Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore test ebook

test ebook

Published by sermsang60, 2017-01-13 00:26:28

Description: test ebook

Search

Read the Text Version

พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั “การครองตน”1. พ ร ะ บ ร ม ร า โ ช ว า ท ใ น พ ิธ ีพ ร ะ ร า ช ท า น ป ร ิญ ญ า บ ัต ร ข อ ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 21 พฤศจิกายน 25002. พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 18 กันยายน 25043. zz4. xx 1

5. พ ร ะ บ ร ม ร า โ ช ว า ท ใ น พ ิธ ีพ ร ะ ร า ช ท า น ป ร ิญ ญ า บ ัต ร ข อ ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 21 พฤศจิกายน 2500 “… อนั ส่งิ ท่เี รยี กกนั ว่า “อุดมคติ” น้ัน ก็คือมโนภาพหรือความนึกคิดถึงความดีความงามอันเลอเลิศในสิ่งหน่ึงส่ิงใด ซ่ึงถ้าเป็นไปตามมโนภาพน้ันแล้ว ก็จะจัดว่าเป็นของท่ีดีท่ีงามเลศิ ด้วยประการทั้งปวง กลา่ วโดยท่วั ไป มนุษยเ์ ราย่อมปรารถนาจะประสบแต่ส่ิงดีงามเจริญตาเจริญใจ จึงควรจะได้มีอุดมคติด้วยกันท้ังนั้น แต่หากควรเป็นไปในทางไม่ก่อความเบียดเบียนแก่ผูอ้ ่นื โดยเพ่งเลง็ ถึงประโยชน์สุขของผู้อ่ืนหรือส่วนรวมด้วย การเล็งผลดีหรืองามเลิศด่ังว่าน้ีถา้ หากเป็นไปเพียงแต่เพ่ือประโยชน์สุขของตนเองเท่าน้ัน และเป็นการเบียนประโยชน์สุขของผู้อืน่ แล้ว ก็จะกลายเป็นความเห็นแก่ตัวหาควรได้ชื่อว่า “อุดมคติ” ไม่ การประกอบสร้างอุดมคติขึ้นน้ัน ย่อมกินเวลา ในบางกรณีอาจได้เร่ิมประกอบสร้างกันข้ึนแต่อายุยังน้อย ในบางรายอาจมีอดุ มคติขึ้นเม่อื เติบโตอายมุ ากแลว้ แตส่ าหรับท่านท่ีผ่านการศึกษาเช่นนี้แล้ว ควรจะต้องได้มีไดย้ ึดอุดมคติประกอบการท่ีจะปฏิบัตสิ ง่ิ ใดไปในภายหน้าด้วย ข้อสาคัญนั้นควรต้องเป็นตัวของตัวเอง ยึดถืออดุ มคติซึ่งชอบด้วยศีลธรรมอันดี ท้ังในแง่ความนึกคิดและในทางปฏิบัติ มิใช่ยอมรับทาตามอุดมคติของผู้อ่ืนโดยมิได้พิจารณาให้ถ่องแท้ ถ้าทุกคนมีอุดมคติอันดีดั่งว่า และต่างปฏิบัติตามโดยสุจริตใจ เพ่งเล็งถึงประโยชน์สุขอันแท้จริงของส่วนรวมกันแล้ว ข้าพเจ้าก็เช่ือว่าจะเป็นผลดี ส่งเสริมความสุขความเจริญของประเทศชาติ ซ่ึงก็จัดว่านาความเจริญมาสู่แต่ละคนและตนเองด้วย แม้หากชาติบ้านเมืองต้องเสื่อมหรือสลายลงแล้ว ประโยชน์สุขส่วนบคุ คลจะเกดิ ขึน้ ได้อย่างไร …” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์18 กันยายน 2504 “… การดาเนินชีวิตโดยใช้วิชาการอย่างเดียวยังไม่เพียงพอ จะต้องอาศัยความรู้รอบตัว และหลักศีลธรรมประกอบด้วย ผู้มีความรู้ดี แต่ขาดความย้ังคิด นาความรู้ไปใช้ในทางมิชอบ ก็เท่ากับเป็นบุคคลท่ีเป็นภัยแก่สังคมของมนุษย์ ฉะนั้น ขอให้ทุกคนจงดารงชีวิตและประกอบอาชีพ โดยอาศัยวิชาความรู้ท่ีได้รับมา ประกอบด้วยความยั้งคิดช่ังใจ และศีลธรรมอันดีงาม เพื่อความเจริญก้าวหนา้ ของตนเองและของประเทศชาติ …” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์22 พฤษภาคม 2506 2

“… ประเทศชาติจะเจริญรุ่งเรือง ก็ต้องอาศัยผู้รอบรู้ในสรรพวิทยาการต่าง ๆ เป็นกาลังสาคญั ผทู้ ่สี าเร็จการศกึ ษาในข้ันมหาวิทยาลัย ยอ่ มเป็นผ้มู คี วามรสู้ ูง จะไปประกอบกิจการใดก็คงทาได้โดยอาศัยความรู้ท่ีได้เรียนมา แต่การจะทาสิ่งใดโดยใช้ความรู้แต่อย่างเดียวน้ันจะสาเร็จราบร่ืนเสมอไปหาได้ไม่ จะต้องมีความรอบคอบรู้จักกาลเทศะ ยึดหลักศีลธรรมเป็นเครื่องเตือนใจให้ปฏิบัติแต่ส่ิงที่ดีงาม ประกอบด้วยรู้จักใช้คุณสมบัติในตัวให้เป็นประโยชน์จึงจะบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง มีความเจริญรุ่งเรือง หากบุคคลใดแม้จะมีความรู้สูง แต่ขาดหิริโอตตัปปะ คือ ไม่มีความละอายต่อบาป นาความรู้น้ันไปใช้ในทางท่ีมิชอบ ก็จะทาให้สังคมเดือดรอ้ น …” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย25 กรกฎาคม 2506 “… การทางานนั้นมีความสาคัญอยู่อย่างหนึ่ง คือ จะต้องมีน้าใจรักงาน จึงจะดาเนินไปโดยสะดวกเรียบร้อยได้ ขอเตือนว่า ผู้ที่เข้าทางานเมื่อทาใหม่ ๆ มักจะประสบอุปสรรคอยู่เสมอ อุปสรรคเหล่าน้ีอาจเกิดขึ้นเพราะติดขัดเร่ืองระเบียบ วิธีการก็ได้ บางทีเห็นงานบางอย่างบกพร่องไม่อยู่กับร่องกับรอย ไม่เห็นตรงกับหลักวิชาที่ได้เรียนมา หรือมีความเห็นขัดแย้งกับผู้ที่ร่วมงาน ทาให้คิดอยากจะแก้ไขปรับปรุง แต่ก็ยากที่จะทาได้ อุปสรรคเหล่าน้ี ทาให้หมดความกระตือรือร้นท่ีจะทา ท้ัง ๆ ท่ีอยากทา เป็นเหตุให้เกิดความท้อแท้ หมดกาลังใจที่จะทาต่อไปความจริงงานทุกอย่างถ้าทาด้วยนา้ ใจรัก ย่อมมีทางสาเร็จและได้ผลดี เมื่อพบอุปสรรคใด ๆอย่าเพิ่งท้อแท้จะหมดกาลังใจง่าย ๆ จงต้ังใจทาให้ดี คิดหาทางท่ีจะแก้ไขผ่อนคลายอุปสรรคต่าง ๆด้วยเหตุผลและหลักวิชา ไตร่ตรองด้วยความสุขุมรอบคอบและเยือกเย็น งานก็จะลุล่วงไปได้ดว้ ยดี การทางานดว้ ยนา้ ใจรักต้องหวังผลงานนั้นเปน็ สาคัญ แม้จะไมม่ ใี ครรู้ใครเห็นก็ไม่น่าวิตกเพราะผลสาเร็จนั้นจะเป็นประจักษ์พยานท่ีมั่นคง ที่พูดเช่นนี้ เหมือนกับสอนให้ปิดทองหลังพระการปิดทองหลังพระน้ัน เมื่อถึงคราวจาเป็นก็ต้องปิด ว่าที่จริงแล้ว คนโดยมากไม่ค่อยชอบปิดทองหลังพระกันนัก เพราะนึกว่าไม่มีใครเห็น แต่ถ้าทุกคนพากันปิดทองแต่ข้างหน้า ไม่มีใครปดิ ทองหลังพระเลย พระจะเปน็ พระท่ีงามบริบูรณ์ไมไ่ ด้ …” พระบรมราโชว าทในพิธีพระราชทานปริญญาบัต รของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 20 มิถุนายน 2509 “… ผู้ท่ีเรียนสาเร็จแล้วน้ีล้วนเป็นผู้มีความรู้ดี มีความคิดก้าวหน้า รักความเจริญและรจู้ กั รับผิดชอบเป็นอย่างดีด้วยกันท้ังสิ้น ท่านทั้งหลายได้ตั้งปณิธานเป็นอุดมคติไว้แล้ว ที่จะใช้ 3

วิชาความรู้ ทางานให้บังเกิดผลสาเร็จและประโยชน์อย่างแท้จริง เพ่ือให้ประเทศชาติก้าวหน้าม่ันคง ท่านต้องรักษาอุดมคติของท่านนี้ไว้อย่างหนักแน่น หม่ันราลึกถึงอย่าให้ขาด และต้องปฏบิ ัตติ ามโดยเคร่งครัด ไมว่ า่ จะเป็นเร่อื งเลก็ หรือเรือ่ งใหญ่หรือในกรณีใด ๆ เม่ือท่านท้ังหลายมีความรู้ความสามารถดาเนินชีวิตและปฏิบัติหน้าที่การงานด้วยอุดมคติเช่นน้ี ท่านจะต้องมีความสาเร็จในชวี ิตอยา่ งไม่ต้องสงสัย …” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์18 ธันวาคม 2512 “… ก่อนที่ท่านท้ังหลายจะออกไปประกอบการงาน สร้างฐานะความเจริญแก่ชีวิตใคร่จะฝากข้อคิดไว้สาหรับเตือนใจว่า ชาติไทยของเราได้พึ่งตนเองมาโดยตลอด จึงยืนหยัดมาในโลกได้โดยอิสระจนถึงทุกวันนี้ ผู้ที่สาเร็จการศึกษาชั้นสูงเช่นท่านทั้งหลาย เป็นผู้มีส่วนบรหิ ารประเทศทง้ั ในวนั น้วี ันหนา้ ด้วยกนั ทุกคน จงึ ตอ้ งรู้จักและต้องสามารถพ่ึงตนเอง มิฉะน้ันประเทศชาติอาจเป็นอันตรายไปได้เพราะการบริหารงานของท่าน การพึ่งตนเองนั้นขึ้นอยู่กับคณุ สมบตั ิประจาตวั บุคคลสองอยา่ ง คือความสามารถนาวิชาการที่ได้ศึกษา มาใช้ในการปฏิบัติงานประการหนึ่ง ความฉลาด ที่จะวินิจฉัยให้เห็นทางเสื่อมทางเจริญ พร้อมทั้งทางที่จะให้พ้นความเสื่อม ดาเนินไปให้ถึงความเจริญ อีกประการหน่ึง ประการแรกเป็นเรื่องของการให้การศึกษาเช่นที่ท่านได้รับมาเป็นลาดับจนจบข้ันอุดมศึกษานี้ แต่ประการที่สองเป็นเร่ืองของการฝึกหัดคดิ ใครค่ รวญ ให้เขา้ ใจแจ้งชดั ในเหตุทแ่ี ทใ้ นผลท่ีแท้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญท่ีสุดในการงานทั้งปวง และเป็นเคร่ืองบนั ดาลผลสาเรจ็ ทีด่ ี ท่เี ป็นประโยชน์แท้จริงทกุ อย่าง …” พระบรมราโชวาท เน่ืองในโอกาสเสด็จฯ ทรงดนตรีเป็นการส่วนพระองค์ณ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ 4 มนี าคม 2515 “... แต่ละคนก็มีแนวของชีวิตของตนเองและแตกต่างกับผู้อื่น ฉะน้ันการท่ีจะมารวมท้ังหมดแล้วบอกว่าแนวชีวิตคืออย่างนี้ ก็พูดยาก เพราะแต่ละคนก็มีทางของตัว มีหน้าที่ของตัว และมนี ิสัยใจคอความเป็นอยู่ของตัว แต่ถ้าพูดรวม ๆ แล้วเราก็จะดูได้ว่า แนวทางชีวิตของทุกคนกม็ ีวา่ เกิดมาแล้วจะตอ้ งฝึกฝนตนเองทั้งกายท้ังใจ เพื่อท่ีจะสามารถมีชีวิตอยู่ได้ น้ันเป็นข้ันแรก ข้ันต่อไปเม่ือฝึกฝนตนเองพอสมควรแล้ว หมายถึงว่าได้ฝึกหัดตัวแล้วก็ได้เรียนรู้วชิ าต่าง ๆ แล้ว ก็ต้องไปปฏิบัติ ในการปฏิบัติน้ันก็จะต้องใช้ความตั้งใจจริง ความซ่ือตรง และการพิจารณาท่ีรอบคอบ แนวต่อไป แนวสุดท้ายขั้นท่ีสามก็ต้องตาย คือเกิดมาแล้ว เรียนรู้ ฝึกตนฟันฝา่ อุปสรรคตา่ ง ๆ ปฏิบตั ิการตามหนา้ ที่ และตาย ตายนี้หมายถึงว่า ถ้าอยากให้เป็นการดีก็ 4

ต้องตายสบาย แต่ละคนก็ต้องการตายสบาย หมายความว่าตายสบายใจท่ีได้ปฏิบัติหน้าที่มาอันน้ี ท้ังหมดนกี้ ็เปน็ เรอื่ งของชีวิตและแนวทางชีวิตกว้าง ๆ ....” กระแสพระบรมราโชวาท พระราชทานแก่นักเรียน นักศึกษา ครู และอาจารย์ในโอกาสเข้าเฝา้ ฯ 27 ตลุ าคม 2516 “… การสร้างสรรค์ตนเอง การสร้างบ้านเมืองก็ตาม มิใช่ว่าสร้างในวันเดียว ต้องใช้เวลาตอ้ งใช้ความเพียร ต้องใช้ความอดทนเสียสละ แต่สาคัญที่สุดคือความอดทนคือไม่ย่อท้อ ไม่ย่อท้อในส่งิ ทีด่ ีงาม ส่ิงท่ีดงี ามนัน้ ทามนั นา่ เบ่ือ บางทีเหมอื นว่าไมไ่ ด้ผล ไมด่ งั คือดูมนั ครทึ าดีนี่ แต่ขอรับรองว่าการทาให้ดีไม่ครึต้องมีความอดทน เวลาข้างหน้าจะเห็นผลแน่นอนในความอดทนของตน ในความเพียรของตน ต้องถือว่าวันน้ีเราทายังไม่ได้ผล อย่าไปท้อบอกว่าวันน้ีเราทาแล้วกไ็ มไ่ ดผ้ ล พรุ่งนเ้ี ราจะตอ้ งทาอีก วันน้ีเราทา พรุ่งน้ีเราก็ทา อาทิตย์หน้าเราก็ทา เดือนหน้าเราก็ทา ผลอาจได้ปีหน้า หรืออีกสองปีหรือสามปีข้างหน้า แต่ว่าถ้าสมมติว่าวันนี้เราทาแล้วบอกว่าไมม่ ปี ระโยชน์ เพราะวา่ พรุ่งนี้ไมไ่ ด้ผล เลิกเสีย พรุ่งน้ีไม่ได้ผลแน่ เป็นส่ิงที่แน่นอน แต่ว่าพรุ่งนี้เราจะอยู่หรือไม่อยู่ก็ไม่ทราบ ก็เชื่อว่าอยู่ แต่ว่าปีหน้าเราจะอยู่หรือไม่ถ้าเราหยุดทาส่ิงท่ีดีฉะน้ัน ความไม่ย่อท้อ ความเพียร ความเพียรนี่หมายความว่าไม่ใช่ความเพียรในการทางานเท่าน้ันเอง หมายถึงความเพียรท่ีจะข่มใจตัวเองด้วย ความกล้าหาญที่จะข่มใจตัวเองให้อดทนไม่ใช่อดทนแล้วก็เหมือนว่าใครทาก็ทาไป เราทนเอาไว้ เท่ากับคนอื่นเขาเอาเปรียบเรา ไม่ใช่อดทนที่จะยังไม่เห็นผล อดทนที่จะทราบว่าสิ่งใดที่เราทาต้องใช้เวลา ถ้าเราอดทน หรือถ้าพูดตามธรรมดาว่า “เหนียว” ไว้ อดทนในความดี ทาให้ดี เหนียวไว้ในความดีแล้ว ภายภาคหน้าได้ผลแน่ …” พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่ครูใหญ่โรงเรียนและนักเรียนที่สมควรได้รับพระราชทานรางวัลตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ 1 ธันวาคม 2516 “... ความรู้ทางวิชาการและทางปฏิบัติท่ีสอนในโรงเรียน เป็นท้ังรากฐานและปัจจัยท่ีสาคัญย่ิงของคนทุกคน เพราะบุคคลได้อาศัยความรู้เป็นกาลัง ที่จะนาพาตัวให้ก้าวไปสู่ความสาเร็จ ความสุข และความเจริญทั้งปวง และความรู้ดังกล่าวนี้ไม่ขัดกับศาสนา ไม่ว่าศาสนาใด ตรงข้าม กลับสนับสนุนกัน กล่าวคือ ความรู้ช่วยให้เรียนรู้ศาสนาได้โดยกว้างขวางและศาสนาช่วยให้เรียนความรู้ได้โดยลึกซึ้งและชัดแจ้ง เพราะฉะนั้นทั้งวิชาและศาสนาจึงดาเนนิ ควบคูก่ ัน เปน็ สิ่งสาคัญสาหรับชีวิตด้วยกนั ผูใ้ ดมีทัง้ หลักวชิ าทั้งหลักศาสนา ย่อมดาเนินถึงความสาเร็จในชีวิตได้ไม่พลาดพล้ัง เพราะสามารถพิจารณาสิ่งต่าง ๆ ได้โดยละเอียด 5

รอบคอบทุกแง่ทุกมุมด้วยเหตุผล การพิจารณาสิ่งต่าง ๆ โดยนัยน้ี ทาให้ทราบและเห็นความจริงของส่ิงนัน้ ๆ และปฏิบัติต่อส่ิงนั้นได้โดยถูกต้องพอเหมาะพอดี จะทาการสิ่งใดก็ย่อมได้ผลที่สมบูรณ์ เพราะฉะน้ัน โรงเรียนก็ดี นักเรียนแต่ละคนก็ดี ควรจะได้ปฏิบัติหน้าที่ปฏิบัติตนให้ได้ครบถ้วน ท้ังโดยหลักวิชาการและหลักเหตุผล เพ่ือจักได้ประสบความสาเร็จท่ีพึงปรารถนาได้โดยแทจ้ ริง ...” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์19 กรกฎาคม 2517 “… การชว่ ยเหลือสนับสนุนประชาชนในการประกอบอาชีพและต้ังตัว ให้มีความพอกินพอใช้ก่อนอื่นเป็นพื้นฐานน้ัน เป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งยวด เพราะผู้ท่ีมีอาชีพและฐานะเพียงพอทีจ่ ะพึ่งตนเอง ยอ่ มสามารถสร้างความเจรญิ ก้าวหน้าระดับท่ีสูงข้ึน ต่อไปได้โดยแน่นอน ส่วนการถือหลักที่จะส่งเสริมความเจริญ ให้ค่อยเป็นไปตามลาดับ ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวังและประหยัดน้ัน ก็เพื่อป้องกันความผิดพลาดล้มเหลว และเพ่ือให้บรรลุผลสาเร็จได้แน่นอนบรบิ รู ณ์ เพราะหากไม่กระทาด้วยความระมัดระวงั ยอ่ มจะหวงั ผลเต็มเมด็ เต็มหน่วยได้โดยยากยกตัวอย่างเช่น การปราบศัตรูพืช ถ้าทุ่มเททาไปโดยไม่มีจังหวะท่ีถูกต้อง และโดยมิได้ศึกษาข้อมูลต่าง ๆ ให้กระจ่างชัดอย่างท่ัวถึง ก็อาจส้ินเปลืองแรงงาน ทุนทรัพย์ วัสดุอุปกรณ์ ที่ล้วนมีราคาไป โดยได้รับผลไม่คุ้มค่า ย่ิงกว่านั้น การทาลายศัตรูพืช ยังอาจทาลายศัตรูของพืชที่มีอยู่บ้างแล้วตามธรรมชาติ และทาอันตรายแก่ชีวิตคนชีวิตสัตว์เล้ียงอีกด้วย การพัฒนาอย่างถูกต้องซึ่งหวังผลอันย่ังยืนไพศาล จึงต้องวางแผนงานเป็นลาดับขั้นอย่างถ่ีถ้วนทั่วถึง ให้องค์ประกอบของแผนงานทุกส่วนสมั พนั ธ์และสมดุลย์กนั โดยสอดคล้อง …” พระราชดารัส พระราชทานแก่คณะผู้แทนสมาคม องค์การเก่ียวกับศาสนา ครูนักเรียนโรงเรยี นต่าง ๆ นักศกึ ษามหาวทิ ยาลัยท่ีเข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคลในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 4 ธนั วาคม 2517 “... คนอื่นจะวา่ อย่างไรก็ช่างเขา จะว่าเมืองไทยล้าสมัย ว่าเมืองไทยเชย ว่าเมืองไทยไม่มีสิ่งท่ีสมัยใหม่. แต่เราอยู่พอมีพอกิน และขอให้ทุกคนมีความปรารถนาท่ีจะให้เมืองไทยพออยู่พอกิน มีความสงบ และทางานตั้งจิตอธิษฐาน ต้ังปณิธาน ในทางน้ี ที่จะให้เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกนิ . ไม่ใช่วา่ จะร่งุ เรอื งอยา่ งยอด แตว่ ่ามคี วามพออยู่พอกนิ มีความสงบ. เปรียบเทียบกับประเทศอ่ืน ๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินน้ีได้ เราก็จะยอดยิ่งยวดได้. ประเทศต่าง ๆในโลกน้ีกาลังตก กาลังแย่ กาลังยุ่ง เพราะแสวงหาความย่ิงยวด ท้ังในอานาจ ทั้งในความก้าวหน้า 6

ทางเศรษฐกิจ ทางอุตสาหกรรม ทางลัทธิ. ฉะนั้นถ้าทุกท่านซ่ึงถือว่าเป็นผู้ที่มีความคิด และมีอิทธิพล มีพลังที่จะทาให้ผู้อ่ืนซ่ึงมีความคิดเหมือนกัน ช่วยกันรักษาส่วนรวมให้อยู่ดีกินดีพอสมควร ขอย้า พอควร พออยู่พอกิน มีความสงบ ไม่ให้คนอ่ืนมาแย่งคุณสมบัตินี้จากเราไปได้ก็จะเปน็ ของขวญั วันเกิดท่ีถาวร ท่ีจะมีคณุ คา่ อย่ตู ลอดกาล. ...” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรและอนุปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั 10 กรกฎาคม 2518 “… ในการที่ผู้สาเร็จการศึกษาจะออกไปเริ่มต้นการงาน ซ่ึงเป็นภาระสาคัญอีกข้ันหนึ่งต่อไปน้นั จาเป็นจะต้องมีจุดหมายในชีวิตท่ีถูกต้องและสมควร สาหรับยึดถือเป็นเบ้ืองต้นก่อนจงึ จะช่วยให้ได้รับผลสาเร็จอันควรพึงพอใจ จุดหมายสาคัญน้ัน ได้แก่ ความเจริญก้าวหน้าและความผาสุกอันแท้จริงของแต่ละคน ซ่ึงเม่ือประกอบเข้าด้วยกันแล้ว จะสามารถอานวยผลดีและก่อเกดิ ประโยชนส์ ุขแกส่ งั คมและประเทศชาตโิ ดยส่วนรวมอย่างไพศาล ความสุขความเจริญอนั แทจ้ รงิ นั้น หมายถึง ความสุขความเจริญทบ่ี ุคคลแสวงหามาได้ดว้ ยความเป็นธรรม ทั้งในเจตนาและการกระทา ไม่ใช่ได้มาด้วยความบังเอิญ หรือด้วยการแก่งแย่งเบียดบังมาจากผู้อ่ืน ความเจริญท่ีแท้น้ีมีลักษณะเป็นการสร้างสรรค์ เพราะอานวยประโยชน์ถงึ ผู้อน่ื และสว่ นรวมด้วย ตรงกันข้ามกับความเจริญอย่างเท็จเทียม ที่เกิดข้ึนมาด้วยความประพฤติไม่เป็นธรรมของบุคคล ซ่ึงมีลักษณะเป็นการทาลายล้าง เพราะให้โทษบ่อนเบียนทาลายผู้อ่ืนและส่วนรวม การบ่อนเบียนทาลายนั้น ท่ีสุดก็จะกลับมาทาลายตน ด้วยเหตุที่เมื่อส่วนรวมถูกทาลายเสยี แล้ว ตนเองก็จะยนื ตวั อย่ไู มไ่ ด้ จะต้องล่มจมลงไปเหมือนกัน ดงั นนั้ ข้าพเจ้าจึงได้นาเรือ่ งน้มี าปรารภในโอกาสน้ี เพ่ือใหท้ ุกคนเล็งเห็นถ่องแท้ว่า ความเจริญผาสกุ ที่แท้กับไม่แท้ของบุคคลอยูท่ ี่ไหน และนามาพจิ ารณาดาเนนิ ชวี ติ และการงานได้โดยถูกต้อง …” พระราชดารัส พระราชทานแก่คณะชาวพุทธแขวงห้วยขวาง เขตพญาไทกรุงเทพฯ 7 กรกฎาคม 2519 “... ความจริงการพจิ ารณาตัวเองควรพิจารณาทุกวัน แต่ทว่าเราอาจจะไม่ค่อยมีเวลานัก ก็อาจจะพิจารณาเป็นวาระ ๆ พิจารณาว่าเราได้ทาอะไรที่เรียกว่าความดี ทาสิ่งที่ดีที่ชอบสิ่งใดท่ีแก้ไขได้ก็ควรจะพิจารณาฝึกตัวให้ดีขึ้น ก็จะเป็นประโยชน์สาหรับเราสืบไป การรีรอท่ีจะพัฒนาตัวเองก็ไม่ดีนัก แต่ว่าเท่าท่ีเห็นดูสภาพท่ีมีความสบายข้ึน มีความร่าเริงใจ มีความสบายกาย ก็หมายความว่า การพฒั นาตัวเองกค็ งเปน็ ผลท่ีดี และสามารถจะส่งผลให้ดีขึ้นต่อไปในการพิจารณาตลอดเวลา การพัฒนาเป็นส่ิงท่ีต้องมีความเพียร และต้องมีความอดทนเป็น 7

ปัจจัยสาคัญ ถ้าใช้ความเพียร ความอดทน ความต้ังใจจริง ก็เช่ือได้ว่าจะไม่ถอย มีแต่พัฒนาพฒั นาจติ ใจก็เปน็ สง่ิ ที่เราตอ้ งการ ในการพจิ ารณาพัฒนาจิตใจนี่เป็นส่ิงที่ยากลาบาก คนไหนที่พัฒนาจิตใจของตัวได้ ก็คงเป็นผลดี เป็นคนท่ีสามารถ อย่าท้อถอย อย่าท้ิงความขยันหม่ันเพียร วิริยะ อุตสาหะ และความอดทน ในส่ิงทุกอย่าง ก็จะบรรลุถึงความสุขที่แท้ความสขุ ทีแ่ ตล่ ะคนกป็ รารถนาทงั้ น้ัน. ...” พระราชดารัสพระราชทานแก่คณะครูโรงเรียนราษฎร์สอนศาสนาอิสลาม4 จงั หวดั ภาคใต้ 24 สิงหาคม 2519 “... ความเจริญของคนท้ังหลาย ย่อมเกิดมาจากการประพฤติชอบ และการหาเล้ียงชีพชอบเป็นหลักสาคัญ ผู้ที่จะสามารถประพฤติชอบ และหาเลี้ยงชีพชอบได้ด้วยน้ัน ย่อมจะต้องมีทั้งวิชาความรู้ ท้ังหลักธรรมทางศาสนา และส่ิงแรกเป็นปัจจัยสาหรับใช้กระทาการงาน สิ่งหลังเป็นปัจจัยสาหรับส่งเสรมิ ความประพฤติ และการปฏิบตั กิ ารงานใหช้ อบ คือใหถ้ กู ต้องและเป็นธรรมวิชาการกบั หลกั ธรรมนม้ี ปี ระกอบกนั พร้อมในผู้ใด ผนู้ นั้ จะได้ประสบความสุข และความสาเร็จในชีวติ โดยสมบรู ณ์ ...” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย10 กรกฎาคม 2523 “... การจะพัฒนาทกุ สิ่งทุกอยา่ งให้เจริญข้ึนน้ัน จะต้องสร้างและเสริมข้ึนจากพ้ืนฐานเดิมท่ีมีอยู่ก่อนท้ังส้ิน ถ้าพ้ืนฐานไม่ดี หรือคลอนแคลนบกพร่องแล้ว ท่ีจะเพิ่มเติมเสริมต่อให้เจริญขึ้นไปอกี นน้ั ยากนักท่ีจะทาได้ จึงควรจะเขา้ ใจให้แจ้งชดั ว่า นอกจากจะมุ่งสร้างความเจริญแล้วยังจะต้องพยายามรักษาพื้นฐานให้ม่ันคงไม่บกพร่องพร้อม ๆ กันไปด้วย การรักษาพ้ืนฐาน ก็คือการปฏิบตั ิบรหิ ารงานทที่ าอยูเ่ ป็นประจาน้นั ไมใ่ ห้บกพรอ่ ง ซ่ึงเป็นกิจที่ลาบากยากอยู่ เพราะงานใดทต่ี อ้ งทาเป็นประจาตลอดเวลา อาจทาให้รู้สึกชินชา ด้วยต้องกระทาซ้าซาก ไม่น่าต่ืนตาต่ืนใจเหมือนงานที่มีเข้ามาใหม่ ๆ จึงมักทาให้เบื่อหน่าย ชวนให้ทอดธุระละเลย จนเกิดความบกพร่องและเสยี หายข้นึ แล้วพลอยทาให้งานใหม่น้นั เดินหน้าไปไมไ่ ด้ หรอื ดาเนินไปไม่ราบรื่น เพราะฉะน้ันบัณฑิตทุกคนจะต้องมีความอุตสาหะพากเพียรและอดทนให้มาก ที่จะประคับประคองรักษาพ้ืนฐานหรืองานประจาของตนไว้ให้สมบูรณ์ จะต้องพยายามรักษาฉันทะความพอใจ และเจตนาความมุ่งหมายในงานนั้นให้มั่นคงยืนยาว มิให้ความพอใจในงานประจา ลดน้อยถอยไปกว่าความพอใจในงานใหม่ส่ิงใหมท่ ีเ่ พ่ิมเข้ามา ผู้ที่รักษาเจตนาและฉันทะในงานไว้ได้ตลอด จัดว่าเป็นผู้สามารถควรแก่การยกย่องสรรเสริญ คือสามารถท่ีจะพากเพียรอดทนรักษามาตรฐานและ 8

คุณภาพของงานประจาของตนไว้ พร้อมกับค้นคว้าพัฒนาส่ิงใหม่ให้ก้าวหน้าไปด้วยกัน ที่สุดก็จะประสบความสาเรจ็ และความเจริญโดยครบถ้วนและแน่นอนดงั ใจปรารถนาทุกคน ...” พ ร ะ ร า ช ด า ร ัส พ ร ะ ร า ช ท า น แ ก ่ค ณ ะ ล ูก เ ส ือ ช า ว บ ้า น ที ่ม าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ในโอกาสเสด็จฯ กลับจากแปรพระราชฐานจากจังหวัดสกลนคร 2 ธันวาคม 2527 “… ของขวญั ปนี ้ีท่ีให้มาว่าจะณรงค์การประหยัดมัธยัสถ์ทั้งปีต้ังแต่บัดนี้ไป ก็เป็นสิ่งท่ีดีเป็นสง่ิ ทค่ี วรจะทาอยู่เป็นปกติ คนเราท่ีฟุ้งเฟ้อ ไม่มีทางที่จะหาทรัพย์มาป้อนความฟุ้งเฟ้อได้ความฟุ้งเฟ้อน้ีเป็นปากหรือเป็นสัตว์ที่หิวไม่หยุด ความฟุ้งเฟ้อนี้อ้าปากตลอดเวลา จะป้อนไปเท่าไร ๆ กไ็ มพ่ อ เมอื่ ปอ้ นเท่าไร ๆ ไมพ่ อแล้ว ก็หาเท่าไร ๆ ก็ไม่พอ ความไม่พอนี้ไม่สามารถที่จะหาอะไรมาป้อนความฟุ้งเฟ้อนี้ได้ ฉะนั้นถ้าจะต่อต้านความเดือดร้อน ไม่ใช่ว่าจะต้องประหยัดมัธยัสถ์ จะต้องป้องกันความฟุ้งเฟ้อ และป้องกันวิธีการที่มักจะใช้เพ่ือท่ีจะมาป้อนความฟุ้งเฟ้อนี้ คือความทุจริต ฉะน้ันการท่ีจะณรงค์ท่ีจะต่อสู้เพ่ือให้คนมัธยัสถ์และประหยัดน้ันก็อยู่ที่ตัวเอง ไม่ใช่อยู่ที่คนอ่ืน เมื่ออยู่ท่ีตนเอง ไม่อยู่ท่ีคนอื่น การณรงค์โดยมากมักออกไปขา้ งนอก จะไปชักชวนคนโนน้ ชักชวนคนนใ้ี หท้ าโนน่ ทาน่ี ทจ่ี รงิ ตวั เองต้องทาเอง ถ้าจะใช้คาว่าณรงค์ก็ต้องณรงค์กับตัวเอง ต้องฝึกตัวให้รู้จักความพอดีพอเหมาะ ถ้าไม่พอดีไม่พอเหมาะมันจะเกดิ ทุจริตในใจได้ ฉะนั้นการทจี่ ะใหข้ องขวัญ ขอเปล่ียนรูปของของขวัญนี่เล็กน้อย ถ้าจะให้นะ ไมท่ ราบว่าบอกวา่ ให้แล้ว แต่ก็ขอเปล่ียนรูปของของขวัญนี้ ว่าท่ีบอกว่าจะณรงค์เพื่อความประหยัดหรือมัธยัสถ์ไปท่ัวประเทศ ถ้าจะชอบใช้คาว่าณรงค์ก็ได้ แต่ขอให้ณรงค์ในประเทศภายในของแต่ละคน ควบคุมจิตใจของตัวให้ดี ไม่ให้ฟุ้งเฟ้อ ให้รู้จักความดี ให้รู้จักความพอดีปัญหาต่าง ๆ ท่ีบอกว่าเป็นวิกฤตการณ์นั้นก็จะบรรเทาเบาบางลง และวิกฤตการณ์นั้นจากธรรมชาตกิ ็มี แต่จากธรรมชาตขิ องมนุษย์กม็ อี อกจะมากกวา่ ...” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยศิลปากร18 ธันวาคม 2527 “... ความเจริญน้ันจะเกิดข้ึนได้ด้วยอาศัยเหตุปัจจัยประกอบพร้อมกันหลายอย่าง.นอกจากวิทยาการท่ีดีแล้ว อย่างหนึ่ง จะต้องอาศัยผู้ปฏิบัติท่ีเป็นคนดี คือคนท่ีสะอาดสุจริตทมี่ ีปัญญา ความฉลาดรูใ้ นเหตุในผล และในความเจรญิ ความเส่ือม. อีกอย่างหน่ึง จะต้องอาศัยความขยันหมั่นปฏบิ ตั ิ ด้วยความเอาใจใส่ และความเพง่ พินิจ ไม่ประกอบกิจการงานด้วยความประมาทหละหลวม. และโดยประการสาคญั จะต้องอาศัยความพอเหมาะ พอควร พอดีในการ 9

ปฏบิ ัตงิ านทงั้ ปวงด้วย คอื ถ้าเป็นงานใหญ่ งานสาคัญ ก็ต้องทุ่มเททาให้จริง ให้ดี ให้มาก ให้จนสาเร็จ ถ้าไม่ใช่งานสาคัญอะไรนัก ก็ไม่ต้องทาให้เป็นการใหญ่ การยาก เพราะจะทาให้สิ้นเปลืองเสียแรงเสียเวลาไปเปล่าโดยใชเ่ หตุ. …” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่24 มกราคม 2530 “… ผู้ท่ีมุ่งหวังความดีและความเจริญมั่นคงในชีวิต จะต้องไม่ละเลยการศึกษา.ความรู้ที่จะศึกษามีอยู่สามส่วน คือความรู้วิชาการ ความรู้ปฏิบัติการ และความรู้คิดอ่านตามเหตุผลความเป็นจริง ซ่ึงแต่ละคนควรเรียนรู้ให้ครบ เพื่อสามารถนาไปใช้ประกอบกิจการงานและแก้ปัญหาทั้งปวงได้อย่างมีประสิทธิภาพ. อีกประการหนึ่ง จะต้องมีความจริงใจและบรสิ ทุ ธ์ใิ จ ไม่ว่าในการงาน ในผู้ร่วมงาน หรือในการรักษาระเบียบแบบแผน ความดีงาม ความถูกต้องทุกอย่าง เพราะความจริงใจนี้เป็นปัจจัยสาคัญยิ่ง ในการผดุงและสร้างเสริมความมีสมานฉันท์ความประสานสามัคคี และความเป็นปึกแผ่นม่ันคงของส่วนรวม. ประการท่ีสาม จาเป็นต้องสารวจดูความบกพร่องของตนเองอยู่สม่าเสมอแล้วพยายามปฏิบัติแก้ไขเสียโดยเร็ว ไม่ปล่อยให้เจรญิ เติบโตทาความเสอื่ มเสียแกก่ ารกระทาและความคิด. ประการท่ีสี่ ต้องฝึกฝนให้มีความสงบหนักแน่น ทั้งในกาย ในใจ ในคาพูด เพราะความสงบหนักแน่นเป็นเคร่ืองผ่อนปรนระงับความรุนแรง ความขัดแย้ง ความไม่เข้าใจในกันและกันได้ทุกกรณี. โดยเฉพาะความสงบหนักแน่นในจิตใจน้ัน ทาให้เกิดความยั้งคิดพิจารณาตามเหตุตามผล จึงช่วยให้สามารถขบคิดวินิจฉัยเรอื่ งราวปญั หา และกระทา ไดถ้ ูกตอ้ ง พอเหมาะพอดี มีประสทิ ธิผล. หลักปฏิบัติท่ีกล่าว เป็นข้อท่ีท่านท้ังหลายพึงรับไว้ศึกษาพิจารณาให้เห็นกระจ่างและนาไปใช้เป็นแนวทางความประพฤติปฏิบัติ เพื่อนาพาตนให้บรรลุถึงความเจริญมั่นคงทม่ี งุ่ หมาย. …” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชวี ศึกษา 8 กรกฎาคม 2530 “… การทางานทุกอย่างคือการพัฒนาตัวเอง. เรามักได้ยินคากล่าวอ้างของคนบางคนว่าไม่พอใจทางานอย่างนั้นอย่างน้ี เพราะเป็นงานที่ไม่ตรงกับวุฒิ หรือต่าต้อยด้อยกว่าวิทยฐานะของตน ท้งั ๆ ที่บางทกี ็กาลงั วา่ งงานอยู่ การประพฤติอย่างน้ีเรียกว่าเลือกงาน หรือไม่สู้งานซึ่งเปน็ การถ่วงตัวเองไว้ไมใ่ หด้ ขี ้ึนได้ ไม่ใหก้ า้ วหน้าตอ่ ไปได้. จึงอยากจะเตือนบณั ฑิตทุก ๆ คน ว่าอย่าทาตัวเป็นคนเลือกงาน. เม่ือมีโอกาสและมีงานให้ทา ก็ควรเต็มใจทา โดยไม่จาต้องตั้ง 10

ข้อแม้หรือเงื่อนไขอันใดไว้ให้เป็นเคร่ืองกีดขวาง. ขอให้คิดกันเสียใหม่ว่า คนท่ีทางานได้จริง ๆ น้ันไมว่ ่าจะจับงานสิ่งใด ยอ่ มทาได้เสมอ. ถ้ายิ่งมีความเอาใจใส่ มีความขยัน มีความสังเกตจดจาดีก็ย่ิงจะช่วยให้ประสบผลสาเร็จในงานที่ทาสูงขึ้น ทั้งนี้เพราะประสบการณ์ที่ได้รับจากการทางานแต่ละครั้งแต่ละวัน จะค่อย ๆ เพ่ิมพูนข้ึนเป็นลาดับ ส่งเสริมให้มีความสามารถจัดเจนมคี วามเจรญิ ก้าวหน้าสมวิทยฐานะ หรือเจรญิ ขึ้นเกินกว่าท่ีคาดหวังไว้มากมายก็ได้. จึงกล่าวได้เต็มปากว่า การทางานด้วยความรู้ ความสามารถ ด้วยความตั้งใจและเอาใจใส่ศึกษาน้ัน เป็นการพัฒนาบุคคลให้มีคุณภาพสูงขึ้นโดยแท้ และบุคคลท่ีมีคุณภาพอันพัฒนาแล้ว ย่อมสามารถจะพัฒนางานส่วนรวมของชาตใิ ห้เจริญก้าวหนา้ ไดด้ งั ประสงค์. …” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่24 มกราคม 2537 “… ความเจริญและความเสื่อมของบ้านเมืองน้ัน ข้ึนอยู่กับผลงานการกระทาอันเป็นสว่ นรวมของคนท้ังชาติ ซึง่ ต่างมีหนา้ ท่แี บ่งปันกันทาตามความรู้ความสามารถ ตามโอกาสและความถนัดของแต่ละบุคคล. ดังนั้น ถ้าบุคคลยังเห็นว่ามีชาติมีประเทศเป็นท่ีพ่ึงท่ีอาศัย ก็จะต้องรับผิดชอบร่วมกันในการทางานส่วนรวมของชาติให้ดี เพ่ือธารงรักษาประเทศชาติไว้. ผู้ใดมีความสามารถฉลาดเฉลียวในทางใด จะต้องพยายามทาหน้าท่ีให้ได้ผลงอกงามไพบูลย์ในทางน้ันโดยเต็มความสามารถ เพื่อประสานประโยชน์ทุกส่วนเข้าด้วยกัน ให้เป็นความเจริญม่ันคงของบ้านเมือง. ความรับผิดชอบดังนี้สาคัญมาก เพราะเป็นข้อช้ีขาดในความเจริญและความเส่ือมแห่งอดีตปัจจบุ นั และอนาคต. ยิง่ มคี วามสามารถทางสมอง และมโี อกาสไดศ้ ึกษาเล่าเรียนอย่างกว้างขวางจนสาเรจ็ ปริญญา ยงิ่ จะต้องมีหน้าที่รับผดิ ชอบมากขึน้ และสงู ขนึ้ . …” พระราชดารัส พระราชทานเพื่อเชิญไปอ่านในพิธีเปิดการประชุมการสังคมสงเคราะห์แห่งชาติ ครั้งท่ี 15 25 เมษายน 2539 “… ปัญหาสังคมน้ัน ถ้าพิจารณาดูจะเห็นความจริงข้อหน่ึงว่า ปัญหาท้ังปวงเกิดจากมนุษย์เอง มีมนุษย์เป็นตัวการก่อปัญหา ถึงไม่ก่อให้คนอื่นโดยตรง ก็ก่อให้ตัวเองแล้วทาให้เดือดร้อนไปถึงคนอื่น กลายเป็นปัญหาสังคม ปัญหาสังคมจึงมีมาคู่กับมนุษย์ แม้ปัจจุบันโลกเราจะวิวัฒนาการก้าวหน้าไปเพียงใดก็ตาม แต่ปัญหาต่าง ๆ ก็มิได้เปลี่ยนแปลงไป เพียงแต่มีตัวอย่างท้ังดีและไม่ดีปรากฏให้เห็นเด่นชัดมากกว่าแต่ก่อน ดังน้ัน บุคคลผู้สามารถประคับประคองตนให้อยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข จึงต้องมีความเข้มแข็งย่ิงข้ึน ท่ีจะยึดมั่นปฏิบัติม่ันตามแบบอย่างท่ีพิจารณารู้ชัดด้วยปัญญาแล้วว่าเป็นทางแห่งความดี ความเจริญ ไม่ปล่อยตัวปล่อยใจให้มัวเมาหลงผิดไปในทางเส่ือมเสีย พร้อมกันนั้นก็จะต้องมีสติกากับอยู่ 11

ตลอดเวลา ท่ีจะไม่ให้ประพฤติปฏิบัติผิดพลาด ด้วยความประมาทพล้ังเผลอ เหตุนี้ การแก้ไขปัญหาและพัฒนาสังคมนอกจากจะมุ่งสงเคราะห์ในด้านฐานะความเป็นอยู่แล้ว จึงควรจะได้พัฒนาบุคคลเป็นข้อใหญ่ด้วย เพราะถ้าบุคคลซึ่งเป็นองค์ประกอบสาคัญของสังคม มีความเข้มแข็ง และมีสติปัญญาที่จะพิจารณาเลือกเฟ้นสิ่งท่ีควรและไม่ควรปฏิบัติ ปัญหาต่าง ๆ ในสงั คมก็จะบรรเทาเบาบางลง และสังคมสว่ นรวมย่อมจะมีโอกาสพัฒนาให้เจริญก้าวหน้าได้โดยไมย่ ากนกั …” พระราชดารัส พระราชทานเพ่ือเชิญไปอ่านในการสัมมนาของมูลนิธิช่วยเหลือเด็กกาพรา้ ของสตรไี ทยมุสลิมแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 1 พฤศจิกายน 2540 “... ความเจริญม่ันคงของประเทศชาติไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจหรือสังคมก็ตามย่อมขึ้นอยู่กับฐานะความเจริญม่ันคงของบุคคลในชาติเป็นสาคัญ. และความเจริญของคนท้ังหลายนั้น จะเกิดมีได้ก็ด้วยการประพฤติชอบ และการหาเล้ียงชีวิตชอบ. ผู้ที่จะสามารถประพฤติปฏิบัติได้ดังนี้ จาเป็นจะต้องมีทั้งวิชาความรู้ ท้ังหลักธรรมทางศาสนา เพราะส่ิงแรกเป็นปัจจัยสาหรับใช้กระทาการงาน ส่ิงหลังเป็นปัจจัยสาหรับส่งเสริมความประพฤติและการปฏิบัติการงานให้ชอบ ให้ถูกต้องและเป็นธรรม. วิชาการกับหลักธรรมน้ีมีประกอบกันพร้อมในผูใ้ ด ผู้นั้นย่อมจะประสบความสุขและความสาเร็จทั้งในชีวิตและกิจการงาน ซ่ึงย่อมจะส่งผลสะท้อนถึงส่วนรวมต่อไป คือทาให้บ้านเมืองมีความเจริญม่ันคง ทาให้สังคมเป็นสังคมท่ีผาสกุ สงบ น่าอยู่นา่ อาศยั . ...” พระราชดารัส พระราชทานแก่คณะบุคคลต่าง ๆ ที่เข้าเฝ้า ฯ ถวายชัยมงคลเน่ืองในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 4 ธันวาคม 2540 “… ความจริงเคยพูดเสมอในที่ประชุมอย่างน้ีว่า การจะเป็นเสือน้ันไม่สาคัญ. สาคัญอยูท่ ี่เรามเี ศรษฐกิจแบบพอมพี อกนิ . แบบพอมีพอกินนัน้ หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตัวเอง. อันนี้ก็เคยบอกว่าความพอเพียงนี้ไม่ได้หมายความว่าทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัว จะตอ้ งทอผา้ ใสเ่ อง. อย่างนัน้ มันเกนิ ไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอาเภอ จะต้องมีความพอเพียงพอสมควร. บางสิ่งบางอย่างที่ผลิตได้มากกว่าความต้องการ ก็ขายได้ แต่ขายในท่ีไม่ห่างไกลเท่าไหร่ ไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนัก. อย่างน้ีท่านนักเศรษฐกิจต่าง ๆ ก็มาบอกว่าล้าสมัย. จริง อาจจะล้าสมัย คนอ่ืนเขาต้องมีการเศรษฐกิจ ที่ต้องมีการแลกเปล่ียน เรียกว่าเป็นเศรษฐกิจการค้า ไม่ใช่เศรษฐกิจความพอเพียง เลยรู้สึกว่าไม่หรูหรา. แต่เมืองไทยเป็นประเทศที่มบี ุญอยูว่ ่า ผลิตให้พอเพียงได้. …” 12

พ ร ะ บ ร ม ร า โ ช ว า ท ใ น พ ิธ ีพ ร ะ ร า ช ท า น ป ร ิญ ญ า บ ัต ร ข อ งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 24 มกราคม 2541 “... บัณฑิตผู้สาเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยแล้ว ต้องถือว่าเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถเพียงพอ ที่จะออกไปดาเนินชีวิตและประกอบกิจการงานสร้างสรรค์ความเจริญมั่นคงใหแ้ กต่ นเองและสว่ นรวมได้. การสร้างสรรคค์ วามเจรญิ มั่นคงน้ี นอกจากจะอาศัยความรู้ความสามารถในเชงิ วิชาการแล้ว ยังจะต้องมีรากฐานที่ดีหลายอย่างประกอบพร้อมกันด้วย จึงจะสัมฤทธิ์ผลท่ีแน่นอน. รากฐานส่วนสาคัญที่สุดประการหน่ึง ก็คือใจ. ท้ังน้ี เพราะใจเป็นตัวต้นเหตุแท้ ท่ีจะนาให้เรากระทาการต่าง ๆ. ด้วยเหตุนี้ ท่านจึงกล่าวว่า ทุกสิ่งทุกอย่างมีใจเป็นใหญ่เป็นประธาน มีใจประเสริฐสุด และสาเร็จได้ด้วยใจ. ถ้าบุคคลมีใจดีแล้ว ความสุขความเจริญย่อมเป็นอันหวังได้. แต่อย่างไรก็ดี ในชีวิตของคนเราน้ัน ไม่มีผู้หนึ่งผู้ใดจะอยู่เป็นปรกติสุขอย่างเดียวได้ ย่อมจะมีท้ังภัย ทั้งอุปสรรค ท้ังเคราะห์ร้าย ผ่านเข้ามาบ้าง อย่างยากท่ีจะหลีกเลย่ี งพน้ . ข้อสาคญั เมื่อต้องประสบเหตอุ ยา่ งใดอยา่ งหน่ึง ท่ีบางครั้งทาให้ใจหายใจคว่าได้จะต้องไมเ่ สียใจ เพราะจะทาให้เสยี ขวัญเสยี กาลังใจ ทาให้จนปัญญา คิดไม่ออก ทาไม่ถูก และท่ีสุดก็อาจผิดพลาดเสียหายได้ต่าง ๆ. ทางที่ถูก จะต้องพยายามสงบใจ ทาใจให้ดี หายใจยาวเผชิญหน้ากับสถานการณ์ อย่างท่ีเรียกว่าทาใจดีสู้เสือ ก็จะทาให้เกิดสติรู้เท่าทัน สามารถใช้ปัญญาพิจารณาเห็นเหตุเห็นผลได้กระจ่างชัด หาทางปฏิบัติได้ถูกต้อง พอเหมาะพอดี ไม่มีอับจน. บัณฑิตจึงควรอย่างยิ่งที่จะฝึกฝนอบรมตนเอง ให้เป็นผู้มีใจดี มีใจที่สงบ และหนักแน่นมน่ั คง ในกาลทกุ เมือ่ . ...” พระบรมราโชว าทในพิธีพระราชทานปริญญาบัต รของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 18 กรกฎาคม 2541 “… การรู้จักประมาณตน ได้แก่การรู้จักและยอมรับว่าตนเองมีภูมิปัญญาและความสามารถในด้านไหน เพยี งใด และควรจะทางานดา้ นไหน อย่างไร. การรู้จักประมาณตนนี้จะทาให้คนเรารู้จักใช้ความรู้ความสามารถท่ีมีอยู่ได้ถูกต้องเหมาะสมกับงาน และได้ประโยชน์สูงสดุ เต็มตามประสิทธิภาพ ท้ังยังทาให้รู้จักขวนขวายศึกษาหาความรู้ และเพิ่มพูนประสบการณ์อยู่เสมอ เพื่อปรับปรุงส่งเสริมศักยภาพที่มีอยู่ในตนเองให้ยิ่งสูงข้ึน. ส่วนการรู้จักประมาณสถานการณ์น้ัน ได้แก่การรู้จักพิจารณาสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนให้ทราบชัด ถึงความเป็นมาและทเ่ี ปน็ อยู่ รวมทั้งท่ีคาดว่าจะเปน็ ไปในอนาคต. การรู้จักประมาณสถานการณ์ได้นี้ จะทาให้สามารถวางแผนงานและปฏิบัติการได้ถูกตรงกับปัญหา ทันแก่สถานการณ์ และความจาเป็นอันจะทาให้งานท่ีทาได้ประโยชน์ที่สมบูรณ์คุ้มค่า. การรู้จักประมาณตนและรู้จักประมาณสถานการณ์ จึงเป็นอุปการะอย่างสาคัญ ที่จะเกื้อกูลให้บุคคลดาเนินชีวิตและกิจการงานไปได้ 13

อย่างราบรืน่ และกา้ วหน้า โดยเฉพาะในสถานการณ์ปจั จุบัน ที่ประเทศของเรากาลังประสบกับภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจ หากไม่รู้จักประมาณตนประมาณสถานการณ์ให้ดีแล้ว ก็ยากท่ีจะนาพาตวั นาพาชาติให้ผ่านพน้ และก้าวตอ่ ไปโดยสวสั ดไี ด้. …” พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์23 กรกฎาคม 2541 “… วิธีการพัฒนาท่ีเหมาะแก่ประเทศเราอย่างยิ่ง ก็คือจะต้องทานุบารุงเกษตรกรรมทุกสาขาให้พัฒนาก้าวหน้า เพ่ือยกระดับฐานะความเป็นอยู่ของเกษตรกรทุกระดับให้สูงข้ึน.เรม่ิ ต้นตั้งแต่การลงมอื ผลิต โดยใช้วธิ ีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด ด้วยการดัดแปลงปรับปรุงนาสิ่งท่ีมีอยู่โดยธรรมชาติมาใช้ ให้สอดคล้องเหมาะสมกับสภาพพื้นท่ี เพ่ือให้เกษตรกรของเราได้ผลผลิตเพียงพอแก่การเลี้ยงตัว คือพอมี พอกิน เป็นเบ้ืองต้นก่อน. ต่อไป เม่ือเหลือจึงจาหน่ายหารายได้ ซึ่งหากจะให้ได้ผลท่ีสมบูรณ์ ก็จะต้องมีการจัดการเร่ืองการตลาดอย่างดีรวมทั้งมีการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ อันจะทาให้ผลิตผลทางการเกษตรมีมูลค่าสูงขึ้น. โดยนัยนี้เกษตรกรของเราก็จะมีฐานะความเป็นอยู่ท่ีมั่นคงพ่ึงตนเองได้ อันจะส่งผลให้ฐานะทางเศรษฐกิจโดยส่วนรวมของประเทศมีความเข้มแข็งตามไปด้วย. บัณฑิตทุกคนจึงควรจะได้พิจารณาหลักการดังกล่าวให้เข้าใจชัด เมื่อออกไปปฏิบัติหน้าท่ีการงาน ไม่ว่าจะเป็นงานราชการ หรอื ทางานสว่ นตัว ขอให้ต้ังใจพยายามสร้างพื้นฐาน คือความพอมี พอกิน และพอใช้ใหไ้ ดก้ อ่ น. ถา้ ทาได้ดังน้ี กเ็ ช่ือวา่ แต่ละคนจะประสบความสาเร็จ และความเจริญ ในขน้ั ที่สูงขึ้นโดยลาดับต่อไปได้เป็นแนน่ อน. …” พระราชดารัส พระราชทานแก่คณะบุคคลต่าง ๆ ที่เข้าเฝ้า ฯ ถวายชัยมงคลเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 4 ธันวาคม 2541 “... คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย. ถ้าทุกประเทศมีความคิด – อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ – มีความคิดว่าทาอะไรต้องพอเพยี ง หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข. พอเพียงนอ้ี าจจะมีมาก อาจจะมขี องหรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่ไปเบียดเบียนคนอ่ืน. ต้องให้พอประมาณตามอตั ภาพ พูดจากพ็ อเพียง ทาอะไรกพ็ อเพยี ง ปฏบิ ตั ิตนกพ็ อเพยี ง. …” พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่21 มกราคม 2542 14

“... บัณฑิตผู้ได้รับความสาเร็จในด้านการศึกษามาแล้ว ย่อมปรารถนาความสาเร็จทส่ี งู ขนึ้ ไปอีก คือการสร้างความเจรญิ มัน่ คงในชีวิตและฐานะหน้าท่ี. ความปรารถนาดังนี้แม้จะเปน็ ส่งิ ท่ีพงึ ประสงคอ์ ยา่ งยงิ่ แต่กม็ ใิ ชส่ ิ่งท่ีทุกคนจะได้มาโดยง่าย เพราะการสร้างตัวสร้างฐานะทีร่ ุง่ เรอื งมน่ั คงน้ัน มใิ ช่สาเรจ็ ด้วยเพียงคดิ เท่านน้ั แต่สาเรจ็ ได้ดว้ ยการกระทา. กล่าวคือ คนเราถึงจะมีความรู้ความคิดสักเพียงใด ถ้าไม่ลงมือทา ก็มีแต่พาตัวให้ฟุ้งเฟ่ืองไปต่าง ๆ โดยปราศจากประโยชน์และความสาเร็จ. เมื่อลงมือทา ประโยชน์และความสาเร็จจึงจะเกิดมีขึ้น. ข้อสาคัญการสร้างตัวสร้างฐานะน้ีเป็นงานท่ีย่ิงใหญ่และยืนยาว ท้ังไม่อาจเห็นผลได้ในเร็ววัน. จาเป็นจะต้องมีความตั้งใจที่มั่นคงแน่วแน่ มีความเพียรพยายามอย่างต่อเนื่องไม่ขาดสาย แม้จะต้องเหน่ือยยาก หรือมีอุปสรรคขัดขวางมากมายเพียงใดก็ต้องไม่ย่อท้อถอยหลัง หากบากบ่ันมุ่งหน้ากระทาไปจนบรรลผุ ลตามทมี่ ุง่ หมาย. …” ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงประมวลและกล่ันกรองจากพระราชดารัสที่เก่ียวข้องกับเศรษฐกิจพอเพียงที่พระราชทานในโอกาสต่าง ๆ โดยได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นาไปเผยแพร่เม่ือวันที่ 21 พฤศจิกายน 2542 เพ่ือเป็นแนวทางปฏิบัติของทุกฝา่ ยและประชาชนโดยทัว่ ไป เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนนิ ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจ เพ่ือให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทง้ั น้ี จะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวชิ าการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทกุ ข้นั ตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีจิตสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ท่ีเหมาะสมดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพ่ือให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ท้ังด้านวัตถุ สังคม ส่ิงแวดล้อมและวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ปน็ อย่างดี พระราชดารัส พระราชทานแกค่ ณะบุคคลต่าง ๆ ที่เข้าเฝ้า ฯ ถวายชัยมงคลเน่ืองในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา 4 ธนั วาคม 2543 15

“... เศรษฐกจิ พอเพยี งทไ่ี ดย้ ้าแลว้ ย้าอีก แปลเป็นภาษาองั กฤษว่า Sufficiency Economyภาษาไทยก็ต่อว่าไม่มี Sufficiency Economy แต่ว่าเป็นคาใหม่ของเราก็ได้ ก็หมายความว่าประหยัด แต่ไม่ใช่ขี้เหนียว ทาอะไรด้วยความอะลุ้มอล่วยกัน ทาอะไรด้วยเหตุและผล จะเป็นเศรษฐกิจพอเพียงแล้ว ทุกคนจะมีความสุขแต่พอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงนี้ เป็นส่ิงที่ปฏิบัติยากทีส่ ดุ ...” พระราชดารัส ในการเสด็จออกมหาสมาคมในงานพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี 9 มิถุนายน 2549 “... คณุ ธรรมซง่ึ เปน็ ทีต่ งั้ ของความรักความสามัคคี ที่ทาให้คนไทยเราสามารถร่วมมือรว่ มใจกนั รกั ษาและพัฒนาชาติบา้ นเมืองให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อกันมาได้ตลอดรอดฝ่ัง. ประการแรกคือการที่ทุกคนคิด พูด ทา ด้วยความเมตตามุ่งดีมุ่งเจริญต่อกัน. ประการท่ีสอง คือการท่ีแต่ละคนต่างช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ประสานงานประสานประโยชน์กัน ให้งานท่ีทาสาเร็จผล ท้ังแก่ตนแก่ผู้อื่น และแก่ประเทศชาติ. ประการท่ีสาม คือการท่ีทุกคนประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในความสุจริตในกฎกติกาและในระเบียบแบบแผนโดยเท่าเทียมเสมอกัน. ประการที่สี่ คือการท่ีต่างคนต่างพยายามทาความคิดความเห็นของตนให้ถูกต้องเที่ยงตรงและม่ันคงอยู่ในเหตุในผล. หากความคิดจติ ใจและการประพฤติปฏิบตั ทิ ่ีลงรอยเดยี วกันในทางทดี่ ที เ่ี จรญิ นี้ ยงั มีพร้อมมูลอยู่ในกายในใจของคนไทย กม็ ั่นใจได้ว่าประเทศชาติไทยจะดารงมน่ั คงอยตู่ ลอดไปได้. ...” ******************** 16


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook