Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จุลสารราชมงคล มกราคม - มีนาคม 2563

จุลสารราชมงคล มกราคม - มีนาคม 2563

Published by rmutt.news, 2020-04-15 22:45:10

Description: จุลสารราชมงคล มกราคม - มีนาคม 2563

Search

Read the Text Version

RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THANYABURI HIGHLIGHT จลจ สารราชมงคลธญั บรุ ร ฉบับ WE ARE RMUTT/yourcompanypage มกราคม - มนี าคม 2563 www.yourwebsite.com

RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THANYABURI บทบรรณาธิการ HIGHLIGHT จุลสารราชมงคลธัญบรุ ี เปน็ ฉบบั แรกของปี 2563 ทีเ่ รม่ิ ตน้ ด้วยการแนะน�ำแม่ทพั ใหญ่ อธกิ ารบดี มทร.ธญั บรุ ี “ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ จลจ สารราชมงคลธญั บุรร ดร.สมหมาย ผวิ สอาด” ตามต่อด้วยเร่อื งราว กิจกรรม ความเคล่อื นไหว ฉบับ WE ARE RMUTT/yourcompanypage ทเ่ี กดิ ขนึ้ รอบรว้ั มทร.ธัญบุรี เรื่องราวของผลงานวจิ ยั นวตั กรรม และ มกราคม - มีนาคม 2563 www.yourwebsite.com สิ่งประดิษฐต์ ่าง ๆ ทสี่ ะท้อนถึงศักยภาพ ความสามารถและการกา้ ว ส่มู หาวิทยาลยั แหง่ นวัตกรรมอยา่ งเต็มรปู แบบ ท่จี ะสร้างโอกาสการ จุลสารราชมงคลธัญบุรี ประชาสมั พันธ์ไปยังผู้อา่ นทุกท่าน ณ เวลาน้ีของ “ราชมงคลธญั บุรี” ทีก่ �ำลังเติบโต เบง่ บาน และ เปน็ ไปในทศิ ทางท่ดี ีเสมอมา ตอ้ งขอบคุณทกุ ภาคสว่ นที่สนบั สนุน ใหค้ วาม รว่ มมือและเป็นส่วนหนึง่ ในการผลกั ดนั ขับเคล่ือน พัฒนาจนก้าวมาสู่ “วนั น้ี” ถือเปน็ ความสำ� เร็จอนั ยง่ิ ใหญ่ และจะสำ� เร็จยิง่ ข้ึนไปดว้ ยสองมอื ของทุกภาคสว่ นต่อไป เม่ือกลบั มามองเรื่องราวตา่ ง ๆ ทีเ่ กิดขึ้นและก�ำลงั เกิดขึ้น อยู่ในสงั คม นับเป็นความท้าทายอยา่ งย่งิ ในการปรับตัว ฝา่ ฟันและก้าว ข้าม ซึ่งลว้ นเป็นบททดสอบของมนษุ ย์ในการเดินหน้าตอ่ ไป ในนามกอง บรรณาธิการขอส่งก�ำลังแรงใจด้วยความรักและความห่วงใยไปยังผู้อ่าน ทกุ ท่านใหส้ ามารถใชช้ วี ติ อย่างมีสติ มคี วามรอบคอบ และมพี ลงั ที่ มุง่ มั่นในทกุ ๆ วันตอ่ จากนี้ (นางณฐั ชา กีรติกำ�จร) บรรณาธิการ สารบญั ท่ีปรึกษา อธกิ ารบดี รองอธกิ ารบดี ผศ.ดร.สมหมาย ผวิ สอาด รองอธิการบดี รองอธกิ ารบดี เรอ่ื งจากปก 3 นายวริ ชั โหตระไวศยะ รองอธิการบดี ข่าวนโยบาย 5 รองอธิการบดี เปิดร้ัว ราชมงคล 6 รศ.ดร.สจุ ิระ ขอจิตต์เมตต ์ คนเก่ง มทร.ธัญบุรี 8 สกู๊ปขา่ วพเิ ศษ 10 ผศ.อภิชาต ิ ไกฟ่ า้ รศ.ดร.กฤษณช์ นม์ ภูมกิ ติ ติพชิ ญ์ นายพงศ์พชิ ญ ์ ต่วนภษู า Student Activity 12 บรรณาธิการ Hot News 14 นางณฐั ชา กีรตกิ ำ�จร สมั ภาษณศ์ ิษยเ์ กา่ 16 กองบรรณาธกิ าร สกู๊ปนวตั กรรม 18 นางสาวชลธชิ า ศรีอบุ ล นายอลงกรณ์ รัตตะเวทนิ สภาคณาจารยแ์ ละข้าราชการ 22 ประสานงานกองบรรณาธิการ ขอบคณุ ย่ิงจากใจ 23 นางสาวถาวร สุ่มหิรญั กองประชาสมั พันธ์ ออกแบบและจดั รปู เลม่ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี นางสาววิภาพร เกษม 39 หมู่ 1 ถนนรังสติ -นครนายก อำ� เภอธญั บรุ ี จังหวดั ปทุมธานี 12110 ช่างภาพ เบอร์โทรศัพท์ 02 549 4994 นางสาวประอรสิร ิ สุกนลิ นางสาวศีจุฑา ปอน้อย นายสุริยา เมธาวรากร โทรสาร 02 549 4993 นายพนมฉตั ร ์ คงพุ่ม เว็บไซต์ www.rmutt.ac.th Facebook Fanpage : www.facebook.com/rmutt.official

เรื่องจากปก/อลงกรณ์ 3 สมหมาย ผิวสอาด แมท่ ัพใหญ่ มทร.ธัญบรุ ี นกั ศกึ ษกาา้ ทวกุ แครกนในคบอื า้ น‘ลหกูลังขนอี้...งเรา’ “กา้ วแรกท่เี ขา้ มาในรัว้ มทร.ธญั บรุ ี นักศกึ ษาทกุ คนคอื ลกู ของเรา และจะเปน็ ลูกของเราต่อไป...ตลอดชวี ติ ” เสยี งยืนยันท่ี หนกั แน่นของวา่ ที่แมท่ ัพใหญ่ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ผศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด อธกิ ารบดี มทร.ธัญบรุ ี ดว้ ยคณุ วฒุ แิ ละวยั วฒุ ทิ เ่ี พยี บพรอ้ ม ในวยั 59 กะรตั สำ� เรจ็ การศกึ ษาปรญิ ญาเอกสาขาวศิ วกรรมเคมี คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จาก มหาวทิ ยาลยั โอซากา้ ประเทศญป่ี นุ่ และมปี ระสบการณก์ ารทำ� งานวจิ ยั ดว้ ยทนุ วจิ ยั หลงั ปรญิ ญาเอก (Joint Research Program:JSPS) ประเทศ ญปี่ นุ่ และทนุ วจิ ยั หลงั ปรญิ ญาเอก Alexander von Humboldt ประเทศ เยอรมนี รวมถงึ ประสบการณก์ ารทำ� งานกบั มทร.ธญั บรุ ี มาอยา่ งยาวนาน เคยดำ� รงตำ� แหนง่ รองอธกิ ารบดี คณบดคี ณะวศิ วกรรมศาสตร์ คณบดคี ณะ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จงึ เขา้ ใจในจดุ ออ่ นและจดุ แขง็ ของมหาวทิ ยาลยั เปน็ อยา่ งดี ซง่ึ เปน็ ประโยชนต์ อ่ การบรหิ ารจดั การงานของมหาวทิ ยาลยั เรือ่ งเด่นที่เห็นไดช้ ดั นัน่ คอื การขยบั และผลักดันอย่างเต็ม สปีดในดา้ นวชิ าการและด้านการวจิ ัย โดยท่านได้กลา่ วว่า “ตอนนี้ทมุ่ เท และเป็นต้นเสียงหลักเพ่อื ขบั เคล่ือน มทร.ธญั บรุ ี สู่เปา้ หมายการเป็น มหาวิทยาลัยแหง่ นวัตกรรม ‘Innovative University’ โดยมงุ่ ผลติ และพฒั นากำ� ลงั คนทางวชิ าการ วชิ าชพี เพอื่ ใหค้ ดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ และเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ มงุ่ เนน้ สรา้ งงานวจิ ยั สงิ่ ประดษิ ฐ์ งาน สรา้ งสรรค์ และนวตั กรรมสกู่ ารนำ� ไปใชป้ ระโยชนใ์ นภาคอตุ สาหกรม สงั คม ชมุ ชน หรอื สรา้ งมลู คา่ เชงิ พาณชิ ย์ ขณะเดยี วกนั ยงั ตอ้ งใหบ้ รกิ ารวชิ าการแก่ ชมุ ชนพน้ื ทเี่ ปา้ หมายหรอื ภาคประกอบการเพอ่ื การพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื ทง้ั ยงั ทำ� นบุ ำ� รงุ ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรมและอนรุ กั ษส์ งิ่ แวดลอ้ ม บรหิ ารจดั การ อยา่ งมธี รรมาภบิ าล เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลดว้ ยนวตั กรรม เพอ่ื การพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งและยง่ั ยนื และยำ�้ วา่ “กา้ วตอ่ ไปจากนข้ี อง มทร. ธญั บรุ ี จะปฏริ ปู ตนเองพรอ้ มกบั การปฏริ ปู ประเทศ” ซง่ึ ปลายทางกเ็ พอื่ ให้ เกดิ ความมน่ั คง มงั่ คง่ั และยง่ั ยนื ตามเปา้ หมายสำ� คญั ส่วนการผลิตบณั ฑติ น้นั ผศ.ดร.สมหมาย มองว่า เปน็ ความ ทา้ ทายส�ำหรับผู้สอน กล่าวคอื การจะท�ำให้เด็กเกง่ และมากดว้ ยความ สามารถ จบออกไปแลว้ มีงานทำ� ทดี่ ีและตอ้ งมคี วามกา้ วหนา้ ตอ่ ไปในระดบั ทส่ี ูงขึน้ น้ัน นับเปน็ ความทา้ ทายอย่างยิ่งส�ำหรับอาจารย์ผู้สอนในปจั จบุ นั อยา่ งไรกต็ าม ผมเชอ่ื มนั่ วา่ ดว้ ยนโยบายและยทุ ธศาสตรข์ อง มทร. ธญั บรุ ี อกี ทง้ั เครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ทงั้ ในระดบั ประเทศและตา่ งประเทศ รวม ถงึ ทรพั ยากรตา่ ง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ทรพั ยากรบคุ คลทมี่ คี ณุ คา่ จะรว่ มมอื รว่ มใจกนั ทำ� งาน และนำ� พา มทร.ธญั บรุ ี ไปไดไ้ กลกวา่ นเี้ ปน็ แน่ ดงั สโลแกน สำ� คญั ทผี่ มเคยบอกไวว้ า่ “We Society… We RMUTT” จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563

4 มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ � RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THANYABURI ผศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด อธ�การบดี นายว�รัช โหตระไวศยะ รศ.ดร.สจุ ร� ะ ขอจต� ตเ มตต ผศ.อภชิ าติ ไกฟา รศ.ดร.กฤษณช นม ภมู กิ ติ ตพิ ชิ ญ นายพงศพิชญ ตวนภูษา รองอธ�การบดี รองอธ�การบดี รองอธ�การบดี รองอธก� ารบดี รองอธก� ารบดี รศ.ดร.เกยี รตศิ กั ดิ์ พันธลำเจ�ยก ผศ.ดร.สรพงษ ภวสปุ ร�ย ผศ.ดร.อำนวย เรอ� งวาร� นางปณิตา สงวนทรัพย ผูชว ยอธก� ารบดี ผชู วยอธ�การบดี ผชู วยอธ�การบดี ผูชว ยอธ�การบดี ผศ.เมธา ศิร�กลู ผศ.อทิ ธ�พล โพธ�พันธุ ผศ.ดร.สมุ นมาลย เนียมหลาง ผศ.ดร.นครน� ทร ปน ปฐมรฐั ผูชวยอธก� ารบดี ผชู ว ยอธ�การบดี ผูช วยอธก� ารบดี ผชู ว ยอธ�การบดี จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563

ข่าวนโยบาย/อลงกรณ์ 5 มทร.ธัญบุรี เปิดแลป คณะศลิ ปศาสตร์ มทร.ธญั บุรี เปดิ ห้อง ปฏิบตั ิการภาคพ้นื จำ� ลอง เพอื่ นกั ศกึ ษา ‘ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ฯ ก า ร บิ น ’ สาขาอุตสาหกรรมการบริการการบิน ให้เข้าใจในระบบการท�ำงานด้านการบิน ปัน้ นศ. เรยี นร้บู รกิ ารภาคพื้นจ�ำลอง โดยเฉพาะในส่วนของการบรกิ ารภาคพ้ืน ผศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัย เรียนในรายวิชาตามทฤษฎีควบคู่กับการ เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เผยวา่ สาขาอุตสาหกรรม ปฏบิ ตั ิงานได้จรงิ อย่างต่อเน่อื ง ทงั้ ยงั เปน็ การ การบรกิ ารการบนิ เป็นสาขาท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการให้บรกิ าร วางระบบการเรียนเพ่ือส่งต่อในรายวิชาเก่ียว ผ้โู ดยสารท้งั ชาวไทยและตา่ งชาติ ท่ีมคี วามเช่อื มโยงและ กับการบริการบนเคร่ืองบินในช้ันปีต่อไปได้ สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตรส์ ำ�คัญชาติ เศรษฐกิจ และสงั คมใน ครบวงจร ทำ�ใหเ้ ข้าใจและจัดลำ�ดับข้นั ตอน หลายมติ ิ ประกอบกับการคมนาคมขนสง่ ทางอากาศนบั เป็น การบริการแก่ผู้โดยสารภาคพ้ืนได้อย่างแบบ งานโครงสร้างพื้นฐานที่มีความสำ�คัญต่อการพัฒนาประเทศ มอื อาชพี ในสถานการณ์จรงิ ในด้านอตุ สาหกรรมการบริการ การเตรยี มความพร้อมให้แกบ่ คุ ลากรเข้าสู่ตลาดแรงงานจงึ ท้งั น้ี อุตสาหกรรมการบนิ ถอื เป็น มีความจำ�เป็นอย่างยิ่งเพื่อให้การดำ�เนินงานการขนส่งทางอากาศมีประสิทธิภาพและมีความ ศาสตร์แห่งเทคโนโลยอี ยา่ งหนึง่ เพอ่ื ผลิต สามารถแข่งขนั ออกสู่เวทีโลก กำ�ลังคนเข้าสู่การทำ�งานด้านบริการตาม การบรกิ ารผโู้ ดยสารภาคพ้นื หรือการบริการบนเครื่องบนิ มีความสำ�คัญและ เทคโนโลยขี องการบนิ ห้องปฏิบตั ิการ เกีย่ วข้องกนั อยา่ งมาก โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ การสง่ ตอ่ จากภาคพน้ื สบู่ นเครอื่ งบนิ เปน็ การทำ�งาน ด้านการบริการภาคพื้นจำ�ลองท่ีเกิดข้ึนน้ี ที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ดงั นนั้ มทร.ธญั บุรี จึงเหน็ ความสำ�คัญและต้องการมุ่งเน้นให้ เปรียบเสมือนท่าอากาศยานจำ�ลองเพ่ือส่ง นักศึกษาไดเ้ รียนรเู้ กยี่ วกบั งานด้านอุตสาหกรรมการบนิ อยา่ งครบวงจร และสร้างหอ้ งปฏบิ ตั ิ เสริมและกระตุ้นเรียนรู้ของนักศึกษาอย่าง การดา้ นการบรกิ ารภาคพ้นื จำ�ลอง ‘Ground Operation Room’ ขึ้น เพอื่ ให้นักศกึ ษาเขา้ ใจ แทจ้ ริง นักศกึ ษาและผสู้ นใจสามารถเข้าดู ระบบการทำ�งานของธุรกจิ การบนิ และสามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ รายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ ได้ท่ี www.larts.rmutt. ด้าน ผศ.ดร.นิศากร สงิ หเสนี คณบดคี ณะ ac.th สอบถามรายละเอียด โทร. 0 2549 ศิลปศาสตร์ มทร.ธญั บรุ ี กล่าววา่ ห้องปฏิบัตกิ ารด้านการ 4930 และ 0 2549 4939. บรกิ ารภาคพื้นจำ�ลอง ประกอบดว้ ย 4 ห้องหลัก คือ ห้อง ตรวจบัตรโดยสาร ซง่ึ มีทัง้ เคานเ์ ตอร์ตรวจบตั รโดยสาร เคร่ืองช่ังน้ำ�หนกั กระเปา๋ ผู้โดยสาร เก้าอแ้ี ละโตะ๊ สำ�หรบั ให้ ผู้โดยสารน่ังรอ ห้องตรวจหนังสอื เดินทาง ห้องรับรองพเิ ศษ และ หอ้ งเตรยี มตวั ข้ึนเคร่ืองบนิ ซ่งึ จะทำ�ใหน้ ักศึกษาสามารถ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563

6 เปิดรั้วราชมงคล/อลงกรณ์ มทร.ธญั บรุ ี จดั โครงการ “นวัตกรสรา้ งสรรค์ นวัตกรรมสรา้ งคณุ ค่า” ยกย่องวิชาชพี คหกรรมศาสตร์ เชอ่ื มวฒั นธรรมไทย พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิตคิ ณุ เสด็จ ไปยงั ศูนย์การคา้ เซ็นทรัล เฟสติวัล อีสตว์ ิลล์ ทรงเปดิ งาน โครงการเทคโนโลยีคหกรรมศาสตรก์ ับวฒั นธรรมไทย “นวตั กร สร้างสรรค์ นวตั กรรมสร้างคุณคา่ ” ซึ่งคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี โดยมี ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สมหมาย ผวิ สอาด อธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี พรอ้ มดว้ ยผูบ้ ริหาร เฝา้ รบั เสดจ็ โครงการเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์กับวัฒนธรรมไทย “นวตั กรสร้างสรรค์ นวตั กรรมสร้างคุณค่า” จดั ขนึ้ เพอ่ื สง่ เสริมและ อนุรักษ์ศลิ ปวัฒนธรรมไทย สบื ทอดความเปน็ ชาตทิ มี่ ีความเจริญอยา่ ง ต่อเนื่องท�ำให้เยาวชนรุ่นหลังได้เห็นคุณค่าของศิลปะไทยในแขนง ตา่ ง ๆ ทคี่ วรคา่ ในการอนุรักษ์และตระหนักถึงความเป็นไทย ซง่ึ วชิ าชีพ คหกรรมศาสตร์ เป็นศาสตร์ท่เี กี่ยวขอ้ งเชอื่ มโยงกบั วัฒนธรรมไทยอยา่ ง แทจ้ รงิ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563

7 ผศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กราบทูลรายงานความเป็นมาและกิจกรรมภายในงานฯ ผศ.ดร.สาคร ชลสาคร คณบดี คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กราบทูลเบิกผู้ เข้ารับถ้วยรางวัลและผู้เข้ารับของที่ระลึก โอกาสนี้ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ ทอดพระเนตร การแสดงแฟช่ันโชว์ชุดนวัตกรรมเส้นใยใส่สบายจากเส้นใยกล้วยและเส้นใยผักตบชวา จากนั้นเสด็จไปยังบริเวณจัดนิทรรศการ ทรงตัดแถบแพรเปิดโครงการเทคโนโลยี คหกรรมศาสตร์กับวัฒนธรรมไทย“นวัตกรสร้างสรรค์ นวัตกรรมสร้างคุณค่า”และทอด พระเนตรนิทรรศการภายในงาน อาทิ หลักสูตรการออกแบบแฟชั่นและเครื่องแต่งกาย หลักสูตรอาหารและโภชนาการ หลักสูตรศิลปประดิษฐ์ในงานคหกรรมศาสตร์ หลักสูตร การศึกษาปฐมวัย และหลักสูตรเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ (ปริญญาโท) ต่อจากนั้น เสด็จไปยังบริเวณฉายพระรูป ฉายพระรูปร่วมกับคณะกรรมการจัดงานฯ และผู้สนับสนุน การจัดงาน ภายในงานยังจัดแสดงผลงานที่น่าสนใจ อาทิ กระเช้าดอกไม้เฉลิมพระเกียรติ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ การประกวดกระเช้าสร้างสรรค์นวัตวิถี นิทรรศการการเรียนการสอนในคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ กิจกรรมการสาธิตจาก คณาจารย์และนักศึกษา งานบริการวิชาการแก่สังคม การสาธิต การท�ำหน้ากากผ้า การบูรณาการงานวัฒนธรรมไทย การจัดจ�ำหน่ายสินค้าจากกลุ่มเกษตรกรและนักศึกษา สินค้าชุมชน อาหารเพื่อสุขภาพ ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ในการสนับสนุนส่งเสริมและท�ำนุบ�ำรุงศิลป วัฒนธรรมไทย การอนุรักษ์ บูรณาการ และสืบทอดภูมิปัญญาด้านวิชาชีพคหกรรมศาสตร์ เพื่อสร้างนวัตกรด้านคหกรรมศาสตร์ให้ได้นวัตกรรมท่ีทรงคุณค่าในอนาคตต่อไป จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563

8 คนเก่ง มทร.ธัญบุรี/ชลธิชา วิศวะ พันธ์สมุทร มทร.ธญั บรุ ี นศ.รางวัลเรียนดี ว่าท่บี ัณฑติ เกียรตินิยมอันดบั 1 เกรดเฉลี่ยสะสม 3.93 “เบียร์” นายวิศวะ พันธส์ มุทร นักศกึ ษา เหรียญรางวลั เรยี นดี ประจำ� ปี “อาจารยไ์ มอ่ อกนอกเหนอื ส่ิงทสี่ อนแน่นอน” วชิ าจ�ำ จดั ระบบความ พ.ศ.2562 กองทนุ เพ่ือการศึกษาและวิจยั ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ คดิ รวบรวมเน้อื หาทั้งหมด จากน้นั จัดระบบสมอง โดยจ�ำเปน็ ตัวยอ่ ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกุฎราชกุมาร สน้ั ๆ และท่สี �ำคญั อา่ นหนังสือก่อนสอบ 2 อาทิตย์ ส่วนวิชาปฏบิ ตั ิ วศิ วกรรมสถานแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ พยายามหาความรเู้ พ่มิ เตมิ ซ่งึ Youtube เป็นคลงั ความร้ทู ่ีใหญแ่ ละดี มาก เม่ือรสู้ ึกวา่ มีความเครยี ดจากการเรยี นจะพยายามหากิจกรรมท�ำ นายวิศวะ เล่าวา่ ปจั จบุ ันกำ� ลงั ศกึ ษาอยชู่ นั้ ปีท่ี 4 สาขา กับเพือ่ น ๆ ไปเท่ยี วตามสถานท่ตี า่ ง ๆ แต่จะคิดเสมอวา่ “สิง่ สำ� คัญ วศิ วกรรมไฟฟา้ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี หนา้ ทีข่ องการมาเรยี น ไมไ่ ดม้ าสังสรรค์” เป็นอกี คนกนิ เทยี่ วเหมอื น ราชมงคลธญั บุรี เป็นคนจังหวัดปทมุ ธานี เปน็ ลกู คนเดียวของที่บา้ น กับเพ่ือน ๆ คนอน่ื แต่สง่ิ สำ� คญั คอื ตอ้ งมีสติ มคี นอยู่ขา้ งหลงั คอยดู พ่อทำ� งานคา้ ขายอะไหลร่ ถยนต์ สว่ นแม่ทำ� งานรบั จ้างบริษัท สำ� เรจ็ ความสำ� เร็จ คิดใหร้ อบคอบว่าสงิ่ ทจี่ ะท�ำไป มผี ลกระทบตามมาหรอื การศกึ ษาสาย วิทย์ – คณติ จากโรงเรยี นทปี งั กรวทิ ยาพัฒน์ (มัธยม เปล่า อยา่ ไปหลงในแสงเสียง ผมเปน็ นักศึกษาที่กู้ กรอ.คา่ ใชจ้ า่ ยเดือน วัดหัตถสารเกษตร) ในพระราชูปถัมภ์ จังหวดั ปทมุ ธานี ด้วยเกรด ละ 2,400 บาท และจากทางบ้านอาทติ ย์ละ 1,500 บาท เงนิ ทใ่ี ชท้ กุ เฉลย่ี 3.3 โดยสว่ นตัวชอบวชิ าค�ำนวณและออกแบบ จงึ อยากเรียน บาทจงึ มีคา่ ซ่ึงทกุ คนที่มาเรยี นมจี ดุ ประสงค์และเปา้ หมายอย่าลืมสง่ิ ท่ี วิศวกรรมศาสตร์ โดยวางแผนท่จี ะเรยี นวิศวกรรมไฟฟา้ และโยธา หวังไว้ เน่ืองจากเป็นสายงานที่หางานได้ง่ายเพราะว่ามีสถานประกอบการ การเรยี นไม่ใช่ทุกอย่างในชวี ิต การเรยี นจบหรอื วา่ มีเกรด รองรบั จึงไดย้ ่ืนโควตา้ วศิ วกรรมไฟฟ้าท่ี มทร.ธัญบุรี สูง ๆ ไม่สามารถเป็นตวั วดั ได้วา่ ประสบความสำ� เรจ็ ในชีวติ เป็นเพียง ตอนเขา้ มาเรยี นผมชอบในสิง่ ทีเ่ รียน จงึ ไม่รู้สกึ เครยี ดกับการ ใบเบกิ ทางใหร้ วู้ า่ เรียนจบ แตก่ ารมงี านทำ� สามารถเล้ยี งดูพอ่ แม่ให้มี เรยี น ปี 1 เกรดเฉลย่ี 4.00 ปี 2 เกรดเฉลี่ย 3.9 ปี 3 เกรดเฉล่ยี 4.00 ความสุข สิ่งน้คี ือความสำ� เร็จในชีวิต อยากใหน้ อ้ ง ๆ ถามตัวเองว่าชอบ ปี 4 เทอม 1 ฝึกงานไม่มีเกรดเฉลี่ย และเทอมท่ี 2 ก�ำลังลุ้นเกรดเฉลย่ี อะไร ชอบมันก่อนแล้วจะท�ำไดด้ ี หรอื ถ้ายังไม่เจอ อย่าไปอคติกบั สงิ่ ท่ี “นอกจากเกียรตินิยมอนั ดับ 1 แล้ว ผมอยากได้บัณฑิตเหรียญทอง ตนเองยงั ไม่ได้ลงมือทำ� อยากให้ลงมือท�ำก่อน ท�ำให้เตม็ ที่ ส่วนตวั ผม ของคณะวศิ วกรรมศาสตรอ์ กี ดว้ ย” ซง่ึ ระหวา่ งท่เี รยี นผมพยายามเข้า ไม่ได้เก่ง ฉลาดมาก ผมขยนั และใส่ใจ พยายามท�ำให้ดที ีส่ ดุ นับเป็น รว่ มกิจกรรมกบั ทางคณะ ไม่ว่าจะเปน็ กจิ กรรมรบั น้อง ผมมองว่าการ พระมหากรุณาธิคุณอย่างหาท่ีสุดมิได้ต่อตนเองและครอบครัวของผม รับน้องทำ� ใหร้ ้จู กั เพ่อื น ๆ และพ่ี ๆ ท่พี ร้อมใหค้ �ำแนะนำ� และช่วยเหลือ ท่ีได้ถูกคัดเลือกและเป็นตัวแทนของมหาวิทยาลัยเข้ารับเหรียญรางวัล โดยพ่ี ๆ ยงั ไดน้ �ำแนวขอ้ สอบเกา่ ๆ มาให้ผม “สง่ิ ท่รี ่นุ พ่ีทำ� ผมจะนำ� เรยี นดี ประจำ� ปี พ.ศ.2562 จากกองทนุ เพ่อื การศกึ ษาและวิจัยทาง ไปใช้กับรนุ่ น้อง” ด้านวศิ วกรรมศาสตร์ ในพระราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชฯ เทคนิคในการเรียนของผม ตง้ั ใจเรยี นในชัว่ โมงเรยี น พยายาม สยามมกุฎราชกุมาร วศิ วกรรมสถานแหง่ ประเทศไทย ในพระบรม ทำ� การบา้ นด้วยตนเอง เทคนิคในการท�ำข้อสอบคำ� นวณ หาขอ้ สอบ ราชปู ถมั ภ์ ซึ่งอกี ไมก่ เี่ ดือนผมก�ำลงั จะสำ� เรจ็ การศึกษา ผมจะนำ� ความ เก่า ๆ มาท�ำ ยอ้ นหลังสกั 3 ปี ซงึ่ ขอ้ สอบเกา่ มีอยใู่ นหอ้ งสมดุ ของคณะ รทู้ ่เี รียนไปใช้ประกอบอาชพี อยา่ งสจุ รติ และเลยี้ งดูครอบครวั ของผม จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563

9 นักกีฬาดีเด่น สมาคมซอฟท์เทนนิส คนล่าสุด “แพรพลอย” “น้องแพร” นางสาวแพรพลอย มหานลิ นักศกึ ษาช้ัน ซอฟทเ์ ทนนสิ จงั หวดั กำ� แพงเพชร และไดม้ โี อกาสเขา้ รบั การคดั เลอื กเปน็ ปีที่ 1 สาขาแพทย์แผนไทยประยุกต์ วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย นกั กฬี าซอฟทเ์ ทนนสิ เยาวชนทมี ชาตไิ ทย จนถงึ ปจั จบุ นั “บางคนมองวา่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี นักกีฬาซอฟท์เทนนสิ เยาวชน เล่นกีฬาจะท�ำให้เสียการเรียน ซ่ึงตนเองเป็นอีกคนท่ีขอพิสูจน์ ทีมชาติไทย ไดร้ บั คดั เลอื ก “นักกฬี าดเี ด่น สมาคมซอฟทเ์ ทนนสิ ” จดั ถา้ ทกุ คนรจู้ กั การจดั สรรเวลา ไมม่ ที างเสยี การเรยี น เลน่ กฬี ายงั สง่ ผล โดยสมาคมกีฬาแหง่ ประเทศไทย ประจ�ำปี 2562 คนลา่ สุด สาวน้อย ตอ่ สขุ ภาพของเราอกี ดว้ ย และทกุ ครงั้ ทอี่ อกแขง่ ขนั ตามรายการตา่ ง เมอื งกลว้ ยไข่ บุตรของนายแพทย์นภดล ลุประสงค์ และนางบปุ ผชาติ ๆ ไดร้ บั มติ รภาพจากเพอื่ น ๆ” โดยผลการเรยี นเทอมทผ่ี า่ นมาตนเองได้ มหานิล เกรดเฉลยี่ 3.2 ตนเองแบง่ เวลาในการซอ้ ม 3 วนั 18.00 – 20.00 น. แพรพลอย เลา่ ว่า สำ� หรบั รายการแขง่ ขันและรางวัลท่ี วนั จนั ทร์ – วนั พธุ ซอ้ มทส่ี นามกฬี าของมหาวทิ ยาลยั สว่ นในชว่ งของการ ผ่านมา รองชนะเลศิ อันดับ 1 หญิงเด่ียว และหญิงคู่ การแข่งขนั กฬี า เกบ็ ตวั รายการแขง่ ขนั ชงิ แชมปโ์ ลก ซอ้ มทส่ี มาคม ซอฟท์เทนนสิ ชงิ ชนะเลิศแหง่ เอเชียคร้ังท่ี 1 ประเทศฟลิ ิปปินส์ รอง หลงั จบจากโรงเรยี นกำ� แพงเพชรพทิ ยาคม สายวทิ ย์ – คณติ ชนะเลศิ อนั ดับ 2 หญงิ เด่ยี ว The 3rd World Junior Soft Tennis จงั หวดั กำ� แพงเพชร ไดร้ บั โควตา้ นกั กฬี า เรยี นทส่ี าขาแพทยแ์ ผนไทย Championships ณ เมือง Suncheon สาธารณรัฐเกาหลี 4 ประยกุ ต์ วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย มทร.ธญั บรุ ี ดว้ ยทางบา้ นคณุ พอ่ เหรียญทอง ประเภท หญงิ เดี่ยว หญิงคู่ หญิงผสม ทมี หญงิ รายการ พชี่ าย เปน็ แพทยแ์ ผนปจั จบุ นั คณุ แมเ่ ปน็ พยาบาล ตนเองจงึ อยากเรยี น เยาวชนแหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี 34 นา่ นเกมส์ นกั กฬี าดเี ดน่ รายการเยาวชน เกยี่ วกบั แพทยแ์ ผนโบราณ เพอ่ื นำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการประกอบอาชพี แหง่ ชาติ ครงั้ ที่ 34 “น่านเกมส์ 3 เหรยี ญทอง ประเภท หญงิ เด่ียว ในอนาคต “ดใี จทยี่ เู นสโก ประกาศขนึ้ ทะเบยี นนวดไทย ซงึ่ เป็นการ นกั กีฬาดเี ดน่ รายการเยาวชนแหง่ ชาติ ครั้งที่ 35 “บรุ ีรัมย์เกมส”์ ปูทางให้ตนเองในการประกอบอาชีพในอนาคต” จุดเรม่ิ ตน้ ของการเล่นกีฬา ตนเองปว่ ยเป็นโรคหอบ คุณพอ่ และคณุ แมอ่ ยากให้หายจากอาการป่วย จงึ อยากให้เลน่ กฬี า ซง่ึ ตอน จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563 นนั้ ลูกพ่ลี กู น้องได้ลงเรียนการเล่นเทนนสิ แลว้ ไม่ไปเรียน ตนเองจงึ ลง เรียนตามจงึ เริ่มเล่นเทนนสิ ตง้ั แต่ 6 ขวบ และเลน่ เรอื่ ยมาจนถึงอายุ 12 ปี หลังจากนั้นโคช้ ทส่ี อนตนเองได้เปล่ียนมาสอนซอฟท์เทนนิส ตนเอง จงึ เปลีย่ นจากการเล่นเทนนิสมาเป็นซอฟต์เทนนสิ ตอนอายุ 15 ปี และ ไดเ้ ขา้ รว่ มการแขง่ ขนั ตามรายการตา่ ง ๆ จนไดร้ บั คดั เลอื กเปน็ นกั กฬี า

10 สกู๊ปข่าวพิเศษ/ชลธิชา ยสสกวร.จะบั ดมับอื คมลทรัส.ธเตญั อบรุรี ์ เทคโนโลยีเพ่อื การเกษตร สสว. ร่วมกบั มทร.ธัญบรุ ี จดั กจิ กรรมเชิงปฏบิ ตั ิการพฒั นาศกั ยภาพ เครือขา่ ยเทคโนโลยเี พื่อการเกษตร ให้กับกลุ่มเกษตร-ผปู้ ระกอบการ จ.ศรสี ะเกษ กาฬสินธุ์ สุพรรณบรุ ี ราชบรุ ี นครศรธี รรมราช และชัยภูมิ ภายใตโ้ ครงการสนับสนนุ SME ปี 2563 กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการพัฒนา ศักยภาพในการด�ำเนินงานของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตร โดยมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ไดร้ บั มอบหมายจาก สำ� นกั งานสง่ เสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ใหด้ �ำเนิน การกิจกรรมพัฒนาเครือขา่ ยเทคโนโลยีเพอื่ การเกษตร ภายใตโ้ ครงการ สนบั สนุน SME ปี 2563 เจาะกลุม่ ไปท่ผี ูป้ ระกอบการซง่ึ มีกลมุ่ เกษตร- ผปู้ ระกอบการ ผศ.ดร.มโน สุวรรณคำ� ผอู้ ำ� นวยการกองกลาง มหาวทิ ยาลยั เ ท ค โ น โ ล ยี ร า ช ม ง ค ล ธั ญ บุ รี ผู้รับผิดชอบกิจกรรม เผยว่า กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยี เพื่อการเกษตร ภายใต้โครงการ สนับสนนุ SME ปี 2563 ดำ� เนนิ การรวมกลุ่มผู้ประกอบการแบบ องคร์ วม ตง้ั แตต่ ้นน้�ำ กลางนำ้� ปลายน้�ำ เพ่ือให้เกิดความรว่ มมอื และ เช่อื มโยงอย่างเขม้ แข็ง สามารถพึ่งพากนั ภายในกลุม่ เกดิ เปน็ ความ ยั่งยืน เน้นการน�ำนวัตกรรมและเทคโนโลยมี าใช้เพ่อื ยกระดับการผลติ การลดตน้ ทนุ การปรบั ปรุงคณุ ภาพ พัฒนาศกั ยภาพของผใู้ หบ้ รกิ าร เครือข่าย (Service Provider: SP) และผปู้ ระสานงานเครือขา่ ย (Cluster Development Agent: CDA) และเชือ่ มโยงความร่วมมือกบั หน่วยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง เชน่ หนว่ ยงานของภาครัฐ เอกชน รวมถงึ สถาบนั การเงิน ซงึ่ จะเป็นช่องทางในการเสริมสรา้ งให้เกิดความเขม้ แขง็ อยา่ ง รอบด้านของคลสั เตอร์ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563

11 ผศ.ดร.เกยี รติศักดิ์ แสงประดษิ ฐ์ ผู ้ อ� ำ น ว ย ก า ร ห น ่ ว ย บ ่ ม เ พ า ะ วสิ าหกจิ มทร.ธัญบุรี เลา่ วา่ ปที ่ี 2 ข อ ง ค ลั ส เ ต อ ร ์ เ ท ค โ น โ ล ยี เ พื่ อ การเกษตร ภายใตง้ านวจิ ยั นวตั กรรม และเทคโนโลยี ถงุ อบแหง้ ขา้ วเปลอื ก จ.ศรีสะเกษ เคร่อื งลา้ งผกั และ นวัตกรรมปลกู ผกั ยกพ้นื บนโต๊ะ จ.กาฬสนิ ธ์ุ การปลูกเมล่อนในกระถาง จ.สพุ รรณบรุ ี boom sprayer จ.ราชบรุ ี เทคโนโลยเี คลือบผิวเปลอื ก มังคุดเพือ่ ชะลอการเตบิ โตของมงั คดุ และนวตั กรรมการคัดสรรเกรด มงั คุด จ.นครศรธี รรมราช และ การปลกู ผกั ในโรงเรือน จ.ชัยภูมิ นำ� ไปสู่ การลดตน้ ทุนการผลิต ก่อใหเ้ กิดการใช้นวตั กรรมใหม่ ๆ การขยายตัว ของธรุ กิจ ผลผลิตทางการเกษตรมีราคาทเี่ หมาะสม และผู้ประกอบ การสามารถด�ำเนินธุรกจิ ไดอ้ ยา่ งยัง่ ยืนและมีคุณภาพชีวิตที่ดี นายไพฑูรย์ ฝางค�ำ ประธานวสิ าหกจิ ชมุ ชนศนู ยส์ ง่ เสรมิ และ ผลติ เมลด็ ขา้ วชมุ ชน ต.ผกั ไหม เลา่ วา่ มีโอกาสเข้าอบรมเร่ืองคลัสเตอร์ แ ล ะ ไ ด ้ เ ข ้ า ศึ ก ษ า ดู ง า น ข อ ง ก ลุ ่ ม คลัสเตอรเ์ มลอ่ น จ.สพุ รรณบุรี โดยทางกลุ่มสามารถผลติ และเชือ่ มโยงการตลาดได้จรงิ สรา้ งราย ไดใ้ ห้กบั กลุ่ม มองวา่ การรวมตัวของคลสั เตอรเ์ กิดประโยชนก์ ับ เกษตรกร สามารถพฒั นาในเรื่องของการผลิตและการตลาด มี รายได้เข้ามายังกลุ่ม จากกลุ่มเล็ก ๆ ไปสกู่ ลุ่มใหญ่ จงึ เกดิ กล่มุ คลสั เตอร์เทคโนโลยขี ้าวอินทรยี ์ ทาง สสว.และ อาจารย์ มทร. ธัญบุรี ไดเ้ ขา้ มาพัฒนาเทคโนโลยีใหก้ บั กลมุ่ ในเรอื่ งของการบรหิ ารนำ�้ ในปีนี้อาจารย์ได้ต่อยอดเทคโนโลยี “ถุงอบแห้งข้าวเปลือก” เนื่องจากปญั หาชว่ งเก็บเก่ยี วขา้ ว เปน็ ช่วงฤดฝู น ทำ� ให้เกดิ ปัญหาใน เรอ่ื งของความชืน้ โดยหวังวา่ ถงุ อบแห้งข้าวเปลอื กดงั กล่าว ชว่ ยลด ความเสย่ี งในการสูญเสยี ผลผลติ หลงั การเก็บเกีย่ ว ขายได้ราคา สง่ ผล ตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของเกษตรกร นายอำ� นาจ แตงโสภา นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลแจงงาม ผู้น�ำวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อน บา้ นหนองคาง เลา่ วา่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน กลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ปจั จบุ นั มสี มาชกิ 90 ราย เมลอ่ นของ ทางกลมุ่ เนน้ เรอื่ งคณุ ภาพ และความซอื่ สตั ยต์ อ่ ผบู้ รโิ ภค การปลกู เมลอ่ น ปลกู ในโรงเรือน โดยปลูกในดิน ปลูกไปนาน ๆ ดินจะเสอื่ ม ทำ� ให้ เกษตรกรตอ้ งเปลี่ยนดนิ แปลงใหญ่ เพมิ่ ต้นทุนในการผลติ จงึ อยากแก้ ปญั หา โดยทางอาจารย์ มทร.ธญั บรุ ี ไดน้ �ำเทคโนโลยีการปลกู เมลอ่ น ในกระถางมาถ่ายทอด หวังว่าเทคโนโลยีทีไ่ ด้รบั การถ่ายทอด เป็นตวั ชว่ ยเสริม เกษตรกรนำ� มาปรบั ใช้ในการลดตน้ ทนุ เพิ่มผลผลติ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563

12 Student Activity/กองบรรณาธิการ นวตั กรรมเพ่อื ชมุ ชน มทร.ธญั บุรี นกั ศกึ ษารายวชิ านวตั กรรมเพอ่ื ชมุ ชน มทร.ธญั บรุ ี แสดงผลงานคนื ชมุ ชน ประยกุ ตอ์ งคค์ วามรสู้ กู่ าร สรา้ งนวตั กรรม ณ ชมุ ชนบา้ นบงึ สมบรู ณ์ หมทู่ ่ี 2 ต.บงึ กาสาม จ.ปทมุ ธานี นายวิรชั โหตระไวศยะ รองอธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เผยว่า นวตั กรรม เพ่อื ชุมชนตอบโจทยช์ ุมชน เกิดองค์ความรใู้ หม่ ซ่ึงทางมหาวทิ ยาลัยขยายรายวิชาและรับนกั ศกึ ษาเพม่ิ ใน การเข้ามาเรยี นวชิ าดงั กล่าว ชุมชนเปน็ แหล่งในการคน้ ควา้ เรียนรู้ องคค์ วามรตู้ ่าง ๆ ไดเ้ หน็ สภาพชุมชน ท่ีแทจ้ ริง โดยใชก้ ระบวนการ “ความคิดเชิงนวตั กรรม” คอื นกั ศึกษาต้อง เข้าใจ เขา้ ถงึ และพฒั นาไปสู่ นวัตกรรม ตามความต้องการของชมุ ชน ดว้ ยการลงมือทำ� และต้องชนื่ ชมทางดา้ นคณาจารย์ ทมี ท�ำงาน จติ อาสา ช่วยดว้ ยความเต็มใจในการลงชมุ ชนกับนกั ศึกษา นอกจากนวตั กรรมเพื่อชมุ ชน แนวคดิ กระบวนการคดิ ของนกั ศกึ ษาเปลีย่ นไป ไดบ้ ูรณาการเชื่อมโยงขา้ มศาสตร์องคค์ วามรตู้ ่าง ๆ ปลายทางไดร้ ู้จัก การท�ำงานเป็นทีม Soft Skill ความมีน�้ำใจ ความเอ้อื อาทรตอ่ สงั คม จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563

13 นายทองสุข สลี ิด ก�ำนันต�ำบลบงึ กาสาม อ.หนองเสอื จ.ปทุมธานี เล่าว่า การเขา้ มาเรียนรู้ แลกเปลีย่ น เป็นการเตมิ เต็มใหก้ บั ชุมชน องค์ความรู้สามารถนำ� ไปตอ่ ยอดได้ เช่น เปลือกไข่ เป็นของเหลือใช้ ในชุมชน นกั ศึกษาน�ำมาผลิตปยุ๋ เป็นเรื่องใกลต้ ัวทส่ี ามารถเรยี นร้ไู ด้ ถา้ ชาวบ้านไปเรยี นรู้ หรือค้นคว้าเอง เปน็ เรือ่ งที่ยาก ถา้ มคี นมาให้ความรทู้ �ำใหช้ าวบา้ นเขา้ ใจ นำ� ไปต่อยอดจะสรา้ งประโยชน์ใหก้ ับคนในชุมชน นวตั กรรมท่ีเกิดขึ้นในชุมชนในวนั น้ี อยากใหช้ าวบ้านเรยี นรู้ องค์ความรู้ทไ่ี ด้ นำ� ไปสูก่ ารผลิตแบบผู้ประกอบ การตอ่ ยอดสรา้ งรายไดใ้ ห้กับชมุ ชน แต่อยา่ งไรก็ตามองค์ความรทู้ ส่ี รา้ ง จะเกดิ ประโยชน์หรอื ไม่ ข้นึ อยกู่ บั การน�ำไปต่อยอดของคนในชุมชน นายภควตั มาสงู เนนิ นกั ศึกษาชน้ั ปีที่ 4 สาขาวชิ าการตลาด คณะบรหิ ารธรุ กิจ เล่าวา่ นวัตกรรม ของกล่มุ ผมคือ “เก้าอจ้ี ากฟางข้าว” นำ� วสั ดใุ นชุมชนมาสรา้ งมูลคา่ ชาวบา้ นสามารถน�ำไปตอ่ ยอดสรา้ ง รายไดใ้ หก้ ับชมุ ชน “นอกจากเกรดที่ผมคาดหวงั แล้ว วิชานีท้ ำ� ใหผ้ มเปลี่ยนความคดิ จากท่ีเคยเที่ยว เคยดืม่ กบั เพื่อน ผมเลิกทีจ่ ะปฏิบัตแิ บบน้ัน ไดเ้ จอชาวบ้าน คนแก่ คนท่ีล�ำบาก อยากจะช่วยเหลือ ซงึ่ ทำ� ให้เรามองเห็นอะไรทีก่ ว้างขน้ึ ไม่ยึดตดิ กบั ตัวเอง เหน็ แก่ประโยชน์สว่ นรวมมากกวา่ ประโยชน์ตวั เอง การท�ำงานเป็นทมี ชว่ ยเหลือ ตลอดจนอาสาที่จะทำ� ในส่งิ ทเ่ี พ่อื นไม่สามารถท�ำได้” เม่อื กอ่ นไม่เคยรว่ ม กิจกรรมในชุมชน ทงั้ ทตี่ าเปน็ ประธานชมุ ชน แตท่ ุกวนั น้ตี าช่วยไปท�ำกจิ กรรมผมจะไปร่วมดว้ ย ไม่วา่ จะไป เวยี นเทียน หรือช่วยเกบ็ ขยะในชมุ ชน นางสาวชนาภา ใต้ตอนไผ่ นักศึกษาช้ันปีท่ี 4 สาขาวชิ า เทคโนโลยีการโทรทศั น์และวิทยกุ ระจายเสยี ง คณะเทคโนโลยีส่ือสาร มวลชนเล่าวา่ ชมุ ชนบ้านบึงสมบรู ณ์มีการทำ� ข้าวจำ� หนา่ ยในกลุ่มไดล้ ง ความเห็นออกแบบบรรจุภณั ฑท์ ี่ทันสมยั ใหก้ บั ทางชมุ ชน เพื่อเปน็ การ สรา้ งมลู ค่าใหก้ บั ขา้ ว ยกระดบั OTOP สกู่ ารพฒั นาข้าว เรียนวิชาน้ี ท�ำใหก้ ลา้ แสดงออก กลา้ แสดงความคดิ ความเป็นผู้น�ำ นอกจากนัน้ ยงั ไดเ้ ห็นถงึ ความแตกตา่ งของคนในชมุ ชน วิถีชีวิตความเป็นอยู่ ดีใจที่ ไดเ้ รยี นวิชาน้ี และได้ท�ำประโยชน์ให้กบั ชุมชน นางสาวจริ าภรณ์ โฉมฉนิ นกั ศึกษาชน้ั ปที ่ี 4 สาขาวิชา เทคโนโลยีการโทรทัศนแ์ ละวทิ ยุกระจายเสียง คณะเทคโนโลยีสอ่ื สาร มวลชน เล่าว่า เปลือกไข่เปน็ ขยะ จึงน�ำเปลือกไขท่ ม่ี แี คลเซยี มสงู มาทำ� ป๋ยุ ไลศ่ ัตรพู ืชและเรง่ การเจรญิ เตบิ โต ซงึ่ จากการทดลอง ใสป่ ยุ๋ และไม่ใส่ปยุ๋ แบบใสป่ ๋ยุ ไมม่ ีศัตรพู ชื ขนาดของตน้ มีความสูงตา่ งกนั โดย ใสป่ ๋ยุ มีความยาวมากกวา่ ประมาณ ครงึ่ เซนติเมตร ตอ่ ยอดให้ชาวบ้าน ท�ำขาย โดยออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ เรียกความสนใจของผูซ้ ื้อ ออกแบบ โลโก้ ใสไ่ อเดีย วิชานี้ได้บรู ณาการวิชาเรียนหลายวิชาเขา้ ดว้ ยกัน และ ช่วยเหลอื ชุมชนอีกดว้ ย เช่นเดียวกบั นางสาวปัณฑติ า สมตั้ง นกั ศกึ ษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม เลา่ ว่า จากการลงพ้ืนที่ชมุ ชนมเี ปลอื กไขเ่ หลอื ทิ้งจากร้านอาหารตามส่ัง จงึ น�ำ เปลือกไขม่ าทำ� น�้ำยาสขุ ภณั ฑเ์ ติมกล่นิ ส้ม น�ำเปลอื กไขไ่ ปบด (ใช้วธิ กี าร ต�ำ) ใสก่ ลเี ซอรนี แต่งกลิน่ ส้ม เปลือกไขท่ ต่ี �ำละเอียดจะชว่ ยขจัดคราบ ได้ดี ชาวบ้านสามารถทำ� ใช้ในบา้ น หรอื จำ� หน่ายในชุมชน ซึ่งอายใุ น การเกบ็ รกั ษา 1 สัปดาห์ การเรยี นวิชานี้ทำ� ให้เรียนร้ปู ญั หาจริง ลงพ้ืน ที่เกบ็ ข้อมลู น�ำมาวิเคราะห์ ฝึกการทำ� งานเป็นทีม จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563

14 Hot News/อลงกรณ์ สสว. - มทร.ธญั บุรี อบรมดจิ ิทลั มารเ์ ก็ตติ้ง SME ผ้ปู ระกอบการธรุ กจิ ตบเท้ารว่ มอบรม ‘ดิจิทลั มารเ์ ก็ตติง้ SME’ สสว. - มทร.ธัญบุรี เปิดอบรมฟรี กรุงเทพ และอีก 11 จงั หวัดภาคกลาง ยำ�้ ชัดเพม่ิ ศักยภาพ การประกอบธรุ กิจ นายนติ ิ วทิ ยาวโิ รจน์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักวิทยบริการ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ การอบรมปรับแผนการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ตลาดดิจิทลั 2020 สำ�หรับ SME ธัญบุรี กล่าวแนะนำ�รายละเอียด คร้ังนี้ มี นายสรุ ศกั ด์ิ เหลือง การอบรม “ปรับแผนการตลาด อษุ ากุล นักวางกลยทุ ธก์ ารตลาด ดิจทิ ลั 2020 สำ�หรบั SME” ดจิ ิทลั บรษิ ัท แบรนด์เบเกอร์ ภายใต้โครงการเพ่ิมศักยภาพ จำ�กัด เป็นวทิ ยากร ในหวั ขอ้ ผู้ประกอบการออนไลน์ด้วย “ก้าวข้ามความท้าทายในปี ดจิ ทิ ัลมาร์เก็ตติ้ง ปีงบประมาณ 2563 ทศี่ ูนยน์ วตั กรรมและความรู้ 2020 ดว้ ยการปรบั แผนการ มทร.ธัญบรุ ี อาคารบางซอื่ จังชน่ั จตุจักร กทม. โดยสำ�นกั งานส่งเสรมิ ตลาดดจิ ิทัล” ส่วนอกี หนงึ่ วัน วิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) รว่ มกับ มทร.ธัญบุรี ในการ เปน็ การเวิรค์ ช็อปเพ่ือดแู ลลกู คา้ และบรหิ ารหนา้ ร้านออนไลน์ ด้วย ดำ�เนนิ การ ซงึ่ รับผิดชอบในพนื้ ที่ กทม. และ 11 จังหวดั ในภาคกลาง โปรแกรมยอดนยิ มจาก LINE การสร้างหนา้ รา้ นจาก LINE Official นบั เป็นความรว่ มมอื ทีเ่ กดิ ขึน้ อยา่ งตอ่ เนอื่ งในการผลักดัน ‘SME’ สู่ Account และ LINE My Shop โดย LINE Certified Trainer ‘SME Online’ อย่างเตม็ รูปแบบ สรุ ศกั ดิ์ เหลืองอุษากุล นอกเหนือจากให้ความรู้ในการทำ�ธุรกิจพาณิชย์ กลา่ วตอนหน่ึงว่า ความเปน็ อิเล็กทรอนิกส์ การถ่ายภาพสินค้า การเปิดร้านค้าออนไลน์บน ดิจิทัลได้เข้ามาเปล่ียนแปลงวิถี แพลตฟอร์มและช่องทางต่าง ๆ แล้ว ยังได้นำ�หลักการดิจิทัล ชวี ติ ของผคู้ นเป็นอยา่ งมาก โดย มารเ์ กต็ ติ้งมาปรับใชใ้ ห้ตรงกบั ศักยภาพของผปู้ ระกอบการ และสนิ คา้ ส่วนใหญ่ผู้บริโภคในปัจจุบันมี ให้ความร้แู ละใหค้ ำ�ปรึกษาในการเลือกใช้เคร่ืองมือต่าง ๆ ท่ีเหมาะสม ลักษณะท่ีชอบการบอกต่อ การ รวมถงึ การวางแผนกลยทุ ธใ์ ห้กับผปู้ ระกอบการ อันนำ�ไปสู่การสรา้ ง แชร์ต่อในเรื่องที่พวกเขาสนใจ รายไดท้ ่ียั่งยนื ซง่ึ จะเปน็ พลงั ขบั เคล่อื นเศรษฐกจิ ของประเทศตอ่ ไป ดงั นัน้ ในฐานะผปู้ ระกอบการ จะนำ�เรื่องราวดังกล่าวนี้มาใช้กับ ธุรกิจให้เกิดประโยชน์ได้อย่างไร ขณะเดียวกนั ลกู คา้ ไม่ไดเ้ ดินมาหาเรา แตเ่ ราต้องเดินเขา้ ไปหาลกู คา้ เพ่ือนำ�เสนอในสิง่ ทเี่ ขาสนใจ สิง่ ทีช่ ว่ ยแก้ปัญหาหรือตอบสนองพวกเขา ได้อยา่ งเตม็ ท่ี เทคนคิ สำ�คัญอยา่ งหนึ่งในการรบั มือกับผบู้ ริโภคในโลก ออนไลน์หรอื ดิจิทลั น่ันคือการหยดุ นวิ้ โปง้ ของเขาบนแพลตฟอรม์ ต่างๆ หรือท่เี รยี กว่า Thumb Stopper ใหเ้ ขาได้เห็น และหยุดอา่ น ไมก่ ด ข้ามในสิ่งท่เี รานำ�เสนอ รวมถงึ การแชรต์ อ่ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563

15 ด้านผู้ประกอบการท่ี ขณะท่ี สภุ าวดี จง เขา้ ร่วมอยา่ งเช่น พุฒพิ ฒั น์ พูล จำ�เนยี ร อายุ 45 ปี บอกว่า ต้งั ใจ มาลัยทรัพย์ อายุ 43 ปี กล่าวว่า จะนำ�ธุรกิจเสื้อผ้าเข้าสู่ช่องทาง ตนยังไม่เคยเข้าสู่การทำ�ธุรกิจ ออนไลน์อย่างจริงจังและเต็มรูป ออนไลนอ์ ยา่ งเตม็ ตวั เมอ่ื ทราบวา่ แบบ และเหน็ ว่าการมาเขา้ รว่ ม มีโครงการดังกล่าวจึงสนใจ โครงการฯ นนั้ ไดผ้ ลมากกว่า เข้าร่วม ทุกวันนี้หลายอย่าง การศึกษาหรือลองผิดลองถูก เปล่ียนแปลง ในฐานะคนทำ�ธรุ กิจ ด้วยตนเอง เพราะความร้ทู ไี่ ด้ จึงต้องปรับและเปลี่ยนแปลง รับจากวิทยากรนั้นผ่านการกล่ัน ตนเองให้เขา้ กบั สงิ่ ทเ่ี ป็นปจั จบุ นั และเช่ือว่าดิจิทลั มาร์เก็ตตง้ิ จะช่วย กรองคัดสรรมาแลว้ และได้แนวทางในการทำ�ธรุ กิจใหม่ ๆ จงึ ทำ�ให้ ต่อยอดการทำ�ธรุ กจิ ใหเ้ ตบิ โตต่อไปได้ และการอบรมครง้ั น้ีไดเ้ รยี นรู้ ตนเองจับจดุ และตงั้ หลกั เพื่อเดินตอ่ ไปไดอ้ ยา่ งมีเป้าหมาย อยากให้ทาง ช่องทางดิจทิ ัลเพ่ิมเติม ไดเ้ หน็ กรณีศึกษาหรือเคสตัวอยา่ งทัง้ ไทยและ สำ�นกั งานสง่ เสริมวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (สสว.) รว่ มกบั ตา่ งประเทศ สามารถเปน็ แรงบนั ดาลใจใหต้ นเองนำ�ไปพฒั นาธรุ กิจเพ่อื มทร.ธัญบรุ ี เข้ามาช่วยเหลือ ดูแลและใหค้ ำ�ปรกึ ษาอยา่ งตอ่ เนื่อง ให้สามารถขายอยา่ งมีเรอื่ งราวได้ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563

16 สัมภาษณ์ศิษย์เก่า/อลงกรณ์ ศษิ ยเ์ กา่ ราชมงคล น� ำ ค วา ม รู ้ ศิลปะ ต อบ แ ท น สั งคม ศิลปินจิตรกรรม ศิษย์เก่าสถาบันฯ ราชมงคล. ร่วมโครงการค่ายอาสาพัฒนาเฉลิมพระเกียรติ ชมรม ราชมงคลอาสาฯ มทร.ธัญบุรี น�ำความรู้ศิลปะ รังสรรค์ พระสาทิสลักษณ์ “กรมสมเด็จพระเทพฯ” ณ ศูนย์การ เรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนบ้านห้วยสลุง จ.ตาก นายอภินันท์ ขดั ผาบ หรือท่ใี คร ๆ เรียกกนั ในแวดวง ศิลปะวา่ “นา้ นนั ท์” วัย 44 ปี อดีตนักศกึ ษาศิลปกรรมศาสตร์ ท่ขี ยับ ตวั เองสู่ General Manager พพิ ธิ ภัณฑ์ศลิ ปะเชียงใหม่ จ.เชยี งใหม่ ผวู้ าดพระสาทิสลกั ษณ์ “กรมสมเดจ็ พระเทพฯ” ประดบั ไวท้ อ่ี าคาร เรยี นพระราชทาน ศนู ยก์ ารเรยี นตำ�รวจตระเวนชายแดนบ้านห้วยสลุง จ.ตาก ที่จัดสร้างโดยชมรมราชมงคลอาสาพัฒนาเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี “ผมเรียนจบคณะศิลปกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยรี าช มงคล ซงึ่ ไดย้ กฐานะเปล่ยี นเปน็ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรีในปจั จุบัน ล่าสุดทำ�งานทพ่ี พิ ธิ ภัณฑศ์ ลิ ปะเชยี งใหม่ จ.เชียงใหม่ อ.สนั กำ�แพง ในตำ�แหนง่ General Manager หรอื ผู้จัดการทัว่ ไป มนี กั ทอ่ งเทีย่ วโดยเฉพาะต่างชาตเิ ข้ามาเยีย่ มชม ความสนุกและความ คกึ คักเกดิ ขนึ้ จากการพบเจอนกั ทอ่ งเทยี่ ว ดงั คำ�กลา่ วทีว่ ่า เชยี งใหม่ คอื เมืองท่องเที่ยวติดอันดบั ของประเทศ ซ่ึงผมเองมหี นา้ ท่จี ัดการใน เรื่องการจัดกิจกรรม นทิ รรศการศิลปะ และรบั ผดิ ชอบงานส่วนอื่น จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563

17 เพ่มิ เติมด้วย มโี อกาสได้รว่ มจัดแสดงผลงานกบั ศษิ ยเ์ กา่ เพ่อื นรว่ มรุ่น และศลิ ปินท่ัวไปอย่บู ้าง พพิ ธิ ภัณฑ์ศิลปะเชียงใหมแ่ หง่ นเ้ี ปิดให้ชมฟรี นับเป็นพ้ืนท่ีแห่งศิลปะและศิลปินที่ได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเสพ งานศลิ ปร์ ะหว่างกนั ” ความภูมิใจและดีใจที่ได้ร่วมงานกับชมรมราชมงคลอาสา พฒั นาเฉลมิ พระเกียรติ มทร.ธญั บรุ ี คอื การได้วาดพระสาทิสลักษณ์ สมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี และประดับไวท้ ่อี าคารเรยี นพระราชทาน ศูนย์ การเรียนตำ�รวจตระเวนชายแดนบา้ นหว้ ยสลุง จ.ตาก “ผมเลือกใช้สีอะคริลคิ ในการวาด ลงบนพ้นื ผา้ ใบแคนวาส ซึง่ มีขนาดประมาณ 1.70 x 4.50 เมตร ใชเ้ หล็กแทนไมเ้ ปน็ โครง เพ่อื ให้มีความทนทาน เลือกโทนสเี ขียวเปน็ หลกั เพือ่ ใหส้ อดคลอ้ งและไม่ แตกต่างจากรูปตน้ แบบของพระองคท์ ่าน กลมกลืนกบั สภาพแวดล้อม ของโรงเรียนท่รี ายล้อมไปด้วยตน้ ไม้ ภเู ขา สอื่ ถงึ ความรม่ เยน็ เป็นสุข ภาพฉากหลงั เป็นโครงการปลูกผักเพอ่ื อาหารกลางวนั นำ�เรื่องราวของ แปลงผกั แปลงเกษตรเขา้ มาเกีย่ วข้อง และเชือ่ มโยงไปกบั โรงเรยี น โดย มีรูปพระองค์ทา่ นอยูเ่ บอื้ งหน้า” นา้ นันท์ กลา่ ววา่ ดใี จที่ไดใ้ ชค้ วามรคู้ วามสามารถและ ประสบการณข์ องตนในการรังสรรคภ์ าพ มีเรื่องราวทีน่ า่ จดจำ�อันเป็น ประวัตศิ าสตร์ของชีวติ คือ “สมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเด็จ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงฉายพระรูปร่วมกับ ผู้บรหิ าร คณาจารยแ์ ละนักศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี ในการเสด็จพระราชดำ�เนนิ ทรงเปดิ อาคารเรียนพระราชทาน ศนู ยก์ ารเรยี นตำ�รวจตระเวนชายแดนบ้านหว้ ยสลงุ จ.ตาก” และ คาดหวงั ว่าผลงานดงั กลา่ วจะเปน็ ประโยชน์ เปน็ สอ่ื ศิลปะทส่ี ร้าง แรงบนั ดาลใจใหก้ ับน้อง ๆ ต่อไปได้ เหนืออน่ื สิง่ ใดถอื เป็นการตอบแทน และสำ�นกึ ในพระมหากรุณาธิคณุ ต่อพระองค์ทา่ น และยังนกึ ถึงอยู่ เสมอว่า “ครง้ั หน่งึ เราเคยได้เป็นศษิ ย์เกา่ ราชมงคล ได้นำ�ความรทู้ ่ี สั่งสม ตอบแทนสังคมกลับคืน” เมอื่ มองย้อนกลับไป “มทร.ธัญบุรี ในปจั จุบนั พฒั นาและปรบั จะต้องสามารถตอบสนองตนเอง และผอู้ ่ืนด้วยความบริสุทธ์ิ นั่นคอื จะ เปลยี่ นไปหลายอยา่ งในทศิ ทางทด่ี ี สอดรบั กบั สถานการณ์ทเ่ี ป็นอยู่ ตอ้ งไม่คำ�นึงถึงผลประโยชน์ส่วนตน และจะต้องสรา้ งผลงานตอบแทน และยคุ นี้เปน็ ยคุ แหง่ ส่อื สังคมออนไลน์ทหี่ ลายคนนยิ มใชก้ ันซึง่ สามารถ สงั คม สง่ิ สำ�คญั คือการนำ�ความรคู้ วามสามารถออกไปรบั ใช้สงั คม เพื่อ นำ�มาเป็นเครื่องมือในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานศิลปะได้ ใหเ้ กดิ ส่งิ ทดี่ ีกวา่ เดมิ ขณะเดยี วกันยงั มองวา่ ศาสตร์ดา้ นศิลปะสามารถ อกี ด้านหน่ึงคอื ทกุ คนสามารถเสพงานศลิ ปะ เรียนรู้และศกึ ษาเพิ่มเตมิ เชอื่ มโยงกบั ความเปน็ จติ อาสาอยา่ งแยบยล” ได้เชน่ เดียวกัน” พพิ ิธภัณฑศ์ ลิ ปะเชยี งใหม่ เป็นอกี หน่งึ สถานที่ ทเ่ี ต็มไป สำ�หรับนักศึกษาศิลปกรรมศาสตร์ท่ีกำ�ลังจะก้าวสู่โลกการ ด้วยแรงบันดาลใจและเรื่องราวด้านศิลปะท่ีมีนิทรรศการหมุนเวียน ทำ�งาน ผมเชอื่ วา่ ตลอดระยะเวลาในร้วั มหาวทิ ยาลัยไดส้ ั่งสมความรู้ มาให้ไดช้ มกนั อยา่ งตอ่ เน่อื ง โดยนกั ศึกษา หรอื ผสู้ นใจสามารถเข้าดู มาอยา่ งพอสมควร แตอ่ ยากใหพ้ ึงระลกึ ไว้ขอ้ สำ�คัญคือ จะตอ้ งทำ�งาน รายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ไดท้ ่ี https://www.facebook.com/chiangMai อย่างเต็มที่ และงานนั้นตอ้ งสรา้ งแรงบนั ดาลใจตอ่ ผอู้ นื่ โดยเฉพาะใน artmuseum หรือสอบถามท่ีผมโดยตรงท่ี 089 890 8990 เร่อื งของแรงบนั ดาลใจ “อยากใหศ้ ลิ ปนิ ทุกคน มีหวั ใจแห่งการแบง่ ปัน และ “จริง ๆ แล้ว คำ�ว่าศิลปินในมุมมองของผม คือคนที่ ทำ�ประโยชน์ตอ่ สงั คมให้มากขึ้น เพราะท้ายทีส่ ดุ แลว้ สังคมต้องการ ทำ�งานศิลปะอย่างต่อเนื่องตามความถนัด และความสนใจจนเกิด การจรรโจงจิตใจ ตอ้ งการสิ่งสวยงามมากกวา่ การแกง่ แยง่ แข่งขนั ” ความเชี่ยวชาญ ซ่ึงต้องมีความชัดเจน เปน็ เอกลกั ษณ์ โดยผลงานนน้ั น้านันท์ กล่าวท้ิงท้าย จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563

18 สกู๊ปนวัตกรรม/ชลธิชา แผ่นกรองหน้ากาก อนามยั ย่อยสลายได้ มทร.ธัญบุรี วิจัยและพัฒนาแผ่นกรองหน้ากาก อนามัยที่มีสมบัติย่อยสลายได้ ต่อยอดและน�ำไป ใช้กับโรงพยาบาลใกล้เคียง ผศ.ดร.สมหมาย ผวิ สอาด เผยวา่ ดว้ ยวกิ ฤตการณป์ จั จบุ นั ขยะหน้ากากอนามัยเพ่ิมข้ึนเป็น โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ มลพษิ ทางอากาศ ทง้ั มาจากปญั หาฝนุ่ ละออง ทวคี ณู เพอื่ ลดปรมิ าณขยะดงั กลา่ ว ขนาดเลก็ (pm 2.5) รวมทัง้ ความเสีย่ งอันเกิดจากการได้รบั อนภุ าคจาก ทางคณะผวู้ จิ ยั อาจารยแ์ ละ สารคัดหลัง่ ทเ่ี กดิ จากการไอหรือจาม ผคู้ นจงึ เกิดความตระหนักเป็น นักศึกษาระดับปริญญาเอกคณะ อยา่ งย่ิง ถึงความจ�ำเป็นในการสวมใส่หนา้ กากอนามัยเพือ่ ป้องกัน หรอื วศิ วกรรมศาสตร์ ซง่ึ เปน็ โครงการ ลดความเส่ยี ง ทอ่ี าจส่งผลตอ่ สขุ ภาพได้ จะเหน็ ได้ว่า หนา้ กากอนามยั พัฒนานักวิจัยและงานวิจัยเพื่อ ชนิดใช้แล้วท้งิ ถือเปน็ ผลิตภัณฑ์หน่งึ ซง่ึ เปรียบเสมอื นผลิตภัณฑ์ทม่ี ี อตุ สาหกรรม (พวอ.) ไดร้ บั ทนุ ความจ�ำเปน็ อยา่ งย่ิงในชีวติ ประจ�ำวนั ไมเ่ พยี งแตบ่ ุคลากรทางการ สนบั สนนุ จากสกว.คดิ คน้ แผน่ กรอง แพทยเ์ ท่านน้ั ผู้คนส่วนใหญก่ ม็ คี วามตอ้ งการใช้หน้ากากอนามัยชนดิ นี้ ช นิ ด เ ป ลี่ ย น ไ ด ้ แ ล ะ ส า ม า ร ถ โดยหนา้ กากอนามัยชนดิ มาตรฐานนี้ ประกอบด้วยโครงสรา้ งผา้ แบบ ยอ่ ยสลายได้ ใชค้ กู่ บั หนา้ กาก นอนวูฟเวนจำ� นวน 3 ชน้ั ได้แก่ สปนั บอนด์/เมลท์โบรน/สปนั บอนด์ อนามัยชนิดที่สามารถเปลี่ยน โดยชน้ั ทม่ี ีความส�ำคัญในการกรองคอื ชัน้ เมลท์โบรน ซ่ึงมีขนาด ชนั้ กรองและซกั ไดห้ ลายครงั้ เพอ่ื เปน็ หนา้ กากอนามยั ทางเลอื กทดแทน เส้นใยขนาดเลก็ และชอ่ งวา่ งในโครงสรา้ งต่�ำมาก หรอื นอ้ ยกว่า 2.5 หนา้ กากอนามยั ชนดิ ใชแ้ ลว้ ทง้ิ โดยงานวจิ ยั นจ้ี งึ มงุ่ เนน้ ศกึ ษาและพฒั นา ไมโครเมตร ทำ� ใหส้ ามารถกรองอนภุ าคทมี่ ขี นาดเลก็ หรือ หยดละออง แผ่นกรองชั้นเมลท์โบรนท่ีมีขนาดละเอียดจากพอลิแลคติกแอซิด ของเหลวได้ (Droplets) ที่มีขนาดมากกว่าชอ่ งวา่ งในโครงสรา้ งช้นั (Polylactic acid, PLA) หนงึ่ ในพอลิเมอร์ทางชวี ภาพ สงั เคราะห์ได้จาก กรองได้ กรดแลคตกิ แอซดิ ได้มาจากแหล่งทรัพยากรท่สี ามารถปลกู ทดแทน สำ� หรบั การผลติ หนา้ กากอนามยั ในประเทศไทยนน้ั มกั นำ� เขา้ ได้ เช่น อ้อย มนั สำ� ปะหลงั เมื่อใชแ้ ลว้ ทิ้งในระบบฝงั กลบทีม่ สี ภาวะ ชนั้ เมลท์โบรน จากต่างประเทศเนือ่ งจากตอ้ งใชพ้ อเมอรช์ นดิ พเิ ศษ เหมาะสม สามารถยอ่ ยสลายได้ ในระยะเวลา 4-6 เดอื น ข้นึ รูปแผน่ และเทคนิคพิเศษในการขึ้นรูปเพ่ือให้ได้เส้นใยท่ีมีขนาดเล็กใน กรองดว้ ยผา่ นกระบวนการขน้ึ รปู แบบพิเศษด้วยเคร่อื งCottoncandy ระดบั ไมโครเมตร ถงึ นาโนเมตร เพ่ือใหไ้ ดป้ ระสิทธภิ าพในกรองที่ ซ่ึงมหี ลกั การ การขนึ้ รปู แบบเดยี วกนั melt blown spinning หรือ ต้องการ ไม่เพียงเทา่ นนั้ วัสดพุ อลเิ มอร์ตั้งต้นทใ่ี ช้ในการผลติ โครงสร้าง เรียกวา่ กระบวนการป่ันหลอมแบบพ่น ลักษณะช้ินงานท่ีได้ เรียกว่า ดงั กล่าว ได้มาจากพอลพิ รอพิลีน (PP) หนง่ึ ในพลาสตกิ ประเภท นอนวฟู เวนหรือผา้ ไม่ถักไม่ทอ ไดเ้ สน้ ใยขนาดเลก็ ระดบั ไมโครเมตร เทอรโ์ มพลาสติก ได้มาจากปโิ ตเลียมเบส เมือ่ หน้ากากอนามยั เหล่านี้ มปี ระสทิ ธิภาพในการกรองสงู ซ่งึ เปน็ งานวจิ ยั รว่ มระหวา่ ง มทร ธญั บุรี ถูกใช้งานแลว้ ถูกทิง้ ในระบบฝังกลบนน้ั ไมส่ ามารถยอ่ ยสลายได้ และ Kyoto institute of technology สำ� หรบั ผสู้ นใจ สามารถ ( >400 ปี) อีกทง้ั ยังพบวา่ ช่วงวิกฤตการณ์น้ี ปรมิ าณขยะท่เี กิดขนึ้ จาก สอบถามรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ไดท้ ี่ โทร. 094-3866891 จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563

19 ไอเดียเจ๋ง เพิ่มมูลค่าขยะ หน้ากากอนามยั ใช้แล้วอย่างปลอดภยั หน่วยวิจัยวสั ดุที่เป็นมิตรตอ่ สงิ่ แวดล้อม มหาวทิ ยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี นำ� ขยะหน้ากากอนามัยเหลอื ท้งิ มาใช้ ประโยชน์เปน็ วสั ดเุ สรมิ แรงในการผลิตวัสดกุ อ่ สร้าง วสั ดตุ กแตง่ และกระถางตน้ ไม้ ดร.ประชุม คำ� พฒุ หวั หนา้ หนว่ ยวิจัยวัสดทุ ่ีเปน็ มติ รต่อ มคี วามเช่ียวชาญกับการอพั ไซเคิลวสั ดุเหลอื ทิง้ ต่าง ๆ มาใชป้ ระโยชน์ สิง่ แวดลอ้ ม เล่าว่า ปจั จบุ นั หน้ากากอนามัยมคี วามจำ� เปน็ อย่างยิง่ โดยเฉพาะขยะพลาสติกทีไ่ ด้มกี ารพัฒนามาอย่างต่อเน่ือง ขยายผลไป สวู่ ิสาหกจิ ชมุ ชน หรอื อสังหาริมทรัพยข์ นาดใหญ่ ซงึ่ ชว่ งนถี้ ึงเวลาของ ต่อการใชช้ วี ิต เปรยี บเหมือนเปน็ การอัพไซคล่ิงขยะหน้ากากอนามัยท่ีเรียกได้ว่าเป็นขยะอันตรายกว่า อุปกรณ์ท่ีต้องมีติดตัวตลอดเวลา ขยะพลาสติกทวั่ ไป จึงต้องทำ� การก�ำจดั เชอ้ื โรคหรอื ท�ำความสะอาด ซึ่งหน้ากากทุกประเภทเม่ือใช้แล้ว หน้ากากอนามัยใช้แล้วในเบื้องต้นด้วยการพ่นด้วยแอลกอฮอล์ฆ่าเช้ือ จะต้องท้ิงกลายเป็นขยะอันตรายที่ โรค แลว้ อบไอนำ้� แรงดันสงู ก่อนนำ� ไปใช้งานเปน็ วัสดเุ สริมแรงในการ ต้องท�ำการก�ำจัดด้วยวิธีท่ีปลอดภัย ผลติ วัสดกุ ่อสร้างและวสั ดุตกแต่งอาคาร จัดสวน เช่น บล็อกก่อผนงั โดยก่อนทิ้งควรมีการพับเก็บให้ มวลเบา อฐิ บลอ็ กประสาน บลอ็ กปูพน้ื ฝ้าเพดาน ฯลฯ โดยการน�ำขอ้ ดี เรยี บร้อยและทิ้งอยา่ งถูกวธิ ี ของขยะหน้ากากอนามัยท่ีมีความเหนียวเป็นแผ่นใยผ้าหรือพลาสติก จากขอ้ มลู ของหน่วยงานทางดา้ นสาธารณสุข ใหค้ วามรู้ มาเสริมความแขง็ แรงให้กับผลติ ภัณฑ์ตา่ ง ๆ ที่ได้ผลติ ข้นึ จากกรรมวิธี แนวทางการกำ� จดั วา่ “หนา้ กากอนามยั แบบธรรมดาไมส่ ามารถนำ� การผลติ คอนกรีต โดยชว่ ยในดา้ นการรบั แรงดึง แรงดัด และชว่ ยลด กลับมาใชใ้ หม่ แตพ่ อท้ิงไปแลว้ สามารถที่จะยอ่ ยสลายเองได้ เนื่องจาก การแตกรา้ วให้กบั ผลติ ภัณฑ์ ตลอดจนมีน้ำ� หนักเบา และเปน็ ฉนวน ใชว้ สั ดุท่ีท�ำจากใยสงั เคราะห์ ถงึ แม้จะมกี ารทิ้งมากขนาดไหน ก็จะไม่ ความร้อนท่ดี ีข้นึ ได้ และยังสามารถน�ำมาประยกุ ต์ใช้ในงาน DIY เป็น เกดิ ปญั หากบั สิ่งแวดลอ้ มอย่างแน่นอน ส่วนหนา้ กากอนามัยที่เปน็ ผา้ กระถางต้นไม้ ที่ประชาชนทัว่ ไป นกั เรียน นกั ศึกษา สามารถประดิษฐ์ สามารถนำ� ไปซักแล้วนำ� กลบั มาใช้ไดเ้ ลย แตถ่ า้ เป็นหน้ากากอนามยั ได้ง่ายด้วยตนเอง ทัง้ นผ้ี ูป้ ระกอบการและชมุ ชน ตอ้ งการขอ้ มูลเพ่ิม หรือผา้ ท่ีใช้แล้วจากโรงพยาบาล ใหใ้ ชว้ ธิ ีก�ำจัดแบบเดียวกบั การก�ำจดั เติมหรือต้องการน�ำไปต่อยอดขยายผลผลิตและจ�ำหน่ายในเชิงพาณิชย์ ขยะติดเชื้อของโรงพยาบาล โดยใชถ้ ุงพลาสติกสีแดง ติดเครือ่ งหมาย หรือหน่วยงานต่าง ๆ ที่ต้องการให้ทีมงานไปถ่ายทอดองค์ความรู้ วา่ เปน็ ขยะตดิ เช้อื เกบ็ รวบรวมไว้ในท่เี ฉพาะ ก�ำจดั ในเตาเผา และถา้ สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ท่ีหน่วยวิจัยวัสดุท่ีเป็นมิตรต่อส่ิง เป็นแบบทใ่ี ช้แล้วจากสถานศกึ ษาหรือชมุ ชน ตอ้ งมกี ารแยกขยะใสถ่ งุ แวดล้อม โทร. 0 2549 3410 พลาสติกมปี ้ายบอกชัดเจนว่าเปน็ หนา้ กากอนามยั หรือผ้ามัดถุงให้แน่น และแยกเกบ็ รวบรวมไวอ้ ยา่ งนอ้ ย 8 ชั่วโมง เพ่อื ปอ้ งกนั การปนเป้ือน กับขยะอนื่ ” ณ เวลาน้ี หนา้ กากอนามัยเปน็ วสั ดุส้นิ เปลือง และสว่ นมากก็ ไม่ได้มีการตดิ เชอ้ื เพราะคนใสเ่ พ่ือป้องกันตัวเองเป็นหลัก จงึ เป็นท่ีนา่ เสียดายหากน�ำไปกำ� จดั ด้วยการเผาทงิ้ แตเ่ พียงอย่างเดียว หนว่ ยวิจยั ฯ จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563

20 สกู๊ปนวัตกรรม/อลงกรณ์ \"สีทนไฟ\" วสั ดุนาโน จโจาทกย์วภจิ าัยคอุตสาหกรรม อาจารย์ นักวจิ ัย มทร.ธัญบุรี ลงพน้ื ท่รี บั โจทย์ จากภาคอุตสาหกรรม พัฒนา ‘ผลิตภัณฑ์สีกันไฟ ชนิดพองตวั ’ ผลักดันธรุ กิจอตุ สาหกรรมสีคณุ ภาพสูง ดว้ ยเทคโนโลยคี นไทย ผศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด อธิการบดีมหาวิทยาลัย ผศ.ดร.สรพงษ์ ภวสปุ รีย์ เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี เผยว่า นักวจิ ยั มทร.ธัญบรุ ี ต่อยอด กลา่ ววา่ จากการลงพน้ื ท่ีทำ� งาน องคค์ วามรู้จากการทำ� งานร่วมกบั ภาคอุตสาหกรรม หรือโครงการ ร่วมและวิเคราะห์กับทางบริษัท ส่งเสริมบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัย พบว่า ความส�ำคญั ด้านการวจิ ัย ของภาครัฐไปปฏิบัติงานเพื่อเพ่ิมขีดความสามารถการแข่งขันในภาค และพัฒนาสินค้าท่ีมุ่งเน้นใน เอกชนและโครงการตามยุทธศาสตร์ของประเทศ (Talent Mobility) เรือ่ งความปลอดภยั โดยเฉพาะ นำ� โดยผศ.ดร.สรพงษ์ ภวสุปรยี ์ และ ผศ.ดร.ฉันทท์ ิพ สกลุ เขมฤทยั การป้องกันอัคคีภัยต่อบ้านเรือน นกั วจิ ยั จากภาควชิ าวศิ วกรรมวสั ดุและโลหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ ทรัพย์สนิ อาคารพาณชิ ย์ รวมถึงโรงงานอตุ สาหกรรม นน่ั คือสาร ลงพื้นทรี่ ับโจทย์ปญั หาจรงิ จากภาคอุตสาหกรรมกบั บริษทั ไทยนคร เคลือบผิวอนิ ทเู มสเซนตป์ ระเภทสีกันไฟชนดิ พองตวั ซง่ึ สามารถสรปุ เพนทแ์ อนด์เคมคี อล จำ� กัด วจิ ยั และพฒั นาในโครงการ ‘การพัฒนา ปัญหาและโจทย์วิจยั คอื ปญั หาเรื่องเทคโนโลยใี นการสังเคราะหว์ สั ดุ ผลติ ภัณฑส์ กี นั ไฟชนดิ พองตัว’ โดยมนี กั ศึกษาเขา้ ร่วมโครงการ 2 คน นาโน และปญั หาการขยายตัวของสารเคลือบผิวอนิ ทูเมสเซนตป์ ระเภท คือนายกมลทรรศน์ เวชกรณ์ และนายณัฏฐพัฒน์ ชฎาจติ ร ซึง่ ดำ� เนิน สกี ันไฟชนดิ พองตัวท่มี อี ัตราการขยายตัวต�ำ่ ซ่ึงส่งผลต่อการเป็นชั้น การสำ� เร็จแลว้ กวา่ 90% ไดผ้ ลเป็นที่นา่ พอใจและมีแนวโน้มความเป็น ฉนวนป้องกันความร้อนที่ส่งผ่านสู่เหล็กโครงสร้างไม่ให้เกิดความ ไปได้สูงในการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพ่ือใช้งานและจัดจ�ำหน่ายต่อไป เสียหายหรอื เกดิ ชา้ ลง จากจุดเร่มิ ต้นดงั กลา่ ว จึงมีแนวความคิดเห็น ในอนาคตอนั ใกล้ และจากความสำ� เรจ็ ดงั กลา่ วนย้ี ังเปน็ การผลักดัน ร่วมกันในการวิจัยและพัฒนาด้านวัสดุนาโนเพื่อน�ำมาใช้เพ่ิมอัตรา ธุรกิจอุตสาหกรรมสีของบริษัทให้เป็นไปตามนโยบายและมาตรการ การขยายตัวของสกี ันไฟชนิดพองตัว และเกิดเป็นโครงการพัฒนา การสง่ เสริมการลงทุน ท่ีเกดิ ประโยชน์ตอ่ บริษทั สถานประกอบการ ผลติ ภณั ฑส์ ีกนั ไฟชนดิ พองตัว ตา่ ง ๆ และเปน็ การพฒั นาขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ ดว้ ยองค์ความรู้ เทคโนโลยีของนักวจิ ยั ไทยในมหาวทิ ยาลยั รว่ มกับ นักวจิ ัยของผปู้ ระกอบการไทย โดยรบั การสนับสนนุ จากสำ� นักงาน คณะกรรมการส่งเสรมิ การลงทุน (บีโอไอ) จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563

21 ผศ.ดร.สรพงษ์ ยงั กลา่ วอีกว่า ผลิตภณั ฑส์ กี ันไฟชนดิ พองตัว ทำ� หนา้ ทีเ่ สมือนฉนวนกันไฟ ยกตวั อยา่ งเมือ่ นำ� ไปใช้ทาโครงสร้างเหลก็ จะป้องกันความร้อนท่ีส่งผ่านสู่เหล็กโครงสร้างไม่ให้เกิดความเสีย หายหรอื เกดิ ช้าลงในกรณที ่เี กดิ เพลิงไหม้ ซึ่งอาจช่วยส่งผลต่อความ ปลอดภัยท้ังชีวิตและทรัพย์สิน โดยใช้วัสดุนาโนเป็นส่วนประกอบ ส�ำคัญ และได้ท�ำการทดสอบสมบัติการทนไฟตามมาตรฐานสากล ทดสอบการขยายตัว อนุภาคพ้ืนผิวและทดลองน�ำไปใช้งานเบื้องต้น ซึ่งมีผลการทดสอบเป็นที่น่าพอใจ และเตรียมผลักดันร่วมกับบริษัท เพื่อการผลิตในเชิงพาณิชย์ต่อไปในอนาคตอันใกล้ “ประโยชน์ทีเ่ กิดขน้ึ จากการวจิ ัยดังกลา่ ว ทำ� ใหบ้ ริษัทหรือ สถานประกอบการไดก้ ระบวนการผลิตวสั ดุนาโน เพ่ือวางแผนการ ผลติ สนี าโนและสีกนั ไฟชนิดพองตวั สามารถรองรับการขยายตัว ของบรษิ ัทในการผลติ ระดับอตุ สาหกรรม ขณะเดยี วกันยังลดการน�ำ เขา้ วสั ดุนาโนเชงิ พาณิชย์จากต่างประเทศ และท่สี ำ� คญั อาจารย์ นักวจิ ยั และนักศกึ ษาไดร้ ่วมปฏิบตั ิงานจริง ซ่ึงทำ� ให้เพมิ่ พูน ประสบการณ์การท�ำงานทักษะที่ก่อให้เกิดการพัฒนาและวิจัยร่วม กันระหว่างมหาวทิ ยาลยั และสถานประกอบการ” ขณะที่ นายภูมิภทั ร์ ตรรกสกุลวิทย์ กรรมการและ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายปฏบิ ตั ิการ บริษทั ไทยนครเพนทแ์ อนด์เคมคี อล จ�ำกัด กล่าวว่า ไทยนครเพนท์แอนดเ์ คมคี อล เปน็ บรษิ ัทในอุตสาหกรรมสีของ คนไทย ซง่ึ มกี ารวิจยั คน้ คว้าและพัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง เพื่อสรา้ งสรรค์ ผลิตภณั ฑค์ ุณภาพ การทีท่ มี อาจารย์และนักศกึ ษาจาก มทร.ธญั บุรี ได้ เขา้ มามีสว่ นร่วมดงั กล่าว ซึ่งมีฝา่ ยวิจัยและพฒั นาผลิตภณั ฑ์จากบริษัท เป็นแกนหลกั นำ� โดย นายประสาน ไชยแสนฤทธ์ิ ผอู้ ำ� นวยการฝา่ ย วิจัยและพฒั นา ซ่งึ โครงการนชี้ ่วยใหบ้ รษิ ทั มีแนวทางใหม่ ๆ ในการ พฒั นาผลิตภัณฑ์ เกดิ การแลกเปล่ยี นเรยี นรพู้ ัฒนาความรรู้ ว่ มกนั ใน เรื่องวสั ดนุ าโนและนาโนเทคโนโลยี ทเี่ ป็นองค์ความรู้ใหมท่ นี่ ่าสนใจ หวังว่าในอนาคตจะได้รับความร่วมมือที่ดีในด้านการวิจัยและพัฒนา เชน่ น้ตี ่อไป. จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563

22 สภาคณาจารย์และข้าราชการ/ผศ.ดร.ศรชัย อาจารยเ์ รอื งศกั ด์ิ ภธู รธราช ประธานสภาคณาจารยแ์ ละข้าราชการ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี เข้ารว่ มประชมุ ปอมท.สมัย สามญั ครงั้ ที่ 1/2563 ระหวา่ งวันท่ี 22-24 มกราคม 2563 ณ ห้อง ประชุมประภา ประจกั ษศ์ ภุ นติ ิ (AD-907) ชน้ั 9 อาคารส�ำนักงาน อธิการบดี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี อาจารย์เรอื งศกั ด์ิ ภูธรธราช ประธานสภาคณาจารย์และขา้ ราชการ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี มอบหมายใหอ้ าจารย์ นิกร แสงงาม รองประธานฯ พรอ้ มดว้ ย ผศ.อรรคพล เชดิ ชูศิลป์ ดร.ประดิษฐา ภาษาประเทศและอาจารย์สวุ ดี อิสรายุวพร เขา้ ร่วมการประชุมสัมมนากรรมการสภาคณาจารย์และข้าราชการ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลท้ัง 9 แหง่ (ปคมทร.) วนั ท่ี 6-8 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ ห้องประชุมค�้ำคณู 4 ช้นั 5 อาคารส�ำนักงาน คณบดี คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสกลนคร อำ� เภอพังโคน จงั หวัดสกลนคร อาจารย์เรืองศกั ดิ์ ภูธรธราช ประธานสภาคณาจารย์และ ข้าราชการ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี มอบหมายให้ อาจารยส์ าโรจน์ อนนั ตอวยพร รองประธานฯ อาจารย์ปยิ นารถ ศรีสมเพ็ชร กรรมการและเลขาธกิ าร ผศ.ดร.นพรตั น์ พทุ ธกาลและ ผศ.ชลิต เชาวว์ ิไลย เข้าร่วมการประชมุ ประธานสภาคณาจารย์ และข้าราชการแหง่ ประเทศไทย (ทปสท.) สมัยสามญั ประจำ� ปีครัง้ ที่ 1/2563 ระหว่างวนั ท่ี 20-22 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ ห้องประชุม ช้นั 9 อาคาร 90 ปี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎเทพสตรี ภายในงานมกี าร ประชมุ กลุ่มย่อยและระดมความเห็นในหัวข้อ “บทบาทของสภา คณาจารย์และข้าราชการในการขับเคล่ือนมหาวิทยาลัยสู่การสร้าง นวตั กรรมเพื่อพฒั นาทอ้ งถ่นิ ” จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563

ขอบคุณยิ่งจากใจ/กองบรรณาธิการ 23 ในระยะเวลา 3 เดือนทผ่ี า นมา สอ่ื มวลชนดา นโทรทัศนไดมาถา ยทำรายการ ผลงานของคณาจารย นกั ศกึ ษา และนำไปเผยแพรอ อกอากาศทางสถานโี ทรทศั นช อ งตา งๆ กองประชาสมั พนั ธ มทร.ธัญบุรร ตองถอื โอกาสนี้ ขอบคุณสือ่ มวลชนทกุ ทาน ท่ีไดใหโอกาส นำผลงานทีด่ ี และมีคุณคา ไปเผยแพรตอสาธารณชน จุลสารราชมงคลธัญบุรี | มกราคม - มีนาคม 2563

วุฒิ ม.6 TCAS63ปรบั รสรญมคั ญรนากัตศรึกร ษ2า5ให6ม3 รวมตอบแบบสอบถาม เพอื่ แสดงความพึงใจ ในการรบั ขอมลู ขา วสาร จากจจลสารราชมงคลธญั บรุ ร มหาววทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรร 39 หมู 1 ถนนรังสิต-นครนายก(คลองหก) อำเภอธัญบุรร จังหวัดปทุมธานี 12110 โทร 0-2549-4990-2 www.rmutt.ac.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook