Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การนิเทศ-คลองท่าแตง64

การนิเทศ-คลองท่าแตง64

Published by Noo Noo, 2021-08-04 08:01:26

Description: การนิเทศ-คลองท่าแตง64

Search

Read the Text Version

ก คำนำ โรงเรียนบ้านคลองท่าแตง ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาสงขลา เขต ๑ ได้จัดทำรูปแบบนิเทศภายในโรงเรียนโดยใช้วิธีแบบร่วมพัฒนา ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ ขึ้น เพื่อเป็นเครื่องมือในการนิเทศ ปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของครูผู้สอนและ ผูบ้ รหิ ารโรงเรยี น ตลอดถึงองค์กรของชุมชน ในการพฒั นาการศึกษาและคุณภาพการศกึ ษา การนิเทศภายในและ เทคนิคการพฒั นาคุณภาพการศึกษา เปน็ การท่ดี ที ่ีตอ้ งพฒั นาคน พฒั นางานประสานความสัมพนั ธ์ และการสร้าง ขวัญและกำลังใจให้ผู้ปฏิบัติงาน โดยมีเป้าหมายที่สำคัญ คือ คุณภาพการศึกษาของเด็ก ตลอดถึงเป็นการ ประเมินมาตรฐานการศึกษาทัง้ ๓ มาตรฐานให้มีการพฒั นาอยา่ งเปน็ ระบบอีกด้วย เพื่อให้การดำเนินงานการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกันทุกระดับบรรลุเป้าหมาย ที่กำหนดไว้ ดังนั้นทางโรงเรียน จึงได้จัดทำรูปแบบนิเทศภายในโรงเรียนแบบร่วมพัฒนาขึ้นมา เพื่อพัฒนา คุณภาพการจัดการเรยี นการสอนของครู และคุณภาพของนกั เรยี น งานวิชาการโรงเรียนบ้านคลองท่าแตง กรกฎาคม ๒๕๖๔

สารบญั ข เร่ือง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข ตอนท่ี ๑ ข้อมลู ท่วั ไปของสถานศึกษา 1 ตอนท่ี ๒ ผลการดำเนินงาน 3 3 ๒.๑ ชอื่ รูปแบบ 3 ๒.๒ สภาพปจั จบุ ัน ปัญหา ขอ้ มูลพ้นื ฐานของสถานศึกษา 5 ๒.๓ รปู แบบ กระบวนการนิเทศภายในของสภานศกึ ษา 9 ๒.๔ วธิ ดี ำเนินการ 11 ๒.๕ การกำกบั ตดิ ตาม และประเมินผล 11 ๒.๖ ผลสำเร็จท่ไี ด้และการนำผลไปใช้ 12 ตอนที่ ๓ ขอ้ มูลอน่ื ๆ เพ่ิมเติม

1 ตอนท่ี ๑ ขอ้ มลู ทัว่ ไปของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านคลองท่าแตง เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ตั้งอยู่เลขที่ หมู่ที่ ๕ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสไปรษณีย์ ๙๐๒๘๐ E-mail : [email protected] สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๑ จัดตั้งขึ้นเมือ่ วันที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๔ เปิดสอนต้ังแต่ระดบั ชน้ั อนุบาลปีที่ ๒ ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เขตพื้นที่บริการ หมู่ที่ ๕ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัด สงขลา จำนวนนักเรียนจำแนกตามระดับช้นั (ข้อมลู ณ วนั ที่ ๕ ก.ค ๖๔) ระดับชัน้ เรยี น จำนวน จำนวนนกั เรยี น รวม เฉล่ยี ตอ่ ห้อง หอ้ ง อนุบาลปีท่ี ๒ ชาย หญงิ ๒ อนบุ าลปีท่ี ๓ ๑ ๕ ๒ ๑ ๑๑ ๗ ๕ รวม ๒ ๔๑ ๑๐ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ๑ ๕๒ ๖ ๑๐ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ ๑ ๖๔ ๑ ๖ ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ ๑ ๒๔ ๒ ๑ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ ๑ ๐๑ ๖ ๒ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ ๑ ๒๐ ๑๑ ๖ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ๑ ๓๓ ๓๖ ๑๑ ๖ ๕๖ ๔๓ รวม ๑๘ ๑๘ รวมท้ังหมด ๒๓ ๒๐

2 ขอ้ มูลบุคลากร เพศ ระดับการศึกษาสงู สุด ตำแหนง่ ชาย หญงิ ประเภท ปรญิ ญา ปริญญา ปริญญา ตำ่ กวา่ ครู ชำนาญ ชำนาญ เชีย่ ว บุคลากร เอก โท ตรี ปรญิ ญา ผู้ชว่ ย การ การ ชาญ พิเศษ -๑- ตรี - ผูอ้ ำนวยการ - ๑ --- - -- ๑ - รอง ผอ. - - - -๓ - - ครูประจำการ ๑ ๒ --- - -- - - ครูอัตราจา้ ง - - -- - - - - --- - ๒- ๑ - พนกั งานราชการ - - --- - - - - --- - -- - - นักการ/ภารโรง - - - -๑ - - พนกั งานขับรถ - ๒ - ๑๕ - -- - - ยาม ๑ ๕ - อ่นื ๆ -- รวม -- -- -- ๒- ๒

3 ตอนท่ี ๒ ผลการดำเนินงานดา้ นนิเทศภายในของสถานศกึ ษา ๒.๑ รูปแบบ การนเิ ทศแบบรว่ มพัฒนา คือ ปฏิสมั พันธท์ างการนิเทศระหว่างผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ศกึ ษานิเทศก์และ ครู ในกระบวนการนิเทศการศึกษาที่มงุ่ แก้ปญั หาและพัฒนาการเรยี นการสอนอยา่ งเป็นระบบ โดยใชเ้ ทคนคิ การ นิเทศการสอนเป็นปัจจัยหลัก บนพนื้ ฐานของสัมพนั ธภ์ าพแหง่ การร่วมคิด ร่วมทำ พึงพา ชว่ ยเหลือ ยอมรบั ซึ่งกนั และกนั ให้เกยี รติและจริงใจต่อกนั ระหวา่ งผูน้ ิเทศ ผู้สอนและคสู่ ญั ญา เพ่ือร่วมกันพฒั นาทกั ษะวิชาชพี อนั จะ สง่ ผลโดยตรงต่อการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา การนเิ ทศแบบรว่ มพฒั นาเปน็ การนิเทศที่ม่งุ แกป้ ัญหา และพัฒนาการเรยี นการสอนอย่างเป็นระบบ เพื่อ ยกระดบั คุณภาพการเรยี นของนกั เรยี น โดยการปรบั ปรงุ การปฏิบัติงานของครใู ห้เกิดประสิทธภิ าพบนพืน้ ฐานของ กระบวนการท่ีเกิดจากความต้องการของครใู นการพฒั นาทักษะวชิ าชพี โดยมีเป้าหมายเพื่อคณุ ภาพของผ้เู รียน และ คุณภาพของการจดั การเรยี นการสอนนนั่ เอง ๒.๒ สภาพปจั จุบนั /ปญั หา นบั ตงั้ แตม่ ีการปฏิรปู การศึกษาตามพระราชบัญญตั ิการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๒ โดยคำนงึ ถงึ หลักท่วี า่ ผเู้ รียน จะตอ้ งมคี วามสำคัญท่ีสุด สามารถพัฒนาตนเองเตม็ ตามศักยภาพ ตามมาตราท่ี ๒๒ โดยสถานศกึ ษาจะต้อง ดำเนินงานจัดกิจกรรมใหส้ อดคลอ้ งกับความสนใจ ความถนัด ฝึกทกั ษะกระบวนการคิดการเรียนรจู้ าก ประสบการณ์จริง บูรณาการความรู้ด้านตา่ ง ๆ ตลอดจนส่งเสรมิ ให้ผสู้ อนจัดการเรียนท่ีเอือ้ ต่อการเรยี นรู้และ จดั การเรยี นรูใ้ ห้เกดิ ขนึ้ ไดท้ กุ เวลา ทุกสถานที่ จำเปน็ อย่างยงิ่ ที่จะต้องมกี ารพัฒนาครใู ห้ปรบั พฤติกรรมการสอน จากรูปแบบเดิม แตก่ ารพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหป้ ระสบความสำเรจ็ นน้ั ต้องอาศัยความร่วมแรง รว่ มใจจากบคุ ลากรทเี่ กี่ยวข้อง ทีส่ ำคัญต้องมีความเขา้ ใจพ้ืนฐานทตี่ รงกนั ในการพฒั นาและสงิ่ ท่ตี ้องเร่งดำเนินการ โดยด่วนเพ่ือนำไปสกู่ ารพฒั นา การเรียนการสอนกค็ ือ การพัฒนาคุณภาพของครู กระบวนการหน่งึ ท่ีใช้ในการ สนับสนนุ การพฒั นาคุณภาพครู ตลอดจนพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอนให้บรรลตุ ามทต่ี อ้ งการคือ กระบวนการ นเิ ทศการศึกษา เพราะการนิเทศการศึกษาจะช่วยกระตุ้นส่งเสรมิ และปรับปรุงกระบวนการการสอนของครูให้ บรรลุตามจดุ มุ่งหมายของหลักสูตรทก่ี ำหนด และ การนเิ ทศการศึกษาภายในโรงเรยี นกเ็ ป็นกระบวนการหน่ึงท่จี ะ ชว่ ยให้ครสู ามารถพฒั นาการเรยี นการสอนของตนได้ตรงตามสภาพของปัญหาและความต้องการทแ่ี ท้จริงของ ผเู้ รยี นโดยอาศัยความรวมมอื ของผู้บริหารโรงเรยี นและครูเพอ่ื ก่อใหเ้ กิดการพฒั นาตนเอง พฒั นางานและนำไปสู่ การพฒั นาคุณภาพผ้เู รียนในท่ีสุด

4 ซง่ึ การนิเทศภายในของโรงเรียนเปน็ กระบวนการเรียนรรู้ ่วมกันของบคุ ลากรทุกฝา่ ยในโรงเรียน อนั สง่ ผลในการที่จะพฒั นาบคุ ลากรทุกคน ใหส้ ามารถทำงานเกี่ยวกบั การพฒั นาผเู้ รียนได้เตม็ ตามศักยภาพ การ นเิ ทศภายในเป็นการชว่ ยเหลอื สง่ เสริมเตมิ เต็ม และควรจดั ให้มขี ้ึนอย่างมรี ะบบ มีการวางแผนรายละเอยี ดรว่ มกนั แต่ในด้านคุณภาพของการศึกษากำลงั นา่ เปน็ หว่ ง ความร้คู วามสามารถของเด็กไทยอ่อนลงรวมทงั้ ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกสถานศกึ ษา โดยสำนกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพ การศึกษา(องค์การมหาชน) พบว่า มาตรฐานดา้ นผู้เรียน มาตรฐานท่ี ๔ คอื ผ้เู รยี นขาดมีความสามารถใน การคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ คิดไตรต่ รอง เม่ือพิจารณาลงไปในระดบั ชน้ั เรยี น พบวา่ นักเรยี นมีปัญหาในด้านการอ่าน การคดิ คำนวณ ซึ่งเปน็ ปัญหาสำคัญ ยิง่ เพราะทกั ษะเหล่าน้ีนักเรียนจะตอ้ งนำไปใช้ในการเรียนรู้ในวิชาอน่ื ๆ เมอื่ พิจารณาด้านการนเิ ทศภายในสถานศึกษาพบวา่ ยงั มปี ัญหาหลายประการทีท่ ำให้การนิเทศไม่ประสบ ผลสำเรจ็ เทา่ ที่ควร ดงั เชน่ บุคลากรสว่ นใหญค่ ดิ วา่ การนเิ ทศภายในโรงเรียน คือ การไปสังเกตการสอนของครูใน ชน้ั เรยี น ครไู ม่รู้จุดมงุ่ หมายที่แทจ้ รงิ ของการนเิ ทศ และไมเ่ ห็นความสำคญั และประโยชน์ของการนิเทศภายใน เนอื่ งจากเข้าใจวา่ การนิเทศเป็นการไปตรวจสอบ จับผดิ ประเมิน วิพากษ์วิจารณ์ ส่อื เคร่ืองมือนวัตกรรมใหมๆ่ ทางการนเิ ทศไม่ได้ใช้เพ่ือการสนบั สนุนให้เกดิ การนเิ ทศภายในโรงเรยี นได้อย่างแท้จริง บุคลากรขาดความรว่ มมือ รว่ มใจ ร่วมคิด ร่วมทำ ข้อมลู เหลา่ น้ีล้วนเป็นเคร่ืองชใ้ี ห้เหน็ ว่า การนิเทศภายในมปี ัญหาที่ควรจะได้รับการแกไ้ ข อย่างเรง่ ด่วน โรงเรยี นบ้านคลองทา่ แตง อำเภอสิงนคร จงั หวัดสงขลา สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา สงขลา เขต ๑ เป็นโรงเรยี นขนาดเล็ก จดั การศึกษา ระดบั ปฐมวัยถึงประถมศึกษาปีท่ี ๖ ม่งุ ดำเนินงานของ โรงเรยี นบา้ นคลองท่าแตงให้ผู้เรยี นมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา และ พัฒนาบคุ ลากรใหม้ ีคุณภาพ มี ประสทิ ธิภาพสามารถจดั การเรียนการสอนโดยเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ เพื่อใหน้ ักเรียน เป็นคนดี คนเก่ง และมี ความสุข แตก่ ารบรหิ ารงานวิชาการในปจั จุบนั ยังไมป่ ระสบผลสำเร็จตามเป้าหมายท่ีกำหนด และมีหนา้ ท่ี โดยตรงในการจัดการเรียนการสอน และนิเทศ กำกับ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำเนินงาน ได้ตระหนักและ มองเหน็ จุดท่ตี อ้ งพัฒนา จงึ ได้ประชุม ปรกึ ษาหารอื ร่วมกับคณะกรรมการนเิ ทศ ได้วิเคราะห์สภาพปัจจบุ ัน ปญั หา วเิ คราะห์สาเหตุของปญั หาและความต้องการจำเป็นท่แี ทจ้ ริง จึงได้ข้อสรุปวา่ ควรมีการนิเทศภายใน อย่างเป็น ระบบ เพ่ือให้การจัดการกระบวนการเรยี นรู้ของครูมีประสิทธิภาพและเกดิ ประสิทธผิ ล ใหส้ อดคล้องกับ พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ เพอ่ื นำผลการประเมินไปปรับปรงุ และพัฒนาหรือแกป้ ัญหาตา่ ง ๆ อย่างเป็นรูปธรรม ท่จี ะส่งผลต่อการพฒั นาครูใหเ้ ป็นครมู ืออาชพี ซึ่งจะสามารถพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนท่ี เนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั ให้มีคณุ ภาพ ทำให้นักเรยี นมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นท่ีสูงขนึ้ ตามเป้าหมายท่ีโรงเรียนกำหนด ตลอดจนนักเรียนมีความร้คู วามสามารถตามมาตรฐานของหลกั สูตร และสง่ ผลใหน้ กั เรยี นมีพฤติกรรมท่ีพึง ประสงคข์ องโรงเรยี น กล่าวคือ การนิเทศแบบร่วมพัฒนา จะนำไปสูค่ ุณภาพของการจัดการเรียนการสอน และ คุณภาพของนักเรียน น่ันเอง

5 ๒.๓ รูปแบบ กระบวนการนเิ ทศภายในของสถานศึกษา รูปแบบการนเิ ทศการศกึ ษาแบบรว่ มพัฒนา (Cooperative Development Supervision) การนิเทศแบบรว่ มพฒั นา คือ ปฏิสมั พนั ธท์ างการนเิ ทศระหวา่ งผูบ้ ริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ และครู ในกระบวนการนิเทศการศึกษาท่ีม่งุ แก้ปญั หาและพัฒนาการเรยี นการสอนอย่างเปน็ ระบบ โดยใชเ้ ทคนิค การนิเทศการสอนเปน็ ปัจจัยหลกั บนพืน้ ฐานของสมั พนั ธ์ภาพแห่งการร่วมคดิ รว่ มทำ พึงพา ชว่ ยเหลือ ยอมรบั ซึ่ง กนั และกนั ให้เกยี รติและจริงใจตอ่ กนั ระหวา่ งผู้นิเทศ ผ้สู อนและค่สู ัญญา เพื่อร่วมกนั พัฒนาทักษะวิชาชพี อนั จะ สง่ ผลโยตรงตอ่ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา จดุ มงุ่ หมายทั่วไปของการนิเทศแบบร่วมพัฒนา การนเิ ทศแบบร่วมพัฒนาเป็นการนิเทศท่ี มงุ่ แก้ปัญหา และพฒั นาการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ เพอื่ ยกระดบั คุณภาพการเรยี นของนักเรียน โดยการ ปรบั ปรงุ การปฏิบัติงานของครใู ห้เกิดประสิทธิภาพบนพ้ืนฐานของกระบวนการท่ีเกิดจากความต้องการของครใู น การพัฒนาทกั ษะวิชาชีพ จดุ มุ่งหมายเฉพาะของการนเิ ทศแบบรว่ มพฒั นา ๑. เพอ่ื พฒั นาทักษะการสอนและทกั ษะการนเิ ทศแก่ครูอยา่ งเปน็ ระบบ โดยใช้วิธกี ารนิเทศ ตนเอง นเิ ทศโดยเพ่ือนคู่สัญญา นิเทศโดยนเิ ทศภายในโรงเรียนและนเิ ทศโดยศึกษานเิ ทศก์ ๒. เพ่ือเสริมสร้างสัมพันธภาพทางวิชาชีพระหว่างครูและศึกษานเิ ทศกใ์ ห้กระชับยง่ิ ข้นึ ๓. เพ่อื สร้างเสริมเจตคตทิ ี่ดีต่อการนิเทศการสอนให้แก่ผู้บริหารสถานศึกษาและครู ใหเ้ กดิ ความมั่นใจวา่ การนิเทศการสอนสามารถชว่ ยครูแกป้ ญั หาและพฒั นาการเรยี นการสอนได้ ๔. เพอื่ กระตุ้นใหค้ รูเปน็ ผนู้ ำในการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอน เหน็ ความสำคัญและ ประโยชน์ของการนเิ ทศ พัฒนาตนเองเป็นผูน้ ำการนเิ ทศภายในโรงเรยี น สามารถนเิ ทศตนเองและนิเทศเพื่อนครู ด้วยกันอย่างมีหลักวชิ าและมีรปู แบบทช่ี ดั เจน ๕. เพือ่ ใหค้ รเู กดิ ความภาคภูมใิ จในวิชาชีพ และมุ่งม่นั พัฒนาตนเองเปน็ ครูมืออาชีพอย่าง มาตรฐาน และรกั ษาระดับคุณภาพไว้อย่างต่อเนอื่ ง ๖. เพือ่ พฒั นาศาสตร์ทางการนเิ ทศการศึกษา ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความตอ้ งการ จำเปน็ ตลอดจนกระแสสังคมและสภาพแวดลอ้ มในปัจจุบนั โดยเนน้ ให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาคุณภาพ การศึกษาใหม้ ากทส่ี ดุ กระบวนการ ขั้นที่ ๑ การวางแผนการดำเนินงาน (Planning-P) เป็นข้ันตอนท่ีผู้มสี ่วนร่วมในการดำเนนิ งานทุกฝ่าย จะประชุมหารือกนั ถึงปัญหาในการจัดการเรยี นการสอนที่เป็นปญั หาสำคญั เร่งดว่ นควรแกไ้ ขก่อน และหรือ นโยบายในการปรบั ปรงุ และพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนโดยจะระดมสมองหาความต้องการจำเป็น (Need

6 Assessment) ในเร่ืองท่จี ะต้องมีการนิเทศ รวมทั้งร่วมกันวางแผนและกำหนดข้นั ตอนการปฏบิ ัติงานนเทศ ซ่ึง อาจจะดำเนนิ การในลักษณะของงานหรอื โครงการนเิ ทศเพ่ือแก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรียนการสอน ข้นั ท่ี ๒ การเสริมสรา้ งความรใู้ นการปฏิบตั ิงาน (Informing-I) เปน็ ขัน้ ตอนของการทำความเข้าใจ กระบวนการนเิ ทศทั้งระบบ และวิธกี ารดำเนนิ งานในแตล่ ะขัน้ ของการนิเทศ เพื่อให้ผดู้ ำเนนิ งานมคี วามรู้ ความ เข้าใจ มีทักษะ และมีเทคนิคในการดำเนินงานอยา่ งมีประสิทธิภาพข้นั ตอนน้นี อกจากจะเปน็ การช่วยให้ผู้ ดำเนนิ งานสามารถทำงานได้อยา่ งมีคุณภาพแลว้ ยังเป็นการเสริมสร้างความมนั่ ใจในการทำงานให้แก่ผูด้ ำเนนิ งาน อีกด้วย ข้ันที่ ๓ การปฏบิ ัตงิ านตามแผน (Doing - D) เม่ือผู้ดำเนินงานไดผ้ ่านข่นี ตอนการวางแผนและขั้นตอน การเสริมสร้างความรู้ในการปฏบิ ตั ิงานไปแล้ว การปฏิบัติงานตามแผนท่วี างไว้ในแต่ละขน้ั ตอนอยา่ งเป็นระบบท้งั ในส่วนของผู้ใหก้ ารนเิ ทศ ผรู้ ับการนเิ ทศ และผู้สนับสนุนการนเิ ทศก็จะดำเนินไปตามปฏิทนิ ปฏิบตั ิงานท่ีไดร้ ตกลง ร่วมกันและกำหนเดไว้ในแผน โดยจะไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื และร่วมมอื จากผู้นิเทศภายนอก เชน่ ศึกษานเิ ทศก์ ครู ผ้รู ่วมนเิ ทศ ศนุ ยพ์ ฒั นาการเรียนการสอน และเครือขา่ ยจากหนว่ ยงานต่างๆท้ังภาครฐั และเอกชน รวมทัง้ ผนู เิ ทศ ภายในโรงเรียนเชน่ หัวหนา้ กลมุ่ สาระ คสู่ ัญญา รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษาฝ่ายวชิ าการและผบู้ ริหารสถานศึกษา ขัน้ ที่ ๔ การประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน (Evaluation - E) การประเมนิ ผลการปฏิบัติงานหรือโครงการ นิเทศ ควรดำเนินการประเมนิ ท้ังระบบ เพื่อให้ทราบประสิทธิภาพของโครงการจึงควรจะประเมนิ สิง่ ตา่ งๆ ตามลำดับของความสไคญ ดังน้ี ๔.๑ ผลผลิตทีไ่ ดจ้ ากการนเิ ทศ (Output) คือ ผลสัมฤทธ์ิการเรียนของผเู้ รียน และการ เปลยี่ นแปลงพฤติกรรมของผู้รบั การนเิ ทศตามเป้าหมายของการนเิ ทศนน้ั ไดแ้ ก่ ผลท่ีเกิดขน้ึ จากการนิเทศ (ระดบั ความสามารถในการทำงานของผู้รบั การนเิ ทศ การเพ่มิ จำนวนของบุคลากรทม่ี ีคุณภาพภายในหน่วยงาน ความ ต้งั ใจในการทำงานของบุคลากร และความสัมพนั ธร์ ะหว่างบคุ ลากรในหน่วยงาน) และผลที่เกิดขน้ึ ระหว่างการ ดำเนินการนิเทศ(เจตคตขิ องผู้รบั การนิเทศทม่ี ตี ่องานและต่อผรู้ ่วมงาน ระดับความพึงพอใจในการทำงาน ความ ผกู พนั ของผ้รู บั การนิเทศท่ีมีต่อเปา้ หมายในการทำงาน ระดับของจุดมงุ่ หมายทจ่ี ัดต้งั ขน้ึ ระดบั ความรว่ มมือรว่ มใจ ทม่ี ตี ่อกลุ่มทำงาน ความเชื่อม่ันและความไวว้ า่ งใจในตนเอง เพ่อื นร่วมงานและผบู้ ังคบั บัญชา และความรสู้ ึกของ ผู้รับการนเิ ทศท่ีมีต่อสภาพแวดลอ้ มในการทำงาน) ๔.๒ กระบวนการดำเนินงาน (Process) คือ ความเหมาะสมของขั้นตอนในการทำงาน ความ เหมาะสมของการจัดกิจกรรม ปฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งผ้รู เิ ทศกับผรู้ บั การนิเทศและบรรยากาศในการทำงาน ๔.๓ ปจั จยั ป้อนเขา้ (Input) คือ การลงทุนในด้านทรัพยากรมนุษย์ วสั ดุอุปกรณ์ สอ่ื การนิเทศ เครื่องอำนวยความสะดวกต่าง ๆ งบประมาณการเงนิ รวมทัง้ ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการดำเนินงานตามโครงการ ขนั้ ท่ี ๕ การเผยแพร่ขยายผล (Diffusing - D) ในรูปแบบทห่ี ลากหลาย เพื่อเปน็ การเสริมสร้างขวัญและ กำลังใจแกผ่ ู้ปฏิบตั ิงาน สว่ นการขยายเครอื อขา่ ยการดำเนินงานนเิ ทศ โดยใช้เทคนิคการขายความคิด ให้เกดิ

7 ความเชื่อถือ ศรทั ธา แล้วจงึ ใชเ้ ทคนิคการเชญิ ชวนให้เข้ามามีสว่ นร่วมที่ละนอ้ ย ในฐานะเพอื่ รว่ มอาชพี หรือ อดุ มการณ์ จนเกดิ ความพรอ้ มทจ่ี ะเข้าร่วมดำเนินการด้วยอย่างเตม็ ตัว ในฐานะ \"ครปู ฏบิ ตั ิการ\" หรอื ฐานะ \"ค่สู ัญญา\" และเมื่อดำเนินการงานไดผ้ ลดี มเี ครือข่ายแนวร่วมเพิ่มมากข้นึ ครูปฏบิ ตั ิการก็จะได้ปรับเปล่ยี น บทบาทขึ้นเป็นผู้นิเทศเครอื ข่ายผ้ปู ฏบิ ัตกิ ารรุ่นต่อไป ซงึ่ นับวา่ เปน็ การให้แรงเสรมิ แกผ่ ู้ปฏบิ ตั งิ าน หรือเรยี กวา่ ใช้ เทคนิค \"การสรา้ งแรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธ์\"ิ นับว่า เป็นกลวิธกี ารเผยแพร่และขยายผลท่มี ีประสทิ ธิภาพ โดยเนน้ ความ พรอ้ มหรือความสมัครใจของครูเปน็ หลัก ข้นั เสริม การรว่ มใจและการเสรมิ สร้างขวญั และกำลังใจ (Cooperating - C Reinforcing - R) นับวา่ เป็นกลไกสำคญั ท่จี ะทำให้ผลการดำเนนิ งานไดท้ ้งั คน งานและจิตใจท่ีผกู พนั อยู่กบั งาน ลกั ษณะสำคัญของการนิเทศแบบรว่ มพัฒนา ปฏิสัมพันธ์ทางการนเิ ทศจากใจถึงใจ บนพื้นฐานของความรัก ความเข้าใจและความจรงิ ใจ ตอ่ กันในการพัฒนาทักษะวิชาชีพ ซึง่ มลี กั ษณะสำคัญดงั น้ี ๑. เปน็ การนเิ ทศท่ีพฒั นามาจากการผสมผสานกนั ระหว่างการนิเทศจากบคุ ลากรภายนอก และการนเิ ทศภายในโรงเรยี น โยมจี ุดมุ่งหมายเดยี วกัน คือการพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอนด้วยวธิ ีการทีเ่ ป็น ระบบและมีข้นั ตอนการดำเนินงานทชี่ ัดเจน ๒. ในกระบวนการปฏสิ มั พนั ธ์ทางการนเิ ทศแบบรว่ มพัฒนา จะมีศูนย์กลางอยทู่ ีต่ ัวครูใน กลุ่มสาระการเรียนรู้และโรงเรยี น ซงึ มีบทบาทหน้าที่แตกต่างกัน เชน่ หวั หน้ากลุ ่มสาระการเรยี นรมู้ ีหน้าทีเ่ ป็นผู้ นิเทศหรือคูส่ ญั ญา (ถ้าผ้รู ับนิเทศต้องการ) เพื่อนครูท่สี นทิ สนมไว้วางใจกนั และพร้อมที่จะรว่ มมอื กันในการพัฒนา ทกั ษะวชิ าชีพ มบี ทบาทหนา้ ที่เปน็ คสู้ ญั ญา และครูที่มคี วามสนใจตอ้ งการมสี ว่ นรว่ มแตย่ ังขาดความพร้อม สามารถมสี ่วนร่วมไดใ้ นบทบาทของเพ่ือนร่วมอุดมการณ์ และมีเครือข่ายทีเ่ ปน็ บคุ ลากรจากภายนอก เชน่ ศึกษานเิ ทศก์ หรือครูผู้ร่วมนเิ ทศ ซ่งึ กจ็ ะมบี ทบาทเป็นผนู้ เิ ทศหรือที่ปรึกษา ๓. เปน็ รูปแบบการนเิ ทศทใ่ี หค้ วามสำคัญทั้งกระบวนการนเิ ทศท่วั ไป และกระบวนการ นเิ ทศการสอน โดยทง้ั สองกระบวนการจะเอื้อประโยชนซ์ งึ่ กันและกนั และส่งผลใหค้ ุณภาพการจดั การเรียนการ สอนดีข้ึน และสำหรบั การนเิ ทศการสอนในรูปแบบของการนเิ ทศแบบร่วมพฒั นาน้ไี ดพ้ ฒั นามาจากแนวคิดในการ นเิ ทศการสอนแบบคลีนิกและการนิเทศเชิงเน้นวตั ถุประสงค์ ๔. เปน็ การรวมกล่มุ กนั เพ่ือพัฒนาวิชาชพี ของครทู ่มี ีความรบั ผิดชอบต่อวิชาชีพสูงและมี ความกระตอื รือรน้ ท่จี ะพัฒนาความเจริญงอกงามทางวชิ าชพี โดยกำหนดเป็นโครงการนเิ ทศ มีระยะเวลาในการ ดำเนนิ งาน สามารถติดตามผลการปฏบิ ัตงิ านได้ ซ่ึงผ้บู ริหารสถานศึกษาและผนู้ ิเทศจะต้องรับรู้มีส่วนรว่ มในการ ตดิ ตามผล ให้ความสนับสนนุ และอำนวยความสะดวก ๕. เน้นหลักประชาธปิ ไตยในการนิเทศ โดยครูจะมีเสรภี าพในการนเิ ทศ เลอื กผู้นเิ ทศ เลอื ก คสู่ ัญญา เลอื กเวลาในการปฏิบตั ิการนเิ ทศ เลือกบทเรียนที่จะสอน เลือกเคร่ืองมือสังเกตการสอน ในการนิเทศการ สอน ครูสามารถเลือกวธิ ีการนิเทศตนเอง คือ สงั เกตพฤติกรรมการสอนของตนเองแทนท่ีจะให้ผนู้ ิเทศหรือคู่สญั ญา

8 หรอื ศกึ ษานิเทศกเ์ ข้าไปสงั เกตการสอนหรือถา้ หากครูมีความพร้อมใจ ต้องการให้ผู้นิเทศหรอื คูส่ ัญญาเขา้ ไปสังเกต การสอน ครูกส็ ามารถเลือกหรอื รับร้ทู ำความเข้าใจกับเครื่องมือสงั เกตการสอน จนเปน็ ที่พอใจและไม่มีความวิตก กงั วลตอ่ ผลของการใชเ้ ครอ่ื งมือสังเกตการสอนนนั้ ๆ ๖. การสังเกตการสอนในกระบวนการนเิ ทศแบบร่วมพฒั นา ผ้นู เิ ทศตอ้ งไม่สรา้ งภาพพจน์ ในการวดั ผลหรอื ประเมนิ ผลการสอน แต่จะเปน็ การบนั ทึกและอธิบายภาพทเี่ กดิ ขึ้นในห้องเรียนว่าผสู้ อนมี พฤติกรรมอย่างไร มากน้อยเทา่ ใด ไมใ่ ชด่ ีหรอื ไม่ดีอย่างไรเพราะไมต่ ้องการให้ครเู กิดความรหู้ วนั่ กลวั การประเมนิ และวิตกกังวลตอ่ ปฏิสัมพันธท์ างการนิเทศ ๗. การสังเกตการสอนในกระบวนการนิเทศแบบร่วมพัฒนาจะเนน้ ทก่ี ารสงั เกตตนเองเชิง เน้นวตั ถุประสงคเ์ ป็นหลัก โดยมีเครอื่ งมือสงั เกตการสอนท่ีสอดคล้องกับจุดประสงค์ที่ตอ้ งการนเิ ทศซึ่งขน้ึ อยกู่ ับ ปญั หาทีเ่ กิดขึน้ ในกระบวนการจดั การเรียนการสอน ส่วนการสังเกตการสอนโดยคสู่ ัญญาหรือผู้นิเทศอ่ืน ๆ เช่น หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้ หรอื ศกึ ษานิเทศก์ จะเกิดขึ้นไดต้ ่อเมื่อเปน็ ความตอ้ งการของครูผ้นู ้ัน ๘. การวเิ คราะหพ์ ฤติกรรมการสอนของครู จะต้องขึน้ อยกู่ บั ขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการสงั เกตการ สอนไม่ใช่จากความคดิ เหน็ ส่วนตัว ค่านยิ ม หรอื ประสบการณ์ของผู้นเิ ทศเอง ๙. การใช้ขอ้ มูลปอ้ นกลบั หลงั จากการสังเกตการสอน และการวเิ คราะห์พฤติกรรมการ สอนผู้นเิ ทศจะใช้เทคนิคนิเทศทางอ้อม เพือ่ พฒั นาให้ครสู ามารถวางแผนการสอนได้เอง วเิ คราะห์การสอนของ ตนเองได้ ประเมินผลการสอนของตนเองได้ และสามารถนิเทศตนเอวได้ในทส่ี ุด ๑๐. การปฏบิ ตั กิ ารนเิ ทศ ยึดหลักการนเิ ทศแบบมีส่วนรว่ ม คือ ทั้งผู้นเิ ทศและผ้รู บั การนิเทศ จะทำงานรว่ มกนั ทัง่ กระบวนการ ต้ังแต่การหาความต้องการจำเปน็ ในการนเิ ทศ การกำหนดวัตถุประสงค์ในการ นเิ ทศ การวางแผนการนเิ ทศ การดำเนนิ การนิเทศและการประเมินผลการนเิ ทศดว้ ยความเสมอภาคกัน ยอมรบั ยกย่อง ให้เกยี รตซิ ่ึงกนั และกัน ในฐานะผู้ร่วมวชิ าชีพ ๑๑.ในกระบวนการนิเทศแบบรว่ มพฒั นา ได้ใหค้ วามสำคัญต่อการเสริมขวัญและกำลงั ใจแก่ ผูป้ ฏบิ ัติการในทุกข้ันตอนของการดำเนินงาน ทั้งน้ีเพื่อใหค้ รูเกิดความภาคภูมิใจและเกดิ ความสุขในวิชาชพี มีพลัง ทีจ่ ะแกไ้ ข ปรบั ปรุงการปฏบิ ัติงาน แลละมคี วามพงึ พอใจทีจ่ ะนำข้อนเิ ทศไปปฏิบตั ใิ หเ้ กดิ ผลอย่างตอ่ เน่ือง ๑๒. การนิเทศแบบร่วมพัฒนา เป็นการนเิ ทศท่ียึดวัตถุประสงค์เปน็ หลกั สำคัญในการ แก้ปัญหาและพฒั นาการเรียนการสอน เปน็ การทำงานอย่างเป็นระบบ แตส่ ามารถยืดหยุ่นได้ตามสถานการณท์ ่ี เหมาะสม ๑๓. เปน็ การนเิ ทศทีย่ ดึ หลักการเชิงมนุษย์นิยม เปน็ การทำงานรว่ มกนั ด้วยความจริงใจ เชอ่ื มนั่ เขา้ ใจซ่ึงกันและกนั ช่วยเหลอื ร่วมมือและสนบั สนุนต่อกนั ในการพัฒนาความกา้ วหน้าทางวิชาชพี ๑๔. ผู้นเิ ทศและครมู ีโอกาสวิเคราะหพ์ ฤตกิ รรมการนิเทศและปฏสิ มั พันธท์ างการนเิ ทศ รว่ มกนั เพือ่ จะไดแ้ ก้ไขข้อบกพรอ่ ง และช่วยกันวางแผนในการพฒั นาปฏสิ มั พนั ธ์ทางการนเิ ทศใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพและสมั พนั ธภาพทดี่ ตี ่อกนั ๑๕. มีรูปแบบในการสร้างและพฒั นาเครือข่ายแนวรว่ มในการขยายผลตามลำดบั ขน้ั ของ การมีส่วนร่วม เป็นการสรา้ งแรงจูงใจให้แก่ผดู้ ำเนินงาน และผทู้ ี่มคี วามสนใจจะอาสาเข้ารว่ มดำเนนิ งาน ใชเ้ ทคนิค

9 วิธกี ารขยายผลโดยการ \"ขายตรง\" และ \"การมสี ่วนร่วม\" โดยค่อยๆขายบความคดิ และเชญิ ชวนให้เขา้ มามีส่วนรว่ ม ท่ีละนอ้ ย ในฐานะ \"เพื่อนรว่ มอดุ มการณ์\"จนกวา่ จะเกิดความพร้อมทจ่ี ะอาสาเขา้ รว่ มดำเนินการด้วยอยา่ งเต็มตัว ๒.๔ วิธีดำเนนิ การ กระบวนการนิเทศการสอนแบบรว่ มพฒั นา เป็นกระบวนการนเิ ทศการสอนในชน้ั เรียนอยา่ งมรี ะบบครบ วงจร โดยเนน้ การสงั เกตการสอนอยา่ งมวี ตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื นำขอ้ มลู มาแก้ปัญหาและพัฒนาการเรยี นการสอน โดย มขี ัน้ ตอนวิธีการดำเนินการ ดังต่อไปน้ี ข้นั ตอนที่ ๑ คสู่ ัญญาตกลงร่วมกัน เป็นขั้นตอนท่คี รู ๒ คนท่ีสนิทสนมไว้วางใจซึ่งกนั และกัน ได้ ตกลงร่วมกนั ในการที่จะพฒั นาทักษะวชิ าชีพ โดยมีวตั ถุประสงค์จะรว่ มกันแกป้ ญั หาการจัดการเรียนการสอน หรือ ปรับปรุงพฤติกรรมการสอน โดยฝ่ายหน่งึ เปน็ ผสู้ อน และอีกฝา่ ยหนึง่ ทำหนา้ ท่ีเป็นคูส่ ัญญา คอยให้ความช่วยเหลือ แนะนำ ให้คำปรกึ ษาและให้กำลงั ใจ ซง่ึ สวมั พนั ธภาพของคู่สัญญา จะดำเนนิ ไปในลักษณะของเพ่ือนรว่ มอาชีพที่ม เจตนารมณ์และอุมการณเ์ ดียวกนั ความสมั พันธข์ องคูส่ ญั ญาทงั้ สองจะอยบู่ นพื้นฐานของความเป็นประชาธิปไตย ความเสมอภาค การยอมรบั ซึ่งกนั และกนั มีความจริงใจ ให้เกียรตกิ นั มีความพร้อมทีจ่ ะร่วมมือช่วยเหลือกนั ใน การแกป้ ัญหา และพัฒนาการเรยี นการสอนให้เกดิ สัมฤทธิผลจนเป็นทพี่ อใจรว่ มกัน ข้ันตอนท่ี ๒ วิเคราะห์ปัญหาการเรียนการสอนรว่ มกัน เปน็ ขนั้ ที่ครผู สู้ อนจะนำปญั หาท่ีพบใน การจดั การเรยี นการสอนมาปรึกษาหารือกบั คสู่ ัญญา เพ่ือแลกเปลยี่ นประสบการณ์ในการแก้ปัญหา และรว่ มกนั วเิ คราะหห์ าสาเหตขุ องปญั หา ซ่งึ อาจใช้แผนภมู ิก้างปลาในการศกึ ษาสาเหตขุ องปัญหา และช่วยกันรวบรวมขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ที่จะเป็นแนวฃทางในการวางแผนแก้ปญั หา โดยอาจนำปญั หาและสาเหตุทว่ี ิเคราะห์ได้ไปปรึกษาหัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ซง่ึ มีบทบาทเป็นผู้นเิ ทศโดยตรงอยู่แล้ว หรือปรกึ ษาหารือเพ่ือนรว่ มงานในกลมุ่ สาระการ เรยี นรู้ ซ่งึ อาจเปน็ ผเู้ ชรายวชาญหรอื มปี ระสบการณ์เกย่ี วกบั ปัญหาในลกั ษณะเดียวกนั มาแล้ว ขนั้ ตอนที่ ๓ กำหนดวัตถปุ ระสงค์ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนา เป็นขนั้ ตอนทผ่ี ูส้ อนจะตกลงใจ เลอื กปัญหาท่สี ำคัญ และต้องการแก้ไขกอ่ นมาระบุวตั ถปุ ระสงคใ์ นการแกป้ ัญหาหรือพัฒนา ส่วนคสู่ ญั ญาจะมี หนา้ ทคี่ อยเป็นคคู่ ิดให้คำปรึกษาและให้กำลงั ใจ ขน้ั ตอนท่ี ๔ วางแผนการสอนและผลิตสอ่ื เปน็ ขัน้ ตอนทผ่ี ้สู อนจะนำจุดประสงค์การเรยี นรู้ และ เนื้อหาทีต่ ้องการใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ รียนท้ังจากในบทเรยี น และสื่ออน่ื ๆ มาวเิ คราะห์ร่วมกบั คู่สญั ญา เพือ่ วางแผนการ สอนและเตรยี มการผลิตสอื่ ประกอบการสอน โดยคู่สญั ญาจะทำงานรว่ มกนั กับผูส้ อนพร้อมทั้งช่วยปรับปรุง แกไ้ ข แผนการสอน และสือ่ ใหม้ ีประสทิ ธิภาพยิ่งข้ึน โดยทงั้ คู่จะรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั ในผลของการสอน ในการณีทีผ่ ูส้ อน ตอ้ งการให้ค่สู ญั ญาเขา้ ไปสงั เกตการสอน ค่สู ญั ญาจะได้เข้าใจบทเรียนเพิ่มข้นึ จากการเข้าไปมสี ่วนร่วมในการวาง

10 แผนการสอน เม่ือผู้สอนเตรียมการสอนเรยี บร้อยแล้ว คู่สัญญากจ็ ะใหก้ ำลงั ใจ เพ่ือช่วยให้ผ้สู อนเกดิ ความมั่นใจ และเกิดพลังท่จี ะดำเนินการสอนใหเ้ กิดสัมฤทธิผลตามจดุ ประสงค์ที่ตั้งไว้ ขัน้ ตอนที่ ๕ วางแผนการนเิ ทศการสอน เป็นขน้ั ทท่ี ้งั ผสู้ อนและคูส่ ัญญาจะวางแผนรว่ มกัน โดย กำหนดวิธกี ารและแนวปฏิบัตใิ นการสังเกตการสอนในชั้นเรยี น รวมทง้ั ช่วยกนั สร้างเครือ่ งมือสังเกตการสอน ที่ เฉพาะเจาะจงตามวัตถุประสงคใ์ นการนเิ ทศแต่ละครั้งหรือเลือกเครื่องมือสังเกตการสอนท่มี ีอยู่แลว้ และทำความ เขา้ ใจเกี่ยวกับเครื่องมือสังเกตการสอนทจี่ ะใช้รวมทง้ั อปุ กรณทื จี่ ำเป็นต้องใช้ในขณะสังเกตการสอน ตลอดจนสรา้ ง ข้อตกลงร่วมกนั ว่าในขณะสอนและสังเกตการสอน ผ้สู อนจะอนญุ าตใหค้ ่สู ัญญาเข้าไปสงั เกตการสอนอยู่หลงั ช้ัน เรียน หรอื จะให้คู่สญั ญามสี ว่ นร่วมในการจัดการเรยี นการสอนหรอื รว่ มกจิ กรรมดว้ ย ตลอดจนตกลงรว่ มกนั ว่า จะแจ้งใหผ้ ูเ้ รียนทราบหรือไม่ว่าคาบเรยี นรจ้ี ะมีผมู้ าสังเกตการสอน จะสังเกตตลอดท้ังคาบลเรยี นหรือชว่ งเวลา หนึง่ ทั้งน้ี ขอ้ ตกลงท้ังหมดต้องอย่ใู นความยินยอมพร้อมใจ หรือความต้องการของผ้สู อนทั้งสิน้ เพอื่ ผสู้ อนจะได้ สบายใจไม่วติ กกังวลตอ่ พฤติกรรมการสงั เกตการสอนของคู่สัญญา ในกรณีท่ีผู้สอนต้องการจะสังเกตการสอนดว้ ย ตนเอง ค่สญั ญากจ็ ะมหี น้าทเ่ี พียงให้ความรว่ มมือชว่ ยเหลือและใหข้ ้อเสนอแนะในการสร้างหรือเลอื กใช้เคร่ืองมือ สงั เกตการสอนทเ่ี หมาะสมเท่าน้ัน ข้นั ตอนท่ี ๖ สอนและสังเกตการสอน เปน็ การรวบรวมขอ้ มลู เกย่ี วกบั พฤตกิ รรมการเรียนการ สอนของนักเรยี นและครู ตลอดจนสภาพการณฺทกุ อยา่ งท่ีเกิดขน้ึ ในห้องเรียน การสงั เกตการสอนเปรียบเสมือนการ นำกระจกบานใหญ่ไปตัง้ ไวห้ ลังวชนั้ เรียน เพื่อสะท้อนใหเ้ ห็นวา่ ในห้องเรียนน้นั มีอะไรเกิดข้นึ บ้าง และผู้สงั เกตกจ็ ะ บนั ทึกข้อม,ู ที่รวบรวมได้ไปวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ หรอื พิจารณา วนิ จิ ฉยั เพอื่ หาแนวทางในการปรับปรุง แก้ไข พฤติกรรมการเรยี นการสอนต่อไป ขนั้ ตอนที่๗วเิ คราะหผ์ ลการสอนและผลการสงั เกตการสอน เปน็ ขัน้ ทีค่ ู่สญั ญาจะรว่ มกนั วเิ คราะห์ ขอ้ มลู ที่รวบรวมได้จากการสงั เกตการสอน ซง่ึ จะค้นพบพฤตกิ รรมทั้งทป่ี ระสบความสำเร็จอยา่ งเด่นชัดของผสู้ อน และพฤติกรรมท่คี วรปรบั ปรงุ แก้ไข ในดา้ นตา่ ง ๆ ซึ่งผสู้ งั เกตไดร้ วบรวมไว้ทั้งหมด ตลอดจนขอ้ มลู หรือเหตุการณื ต่าง ๆ ท่ีเกิดขน้ึ ในขณะการเรียนการสอนกำลงั ดำเนินอยู่ ผสู้ ังเกตการสอนและผ้สู อนจะร่วมกนั วิเคราะห์ แปล ความ ตคี วามพฤติกรรมที่สงั เกตได้ และนำผลการวเิ คราะห์ มาอภปิ รายแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ซึ่งกันและกันบนพืน้ ฐาน ของความเสมอภาคจริงใจ และมคี วามม่งุ หวงั อย่างเดียวกนั คือ การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ข้ันตอนท่ี ๘ ให้ข้อมูลป้อนกลบั ซ่ึงกนั และกัน เปน็ ขั้นตอนเสริมสร้างขวัญ ทผี่ ทู้ ำหนา้ ทนี่ ิเทศ จะต้องใช้เทคนิคหรือกลวิธีหรือทกั ษะทลี่ ะเอียดออ่ น ที่มีประสทิ ธิภาพ ผู้นเิ ทศจะต้องพดู นอ้ ย ฟงั มาก ยอมรบั และ ใช้ความคดิ ของครูใหเ้ ป็นประโยชน์ต่อการนิเทศ ใช้คำถามช่วยคลค่ี ลายทำให้กระจ่างชัดเจนข้ึน ให้คำยกย่อง ชมเชยในผลงานของครู หลีกเลีย่ งการใหค้ ำแนะนำโดยตรง หากจำเป็นควรเสนอทางเลือกให้หลาย ๆ วิธีเพื่อให้ครู เลอื กวธิ ีการที่เหมาะสมเอง การสนับสนุนครูคำพ๔ด แบะการยอมรับและใชค้ วามรู้สกึ ของครใู ห้เป็นประโยชน์

11 หรือ ใชแ้ ซนวชิ เทคนิค ของ Bittlle ดงั น้ี ชมเชย ยกย่อง ยอมรบั ในผลงานที่ประสบความสำเร็จของครู อภิปราย- พูดคยุ ถึงพฤตกิ รรมทคี่ วรปรบั ปรงุ แก้ไขเพียงเล็กน้อย สรุปผลงาน แนะวิธีแกไ้ ข ใหก้ ำลังใจครซู ้ำอีกเพื่อจะไดเ้ กิด พลงั ในการนำข้อเสนอแนะไปปฏบิ ัตใิ หเ้ กิดผล) ประกอบกบั ตอ้ งมีศลิ ปะในการพูดผนวกกับการใช้จิตวทิ ยาในการ ให้คำปรึกษาซึ่งไมค่ วรให้มากเกินไปและไมค่ วรใหใ้ นส่ิงที่เป็นขอ้ จำกดั ผนู้ เิ ทศจะต้องเลอื กเฉพาะพฤติกรรมท่ี คาดคะเนวา่ ครจู ะสามารถปรับปรงุ หรอื เปล่ียนแปลงไดเ้ ท่าน้ัน การให้ข้อมลู ป้อนกลบั ต้องคำนึงสัมพนั ธภาพทาง วิชาชพี ทีต่ ง้ั อยบู่ นพนื้ ฐานของพฤติกรรม ดงั ต่อไปนี้ คือ ต้องเกิดจากความต้องการของครู มุ่งพัฒนาทักษะวชิ าชีพ รว่ มมอื กนั ในฐานะเพื่อนร่วมวิชาชพี มุง่ เฉพาะพฤติกรรมการเรยี นการสอนไมใ่ ชบ่ ุคลิกภาพของครู ครูมีความ พรอ้ มทีจ่ ะรับ สถานที่และจังหวะเวลาท่เี หมาะสม ครูมีส่วนร่วมทกุ ขั้นตอน อย่าใหม้ ากเกนิ ไป หลีกเล่ยี งการใช้คำ นยิ มส่วนตวั ให้ในลกั ษณะเชญิ ชวน ไม่ใช่การวัดผลการสอนของครู อยู่บนพื้นฐานของการนเิ ทศทางอ้อม ประชาธิปไตย เสมอภาค จริงใจ ใหเ้ กียรติกัน ยอมรบั ซึง่ กันและกัน ขน้ั ตอนท่ี ๙ วางแผนการสอนและการนเิ ทศการสอนต่อเน่ือง เปน็ การเรมิ่ ต้นวฏั จักรของ กระบวนการนิเทศอีกรอบหนึ่ง เพ่ือให้ครู และผ้นู ิเทศมีโอกาสทบทวนกระบวนการเรยี นการสอนร่วมกนั อีกคร้ัง หนึง่ และมโี อกาสเลอื กพฤตกิ รรมการเรียนการสอนทป่ี ระสบความสำเร็จไปในการสอนคร้ังต่อไป รวมทั้งเลือก พฤติกรรมการเรียนการสอนท่ีควรปรับปรุงในวฏั จกั รเก่าไปร่วมกนั ศกึ ษาหาแนวทางและวางแผนในการปรับปรุง โดยการนำพไปทดลองสอนและสงั เกตการสอนอกี ครั้งหนึง่ ในวัฏจักรใหม่ เทคนิคในการนเิ ทศของผู้นเิ ทศและความ มุง่ มัน่ ของผูร้ บั การนเิ ทศจะนำไปส่คู วามเปน็ ครูมืออาชีพ (Professional Teacher) ๒.๕ การกำกับ ติดตาม และประเมนิ ผล การประเมนิ ผลระหวา่ งการนิเทศ เพ่ือดคู วามก้าวหนา้ ของครูในการปฏบิ ัติงานการ จดั การเรียนการสอน การใช้สอื่ การประเมินเมือ่ ส้นิ สุดการนิเทศ เพื่อประเมินและสรุปผลตามเปา้ หมายท่ีกำหนด และนำผลการประเมนิ เป็นข้อมูลสารสนเทศไปใชพ้ ฒั นาในปกี ารศึกษาต่อไป ๒.๖ ผลสำเร็จที่ไดแ้ ละการนำผลไปใช้ - ครูเปน็ ผูน้ ำในการพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอน เหน็ ความสำคญั และประโยชน์ของ การนิเทศ พัฒนาตนเองเป็นผู้นำการนเิ ทศภายในโรงเรียน สามารถนิเทศตนเองและนเิ ทศเพื่อนครู ดว้ ยกันอยา่ งมีหลักวชิ าและมีรปู แบบท่ชี ดั เจน -ครูเกิดความภาคภมู ใิ จในวิชาชีพ และมุ่งมัน่ พัฒนาตนเองเปน็ ครูมอื อาชีพอยา่ งมาตรฐาน -ครู ให้เกดิ ความมน่ั ใจวา่ การนเิ ทศการสอนสามารถช่วยครูแกป้ ัญหาและพฒั นาการเรียน การสอนได้

12 ตอนท่ี ๓ ข้อมลู อ่ืนๆ เพมิ่ เตมิ โมเดลการนเิ ทศการศึกษาแบบรว่ มพัฒนา

13 การประชุมวางแผนการดำเนินงานและติดตามการปฏิบัติตามแผน

14

15 เยยี่ มช้ันเรียน

16 คุณภาพของผู้เรยี น

17


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook