Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จุลสารราชมงคล ตุลาคม-ธันวาคม 2562

จุลสารราชมงคล ตุลาคม-ธันวาคม 2562

Published by rmutt.news, 2020-01-07 23:25:18

Description: จุลสารราชมงคล ตุลาคม-ธันวาคม 2562

Search

Read the Text Version

สารบญั เร่อ� งจากปก 3 บทบรรณาธกิ าร ขา่ วนโยบาย 4 เปดิ รว้ั ราชมงคล 6 ณ วันนีบ้ า้ นของเรากา� ลงั กา้ วสู่ปที่ 45 ปแห่งการเปลี่ยนแปลง เพอ่ื คนเกง่ มทร.ธญั บรุ � 8 เตรียมความพรอ้ มก้าวเขา้ สู่ Innovative University ซึง่ กอ่ นหน้าห้วงเวลา สก๊ปู ขา่ วพิเศษ 10 อันสา� คญั นี้ มหาวทิ ยาลยั ไดข้ บั เคลื่อนทกุ องคาพยพอย่างเตม็ รปู แบบ รวม Student Activity 12 ถงึ การท�างานของกองประชาสัมพนั ธ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสื่อส่งิ พิมพ์ ท่ีได้ Hot News 14 เรม่ิ ปรบั เปล่ยี นเนื้อหาไปสู่ชอ่ งทางออนไลนเ์ ปน็ หลัก เพื่อลดปรมิ าณการใช้ สัมภาษณศ์ ษิ ย์เก่า 16 ทรัพยากรกระดาษ ท้งั ยงั ปรบั เนอ้ื หา (Content) ให้มคี วามนา่ สนใจ มีคุณคา่ สก๊ปู นวตั กรรม 18 ความเปน็ ขา่ วย่ิงขนึ้ กวา่ เดมิ ภายใต้การทา� หน้าทด่ี ังเดิมนัน่ คอื การน�าเสนอ สภาคณาจารยแ์ ละขา้ ราชการ 22 ภาพลักษณ์ทดี่ ี และเป็นสอ่ื กลางในการท�าความเข้าใจเรอ่ื งราวและส่งิ ตา่ ง ๆ ที่ ขอบคณุ ยงิ่ จากใจ 23 เกิดขนึ้ ของมหาวทิ ยาลยั ท่ีปรกึ ษา โหตระไวศยะ รักษาราชการแทน ตลอดป พ.ศ. 2562 ท่ีผ่านมา ในฐานะบรรณาธิการบริหาร ตอ้ งขอ อธิการบดี ขอบคณุ ผ้บู รหิ าร คณาจารย์ นักศกึ ษาและเจา้ หนา้ ท่ีทุกท่าน ท่ไี ด้มีส่วนร่วมใน นายวิรชั รองอธกิ ารบดี การสร้างสรรค์เร่ืองราวตา่ ง ๆ ซง่ึ ท�าให้งานด้านประชาสัมพนั ธ์ไดด้ �าเนินตอ่ รองอธิการบดี ไปอย่างราบรน่ื ดังเช่น ขา่ วสารด้านงานวิจยั นวัตกรรมและส่งิ ประดษิ ฐ์ รวม รศ.ดร.สุจิระ ขอจติ ต์เมตต์ รองอธกิ ารบดี ถึงกิจกรรม โครงการอันนา่ สนใจท่เี กิดขึน้ มากมายอย่างตอ่ เนอื่ ง ทั้งยงั ได้รับ ผศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รองอธิการบดี ความสนใจจากส่ือมวลชน ซงึ่ ไดค้ ดั เลอื กนา� เสนอขา่ วของมหาวิทยาลัยดว้ ยดี ดร.วิสทิ ธิ์ ล้อธรรมจกั ร รองอธิการบดี เสมอมา ผศ.นที ภู่รอด นายพงศ์พชิ ญ์ ต่วนภษู า กอ่ นทีก่ า้ วสปู่ ที่ 45 และปใหม่ พ.ศ. 2563 อยา่ งเปน็ ทางการ “ขอให้ ทกุ ทา่ นมคี วามสขุ และเปยมไปดว้ ยพละก�าลงั เพอื่ พร้อมที่จะด�าเนินต่อไป” และ เชอื่ มัน่ เป็นอยา่ งยิง่ ว่า “หากตัง้ มนั่ อยู่บนฐานความถูกตอ้ งดงี าม ทกุ ทา่ นจะมี วันทสี่ ดใสรออยู่ ตลอดทัง้ ป...เป็นแน”่ บรรณาธกิ าร (นางณฐั ชา กีรติกา� จร) นางณฐั ชา กรี ตกิ า� จร บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ ออกแบบและจดั รปู เลม่ นางสาวชลธชิ า ศรอี ุบล นางสาววิภาพร เกษม นายอลงกรณ์ รัตตะเวทิน ชา่ งภาพ นางสาวประอรสริ ิ สกุ นิล ประสานงานกองบรรณาธกิ าร นางสาวศจี ฑุ า ปอน้อย นางสาวถาวร สุม่ หริ ัญ นายสุรยิ า เมธาวรากร นายพนมฉตั ร์ คงพุม่ กองประชาสมั พันธ์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก อ�าเภอธัญบรุ ี จงั หวัดปทมุ ธานี 12110 เบอรโ์ ทรศัพท์ 02 549 4994 โทรสาร 02 549 4993 เว็บไซต์ www.rmutt.ac.th Facebook Fanpage : www.facebook.com/rmutt.official

เรือ่ งจากปก....อลงกรณ์ 3 นกั วจิ ยั มทร.ธัญบรุ ี กวาด 10 รางวลั ใหญ่ งานวิจัยสิ่งประดษิ ฐเ์ วที SIIF ท่เี กาหลี นายวิรชั โหตระไวศยะ รกั ษาราชการแทนอธิการบดี : คอนกรตี ท่เี ป็นมิตรตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มจากขยะอิเลก็ ทรอนิกส”์ โดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี เปิดเผยว่า อาจารยน์ ักวจิ ัย นกั ดร.ประชมุ ค�ำ พฒุ และผศ.ดร.รัฐพล สมนา คณะวศิ วกรรมศาสตร์ ประดษิ ฐ์และนักศึกษาจาก มทร.ธัญบรุ ี ได้เข้าร่วมประกวดและแสดง และรางวัลเหรียญทองแดง จากผลงาน “เฟอร์นิเจอรข์ น้ึ รปู ดว้ ย นทิ รรศการในงาน Seoul International Invention Fair 2019 (SIIF กระดาษหนังสอื พมิ พท์ างเลอื กใหม”่ โดย ผศ.ดร.วชริ ะ แสงรัศมี 2019)ที่กรุงโซลประเทศสาธารณรัฐเกาหลีล่าสดุ ปรากฏวา่ ผลงานของ คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ และผลงาน “ผลิตภณั ฑเ์ มด็ บีดสก์ ะเพรา” นักวิจยั และนักประดิษฐไ์ ทยของ มทร.ธัญบุรี ควา้ ทง้ั หมด 10 รางวัล โดย ผศ.ดร.อรวลั ภ์ อุปถมั ภานนท์ น.ส.ธิดารตั น์ ธาราวาสน์ ใหญ่ คือ 3 เหรียญทอง 2 เหรยี ญเงิน 2 เหรยี ญทองแดง และ 3 รางวลั น.ส.อรพรรณ หมเี ม่น จากคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ และผลงาน พิเศษ จากทงั้ หมด 8 ผลงานวิจยั โดย รางวัลเหรียญทอง ประกอบ “เครอื่ งพันขดลวดหมอ้ แปลงกึง่ อตั โนมัต”ิ โดย ผศ.ดร.จักรี ศรีนนท์ ด้วยผลงานเรื่อง “ผลิตภณั ฑ์ธรรมชาติจากสารสกัดจากโปรตีน ฉตั ร นายนฤพล กลิ่นน่ิมนวล นายธนพล อนิ ออ่ น นายศรัณยพ์ ร ถัว่ หรง่ั ไฮโดรไลเสท” โดย ผศ.ดร.กรวนิ ทว์ ชิ ญ์ บญุ พสิ ุทธนิ นั ท์ ศรตี ระกูลไพศาล นายทศพล แก้วรากมุข จากคณะวศิ วกรรมศาสตร์ วทิ ยาลัยการแพทยแ์ ผนไทย และรางวัลพิเศษจาก Patent Office ได้รับเหรียญรางวัลจาก King Abdulaziz University ประเทศ of Cooperation Council for the Arab States of the Gulf ซาอดุ อิ าระเบีย กลมุ่ ประเทศอาหรบั , ผลงาน “พอลิเมอรไ์ มโครแคปซลู ประสิทธิภาพ นายวิรชั กล่าวอีกว่า เป็นเรื่องที่น่าภาคภูมใิ จมากท่ีผลงาน สงู สำ�หรบั การนำ�เอนไซมก์ ลับมาใช้ใหม่” โดย ผศ.ดร.อมร ไชยสตั ย์ วิจัยของอาจารย์ มทร.ธญั บุรี ไดร้ ับรางวัลในครั้งน้ี โดยเฉพาะผลงาน ผศ.ดร.ปรยี าภรณ์ ไชยสัตย์ น.ส.จิตญา สาดชยั ภูมิ และ ดร.พงศธร จากวทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย ไดร้ บั ความสนใจจากนกั ธุรกิจและ ประภักรางกลู คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และรางวลั พิเศษ ภาคเอกชนเปน็ อยา่ งมาก รวมถงึ งานวจิ ยั ช้นิ อน่ื กไ็ ด้รับความสนใจ FIRI AWARD จากประเทศอหิ ร่าน และผลงาน “การยอ้ มสธี รรมชาติ ถูกขอซอ้ื ผลงานไปต่อยอดเชงิ อตุ สาหกรรม ในสว่ นของ มทร.ธัญบรุ ี จากฟางข้าวและการพัฒนาลวดลายผ้าขาวม้าเพื่อการแปรรูป พรอ้ มจะผลกั ดนั ใหง้ านวิจยั ของอาจารย์ออกสูเ่ วทีโลกให้มากยงิ่ ขนึ้ ถอื ผลิตภณั ฑส์ ่งิ ทอและยกระดบั ผลิตภณั ฑ์ OTOP” โดย นายกรณทั เป็นการสร้างชอ่ื เสยี ง สร้างความเชื่อมน่ั และศกั ยภาพของมหาวิทยาลยั สุขสวสั ด์ิ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เพื่อกา้ วสู่ Innovative University หรือมหาวิทยาลยั แหง่ นวัตกรรม สว่ นรางวลั เหรยี ญเงนิ จากผลงาน“ผลติ ภณั ฑเ์ จลลดรอยแผล ทั้งยังช่วยส่งเสริมภาคการผลิตของไทยให้สามารถขายงานวิจัยใน เปน็ ทม่ี สี ว่ นผสมจากสารสกดั วา่ นเพชรหงึ ” โดย ผศ.ดร.กรวนิ ทว์ ชิ ญ์ ระดบั โลกไดม้ ากขน้ึ บญุ พสิ ทุ ธนิ นั ท์ วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย และผลงาน “อเิ ลก็ ทรอกรตี จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562

4 ข่าวนโยบาย....อลงกรณ์ อว. จับมอื มทร.ธญั บรุ ี ลุย ‘โอทอปสัญจร’ เสรมิ ศกั ยภาพผปู้ ระกอบการไทย กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม(อว.)จบั มอื มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราช มงคลธญั บรุ ี (มทร.ธัญบรุ ี) พรอ้ มดว้ ย 3 จงั หวัดดัง จัดกิจกรรม ‘โอทอปสัญจร’ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในการใช้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละ นวตั กรรม (วทน.) มาพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ นายเพิ่มสุข สจั จาภวิ ฒั น์ เปดิ เผยวา่ กระทรวง อว. ไดล้ งพ้นื ที่ จัดกิจกรรมโอทอปสญั จร ร่วมกับ มทร.ธญั บรุ ีและทางจังหวัดปราจีนบุรี นครนายก และฉะเชิงเทรา เพอ่ื พฒั นา ผู้ประกอบการและยกระดับสินค้า โอทอปดว้ ยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม (วทน.) ที่ถือเปน็ งานทส่ี ำ�คัญงานหนง่ึ ของกระทรวงฯ และเป็นงานสำ�คัญของรัฐบาลตามแผนงานบูรณาการการพัฒนาและ ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โดยมีแนวทางสำ�คัญคือ รว่ มกบั สถาบัน การศึกษา โดย มทร.ธัญบุรี เพ่อื น�ำ ผลงานวจิ ัยและองค์ความรูเ้ กี่ยว “มทร.ธญั บรุ ี มคี วามยนิ ดที ่ีไดเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมโอทอป กับ วทน. ไปใช้ประโยชน์ ผา่ นกระบวนการถา่ ยทอดเทคโนโลยสี �ำ หรบั สญั จร เพ่ือเสรมิ ศกั ยภาพผู้ประกอบการไทย โดยทาง มทร.ธัญบรุ ี มี สร้างสรรคน์ วัตกรรม และเพ่มิ ศกั ยภาพใหก้ บั ผ้ปู ระกอบการในการ องค์ความรู้และประสบการณ์การท�ำ งานดังกล่าวทุกด้านที่มารองรับ พัฒนาผลติ ภณั ฑ์โอทอปให้ได้คุณภาพ มีมาตรฐาน เชื่อมนั่ ว่ากิจกรรม และสนบั สนุนในเร่อื งนี้ และได้นำ�คณาจารย์ นักวิจัยเขา้ มารว่ มให้ ท่ีจัดขึ้นนี้จะสามารถยกระดับผู้ประกอบการโอทอปให้มีความเข้มแข็ง คำ�ปรกึ ษาเชงิ ลึกแกผ่ ู้ประกอบการทเี่ ขา้ ร่วมด้วย และพรอ้ มท่ีจะ รวมท้งั สรา้ งรายได้อย่างยง่ั ยนื ต่อไปได้ สนบั สนนุ กจิ กรรมและผูป้ ระกอบการไทยเชน่ น้อี ยา่ งต่อเนือ่ ง” รอง อธิการบดี มทร.ธัญบุรี อธบิ าย ดา้ นดร.วสิ ทิ ธ์ิ ลอ้ ธรรมจกั ร ขณะท่ี นายประสงค์ คงเคารพธรรม กล่าววา่ การสง่ เสริม รองอธกิ ารบดี มทร.ธญั บุรี กลา่ วว่า และสนับสนุนการผลิตสินค้าโอทอปของผู้ประกอบการเป็นประเด็น กิ จ ก ร ร ม ใ น ง า น มี ก า ร แ น ะ นำ � สำ�คัญท่ีสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลผลิตและสร้างรายได้ให้แก่ประชาชน ผปู้ ระกอบการโอทอป ให้รจู้ ักและ ในพนื้ ที่ โดยเน้นการพัฒนาสินคา้ โอทอปด้วยนวตั กรรม ผสมกบั ทราบถึงการบริการของกระทรวงฯ ภูมปิ ญั ญา วิถชี วี ิต วัฒนธรรม พรอ้ มความคดิ สร้างสรรค์ ถอื เปน็ การ ผ่านแนวทางคูปองวิทย์เพื่อโอทอป สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและช่วยพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากอย่าง ชี้ให้เห็นความสำ�คัญของมาตรฐาน แทจ้ รงิ ถือเป็นโอกาสดขี องผปู้ ระกอบการทจ่ี ะไดร้ ับการถ่ายทอดองค์ สินคา้ และแนวทางการยกระดบั โอทอปด้วย วทน. ในรปู แบบของการ ความรู้และเทคโนโลยสี �ำ หรับใชใ้ นการพฒั นาสนิ ค้าอย่างเตม็ ที่ บรรยายและการเสวนา พรอ้ มให้ค�ำ ปรกึ ษาเพอื่ แก้ปญั หาและพฒั นา โอทอป ทงั้ ยงั รับสมคั รผปู้ ระกอบการที่มีความประสงคจ์ ะเข้ารว่ ม พฒั นาผลติ ภณั ฑด์ ว้ ย วทน. ขณะเดยี วกนั ยงั จดั นทิ รรศการตวั อยา่ งการใช้ วทน. พัฒนาผลิตภณั ฑ์ชมุ ชนและโอทอป การบริการดา้ นวิชาการ และการให้บริการด้านสินเชื่อและการเงินจากธนาคารที่เป็นประโยชน์ อย่างยิ่ง จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562

ขา่ วนโยบาย....อลงกรณ์ 5 มทร.ธัญบุรี ให้ทุนนวัตกร เล็งดึงเด็กเก่งเรียน นายวิรัช โหตระไวศยะ รักษาราชการ ทุนนวตั กร และ ทนุ เพชรบวั สวรรค์ ดังกลา่ วนี้ จะเป็นไป แทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ตามหลักเกณฑ์การให้ทุนการศึกษาตามประกาศของมหาวิทยาลัยที่ ราชมงคลธัญบุรี กลา่ วว่า ในปกี ารศึกษา ก�ำหนด เพ่อื ส่งตอ่ โอกาสและสนบั สนุนทางการศกึ ษาใหก้ ับผูท้ ี่มีความรู้ 2563 มทร.ธัญบุรี มโี ครงการพิเศษท่ีจะ ตงั้ ใจเรยี นและมคี วามสามารถพิเศษในด้านตา่ ง ๆ ตลอดหลักสตู รการ ใหท้ นุ การศกึ ษากบั นกั เรยี น นักศึกษาที่ ศึกษาและเป็นทนุ การศึกษาให้เปลา่ ซ่งึ ไม่มีข้อผกู มัดเมื่อส�ำเร็จการ ประสงค์เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีท่ี ศกึ ษา ขณะเดียวกัน ในปกี ารศึกษา 2563 ยังมี โควตาพเิ ศษส�ำหรบั มทร.ธัญบุรี หรอื ท่เี รียกวา่ ‘ทนุ นวตั กร’ นกั กีฬาดเี ด่น ดว้ ย เพื่อเปิดโอกาสและประชาสัมพันธ์ให้ โดยผู้สนใจสามารถเข้าศึกษารายละเอียดและดูคุณสมบัติ นกั เรยี น นกั ศึกษาที่มีผลการเรียนดี หรอื ไดร้ ับรางวลั จากการแข่งขัน เพม่ิ เติมไดเ้ วบ็ ไซตส์ �ำนักส่งเสริมวชิ าการและงานทะเบียน มทร.ธัญบรุ ี ทักษะด้านตา่ ง ๆ ในระดบั ชาติหรือนานาชาติ รวมถึงมีทักษะพิเศษ www.oreg.rmutt.ac.th หรือสอบถามโทร.0 2549 3690 – 92 สนใจเข้ามาศกึ ษาต่อในสาขาต่าง ๆ มเี อกสารรบั รองความสามารถจาก การไดร้ บั รางวลั การแขง่ ขันทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับสาขาวิชาทจี่ ะขอรบั ทุน มี ผลการเรียนในระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 หรอื ระดบั ประกาศนียบตั ร วิชาชีพและระดบั วชิ าชีพชั้นสงู โดยมีผลการศึกษาเฉล่ยี ไมต่ ่ำ� กว่า 3.00 มีทกั ษะทางสงั คมทีด่ ี มหี นังสอื รบั รองความประพฤติจากสถานศกึ ษา เดมิ ที่ก�ำลังศึกษาอยู่ รวมถงึ เป็นไปตามหลกั เกณฑ์การให้ทนุ การศึกษา ทุนนวตั กรตามทก่ี �ำหนด ซึ่งทุนการศกึ ษานป้ี ระกอบไปดว้ ย คา่ บ�ำรุง การศกึ ษาตามอตั ราเรียกเก็บของมหาวทิ ยาลยั ค่าทพ่ี กั และคา่ ใช้จ่ายรายเดือน นอกจากน้ี มทร.ธญั บุรี ยังมี ‘ทนุ เพชรบวั สวรรค’์ ใหก้ บั นักศกึ ษาท่มี ีความประพฤตทิ ่ดี ี ตัง้ ใจศกึ ษาเลา่ เรยี น และเป็น นักศกึ ษา มทร.ธญั บรุ ี ระดับปริญญาตรี ช้นั ปีที่ 2 หลกั สูตรปกติ ซง่ึ จะ ตอ้ งมีผลการเรียนเฉล่ียไมต่ ่ำ� กว่า 3.50 ของปีการศกึ ษาทข่ี อรบั ทุนและ ต้องมผี ลการเรยี นรายวชิ าไมต่ �่ำกวา่ C จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562

6 เปดิ ร้วั ราชมงคล....อลงกรณ์ ‘หัวเทค’ จีน ทุ่ม 125 ล. สร้างแล็ป ปนก�าลังคนดัน 5G ร่วมกับ มทร.ธัญบุรี นายวริ ัช โหตระไวศยะ รกั ษาราชการแทนอธิการบดี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี เปดิ เผยว่า มทร.ธัญบรุ ี ไดล้ งนามความร่วมมือกบั บริษัท ปกั กิง่ หวั เทค จงิ ชอ่ื อนิ ฟอรเ์ มชนั่ เทคโนโลยี จาำ กดั (หัวเทค) สาธารณรฐั ประชาชนจีน เพื่อร่วมมอื ในการจดั ต้งั หอ้ งปฏิบตั กิ าร ระหว่างคณะวศิ วกรรมศาสตร์ มทร. ธัญบรุ ี กบั หัวเทค โดยมี ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.สมชยั ฤชพุ ันธ์ุ กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผทู้ รงคุณวุฒิ และ นางพัชรนนั ท์ คงไทย ตวั แทนฝ่ายการศกึ ษา สถานเอกอคั รราชทูตไทย ประจำากรุง ปักกิง่ รว่ มเปน็ สักขพี ยาน เพื่อความรว่ มมอื กนั ทางการศกึ ษา ทง้ั การ สรา้ งทรัพยากรและสภาพแวดลอ้ มเพอ่ื การเรยี นการสอน การวิจัยฝึก อบรม และการแลกเปลยี่ นบคุ ลากร ซึง่ เปน็ การสง่ เสรมิ อาจารย์ของ มหาวทิ ยาลยั ให้มโี อกาสทาำ งานรว่ มกับเจ้าของเทคโนโลยี 5G ระดบั โลก โดยเฉพาะอย่างย่ิงในการก่อตงั้ สถาบันจงิ ชอื่ ท่คี ณะวศิ วกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี ที่จะเปดิ หอ้ งปฏิบตั ิการที่มคี วามทันสมัย รองรับเทคโนโลยี 5G Optical Communication Internet of Things (IoT) และ เทคโนโลยี ICT ขัน้ สงู ในอนาคต ซง่ึ ทางหัวเทคจะรว่ มสนับสนุน เครื่องมือและอุปกรณ์ตา่ ง ๆ มูลค่า 125 ลา้ นบาท เพ่ือยกระดับ มาตรฐานการศกึ ษา ผลติ กำาลงั คนระดบั สงู ให้มคี วามพรอ้ มในด้าน วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี เพือ่ เข้าสเู่ สน้ ทางการทำางานได้อยา่ ง มอื อาชพี ทงั้ ในและตา่ งประเทศตอ่ ไปได้ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562

7 ด้าน ผศ.ดร.ศิวกร อ่างทอง คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี กล่าวเพ่ิมเติมว่าความร่วมมือท่ีเกิดข้ึนภายใต้แนวทาง ‘One Belt One Road’ ซ่ึงเป็นยุทธศาสตร์ใหญ่ของจีนต่ออาเซียน ตามแนวคิดของประธานาธิบดีสี จ้ินผิง โดยสถาบันจิงชื่อท่ีจะเกิดขึ้น ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จะประกอบด้วย 5 ห้องหลัก ด้วยกันคือ ห้องจัดแสดงองค์ความรู้ ห้องเรียนและห้องปฏิบัติการ ห้องประชุม รวมถึงสำานักงาน ซึ่งได้ดำาเนินการไปแล้วหลายส่วน คาดว่าจะเปิดอย่างเป็นทางการในเดือนธันวาคมนี้ และจะพร้อมให้ บริการอย่างเต็มรูปแบบ ภายใต้การควบคุมคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญ จากสาธารณรัฐประชาชนจีน ท่ีจะมาให้คำาแนะนำา การร่วมกัน พัฒนาหลักสูตร และการศึกษาวิจัยร่วมกัน รวมถึงสามารถใช้เป็น ศูนย์กลางในการพัฒนากำาลังคน ในกลุ่มประเทศ CLMV ท่ีประกอบ ด้วยกัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี กล่าวอีกด้วยว่า สถาบันจิงชื่อ ท่ีกำาลังจะเกิดขึ้นท่ี มทร.ธัญบุรี เป็นการพัฒนาความ สามารถระหว่างประเทศด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และการ จัดการศึกษาที่มีความทันสมัย โดยอาศัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม ท่ีมีความก้าวหน้าและความได้เปรียบจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ซ่ึงมีความทันสมัย ได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับในระดับสากล โดยจะ เป็นประโยชน์ด้านการศึกษาท่ีจะเกิดข้ึนกับนักศึกษา คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ เพื่อท่ีจะสร้างกำาลังคนให้มีทักษะและ ความสามารถที่ทันต่อสถานการณ์โลกในยุคปัจจุบัน โดยเฉพาะ อย่างย่ิงในเรื่องเทคโนโลยี 5G จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562

8 คนเกง่ มทร.ธัญบุรี....อลงกรณ์ ศลิ ปกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบรุ ี คว้ารางวัลยอดเยี่ยม ‘ยวุ ศิลปนิ ไทย 2562’ นกั ศึกษาคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบรุ ี ปลอ่ ยของ ประลอง ไอเดยี ศลิ ป์ จากเวทีการประกวด ‘ยวุ ศลิ ปินไทย 2562’ โดยมูลนธิ ิ เอสซจี ี คว้า 2 รางวัลใหญ่ เตรยี มเขา้ รบั รางวลั ถ้วยพระราชทาน กรมสมเดจ็ พระเทพฯ พรอ้ มทัศนศึกษาตา่ งประเทศ รศ.ดร.สมพร ธรุ ี คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย “เอ”้ น.ส.นารีญา คงโนนนอก บอกเล่าถึงผลงาน เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี เผยวา่ คณะศิลปกรรมศาสตร์ ไดส้ ่งนกั ศึกษา ทเี่ ข้ารว่ มประกวดสาขาศลิ ปะ 3 มติ ิ ในชือ่ ผลงานระบ�ำใจ ใช้ เข้าร่วมในโครงการรางวลั ยวุ ศิลปนิ ไทย 2562 หรอื Young Thai Artist เทคนิคการป้นั หลอ่ โลหะ ขนาดกว้าง 70 ยาว 50 สงู 37 ซม. โดย Award 2019 โดยมลู นธิ เิ อสซีจีรวมกบั สถาบันการศึกษาและหนว่ ยงาน ผลงานมแี นวความคดิ ส�ำคญั ท่ีวา่ ดา้ นศิลปะชัน้ น�ำของประเทศไดจ้ ดั การประกวด ซ่งึ ถอื เปน็ เวทีเพอื่ ศิลปะ “ไมม่ คี รอบครวั ใดสมบรู ณ์แบบในทุก ๆ ด้าน กล่าว ส�ำหรับเยาวชนทใี่ หญ่ท่ีสุดแห่งหน่งึ ในประเทศ ใน 6 สาขาส�ำคญั ทง้ั คอื ความอบอนุ่ ของครอบครวั ไม่ได้ขึน้ อย่กู บั จ�ำนวนคนที่อยู่ ศลิ ปะ 2 มิติ ศิลปะ 3 มิติ ภาพถา่ ย ภาพยนตร์ วรรณกรรม รวมถงึ การ บ้านท่ีอย่แู ลว้ มคี วามสขุ ไม่จ�ำเป็นต้องหลงั ใหญ่ หากแตส่ ่งิ ที่ ประพนั ธ์ดนตรี ในการแจ้งเกดิ เปน็ ยวุ ศลิ ปินเลือดใหมใ่ นวงการศิลปะ เปน็ มีคอื ความเขา้ ใจ มีภมู ิคุ้มกนั ทด่ี ที ีส่ ุด ซง่ึ ตนนน้ั มคี วามรักจาก เวทีในการสร้างสรรค์ผลงานในวงกวา้ ง รวมถงึ สร้างแรงบนั ดาลใจในคณุ ค่า ครอบครัวทเ่ี ริม่ ต้นจากคุณแม่ ซึ่งเป็นผู้ผลักดนั และเป็นบอ่ เกิด ของศิลปะสาขาตา่ ง ๆ และทสี่ �ำคญั ผ้ทู ี่ได้รบั รางวลั ยอดเยี่ยมใน 6 สาขา ของความสขุ ความอบอนุ่ ใจ และความสนกุ ใหก้ บั ลูก ๆ และ จะไดร้ ับรางวัลถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ เกดิ เปน็ รอยย้มิ จงึ ไดห้ ยิบยกความสขุ ของตนในครอบครวั มา พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี สร้างเปน็ ผลงานประติมากรรมโลหะสที องนี้” มทร.ธญั บรุ ี คว้า 2 รางวัล น�ำโดยศษิ ยเ์ ก่าคณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาวชิ าประตมิ ากรรม ทีเ่ พงิ่ เขา้ รับพระราชทานปริญญาไปเมือ่ เดือน สงิ หาคมทผี่ ่านมา “เอ”้ น.ส.นารญี า คงโนนนอก ซ่งึ ไดร้ บั รางวลั ยอด เยี่ยม (Grand Prize) พรอ้ มถ้วยพระราชทานกรมสมเด็จพระเทพฯ รางวลั เงนิ สด และไดไ้ ปทศั นศกึ ษาชมผลงานศลิ ปะในตา่ งประเทศ และ ถอื เป็นโอกาสอันดีอกี ครงั้ ของ “กู๊ด” นายสยาม แช่มช้อย นักศึกษาชน้ั ปีท่ี 5 สาขาวิชาดนตรีคตี ศิลป์สากลศกึ ษา ที่ได้รบั รางวัลดเี ดน่ พร้อม รางวลั เงินสดในโครงการรางวัลยวุ ศลิ ปินไทย 2562 ซึ่ง “กดู๊ ” เคยเข้า รว่ มประกวดและไดร้ บั รางวลั ดเี ดน่ เมอื่ ปี 2561 ที่ผ่านมา จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562

9 เอ้ ยงั บอกอกี วา่ ผลงานระบ�ำใจน้ี สรา้ งสรรคแ์ รงบนั ดาลใจ เชงิ บวก ทเี่ รมิ่ ตน้ จากครอบครวั แสดงการเคลอื่ นไหวหรอื มฟู เมน้ ทต์ า่ ง ๆ จากตวั บคุ คล เปน็ งานลอยตวั ทม่ี คี วามงามรอบดา้ น และใชท้ ศั นธาตุ ในการแสดงความงาม แสดงสขี องเนอ้ื โลหะจรงิ ซง่ึ กวา่ จะเกดิ เปน็ ผล งานดงั กลา่ วนผ้ี า่ นหลายขนั้ ตอนมาก เรม่ิ ตง้ั แตค่ ดิ คน้ ไอเดยี รา่ งลายเสน้ จากดนิ สอ ปน้ั ตน้ แบบ ขยายสเกลจากดนิ เหนยี ว ท�ำแมพ่ มิ พ์ รวมถงึ หลอ่ เปน็ โลหะ จนเกดิ เปน็ ผลงานทม่ี คี ณุ คา่ มโี ครงสรา้ งทน่ี า่ สนใจ รปู ทรงแปลกตาและสรา้ งสมดลุ ตามหลกั การออกแบบทางงานศลิ ป์ โดย มี ผศ.ดร.ไชยพจน์ หวลมานพ อาจารยค์ ณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มทร. ธญั บรุ ี เปน็ ทปี่ รกึ ษา “ดใี จทผี่ ลงานของตนไดร้ บั การยอมรบั จนน�ำไป สรู่ างวลั อนั ทรงเกยี รติ ทถี่ อื เปน็ เกยี รตแิ ละเปน็ มงคลแกต่ นเอง สว่ น อนาคตนน้ั ตง้ั เปา้ เปน็ ศลิ ปนิ อารต์ ตสิ ทจี่ ะสรา้ งผลงานทม่ี คี ณุ คา่ และ อยากท�ำใหศ้ ลิ ปนิ มชี อื่ เสยี งและไดร้ บั การยอมรบั ในระดบั โลกตอ่ ไป” สว่ น “กู๊ด” นายสยาม แชม่ ช้อย ทไี่ ดร้ บั รางวลั ดีเด่นใน สาขาการประพันธ์ดนตรี เลา่ ว่า ตนไดป้ ระพนั ธด์ นตรีจากแรงบนั ดาล ใจทตี่ ้องการท�ำใหส้ นุก คิดให้มาก และแสดงออกมา ด้วยการน�ำแนวคิด ทฤษฎสี มั พันธภาพของอัลเบริ ์ต ไอน์สไตน์ มาเชอ่ื มกบั ดนตรี และตง้ั ค�ำถามทีว่ ่า หากเปน็ เสยี งจากสมการดงั กล่าวจะเปน็ อย่างไร ซึ่งเบ้ือง หลงั การสรา้ งสรรค์ผลงาน ก๊ดู บอกวา่ “ตนได้ลงมือค้นควา้ หาข้อมลู มากมาย กว่าจะเกิดไอเดยี ท่ีสรา้ งสรรค์และเป็นเอกลกั ษณ์ ขณะ เดยี วกนั ยังได้ใช้เครอ่ื งดนตรตี ามทีโ่ จทยก์ �ำหนด คือ Flute Oboe Clarinet Bassoon French Horn และ Piano” และบอกอกี ด้วย วา่ “ดีใจทีไ่ ด้รับรางวลั ดีเดน่ ยวุ ศิลปินไทย สาขาการประพันธด์ นตรี เปน็ ครั้งที่ 2 และขอบคณุ อาจารยณ์ ฐั พล ดีค�ำ ในฐานะอาจารยท์ ี่ ปรึกษา ทีใ่ ห้ค�ำแนะน�ำและขอ้ ชี้แนะส�ำคญั ในครง้ั นี”้ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562

10 สกู๊ปข่าวพเิ ศษ....ชลธิชา นศ.วศิ วะเกษตร มทร.ธญั บุรี บรกิ ารถ่ายน�ำ้ มนั เครอ่ื งยนตเ์ กษตร นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมเครอื่ งจกั รกลเกษตร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี บริการเปล่ียนถ่ายน้�ำมันเคร่ืองยนต์ ทางการเกษตรฟรี ณ วสิ าหกิจชุมชนศูนยข์ า้ วชมุ ชนบึงสน่นั ต.บงึ สนั่น อ.ธญั บรุ ี จ.ปทมุ ธานี รศ.ดร.เกรียงไกร แซมสีมว่ ง ผู้รบั ผิดชอบโครงการ และอาจารย์ประจ�ำ สาขาวชิ าวศิ วกรรมเครอ่ื งจักรกลเกษตร เผยว่า ตามทปี่ กี ารศกึ ษา 2563 ทาง ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร ได้ปรบั เปลย่ี นหลักสูตรสาขาวชิ าวศิ วกรรมเครือ่ งจกั ร กลเกษตร เปน็ สาขาวชิ าวิศวกรรมเกษตรอตุ สาหกรรม เพื่อสรา้ งก�ำลังคนทมี่ ี สมรรถนะสงู ส�ำหรับอตุ สาหกรรม ตามนโยบาย Thailand 4.0 ไดล้ งพื้นทใี่ นการ ประชาสมั พันธ์สาขาวิชา และท�ำกจิ กรรมจิตอาสาในการบรกิ ารเปลย่ี นถา่ ยน�ำ้ มนั เครื่องยนตท์ างการเกษตรฟรี และบริการวชิ าการสาธติ เครื่องฉดี พน่ ยาก�ำจดั โรคบน ยอดมะพรา้ ว และสาธิตเครือ่ งขดุ ดิน ใหแ้ ก่เกษตรกร มีอาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษาชั้นปี ที่ 3 เข้าร่วมกจิ กรรมในคร้งั นกี้ วา่ 40 คน ลงมอื ปฏบิ ัติ น�ำความร้ดู า้ นเทคนิคการ เปล่ียนถา่ ยน้�ำมนั เคร่ือง ส�ำหรับเคร่ืองยนตท์ างการเกษตรมาใช้ และไดน้ �ำความรู้ ดา้ นเกษตรอัจฉริยะสมยั ใหมถ่ ่ายทอดแกก่ ล่มุ เกษตรกรสวนมะพร้าว แก้ปัญหาที่ เกดิ ขึ้นกับสวนมะพรา้ ว และเพิ่มพนู ความรู้ ความสามารถ ด้านการใช้เทคโนโลยี เกษตรอัจฉรยิ ะสมัยใหม่ ซ่งึ เปน็ การพัฒนาศกั ยภาพนักศึกษาสาขาวชิ าวิศวกรรม เครือ่ งจักรกลเกษตร และให้ตรงกบั ความต้องการของกลุ่มเกษตรกร บรู ณาการ วิชาการเรียน ใหเ้ ข้ากบั สภาพชมุ ชน และวถิ ีชีวติ ฝึกการท�ำงานเป็นทีมและการมี จิตอาสา เสียสละ และท่ีส�ำคญั ในการลงพน้ื ท่ใี นวันนี้ นกั ศกึ ษาไดร้ ู้ไดเ้ ห็นจริง เกดิ ความคดิ น�ำไปต่อยอดในการคิดโปรเจค และน�ำกลับมาช่วยเหลือชุมชนตอ่ ไป จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562

11 นายเนอ่ื ง เจรญิ จันทร์ ประธานนาแปลงใหญ่ชมุ ชน บึงสนน่ั เลา่ ว่า ทางกลุ่มมเี กษตรประมาณ 34 ครวั เรือน พ้ืนท่ี 1,136 ไร่ ยึดอาชีพท�ำนา และสวนมะพร้าวเปน็ อาชพี เสรมิ โดยปัจจุบนั ทางกลมุ่ ได้รณรงค์และพยายาม ใหข้ า้ วของกลุ่มเปน็ ข้าวปลอดสารพษิ โดยเมอ่ื ปี 2561 ทางกลุ่มได้รับการวิเคราะห์จากกระทรวงสาธารณสุข ได้รับเปน็ ข้าวปลอดสารพิษ ในการมาท�ำกิจกรรมของ นกั ศึกษาในวันน้ี เป็นกิจกรรมท่ดี มี าก นกั ศึกษาได้ ประสบการณ์ เรียนรู้วิถชี ีวติ ของเกษตรกร ดีใจทคี่ นรุ่นใหมเ่ หน็ ถงึ ความส�ำคัญของเกษตรกร น�ำความรู้ท่ีเรียนพฒั นานวัตกรรมทางการเกษตร เช่น เครอ่ื งฉดี พ่นยาก�ำจัดโรคแมลงบนยอด มะพร้าว ท่นี กั ศึกษาได้น�ำมาสาธติ ในวันน้ี ตลอดจนการเปลี่ยนถ่ายถ่ายน้�ำมันเคร่อื งให้ฟรี เปน็ บรกิ ารทดี่ ีมาก ฝากถึงอาจารยแ์ ละนกั ศึกษาอยากใหพ้ ฒั นาเครือ่ งมือ นวัตกรรมใหม่ ที่น�ำมา ช่วยและทุ่นแรงของเกษตรกรใหก้ บั กลุ่มต่อไป “ลโี อ” นายชุตชิ ัย ผดุงบุตร นกั ศกึ ษาชั้นปที ี่ 3 สาขาวชิ าวิศวกรรม เครือ่ งจักรกลเกษตร ประธานสโมสร นักศกึ ษาภาควิชาวิศวกรรมเกษตร เลา่ วา่ ทางภาควชิ าไดจ้ ดั กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมทกุ ปี ส�ำหรับโครงการในครั้งน้ีเป็นประสบการณ์ตรงที่ดีมาก ทไ่ี ดก้ าร ลงมอื ปฏิบัตงิ านจรงิ น�ำความรมู้ าใชจ้ ริงและเกิดประโยชน์ ตลอด จนการท�ำงานเป็นทมี โดยมีนักศกึ ษาเข้ารว่ มกว่า 30 คน แบ่ง ออกเปน็ 4 กลมุ่ ทุกคนตอ้ งช่วยกันท�ำงาน ดใี จท่ีได้มาวนั นี้ไดแ้ ลก เปลยี่ นกบั คณุ ลุงท่ีมาใชบ้ ริการ ได้ชว่ ยเหลือเกษตรกร เชน่ เดียวกบั “พีค” นายวศิ รุต จนิ ตนากานนท์ นักศกึ ษาช้นั ปที ่ี 3 สาขา วชิ าวิศวกรรมเครือ่ งจักรกลเกษตร เลา่ ว่า ไดน้ �ำความรทู้ ไี่ ดเ้ รยี นมาใชใ้ นวนั น้ี ในการ เปลี่ยนถ่ายน�้ำมันเครือ่ ง ไมไ่ ดม้ ขี ้นั ตอน อะไรทซี่ ับซอ้ น ซง่ึ จากการสอบถาม เกษตรกรส่วนใหญ่จะซอื้ น้�ำมนั มาเปล่ยี น มาวันนีไ้ ดม้ าช่วย และได้มีโอกาสพดู คุยกบั เกษตรกร ซ่ึง เป็นการแลกเปลยี่ นความรูท้ ีห่ าไม่ได้ในหอ้ งเรยี น ตอ้ งมาเจอขณะ ทีล่ งมอื ปฏิบัติ ส�ำหรบั กจิ กรรมช่วยเหลือสังคม ทางภาควชิ าจัด กิจกรรมให้นักศกึ ษา ได้รู้จักการเสยี สละ ยกตัวอย่าง กิจกรรม ท�ำความสะอาดวดั สนั ติวฒั นาราม จ.พระนครศรีอยุธยา จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562

12 Student Activity....อลงกรณ์ ศิลปศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี โชว์ศกั ยภาพ ชว่ ยงานใหญ่!! ‘อาเซียนซัมมิท’ นกั ศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี กว่า 70 ชีวิต โชว์ศักยภาพ ‘ล่ามภาษาและการจัดบริการ อาหารงานเลี้ยง’ ในการประชมุ สดุ ยอดอาเซียน ‘อาเซียนซัมมิท 2019’ เมอื งทองธานี ท่ีผา่ นมา เสร็จสิน้ เรียบร้อยกับการประชมุ สุดยอดอาเซยี น คร้ังที่ 35 และการ เ สี ย ง จ า ก ตั ว แ ท น ประชุมสดุ ยอดท่เี กย่ี วข้อง ณ ศูนยแ์ สดงสนิ คา้ และการประชมุ อิมแพ็ค เมืองทอง นั ก ศึ ก ษ า ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร ์ ธานี ภายใต้แนวคิด ‘ร่วมมอื รว่ มใจ ก้าวไกล ยง่ั ยืน’ ทช่ี าวไทยทุกคนไดร้ ว่ ม เร่ิมต้นคนแรกท่ี “มายด์” เปน็ เจา้ บ้านท่ีดแี ละตอ้ นรับแขกส�ำคญั อย่างอบอุ่น ซ่งึ ประกอบดว้ ยผนู้ �ำอาเซยี น น.ส.วันวิสา รงุ่ เรอื ง ชน้ั ปีที่ 4 ผนู้ �ำประเทศค่เู จรจาและคู่สมรส เลขาธกิ ารอาเซยี น เลขาธกิ ารสหประชาชาติ สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการ กรรมการผู้จัดการกองทุนการเงินระหว่างประเทศ รัฐมนตรีประเทศสมาชกิ สอื่ สาร บอกวา่ ตนและเพื่อน ๆ อาเซยี นและประเทศคเู่ จรจา รวมทัง้ เจ้าหนา้ ที่อาวโุ สอาเซียน เบ้ืองหลงั ในสาขากวา่ 15 คน ได้ชว่ ยงาน ความส�ำเรจ็ ดังกล่าวนนั้ มีหลายสว่ นท่เี กย่ี วข้อง ดงั เชน่ พลงั ของนกั ศกึ ษาคณะ โดยการร่วมเป็นล่ามภาษา ศิลปศาสตร์ มทร.ธญั บุรี ทีช่ ว่ ยงานโดยร่วมเป็นล่ามภาษาอังกฤษ ภาษาจนี ภาษา องั กฤษ ภาษาจนี ภาษาญป่ี ุ่น และภาษาเกาหลี บริเวณ ญีป่ ุน่ และภาษาเกาหลี รวมถึงร่วมจัดบริการอาหารงานเลี้ยง เพ่อื ดูแลผนู้ �ำชาติ จดุ คัดกรองผเู้ ข้ารว่ มประชุม ต้อนรับทา่ นนายกรฐั มนตรี ตา่ ง ๆ ท่เี ขา้ ร่วมงาน รัฐมนตรี และผ้นู �ำอาเซียน รวมถงึ คดั กรองผรู้ ่วมประชุม โดยปฏบิ ตั งิ านท้งั หมด 3 วัน “การท�ำงานร่วมกับสถานีต�ำรวจภูธร ปากเกร็ดบริเวณเครื่องตรวจจับโลหะจะตรวจผู้เข้าออก วา่ พกมีดหรืออาวธุ อ่ืน ๆ เข้ามาหรือไม่ รวมถึงสามารถ ตรวจสอบวตั ถุในกระเป๋า เพื่อตรวจหาวัตถแุ ปลกปลอม และปอ้ งกันการกอ่ อาชญากรรม โดยใชเ้ คร่ืองตรวจจับ โลหะและวัตถตุ ้องสงสยั ท้งั ประเภท Gate และประเภท Handy”กรณพี บวัตถุตอ้ งสงสยั จะเขา้ ไปขออนญุ าตตรวจ ค้นตามข้อก�ำหนดและการปฏิบัติเน่ืองจากการประชุม ดังกล่าวต้องใช้ความปลอดภัยระดับสูงและเป็นมาตรฐาน ดังน้ันภาษาและทักษะการสื่อสารจึงมีความส�ำคัญอย่างยิ่ง รวมถงึ การมพี นื้ ฐานความรเู้ กย่ี วกบั วฒั นธรรมในแตล่ ะชาติ เพอื่ ให้เกดิ ความร่วมมือและแสดงออกการเป็นเจา้ บ้านท่ดี ี จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562

ส ่ ว น ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง า น ล ่ า ม ภ า ษ า 13 อกี คนหนง่ึ “โคช้ ” นายปฏพิ ัทธ์ สวุ รรณเบญ็ จางค์ ชนั้ ปที ่ี 4 เลา่ ว่าตนได้ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562 ใช้ประสบการณ์จากการฝึกสหกิจศึกษาที่ National Pingtung University ประเทศ ไตห้ วนั ในต�ำแหนง่ ผชู้ ว่ ยนกั ศกึ ษาตา่ งชาติ และประสานงานภายในวิเทศสมั พนั ธ์ มาใช้ ในการปฏิบตั ิงานครงั้ น้ี “สิ่งท่ไี ดร้ ับจากงาน กค็ ือการไดฝ้ ึกฝนทกั ษะการสื่อสาร ได้เรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม ตา่ งชาติ และไดร้ ว่ มเปน็ สว่ นหนงึ่ ของอเี วนตใ์ หญน่ านาชาตใิ นครงั้ น”ี้ และบอกด้วยว่าความส�ำเรจ็ ทเี่ กดิ ขึน้ นี้ มหี ลายสว่ นทต่ี อ้ งท�ำงานอย่าง เต็มก�ำลัง โดยเฉพาะงานในสว่ นของมาตรการความปลอดภัยท่ีตอ้ ง สร้างความเชอ่ื ม่นั ให้เกิดขึน้ “จากความชอบในการใช้ภาษาองั กฤษ การส่ือสารและการจัดงานต่าง ๆ จึงมองอนาคตของตนเองไว้ใน แนวทางการประกอบธุรกจิ ไมซ์ (MICE) ท่สี ร้างสรรคง์ านอเี วนต์ รวมถึงการเปน็ อาจารย์ในสาขาวชิ าภาษาอังกฤษเพื่อการสอื่ สาร” ด้านงานการจัดบริการอาหารงานเล้ียง หรอื แคทเทอรง่ิ ซงึ่ ท�ำงานรว่ มกบั ศนู ยป์ ระชมุ อมิ แพค “เดฟ” นายณฐั พงศ์ กลุ มา ชนั้ ปที ่ี 4 สาขาวชิ าการ จดั การโรงแรม เลา่ วา่ ไดเ้ ขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในการจดั บรกิ ารอาหารและเครอื่ งดมื่ รว่ มกบั เพอื่ นในสาขา ประมาณ 60 คน ซงึ่ เปน็ งานทต่ี อ้ งเตรยี มพรอ้ ม หลายดา้ น ทงั้ บคุ ลกิ ภาพ การแตง่ กายตามชดุ ยนู ฟิ อรม์ ทก่ี �ำหนด เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเปน็ ระเบยี บ ทงั้ ยงั ใชท้ กั ษะการบรกิ ารอาหารและเครอื่ งดม่ื อยา่ งมอื อาชพี “แมจ้ ะเหนอื่ ย แตเ่ ปน็ ประสบการณก์ ารท�ำงานจรงิ ดใี จทไี่ ดท้ �ำงานใหญแ่ บบนานาชาติ ไดเ้ รยี นรแู้ ละเหน็ มมุ มองตา่ ง ๆ โดยเฉพาะการจดั เตรยี มงาน การบรกิ าร อาหารและเครอ่ื งดมื่ และมองวา่ สว่ นหนงึ่ ทไ่ี ดร้ บั นี้ จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ตนเองในอนาคตหลงั จากส�ำเรจ็ การศกึ ษา” อกี หนึ่งสาว “มายด”์ น.ส.จุฑามาศ ลอย ลมโชค ชนั้ ปีที่ 4 สาขาวชิ าการจดั การโรงแรม บอก วา่ ในการท�ำงานดังกลา่ วนน้ั ตนไดใ้ ช้ความรู้จากการ ฝกึ งานที่ เดอะ เวสทนิ แกรนด์ สขุ ุมวิท ในแผนกที่ บรกิ ารอาหารและเครอ่ื งดม่ื หรือ Food & Beverage Service และการเรียนการสอนจาก มทร.ธญั บุรี ใน รายวิชาการจดั เล้ียงในภัตตาคาร การผสมเคร่ืองด่มื รวมถึงวิชาภาษา อังกฤษ ซึ่งในงานดงั กลา่ วไดจ้ ดั ในรปู แบบบรกิ ารแบบ Full Service ท้งั อาหารเรยี กน้ำ� ย่อย อาหารจานหลกั ขนมหวาน รวมถงึ เคร่อื งดื่ม และบอกอกี ด้วยว่า “ทง้ั หมดถอื เป็นประสบการณอ์ ย่างหนึ่งในชีวิต และเป็นโอกาสท่ดี ใี นการรว่ มท�ำงานส�ำคัญของประเทศ” อีกหน่ึงประสบการณ์ชีวิตการท�ำงานของเหล่านักศึกษา ศิลปศาสตร์ ทีไ่ ด้รว่ มแสดงออกถึงการเปน็ เจา้ บ้านทด่ี ีในการ ประชุมสุดยอดอาเซยี นและการประชุมสุดยอดที่เกยี่ วข้อง ในครั้งนี้

14 HOTNEWS....ชลธชิ า นฝกัน ศอึกันษสางู โสขดุ น นศ.มทร.ธัญบรุ ี “สรบื วมมแรสรดคงา” นกั ศกึ ษาภาควช� านาฏดรุ ย� างคศลิ ป สาขาวช� านาฏศลิ ปไทย คณะศิลปกรรมศาสตร มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ � เขารวมแสดงโขน เรอ่� งรามเกียรติ์ ตอน “สืบมรรคา” มลู นธิ สิ ง เสรม� ศลิ ปาชีพฯ 2562 ในสมเด็จพระนางเจา สิรก� ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหลวง “โดม” นายหตั ถพร แก้วหาญ นักศึกษา ชั้นปที ี่ 2 เลา่ ว่า ตนเองคดั เลอื กในส่วนของ โขนยกั ษ์ รอบที่ 1 ตน่ื เต้น ไม่มีสมาธิ สว่ น รอบท่ี 2 ต้ังใจและทาำ ใหด้ ีทีส่ ุด จนไดร้ บั คัด เลอื กเขา้ รว่ มแสดงในคร้ังน้ี การไดเ้ ป็นนกั “นอ้ งพ่กู นั ” นางสาวกัญญา ตพู้ ิจติ ร์ แสดงโขนพระราชทาน เปน็ ความฝันสงู สุด นักศกึ ษาช้นั ปีท่ี 3 เลา่ วา่ ครัง้ น้ีเป็นครั้งที่ ทีต่ นเองต้ังไวส้ ักครั้งในการเป็นนักศกึ ษา โดยตั้งใจฝกึ ซ้อมและแสดงให้ 3 ที่ได้รับคัดเลือกและได้รบั ทนุ ให้เข้ารว่ ม ดีท่ีสดุ ภมู ใิ จท่ไี ด้รว่ มเป็นนกั แสดงในครั้งนี้ การแสดงโขน เป็นเกียรติและภาคภมู ใิ จต่อ ตนเองเปน็ อยา่ งมาก โดยตนเองไดร้ ับบท เป็น นางบุษมาลี ต้ังใจฝึกซ้อม และเต็มที่ กบั การแสดง นาำ ศาสตร์ทไี่ ดเ้ รียนมาใช้อย่างสดุ ความสามารถ ในการ เขา้ ร่วมแสดงโขน นอกจากประสบการณใ์ นการแสดงโขนทไี่ ดร้ ับแล้ว ยงั ได้ความรจู้ ากครูศิลปนิ แห่งชาติ ทุกท่านถา่ ยทอดความร้ตู า่ ง ๆ ให้ โดยความรูเ้ ปน็ ความร้ทู ี่ท่านสะสมประสบการณม์ า สามารถนำาความรู้ มาปรบั ใชใ้ นการเรยี น และนำาไปสอนและเลา่ ประสบการณ์ในการเป็น นักแสดงโขนให้กับนักเรียนท่ีตนเองจะออกไปฝึกสอนและให้นักเรียน ฟังตอ่ ไป จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562

15 “โบ๊ท” นายเอกรัฐ อนุ่ กงราช นกั ศึกษา “มอส” นายประภาน ยมโคตร์ ชัน้ ปที ี่ 3 เลา่ ว่า เตรยี มตวั และพัฒนาตนเอง นกั ศกึ ษาชั้นปที ี่ 2 เลา่ วา่ ใฝ่ฝันต้ังแต่ เพ่ือเข้าร่วมในการคัดตัวนักแสดงมาต้ังแต่ เขา้ มาเรียนวิทยาลยั นาฏศลิ ป์ เมอื่ มี เขา้ มาศึกษาท่ีมหาวทิ ยาลยั ซง่ึ ปีน้คี ดิ ว่า โอกาสอยากเข้าร่วมคัดเลือกเพื่อเข้า ตนเองพร้อมแล้ว จงึ เข้าคดั เลอื กและไดร้ บั รว่ มแสดงโขนพระราชทาน ภมู ใิ จและ การคัดเลอื ก รบั บทเสนายกั ษ์ เปน็ เกียรติ ดใี จ รับบทในสว่ นของเสนายกั ษ์ เกบ็ กับตนเองและครอบครัว ความม่นั ใจและทา่ ทางท�ำ ใหต้ นเองได้รบั การ คดั เลอื กในครัง้ นี้ ตนเองเรียนรู้และพรอ้ มพฒั นาตนเองในระหว่างท่ีซ้อม เกย่ี วประสบการณท์ ี่ได้รบั ใหไ้ ดม้ ากท่ีสดุ นำ�ไปพัฒนาตนเองใน ภูมิใจทไี่ ด้เรยี นโขน และได้เข้ารว่ มแสดงโขนพระราชทาน นำ�ความรู้และ อนาคต และจะรักษาและอนรุ กั ษ์วฒั นธรรมไทย การเลน่ โขนให้ ประสบการณท์ ี่ไดใ้ นการเขา้ รว่ มแสดงครั้งนีม้ าปรบั ใช้ นำ�ไปถา่ ยทอดให้ลกู คงไว้คกู่ บั คนไทย เพอื่ สนองพระราชเสาวนีย์ของสมเด็จพระนาง ศษิ ยห์ ลังจากท่ีสำ�เร็จการศึกษา เจ้าสริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง “ไผ่” นายพีรวชิ ญ์ โมสันเทียะ นกั ศกึ ษาชั้นปที ี่ 2 เล่าวา่ ครั้งนเี้ ปน็ ครง้ั ท่ี 9 ที่ได้ ร่วมแสดงโขนพระราชทาน ซ่ึงไดเ้ ข้าร่วมแสดง ต้ังแตศ่ ึกษาอยวู่ ิทยาลัยนาฏศิลป์ศาลายา ใน ครงั้ นีไ้ ดร้ บั คัดเลอื กในส่วนของโขนลิง ภมู ิใจทกุ คร้ังทีไ่ ด้เป็นสว่ นหนึง่ ในการแสดงแต่ละตอน ได้ รกั ษาและต่อยอดวฒั นธรรมไทย สืบสานความเปน็ ไทย ไว้ใหค้ นรนุ่ หลงั ถ้า ไมม่ ใี ครสบื สานศิลปะแขนงนี้ คงหายไปจากประเทศไทย จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562

16 สมั ภาษณศ์ ิษยเ์ ก่า....ชลธิชา “เป็นเพียงลูกพ่อค้าแม่ค้า คงไม่มี โอกาสไดเ้ รยี นสูง ๆ หรือเรียนไกลถึง ต่างประเทศ ขอบคุณโอกาสที่ทาง มหาวิทยาลยั ฯ มอบให้ ผมจา� จนขนึ้ ใจ วา่ ต้องต้งั ใจเรยี น และพยายามทา� ให้ ดที ่สี ุด คนเราสามารถสร้างโอกาสให้ ตนเองได้ ถ้าเราพยายามท�า และเม่ือ ได้รนับักศโกึอษากคณาสะสถตาปอ้ ตยง์ ทม�าทใรห.ธส้ญั บ�าุรเี ร็จจดั ”นิทรรศการ “Si Ex Thesis Exhibition 2019” โชวผ์ ลงานวทิ ยานพิ นธ์ ดยกา้ นระกดาดับรกอราอศ.รกวพษิแัยบฒั ยบน 2์เากกปว8รา่่าะ เจทป80ศาี ใกน“ผมเลคอติงิขาณ็มนอ ง”ทอะศ่ีวานคูนิศายารก์วแยาลกรวะคทร้าิเ่อี ชดยริเู่อยีอมา็มรศคศยัวาอขเสทายี ตวร์ดร์าษ นกั ศึกษาทุนรัฐบาลญ่ีปนุ่ “เอ็ม” นายวเิ ชยี ร ขาวดาษ ศษิ ย์เกา่ จากสาขา สาขาวศิ วกรรมพลาสติก ภาควชิ าวิศวกรรมวสั ดุและโลหการ คณะ วิศวกรรมพลาสตกิ ภาควชิ าวศิ วกรรมวัสดแุ ละโลหการ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ชีวิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ นกั ศกึ ษาทุนรัฐบาลญป่ี นุ่ Japanese นกั ศกึ ษาปี 1 ช่วงแรกตอ้ งใชเ้ วลาในการปรับตวั กบั การเรยี น เพอ่ื น ๆ government (Monbukakusho: MEXT) Scholarship และส่งิ แวดล้อมใหม่ ๆ ซ่งึ ไมเ่ หมือนตอน ม.ปลาย และคดิ แค่ว่าจะ ปัจจบุ ันทาำ งาน ตำาแหนง่ Engineer/ Specialist in ตั้งใจเรยี นใหจ้ บป.ตรแี ละมอี าชีพทีด่ ที าำ พอแล้ว ในช่วงสอบของแตล่ ะ Humanities/ Int’l services ที่ TOHKEN THERMO TECH เทอม ตนอาสาตวิ หนังสือให้กับเพอื่ น ๆ เพอื่ ทบทวนใหก้ ับตัวเองและ แลกเปลย่ี นความรูก้ นั สรุปบทเรยี นในคาบเรยี นใหเ้ พอ่ื นใช้อ่านและตวิ CO., LTD การควบคุม ปรบั ปรงุ คณุ สมบัตขิ องช้ินส่วนให้ กอ่ นสอบตลอดการเรียน ชว่ งช้นั ปี 2 เมอ่ื มเี วลาว่างจะเข้าไปชว่ ยดแู ล ตรงตามความตอ้ งการของลกู ค้าครับ เช่น ความแขง็ แรง แลปและเปน็ ผูช้ ว่ ยวิจยั ในแลปของ ผศ.ดร.สมหมาย ผวิ สอาด ในการ คงทน ความเหนยี ว หรือทนต่อการรบั แรง คุณภาพของ เข้าไปช่วยอาจารย์เป็นการเรียนรู้และนำาความรู้ที่ได้มาใช้ในการเรียน โลหะท่ีเป็นช้ินส่วนรถยนต์ให้กับบริษัทรถยนต์รายใหญ่และ ซึ่งอาจารยเ์ ปน็ คนทใ่ี จดมี าก ดแู ลลูกศษิ ย์คอยชว่ ยเหลือทุกอยา่ ง และ รายยอ่ ยในญีป่ นุ่ มอบโอกาสที่ดใี ห้กบั ลูกศิษย์เสมอซงึ่ ตนกเ็ ป็นหนงึ่ ในน้นั เอ็ม เลา่ วา่ เป็นลกู คนโตและมีนอ้ งชายอกี 2 คน ท่ีบา้ นทำา ธุรกิจขายของตกแต่งสวน ที่จงั หวัดสิงหบ์ ุรี มีฐานะปานกลาง โดย สำาเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนบ้านแป้งวิทยา จ.สิงหบ์ ุรี (สายวิทย-์ คณิต) หลังจาก ม.6 “มองวา่ สายวิศวกรรม พลาสตกิ เป็นสาขาท่ีน่าสนใจ เป็นอะไรท่ีแปลกใหม่ เพราะพลาสตกิ เขา้ มามบี ทบาทในชวี ติ ประจำาวนั ” จงึ ไดส้ มคั รเรียนและสอบเขา้ ที่ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562

17 เมอ่ื ส�ำ เร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรี ดว้ ยเกรดเฉลี่ย (พลาสตกิ ) ปี 2 เรียนสายชีวเคมวี ิทยา มีเพ่อื นร่วมแลปทง้ั นกั ศึกษา 3.54 ไดร้ ับเกียรตนิ ยิ มอนั ดับ 1 และได้รับการคัดเลือกจากทางคณะ ญีป่ ุ่นและตา่ งชาตริ วม 23 คนตั้งแต่ป.ตร-ี ป.เอก ซึ่งแลปวิจยั 1 ห้อง วศิ วกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บุรี ใหร้ บั ทนุ รฐั บาลญ่ปี ุ่น เรียนต่อใน มีหอ้ งอาจารย์ 3 หอ้ ง หอ้ งแลป 4 ห้อง คอื ห้องวิจัยการสงั เคราะห์ ระดบั ปรญิ ญาโท-เอก ท่ี Kyoto Institute of Technology ซง่ึ ทาง ทางเคมแี ละชวี วทิ ยา, ห้องจุลชีววทิ ยา และห้องเครอ่ื งมอื ทดลอง ทกุ มหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับทาง มทร.ธญั บรุ ี ศกึ ษาตอ่ ในระดบั วนั จันทร-์ ศุกร์ต้องเขา้ แลปตัง้ แต่ 10.00 – 17.00 น. แตโ่ ดยสว่ นใหญ่ ปรญิ ญาโท – เอกท่ี Department of Bio-based Materials Science สมาชกิ ในแลปจะไม่ได้กลบั ตรงเวลา ข้ึนอยกู่ บั การทดลองงานวจิ ยั สาขา System Engineering for Bio-resources โดยเง่อื นไขสำ�หรบั แต่ละคน โดยงานวิจยั จบ ป.โท เป็นวจิ ยั เกย่ี วกบั การใช้เซลล์เช้อื เพลงิ ทุนรัฐบาลญปี่ ่นุ ท่ไี ด้รับ ตอ้ งศกึ ษาใหส้ ำ�เรจ็ ในระดับปริญญาโท-เอก ทางชีวภาพโดยใชเ้ ซลลูโลสและจุลนิ ทรยี ์ ภายในระยะเวลา 5 ปี ป.โท 2 ปี และป.เอก 3 ปี และต้องมีผลงานวิจัยที่ สว่ นการเรียน ป.เอก จะค่อนขา้ งเข้มข้นขน้ึ เม่ือเทยี บกบั ตพี มิ พว์ ารสารวชิ าการกอ่ นเรยี นจบป.เอกจ�ำ นวน 2 ฉบับ แต่ปจั จุบนั น้ี ป.โท งานวจิ ัยจะค่อนขา้ งลกึ และละเอยี ดเพอื่ ใชใ้ นการตีพมิ พ์วารสาร ตนมผี ลงานวิจยั ท�ำ พเิ ศษเพ่มิ อีก 1 ฉบับ รวม 3 ฉบบั ทนุ นเี้ ป็นทุน วชิ าการ ตามหลกั สูตรวิชาเรียนจงึ น้อยลง ทางหลักสูตรป.เอก จะใช้ เรยี นฟรีตลอดหลกั สูตร โดยทางรัฐบาลญีป่ นุ่ มเี งินค่าใช้จ่ายเดอื น วารสารวชิ าการ จ�ำ นวน 2 ฉบับในการส�ำ เรจ็ การศกึ ษา การใชช้ ีวติ ใน ประมาณ 147,000 เยน ส�ำ หรบั นกั ศึกษาป.โท และ1,480,000 เยน ญี่ปนุ่ แตล่ ะวันเวลามคี า่ ต้องพยายามเรยี นใหจ้ บภายในเวลาทกี่ ำ�หนด ส�ำ หรบั ป.เอก ซง่ึ เปน็ เงินไทยประมาณ 50,000 บาท ซง่ึ ค่าครองชีพ คือ 5 ปี “ท�ำ ให้ดที ีส่ ุด ถ้าเราทำ�ไม่ดี แน่นอนวา่ รนุ่ น้องก็อาจจะไมไ่ ด้ ท่ีญปี่ นุ่ ค่อนขา้ งสูงเมื่อเทียบกบั ไทย เงินในแตล่ ะเดือนต้องดแู ลและ โอกาสไดไ้ ปเรียนแบบตนเอง จึงตงั้ ใจทำ� ไม่ให้ใครตำ�หนิได้ และท�ำ บรหิ ารจัดการเอง ท้งั เรือ่ งหอพัก คา่ ใช้จา่ ยในชวี ิตประจำ�วันต่าง ๆ ทุกวนั ให้มีความสุข” เดอื นกนั ยายน 2562 ทีผ่ ่านมา ส�ำ เร็จการศกึ ษา ตอนปี 1 ไดอ้ ยูห่ อของมหาวทิ ยาลัยซ่ึงคา่ หอจะคอ่ นขา้ งถกู ในระดบั ป.เอก ความภาคภูมใิ จของลูกพ่อค้าแมค่ า้ และความภูมใิ จ ประมาณ 15,000 เยน/เดือน แตเ่ มอ่ื ขึน้ ปี 2 ต้องออกมาเชา่ หอข้าง ของตนเอง ซง่ึ มาจากเด็กเรียนโรงเรียนเลก็ ๆ ไมม่ ชี ือ่ เสียงมากนัก นอก จึงเชา่ หอเล็ก ๆ ติดกบั มหาวทิ ยาลัย ซึ่งราคาหออยูท่ ่ี 33,000 มีเด็กนกั เรยี นเพยี งไม่ถงึ 300 คน ความคิดตอนแรก ๆ ทีค่ ดิ แคเ่ รียนจบ เยน/เดือน สะดวกในการเดนิ ทางใกล้มหาวทิ ยาลัยเพียง 500 เมตร ป.ตรี ทำ�งานดูแลพ่อแมไ่ ดแ้ คน่ ้ีก็เกินพอ โดยไม่คิดว่าจะเรียนจบ ป.เอก โดยปั่นจกั รยานไปมหาวิทยาลัยทกุ วัน และตนเองชอบทำ�อาหารจึงทำ� หลังเรยี นจบอยากกลับมาเปน็ อาจารย์ที่ มทร.ธญั บุรี แต่ด้วยตอนนีไ้ มม่ ี อาหารทานเองซ่ึงราคาถูกกว่าเมื่อเทียบกับการกินร้านอาหารในญ่ีปุ่น ตำ�แหนง่ จึงทำ�งานท่ี TOHKEN THERMO TECH CO., LTD ในญี่ปุ่น อยู่ท่ีน่ันไม่ได้ใช้เงินฟุ่มเฟือยจึงมีเงินเหลือเก็บส่งกลับให้ครอบครัวและ ซึ่งเปน็ โรงงานอุตสาหกรรมทีม่ คี วามร่วมมอื กับ ทาง มทร.ธัญบรุ ี ใน ใหน้ อ้ งทงั้ สองเรียนต่อ เม่ือมาอยูต่ า่ งบ้านตา่ งเมอื งทุกคนก็ต้องปรบั ตัว การมอบทุนใหก้ บั รุน่ น้องเขา้ ศึกษาฝึกงานทกุ ๆ ปี โดยโรงงานดงั กลา่ ว สง่ิ ทเ่ี ปน็ ปญั หามากทส่ี ดุ ในการเรยี นชว่ งแรก ๆ คอื ภาษาและการสอ่ื สาร เปดิ ในหลายประเทศทง้ั ญีป่ ุ่น ไทย จนี มาเลเซีย และเมก็ ซโิ ก โดยท่ี แตด่ ้วยมพี ื้นฐานดา้ นภาษาอังกฤษ ช่วงแรก จงึ ใช้ภาษาอังกฤษในการ ญ่ีปุ่น เป็นบริษัทหลกั คิดไวจ้ ะท�ำ งานในโรงงานที่ญี่ปนุ่ ประมาณ 4-5 สอ่ื สารกับเพื่อนในแลป นำ�เสนอและอภปิ รายงานวิจัยตา่ ง ๆ เพราะ ปี เรียนรรู้ ะบบในการท�ำ งาน และกลับมาทำ�งานท่ีบริษทั เดียวกันทีต่ ัง้ วา่ ไม่มีความรทู้ างด้านภาษาญีป่ ุ่นเลย ยอมรบั วา่ กงั วล และทอ้ กบั การ อยใู่ นไทย หากน้อง ๆ อยากไดร้ ับโอกาสดี ๆ แบบน้ีแนน่ อนวา่ มทร. ส่ือสารกบั เพอื่ น ๆ ท่แี ลป เลยปรับเปลยี่ นตวั เองด้วยการหันมาเรียน ธัญบรุ ี สามารถเป็นสะพานสว่ นหน่งึ ทีจ่ ะพาเราได้มีโอกาสเรียนทีญ่ ปี่ ุ่น ภาษาญีป่ นุ่ เพม่ิ เติม เพอ่ื จะไดเ้ ข้าใจสงิ่ ทอ่ี าจารย์สอนอย่างลึกซ้ึง มี และมีงานดๆี หากเรามคี วามตั้งใจที่แน่วแน่ ต้ังใจเรยี น และทีส่ �ำ คญั เพือ่ น ๆ ญี่ป่นุ มากขึน้ สามารถเอามาใช้ในชวี ิตประจ�ำ วันได้ด้วย ซงึ่ คดิ เปน็ คนดี แน่นอนว่าความส�ำ เรจ็ กค็ งอยไู่ มไ่ กล วเิ ชียร ขาวดาษ กลา่ ว เสมอว่า “ทุกอย่างตอ้ งเริม่ จากศูนย์ ต้องมีการปรบั ตัว เราไมไ่ ด้มาคน ทิ้งทา้ ย เดียว แตเ่ อาหน้าตาของมหาวิทยาลัยและอาจารยม์ าด้วย จะต้อง ไม่เสียชื่อเสียง” จึงลงเรียนภาษาญปี่ ุ่น (ฟร)ี เพม่ิ เติมในมหาวิทยาลยั “ตลอดระยะ 3 ปีแรก ของทุกวนั ทอี่ ยูญ่ ่ปี ุ่น ตนเองจะฟัง mp3 บทสนทนาพ้นื ฐานภาษาญป่ี ุ่น” ใหเ้ กิดความชนิ หู คนุ้ ส�ำ เนียง พดู กบั เพอ่ื นในแลปบ่อย ๆ ซึ่งปัจจุบนั สามารถสื่อสารและใช้ภาษาญีป่ ุ่นได้ ใน ขณะเดียวกันตนเองยังพฒั นาภาษาองั กฤษเพ่ิมเติม จากยูทูป ด้วยการ ฟังเพลงและดหู นัง เพราะอยา่ งไรก็ตามภาษาอังกฤษเปน็ ภาษาสากลที่ อาจจะตอ้ งใช้ในอนาคต ในการเรียน ป.โท เรียนและเข้าแลปทำ�วิจัย ซ่งึ แลปวจิ ัย ทต่ี นเองเรียน มอี าจารย์ 3 ทา่ น โดยอาจารยแ์ ต่ละท่านจะมีความ เช่ยี วชาญแตกต่างกนั โดยปีที่ 1 เรยี นเกยี่ วกับการสงั เคราะหพ์ อลิเมอร์ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562

18 สกูป๊ นวตั กรรม....อลงกรณ์ นักวิจัย มทร.ธัญบุรี พลกิ ภาพลบหนอ่ ไมป้ บ๊ี !! สู่อาหารปลอดภยั นักวิจยั มทร.ธญั บุรี ลงพ้นื ทช่ี ว่ ย วสิ าหกจิ ชมุ ชน แปลงไผ่ใหญ่ จ.ปราจนี บรุ ี พฒั นาคณุ ภาพการผลิต หน่อไมด้ อง สู่อาหารปลอดภัย ลดปริมาณเกลอื ผา่ นการฆ่าเชอ้ื บรรจุแบบสุญญากาศ เพ่ิมศกั ยภาพ การขาย ทีมอาจารย์และนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ประกอบด้วย ดร.อารณี โชติโก ผศ.ดร.สมพงศ์ แสนเสนยา คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ผศ.ดร.ปาลดิ า ตง้ั อนรุ ตั น์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร พรอ้ มดว้ ย อาจารย์ ดร.ปพนพชั ร์ ภัทรฐิติวัสส์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ รว่ มกนั บูรณาการ ข้ามศาสตร์วิจยั ‘การพฒั นาและยกระดบั หน่อไม้ดองปบ๊ี สู่หนอ่ ไม้ดองแบบบรรจุ สุญญากาศ’ โดยการพฒั นาและยกระดับหน่อไม้ดองปบ๊ี สู่หน่อไมด้ องแบบบรรจุ สุญญากาศ แบ่งออกเป็น 4 สว่ น คือ (1) การวิเคราะห์สารปนเป้ือนและสารเจอื ปน ในหน่อไม้สดและผลติ ภณั ฑ์จากหนอ่ ไม้ (2) การใชก้ ล้าเช้ือแบคทเี รียกรดแลคตกิ เพ่อื ยกระดับคุณภาพการผลิตหน่อไม้ดอง (3) การศึกษาอณุ หภูมิและเวลาท่ีเหมาะสม ในการฆ่าเชอื้ ด้วยความรอ้ นของผลติ ภัณฑ์หน่อไม้ดอง และ (4) การประเมินและ ท�ำ นายอายกุ ารเกบ็ รักษาของผลติ ภณั ฑห์ น่อไม้ดองภายใต้สภาวะตา่ ง ๆ ดร.อารณี เปิดเผยวา่ ปราจีนบุรเี ป็นจงั หวดั มกี ารปลูกไผ่มากที่สดุ ใน ประเทศ และมีหนอ่ ไมท้ ีอ่ ร่อย รสชาติและคณุ ภาพท่โี ดดเด่น ซึ่งเป็นผลติ ผลทางการ เกษตรแบบฤดกู าล กล่าวคือจะมีมากจนล้นตลาด ราคาตกตำ่� ในช่วงฤดูฝน และปลูก ขึ้นยากมากในฤดแู ลง้ จึงท�ำให้หน่อไมถ้ กู น�ำมาแปรรูปเพ่ือให้สามารถเกบ็ ไดน้ านขนึ้ เพื่อใหม้ ไี ว้บริโภคไดต้ ลอดทงั้ ปี ดว้ ยเหตุนเี้ กษตรกรในพ้นื ทจ่ี งึ นยิ มน�ำหนอ่ ไม้ มาหมักดองดว้ ยภูมปิ ญั ญาพืน้ บ้าน เพ่ือเพิม่ มูลค่าและสามารถสรา้ งรายไดเ้ สริมให้ กบั เกษตรกร แมว้ า่ การดองหนอ่ ไม้จะเป็นภูมิปัญญาท่สี านต่อกันมารุ่นสรู่ นุ่ แตย่ ัง คงมอี ปุ สรรคท่ที �ำใหห้ นอ่ ไมด้ องที่ท�ำน้ันขายไดใ้ นราคาที่ไมส่ งู นกั เน่อื งจากปริมาณ วัตถุดบิ ไมแ่ น่นอน คณุ ภาพไมส่ ม�ำ่ เสมอ และในเรอ่ื งของความปลอดภัย ท�ำให้ ผ้บู ริโภคไม่มัน่ ใจในสินค้า จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562

19 ดังนั้นจึงได้ส่งเสริมการดองและเก็บรักษาในบรรจุภัณฑ์ที่ ผศ.ดร.สมพงศ์ ยงั กล่าวอกี ว่าการพัฒนาและยกระดับ เหมาะสม มคี ณุ ภาพ มีมาตรฐาน และเปน็ ทต่ี ้องการของผู้บรโิ ภค หนอ่ ไมด้ องปบ๊ี สูห่ นอ่ ไม้ดองแบบบรรจสุ ุญญากาศ ในโครงการงาน ยงิ่ ข้ึน ซ่งึ แตเ่ ดิมนน้ั หนอ่ ไมด้ องทเ่ี กษตรกรผลิตจะขายทั่วไปเพยี ง วิจัยการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มตลอดห่วงโซ่คุณค่าของสินค้า กโิ ลกรมั ละ17-20บาทแต่หลังจากท่ีทีมนกั วจิ ัยลงไปบริการวิชาการ หนึ่งต�ำบลหนึง่ ผลติ ภัณฑ์ (OTOP) บนฐานทรพั ยากรไผ่จงั หวัด ท�ำวิจัยเพื่อการพัฒนา รวมท้ังถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ไม่ยุ่งยาก ปราจีนบุรี ซึ่งเป็นหนึง่ ในโครงการวจิ ัยท่สี �ำนกั งานคณะกรรมการ สามารถท�ำได้เอง และไมต่ อ้ งลงทุนสูงนกั ผลลัพธ์ท่ไี ดอ้ อกมาเป็น สง่ เสริมวทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.) ท�ำรว่ มกับ มทร. ท่ีนา่ พอใจ สามารถเพม่ิ ราคาหนอ่ ไมด้ องไดร้ าคาสงู ถึงกโิ ลกรัม ทงั้ 8 แหง่ ในการวเิ คราะห์ห่วงโซ่อปุ ทานและใชน้ วัตกรรมสรา้ ง ละ 70-80 บาท โดยมีการพฒั นาเรื่องกระบวนการดอง การฆา่ เชือ้ ผลิตภณั ฑท์ ่นี �ำไปสู่สรา้ งคุณค่าและมลู ค่าเพ่มิ ให้กับสินคา้ OTOP การบรรจภุ ัณฑ์ และชจู ดุ ขายเรอ่ื งความสะอาด ปลอดภยั และ ท่วั ประเทศ ไม่มีวตั ถุกนั เสีย ผลลัพธ์ของโครงการวจิ ยั น้เี กิดจากการบูรณาการ ผ้สู นใจข้อมูลเพิ่มเตมิ สามารถติดตอ่ ที่ คณะวิทยาศาสตร์ ศาสตร์และการท�ำงานรว่ มกนั ของคณาจารยจ์ าก 3 คณะ ทมี่ กี าร และเทคโนโลยี มทร.ธัญบรุ ี จ.ปทมุ ธานี โทร. 02 549 4150. เช่ือมโยงและประยุกต์ใช้องค์ความรู้มาพัฒนางานวิจัยให้ประสบผล ส�ำเรจ็ ผศ.ดร.ปาลดิ า ได้สรุปกระบวนการท�ำหน่อไมด้ อง เรมิ่ ต้นจากการคัดเลือกสายพันธุ์โดยเลือกไผ่ตงศรีปราจีนซึ่งเป็นไผ่ท่ี มปี รมิ าณไซยาไนดต์ ่ำ� กวา่ สายพันธอุ์ ื่น ปอกล้างท�ำความสะอาด แลว้ หั่นหรือสบั เป็นชนิ้ ตามท่ตี อ้ งการ จากนั้นน�ำไปแชน่ ้ำ� และหา ชว่ งเวลาการแชน่ ำ�้ และหาปริมาณเกลอื ทีเ่ หมาะสม กอ่ นเขา้ สู่ กระบวนการดอง สิ่งหนึ่งทีศ่ กึ ษาและไดผ้ ลดีคอื หลังแช่เกลือดว้ ย ชว่ งเวลาทเี่ หมาะสมแล้ว ใหบ้ ีบน้ำ� ออกให้หมด จากนัน้ เติมน�้ำ มะพร้าวแกท่ ีต่ ้มสกุ ลงไป และปิดฝาหมัก ซ่งึ ท�ำให้ลดระยะเวลา การดองลงจากเดมิ ต้องใชเ้ วลา 2 สปั ดาห์ถึง 1 เดอื น แต่จากการ วิจัยด้วยกระบวนการดังกล่าวสามารถลดระยะเวลาการดองเหลือ เพียง 3-4 วันเท่านน้ั และไม่พบไซยาไนดห์ ลงเหลอื ในผลิตภณั ฑจ์ าก หน่อไม้ และขัน้ ตอนสดุ ทา้ ยนัน่ คอื การหาวิธีการฆ่าเชอื้ และคัดเลอื ก บรรจภุ ณั ฑ์ทเี่ หมาะสม โดยศกึ ษาถงึ อายุการเก็บรักษา การตรวจ คณุ ภาพทางเคมี กายภาพ จลุ ินทรียแ์ ละการทดสอบทางประสาท สมั ผัส จนเกดิ เปน็ องคค์ วามรูส้ �ำคญั ในการสร้างคณุ ค่าและมูลคา่ เพ่ิมใหก้ ับสินค้าโอทอปเกี่ยวกบั ไผ่ต่อไป ด้าน ดร.ปพนพชั ร์ กล่าวเพมิ่ เตมิ ว่า การพฒั นาและยก ระดับหน่อไมด้ องปบี๊ ส่หู น่อไมด้ องแบบบรรจสุ ุญญากาศ ท�ำใหเ้ กิด เป็นองค์ความรู้ส�ำคัญในการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า โอทอปเกี่ยวกับไผ่ตอ่ ไปได้ รวมถึงจากการลงพื้นทกี่ ไ็ ด้รบั ความ สนใจที่ดีจากเกษตรกรและผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปลง ไผ่ใหญ่ จ.ปราจีนบรุ ี เปน็ งานวจิ ัยท่ถี า่ ยทอดองคค์ วามรูใ้ นรูปแบบ บรกิ ารวิชาการใหก้ ับกลมุ่ เกษตรกร เพ่ือน�ำไปใชส้ �ำหรบั การลด ปริมาณสารพิษในหนอ่ ไม้และการพฒั นากระบวนการผลติ ทีด่ ี รวม ถึงเพื่อสร้างมาตรฐานผลิตภัณฑ์จากหน่อไม้ที่ปราศจากสารพิษต่อ ไป จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562

20 สกู๊ปนวัตกรรม...ชลธชิ า มทร.ธญั บรุ ี เพิ่มมลู คา่ ขยะทะเลไทย เป็นวัสดุก่อสร้าง หน่วยวิจัยวัสดุท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี น�ำทีม ดร.ประชมุ คำ� พุฒ และว่าทีร่ อ้ ยเอก ดร.กติ ติพงษ์ สวุ ีโร น�ำขยะจากทะเลไทยมาเพิ่มมูลค่า (Up-cycling) เป็นวัสดุก่อสร้างส�ำหรับอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่ และถ่ายทอดความรู้ใหก้ บั ชุมชน พน้ื ทแ่ี ถบชายทะเล ดร.ประชุม ค�ำพุฒ เล่าว่า ประเทศไทยมขี ยะทะเลตดิ อันดับหกของโลก ทาง ส�ำนักงานการวิจัยแหง่ ชาติ (วช.) ไดร้ ่วมมอื กับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พรอ้ มกับนัก วิจัยด้านวัสดแุ ละดา้ นสิ่งแวดลอ้ มจากคณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลธญั บุรี ด�ำเนนิ งานวิจยั โครงการ “ทะเลไทยไรข้ ยะ” เพ่ิมมลู คา่ ดว้ ยการ อพั ไซคล่งิ ขยะจากทะเลไทย ซึ่งในปีแรกของการด�ำเนินงานมุง่ เน้นการน�ำขยะทะเล ประเภทขยะพลาสติก ท้ังพลาสตกิ ทร่ี ไี ซเคิลได้ คอื ขวดนำ้� พลาสติก และพลาสตกิ ทีเ่ ป็นประเภทใช้คร้ังเดยี วไมน่ ิยมน�ำรไี ซเคิล ประกอบดว้ ย ถงุ พลาสติกหหู ้ิว แกว้ นำ้� พลาสติก ฉลากพลาสติกข้างขวด และหลอดดูดนำ้� พลาสติก ซึ่งขยะพลาสติกเหล่านี้ เป็นปัญหาหลักของประเทศที่ทุกภาคส่วนทราบดีว่ามีความส�ำคัญเร่งด่วนที่ต้องแก้ไข ปัญหาอยา่ งทา้ ทาย โดยในปีแรกน้ี ทางคณะวศิ วกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บุรี ไดท้ �ำการวจิ ยั ผลิตเป็น ผลติ ภณั ฑ์ อาทิเชน่ ถงั ขยะพลาสตกิ ดว้ ยกระบวนการข้ึนรปู แบบหมนุ จากขวดและ ฝาขวด ผลงานของ ดร.ณรงคช์ ยั โอเจรญิ ผลิตภัณฑ์วัสดผุ นังสามมติ ิส�ำหรบั ตกแตง่ ภายในอาคารจากขยะพลาสติก โดย ผศ.ดร.ธรรมศกั ด์ิ โรจนว์ ิรฬุ ห์ ผลติ ภัณฑ์วสั ดุ กระเบ้ืองยางปพู นื้ ยางพาราผสมขยะพลาสตกิ โดย ผศ.วรณุ ศิริ จกั รบตุ ร และผลิตภณั ฑว์ สั ดุปพู ้นื จากขยะพลาสติกประเภทใช้ครง้ั เดยี ว ของ หนว่ ยวิจยั วัสดทุ ี่เป็นมิตรต่อสงิ่ แวดล้อม ทส่ี ามารถน�ำมาตอ่ ยอด ในการสร้างมูลคา่ ทงั้ เชงิ พาณิชยแ์ ละเชงิ สังคม เน่ืองจากเป็นการก�ำจัดขยะที่ไม่ สามารถน�ำไปรไี ซเคลิ ในระบบดว้ ยการเพม่ิ มูลคา่ เปน็ วัสดุกอ่ สร้างทเี่ ป็นมิตรต่อส่ิงแวดลอ้ มแทนการน�ำไปฝังกลบหรอื เผาทงิ้ “การน�ำข้อดขี อง ขยะพลาสติกท่มี คี วามเบา และมคี วามเหนยี ว ไปใช้เปน็ วสั ดทุ ดแทนมวลรวมจ�ำพวกหินทรายก่อสร้าง ซึง่ หินทรายเปน็ ทรัพยากรสน้ิ เปลอื ง ท่ใี ชแ้ ลว้ หมดไป นับวันยงิ่ เหลือนอ้ ยลงทุกวนั และก�ำลังจะหมดไปจากประเทศในระยะเวลาอีกไมน่ าน” ในกระบวนการผลติ เน้นความเป็นมติ รตอ่ ส่ิงแวดล้อมด้วยการใชข้ ยะพลาสติกจากพน้ื ทแ่ี ถบชายฝัง่ ทะเล ในการลงพน้ื ที่เก็บขยะของ ชุมชนและกลุ่มอนุรกั ษท์ ะเลไทย ซงึ่ มีการเก็บขยะกนั อย่เู ปน็ ประจ�ำอย่างตอ่ เน่อื ง ตลอดจนการจัดกิจกรรมของภาครฐั และภาคเอกชนภายใน พน้ื ที่ รวบรวมขยะ น�ำไปแยกประเภท ท�ำความสะอาด และบดยอ่ ยเปน็ มวลรวมแทนท่ีมวลรวมปกตบิ างสว่ น ตามปริมาณท่เี หมาะสม โดย เลือกกระบวนการเทคโนโลยีการท�ำปฏิกิริยาระหว่างปูนซีเมนต์กับน�้ำเป็นสารเช่ือมประสานให้เกิดเป็นก้อนวัสดุแข็งแทนการเช่ือมประสานด้วย จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562

21 ความรอ้ นจากการต้มหรือการหลอมละลายพลาสติก เพ่ือหลีกเล่ยี งการเกดิ มลพษิ ตอ่ ผผู้ ลติ และผใู้ ชง้ าน โดยผลิตภัณฑท์ ไี่ ด้จากวธิ ีน้ี คอื กระเบือ้ งคอนกรีตปูพื้น และ บลอ็ กประสานปพู น้ื โดยมอี ตั ราส่วนการผสมเศษขยะพลาสตกิ มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ ชนดิ ของพลาสติกทน่ี �ำมาใช้ อย่างไรก็ดหี ากน�ำพลาสตกิ ทกุ ชนดิ มาบดยอ่ ยรวมกันก็ สามารถใชง้ านได้เลย ซงึ่ นบั เปน็ ขอ้ ได้เปรยี บของการผลติ กรรมวธิ ีนี้ เพราะว่าสามารถ ใช้ขยะพลาสตกิ ได้ทกุ ชนิดโดยไม่ต้องเหลอื ตกคา้ ง หรือเปน็ การใชข้ ยะให้เหลอื ศนู ย์ (Zero waste) น่นั เอง โดยหน่วยวจิ ัยฯ มกี ารทดลองส�ำหรับเลือกสตู รทีเ่ หมาะสมใน การผลิต ซึง่ จะส่งผลใหไ้ ดผ้ ลติ ภณั ฑท์ ถ่ี ูกต้องตามขอ้ ก�ำหนดของมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ อุตสาหกรรม (มอก.) และสามารถน�ำไปใช้งานได้จรงิ “นอกจากผ่านมาตรฐาน มอก.แล้ว ขอ้ เดน่ ของวัสดุก่อสร้างทีท่ �ำจาก ขยะทะเลไทย มีนำ้� หนกั เบา ลดการสะสมความร้อนไดด้ ีกว่าวัสดุประเภทเดยี วกนั ทวั่ ไปที่จ�ำหน่ายในทอ้ งตลาด สามารถสรา้ งสรรคอ์ อกแบบรปู ทรงรปู ร่างทสี่ วยงาม แตกต่าง” เป็นการยกระดับงานทางด้านวสั ดตุ กแต่งทางสถาปตั ยกรรม มีการท�ำสี ลวดลายผิวหน้า ตามความต้องการของผูใ้ ชง้ าน สามารถน�ำไปใชง้ านได้หลากหลายท้ัง การก่อสร้างและการตกแตง่ ส�ำหรับคอนโด บ้านจัดสรร และอาคารทั่วไป ตลอดจน เป็นวสั ดุเฟอร์นิเจอรภ์ ายในอาคารที่อนุรกั ษส์ ิ่งแวดล้อมและประหยัดพลังงาน โดยใช้ ขยะพลาสตกิ ทีน่ �ำข้นึ มาจากทะเลให้เกดิ ประโยชนถ์ ึงเกือบ 100% ด้วยอปุ กรณ์ เคร่อื ง มือการผลติ ตลอดจนการใชง้ านพน้ื ฐานทวั่ ไป ไมย่ ุ่งยากซับซ้อน มตี ้นทุนต�่ำ จึงมีความ คมุ้ คา่ ในการน�ำไปใชใ้ นเชิงพาณชิ ย์ เปน็ ทางเลือกใหมข่ องวสั ดกุ ่อสร้างแนวทางอนรุ กั ษ์ ธรรมชาตสิ ง่ิ แวดล้อมและเปน็ การรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม การน�ำวัสดกุ อ่ สร้างจากขยะทะเลไทย ไปใช้ประโยชน์ได้จริงในปจั จบุ นั นั้น เป็นการน�ำไปใชข้ ยายผลในทกุ ภาคส่วนทงั้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และชมุ ชน ประกอบดว้ ย องคก์ ารปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ท่ีอยใู่ นพ้นื ท่แี ถบชายทะเล พื้นท่นี �ำรอ่ ง อ.สัตหบี จ.ชลบุรี และในปีต่อไปจะขยายผลไปยังชุมชนขนุ สมทุ รจีน จ.สมทุ รปราการ ซึง่ มปี ญั หาขยะ ทะเลเป็นอยา่ งมาก ภาคเอกชนมีบริษทั พัฒนาอสงั หาริมทรพั ยร์ ายใหญ่ ตอ้ งการน�ำ ผลติ ภณั ฑ์ไปใช้งานในโครงการขนาดยกั ษ์ทม่ี ีมลู ค่าสงู ตลอดจนบรษิ ทั มหาชนอีกหลายบรษิ ัทท่ตี อ้ งการท�ำ CSR เพื่อสงั คม อกี ทั้งชุมชนที่ใหค้ วาม สนใจอย่างต่อเน่อื ง ซึง่ ปัจจุบันนไี้ ม่ใชเ่ พยี งแค่การใชป้ ระโยชนใ์ นพ้นื ท่ีแถบชายทะเลเท่านั้น โครงการนี้ยงั สามารถขยายผลไปจนถงึ ชมุ ชนท่ีอยบู่ น พนื้ ท่ีสูงซ่ึงเปน็ ตน้ ทางของขยะพลาสตกิ อีกด้วย อยา่ งเชน่ ชมุ ชนเมืองจงั จ.นา่ น เปน็ ต้น ซงึ่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ยงั ได้น�ำบล็อกปูพ้นื จากขยะ ทะเลไปท�ำการปพู ืน้ จ�ำนวน 60 ตารางเมตร ณ วดั อัมพาราม ต.นาจอมเทียน อ.สตั หีบ จ.ชลบุรี ในโครงการท�ำนุบ�ำรงุ ศิลปวัฒนธรรมและอนรุ ักษ์ ส่ิงแวดล้อมสัญจร ทางดา้ น วา่ ท่ีรอ้ ยเอก ดร.กติ ตพิ งษ์ สวุ ีโร เพิ่มเตมิ วา่ การเพิม่ มลู คา่ ขยะพลาสตกิ ในครง้ั นี้นอกจากเปน็ โจทยว์ จิ ัยของส�ำนกั งานการ วิจัยแห่งชาติ (วช.) แล้ว ยังเป็นโจทย์วจิ ัยเชิงพื้นท่ขี องส�ำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริมวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (สกสว.) เชน่ กัน ซ่ึงได้ ดูแลในส่วนน้ี จึงไดน้ �ำขยะพลาสตกิ ชมุ ชนทเี่ หลือท้ิงกอ่ นลงสทู่ ะเลจ�ำพวกขวดพลาสตกิ สีที่โรงงานรีไซเคลิ รับซอ้ื ในราคาท่ีถกู มากและบางโรงงาน ไม่รบั ซือ้ มาเพิม่ มูลค่าเปน็ บลอ็ กปพู ้ืนส�ำหรบั ใชง้ านในชุมชน โดยมีขอ้ ท่พี งึ ระวงั คอื การบดย่อยขยะพลาสตกิ ใหม้ ีขนาดพลาสติกทีบ่ ดย่อยแลว้ ตอ้ งไม่น้อยกวา่ ขนาด 5 มม. เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาไมโครพลาสติกที่ไหลลงส่ทู ะเลในอนาคต หากบล็อกปูพนื้ มีความเสียหายจากการใชง้ าน ปกติท่ัวไป ทงั้ น้ีขอ้ ดีของการน�ำขยะพลาสตกิ มากักไว้ในวัสดกุ ่อสรา้ งทเี่ ป็นคอนกรีตโดยไมใ่ ห้ขยะพลาสตกิ สมั ผสั กับสภาพแวดล้อมโดยตรง ท�ำให้ ไม่เกิดการแพรห่ รอื ปนเป้ือนขยะพลาสตกิ สสู่ ภาพแวดล้อมธรรมชาติอีกด้วย โดยผลงานดงั กล่าวยงั การนั ตีดว้ ยรางวัลเหรียญทองจากประเทศมาเลเซีย และรางวลั พเิ ศษ โดย World Invention Intellectual Property Associations ประเทศไตห้ วนั จากการประกวดในงาน 30thINTERNATIONAL INVENTION, INNOVATION & TECHNOLOGY EXHIBITION 2019 (ITEX’19) ณ กรงุ กวั ลาลมั เปอร์ ประเทศมาเลเซยี ปจั จุบันผลติ ภณั ฑ์ไดด้ �ำเนนิ กระบวนการยนื่ จดทรัพย์สินทางปัญญา ในสว่ นทีเ่ ก่ยี วข้อง ผปู้ ระกอบการและชุมชน ตอ้ งการข้อมูลเพิ่มเติมหรอื ต้องการน�ำไปตอ่ ยอดขยายผลผลิตและจ�ำหน่ายในเชงิ พาณชิ ย์ สอบถามขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ ไดท้ ี่หนว่ ยวจิ ยั วัสดทุ เี่ ป็นมิตรตอ่ สิง่ แวดล้อม โทร. 0 2549 3410 จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562

22 สภาคณาจารยแ์ ละขา้ ราชการ....ผศ.ดร.ศรชยั อาจารยเ์ รืองศกั ดิ์ ภธู รธราช ประธานสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี เขา้ ร่วมประชมุ ปอมท. ในการประชมุ สมยั สามัญ ครั้งท่ี 11 ประจำาปี 2562 ณ มหาวทิ ยาลยั พะเยา รองศาสตราจารย์ ดร.สภุ กร พงศบางโพธ์ิ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัยพะเยาเปน็ ประธานกลา่ วเปดิ การประชุมและกลา่ วต้อนรบั ประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลยั แห่งประเทศไทย ศาสตราจารย์ ดร.อำาพร ธำารงลักษณ์ และคณะกรรมการสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่ง ประเทศไทย จากมหาวิทยาลัยทว่ั ประเทศ กวา่ 40 ท่าน โดยมีผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ดาว เวยี งคำา ประธานสภาพนักงานมหาวิทยาลัย พะเยาพรอ้ มดว้ ยคณะกรรมการสภาพนกั งานมหาวิทยาลัยพะเยา เปน็ เจา้ ภาพในการจดั การประชมุ โดยมีวัตถปุ ระสงค์เพื่อเปดิ โอกาส ใหต้ วั แทนจากสภาอาจารย์ของมหาวิทยาลัยทวั่ ประเทศทั้ง 28 แหง่ ไดม้ โี อกาสพบปะเพื่อแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ นำาเสนอปัญหาของ บคุ ลากร และรว่ มกนั เสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปญั หาอยา่ งเปน็ รูปธรรม รวมทั้งหารอื แสดงความคดิ เห็น ส่งเสรมิ ธรรมาภิบาล ในอุดมศึกษาไทย โดยเฉพาะสว่ นท่ีว่าด้วยความโปร่งใส การมสี ่วนรว่ ม และความเป็นประชาธิปไตย เพอื่ สนบั สนุน สง่ เสรมิ และพฒั นา วิชาชพี อาจารย์ไทย ใหม้ คี วามกา้ วหนา้ และเป็นไปตามมาตรฐานสากล จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562

ขอบคณุ ยิ่งจากใจ....กองบรรณาธกิ าร 23 ในระยะเวลา 3 เดือนท่ผี า นมา สือ่ มวลชนดานโทรทัศนไดมาถา ยทำรายการ ผลงานของคณาจารย นักศึกษา และนำไปเผยแพรออกอากาศทางสถานโี ทรทศั นชองตางๆ กองประชาสมั พนั ธ มทร.ธญั บุรร ตอ งถอื โอกาสน้ี ขอบคณุ สื่อมวลชนทุกทา น ท่ีไดใหโอกาส นำผลงานที่ดี และมีคุณคาไปเผยแพรต อ สาธารณชน จุลสารราชมงคลธัญบุรี | ตุลาคม - ธันวาคม 2562


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook