญั : Baegu • ชื่อทอ้ งถ่นิ : – ผักเหลียง (ทกุ ภาค)

– ผกั เหมยี ง (พงั งา, ภูเก็ต, กระบ)่ี – ผักเขลียง (สรุ าษฎรธ์ าน,ี นครศรธี รรมราช) – ผักเปรยี ง (นครศรีธรรมราช) – กะเหรียง (บางทอ้ งถิ่นของจงั หวดั ชมุ พร) ถน่ิ กาเนดิ และการแพร่กระจาย ผกั เหลียงเป็นพันธไ์ุ ม้ปา่ มถี ิน่ กา้ เนิดในทวีปเอเชยี บริเวณ คาบสมุทรมาลายู พบแพร่กระจายทง้ั ในประเทศไทย มาเลเซยี และ หมเู่ กาะบอรเ์ นียว เติบโตไดด้ ีในภูมอิ ากาศรอ้ นชืน้ พบแพร่กระจาย บนพื้นท่ีสูงกวา่ ระดบั น้าทะเล 50-200 เมตร โดยประเทศไทยพบ แพร่กระจายทวั่ ไปบรเิ วณเชิงเขา และทีร่ าบในภาคใต้ บริเวณ จังหวดั ชุมพร สุราษฎร์ธานี ระนอง พงั งา และกระบี่ [1], [2] สายพันธ์ผุ กั เหลียง ผกั เหลยี ง พบประมาณ 6 สายพนั ธุ์ พันธทุ์ ี่นยิ มปลกู และ รับประทานมากแบง่ เป็น 2 สายพันธ์ุ ไดแ้ ก่ 1. Gnetum gnemom var. genemon พบแพรก่ ระจาย และปลูกมากในประเทศอนิ โดนีเซยี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ มาเลเซยี ปาปัว นวิ กีนี 2. Gnetum gnemom var. tenerum พบแพร่กระจาย และ ปลกู ในภาคภาคใตข้ องไทย

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ (พันธ์ุ tenerum) ลาต้น ผกั เหลียง เป็นไมย้ ืนตน้ ขนาดเลก็ มีลักษณะเป็นทรงพมุ่ เตี้ยๆ ลา้ ตน้ มขี นาด 10-30 มิลลเิ มตร สูงประมาณ 2-3 เมตร ลา้ ตน้ และ ก่งิ มลี กั ษณะเปน็ ขอ้ ๆ ลา้ ตน้ แตกกง่ิ แขนงมาก และแตกไหลออก ดา้ นข้าง จนแลดเู ป็นทรงพมุ่ หนาทบึ เปลอื กลา้ ตน้ มีสนี ้าตาล กิง่ ออ่ นมีสีเขยี วเขม้ แตล่ ะกิง่ ไม่มีการสลัดทง้ิ ก่งิ ลา้ ตน้ เปน็ ไมเ้ น้ืออ่อน ก่งิ เปราะหักงา่ ย ใบ ผกั เหลยี ง เปน็ พืชใบเล้ียงคู่ มลี ักษณะใบคล้ายใบยางพารา ใบ แตกออกท่ีปลายกงิ่ แขนง แตกออกเปน็ ใบเด่ยี วตรงขา้ มกันเป็นคๆู่ ใบมลี ักษณะรี มีกา้ นใบยาวประมาณ 1 – 2 เซนติเมตร โคนใบสอบ ปลายใบเรียวแหลม ขนาดใบกว้างประมาณ 4 – 10 เซนตเิ มตร ยาว ประมาณ 10 – 20 เซนตเิ มตร แผ่นใบมสี เี ขยี วเขม้ แผน่ ใบบาง แต่ เหนียว ใบออ่ นมสี แี ดงอมสม้ มีรสหวานมนั

ดอก ผกั เหลียงออกดอกเป็นช่อทีป่ ลายกง่ิ แตล่ ะชอ่ ดอกเปน็ ชอ่ ดอก แบบเชงิ ลด มคี วามยาวชอ่ ประมาณ 2-5 เซนติเมตร แยกออกเปน็ ต้นดอกช่อตวั ผู้ และตน้ ดอกสมบูรณ์เพศแยกตน้ กัน ดอกตวั ผอู้ อกเป็นช่อ ยาวประมาณ 3 – 4 เซนตเิ มตร ช่อดอกมี ลักษณะเปน็ ขอ้ ๆที่มดี อกตวั ผู้เรยี งลอ้ มข้อ ตัวดอกมขี นาดเลก็ มีกลีบ ดอกสขี าว ส่วนตน้ ดอกสมบูรณเ์ พศมชี ่อดอกยาวประมาณ 5 – 7 เซนติเมตร ดอกมีขนาดใหญก่ ว่าดอกตน้ ตัวผู้ ทง้ั ดอกตวั ผู้ และดอก ตวั เมียเรยี งล้อมบนข้อเหมอื นต้นดอกตวั ผู้ ประมาณ 7 – 10 ขอ้ ทั้งนี้ ดอกผกั เหลยี งจะเร่ิมออกในชว่ งเดอื นพฤศจกิ ายน-ธนั วาคม ผล ผลผกั เหลยี งออกรวมกนั บนชอ่ แต่ละชอ่ มผี ลประมาณ 10-20 ผล ผลมลี ักษณะเป็นรปู กระสวย กวา้ งประมาณ 1 – 1.5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 2.5 – 4 เซนตเิ มตร เปลือกผลค่อนข้างหนา ผลออ่ นมี สเี ขียว ผลสกุ มสี เี หลอื ง เน้ือผลมีรสหวาน ทัง้ น้ี หลังออกดอก ดอก ผักเหลียงจะเร่มิ ตดิ ผลในชว่ งเดอื นกมุ ภาพนั ธ-์ มนี าคม และผลสกุ ในชว่ งเดือนมนี าคม-เมษายน และตดิ เร่ิมติดผลครง้ั แรกเมอื่ อายุ ประมาณ 5-6 ปี ข้ึนไป แต่การติดดอกออกผลจะไม่แน่นอน บางปี อาจไม่มกี ารตดิ ดอกออกผล โดยเฉพาะปที ีฝ่ นตกชุกมาก

เมล็ด เมล็ดผกั เหลียงมรี ปู ไข่หรอื รูปกระสวย เปลอื กหุ้มเมล็ดบาง และหนาเฉพาะบริเวณขั้วเมลด็ ขนาดเมลด็ กว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ยาวประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร เมลด็ คอ่ นขา้ งงอกยาก และงอกช้า ประโยชน์ผักเหลียง 1. ยอดผกั เหลียง กรอบเม่อื รับประทานสด นุม่ เมอื่ ปรงุ สุก มี รสชาติอร่อย หวานมัน นยิ มรับประทานสดหรอื ใชป้ ระกอบเปน็ อาหาร เช่น แกงเลยี ง ผดั ใสไ่ ข่ แกงจดื แกงกะทิ และแกงไตปลา เปน็ ตน้

2. ผักเหลียง ใชเ้ คย้ี วหรือรบั ประทานสดแกห้ วิ แก้ทอ้ งว่าง ชว่ ยบา้ รุงรา่ งกาย เพ่มิ ก้าลงั วงั ชา แกอ้ าการขาดนา้ โดยเฉพาะเวลา เดินทางไกลหรอื เดนิ ป่า 3. เมล็ดใชค้ ่วั รับประทานเปน็ ของขบเคี้ยวคล้ายถวั่ ส่วน ประเทศมาเลเซีย และอนิ โดนเี ซยี นิยมใชเ้ นือ้ เมลด็ มาบด กอ่ นรดี เป็นแผ่น และทอดใชท้ ้าข้าวเกรยี บ 4. ผักเหลยี งในบางครัวเรือนใชป้ ลูกในกระถางเพือ่ ประดับใน บ้านเรือน เพราะลา้ ตน้ แตกออกเปน็ ทรงพมุ่ มใี บเขียวสดตลอดทง้ั ปี 5. ทุกสว่ นของผกั เหลยี งประยกุ ต์ใชเ้ ป็นยาสมุนไพร อาทิ ช่วย บา้ รุงร่างกาย บา้ รงุ สายตา และแกโ้ รคซางในเดก็ เป็นต้น 6. ยางจากล้าต้นใชท้ าลอกฝา้ ชว่ ยให้หน้าขาวใส 7. ผลเหลียงสุกมรี สหวานสามารถรบั ประทานได้ และเป็น แหลง่ อาหารส้าคญั ของสัตวป์ ่า 8. ผักเหลยี งชว่ ยในการอนรุ กั ษด์ ิน และน้า ป้องกันการกัด เซาะหนา้ ดิน ชว่ ยชะลอการไหลซึมของนา้ ชว่ ยใหห้ นา้ ดินชมุ่ ช้ืน นาน ช่วยปอ้ งกนั ไฟปา่ ชว่ ยบา้ รุงดิน ป้องกันหน้าดนิ แข็ง เออ้ื ตอ่ การเตบิ โต และใหผ้ ลผลิตของพชื หลกั ในแปลง 9. ช่วยเพิม่ รายได้ อาทิ การปลกู เหลยี งแซมในสวนยาง สวน ปาลม์ นอกจากจะได้รายได้จากสวนยางหรอื ปาลม์ แล้ว ยอดผกั เหลี ยงยงั ช่วยสรา้ งรายได้งามในแตล่ ะปนี อกจากน้นั ผกั เหลียงเปน็ ผกั ท่ี มีคุณค่าทางโภชนาการสูง ประกอบดว้ ยสารอาหาร แรธ่ าตุ และ วติ ามนิ หลายชนิด อาทิ เบตา้ แคโรทนี ที่สงู กว่าผักบุ้งจนี ถงึ 3 เทา่ และสงู กวา่ ผักบงุ้ ไทยถึง 5-10 เท่า