Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Economic

Economic

Published by kritkantorn, 2018-07-05 03:02:05

Description: economic

Search

Read the Text Version

ทฤษฎีเศรษฐศาสตรจลุ ภาค : EC 301 32 บทที่ 3 ทฤษฎกี ารผลติ และ ตน ทุนการผลิตตอนที่ 3.1 ความรทู ั่วไปเกี่ยวกบั ทฤษฎกี ารผลิต 3.2 แนวคดิ เกยี่ วกบั ฟง กช นั การผลิต 3.3 แนวคดิ เกยี่ วกบั ตนทุนการผลติแนวคิด 1. แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีการผลิตประกอบดวยการผลิตในระยะสั้นจะตองเขาใจถึง การ เปลย่ี นแปลงของ ผลิตเฉลี่ย ผลผลิตเพิม่ และผลผลติ ทั้งหมดในระยะตา งๆ ของการผลิต 2. ฟงกชนั การผลติ ในระยะสัน้ จะอธบิ ายโดยการอยูภายใตกฎการลดนอยถอยลงของผลผลิต เพมิ่ สวนฟงกช ันการผลติ ในระยะยาวจะอยภู ายใตอิทธิพลของกฎผลไดตอขนาด 3. ตนทุนการผลิตในระยะส้ันจะประกอบดวยตนทุนคงท่ีและตนทุนแปรผันซึ่งเม่ือผูผลิต ตองการผลิตเพม่ิ ขึ้นจะทาํ ไดโ ดย การเพม่ิ ตนทนุ แปรผันเทา นั้น แตสําหรับกรณีการผลิตใน ระยะยาวผูผลิต สามารถเพ่ิมปจจัยไดทุกปจจัย เนื่องจากคาใชจายท่ีเกิดข้ึนทั้งหมดจะเปน ตน ทุนแปรผันทั้งส้นิวตั ถปุ ระสงค เมือ่ ศึกษาบทท่ี 3 จบแลว นักศกึ ษาตองสามารถ 1. อธบิ ายถึงความหมายและความแตกตา งระหวางการผลติ ในระยะส้ัน และระยะยาว 2. อธบิ ายถึงการผลิตในระยะสั้นวา ในแตระยะของ ของผลิต คาของผลผลิตรวม ผลผลิตเฉล่ีย และผลผลิตเพิ่มมีการเปลี่ยนแปลงอยางไรเพราะเหตุใดสวนสําหรับการผลิตในระยะยาว จะตองหาและอธิบายไดวา จุดที่ดีที่สุดของผูผลิต(ดุลยภาพของผูผลิต) เมื่อใชปจจัยการ ผลิตทีเ่ ปนเฉพาะปจ จัยแปรผนั ทม่ี คี า มากกวา 1 ชนิด อยู ณ. จุดใด 3. อธิบายและคํานวณหาคาของตนทุนการผลิตทั้งในระยะส้ันและระยะยาวกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ทาํ แบบประเมินตนเองกอนเรยี น บทที่ 3 2. ศึกษาเอกสารประกอบการสอน บทที่ 3 3. ฟงบรรยายในชั้นเรยี น 4. รวมอภปิ ราย ซักถาม และตอบคําถามในชัน้ เรียน 5. ทาํ แบบประเมนิ ตนเองหลังการเรียน บทที่ 3 6. สอบยอยในชนั้ เรียน

ทฤษฎีเศรษฐศาสตรจ ุลภาค : EC 301 33 บทท่ี 3 ทฤษฎีการผลติ และตน ทุนการผลิต3.1 ความรูท ั่วไปเกีย่ วกบั ทฤษฎีการผลติ หนว ยธุรกิจหรือผูประกอบการ จะตองแกปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ผลิตอะไร อยางไร และเพ่ือใคร จึงใหกําไรสูงสุด โดยการใชปจจัยการผลิตท่ีเหมาะสม + เทคนิคการผลิตท่ีสอดคลองกับฟง กชนั การผลิตของสนิ คา ดังกลา ว เพอ่ื จะไดกาํ ไรสูงสุด รายรับ(Total Revenue) ข้ึนอยูกับการต้ังราคาในแตละตลาดและปริมาณผลผลิตท่ีจําหนายไดสูงสดุ จะใชปจ จยั การผลิตแตละชนดิ ในอัตราสวนเทา ไรดว ยเทคนคิ การผลติ ทีม่ จี ึงทาํ ใหต น ทนุ ตํ่าสดุ ฟงกชันการผลิตของหนวยธุรกิจ สามารถแสดงในรูปสมการทางคณิตศาสตรซึ่งเปนความสมั พันธระหวางปริมาณปจ จัยการผลติ ท่ีใชก บั ผลผลิตที่ได Q = ƒ(X1 , X2 , X3 , ………. , Xn) ปจ จัยการผลติ ท่ีสําคัญทเี่ ราทราบคือ ทนุ ทด่ี ิน แรงงาน ผปู ระกอบการ การกอสรางตึก ตอ งใช ปูนซเี มนต อฐิ ไม ตะปู เหลก็ เสน หิน ทราย แรงงาน ฯลฯปจจัยการผลติ ในชว งเวลาใดเวลาหน่งึ ปจจัยคงท่ี (Fixed Factors) ปจจัยแปรผนั (Variable Factors) การผลิตระยะสั้น ประกอบดวยปจจัยคงท่ีไมสามารถเพิ่มไดเพราะตนทุนจํากัดและจะเพิ่มปจจัยแปรผันเทาน้ันเม่ือตองการเพิ่มปริมาณการผลิตเชน เม่ือเปดโรงงานซ้ือเครื่องจักรตอนแรก 10เคร่ือง ถาตองการผลิตเพ่ิมขึ้นก็อาจทําไดโดยการจางคนงานทํา Overtime หรือจางคนงานเพิ่มแตไมสามารถซอื้ เคร่ืองจักรเพ่มิ หรือขยายโรงงานเพิม่ ได การผลิตระยะยาว ประกอบดวยปจจัยแปรผันเพียงอยางเดียวและเมื่อตองการเพ่ิมปริมาณการผลิตสามารถเพ่ิมปจจัยที่ใชในการผลิตไดทุกปจจัยโดยในระยะยาว มีการวางแผนและสามารถขยายขนาดของโรงงาน (plant size) ทําใหสามารถผลิตเพ่ิมได เชน ขยายอาคาร ซ้ือเคร่ืองจักรเพิ่ม เพ่ิมแรงงานก็ได ในตอนแรกเม่ือขยาย plant size จะเกิด economy of scale คือ ตนทุนท้ังหมดเฉล่ีย (ATC)จะลดลง (เกิดIncreasing Return to Scale) คือ ตนทุนท้ังหมดเฉลี่ย (ATC) จะลดลงจนเปน (ConstantReturn to Scale) นั้นแสดงวาตนทุนท้ังหมดเฉลี่ยจะมีคาตํ่าสุด (min) หลังจากนั้นถามีการขยาย

ทฤษฎีเศรษฐศาสตรจุลภาค : EC 301 34plant size อีกจะเกิดผลไดตอขนาดลดลง (decreasing Return to Scale) ตนทุนท้ังหมดเฉลี่ยจะมีคาเพ่มิ ขน้ึ หรือเกดิ diseconomy of Scale นัน่ เอง การผลิตในระยะส้ัน เราจะวิเคราะหหาจุดที่ดีท่ีสุดในการผลิตโดยใชทฤษฎีการผลิตซึ่งอยูภายใตอิทธิพลของกฏการลดนอยถอยลงของผลผลิตเพิ่ม (Law of diminishing marginal PhysicalReturn) การผลิตในระยะยาว เราจะวิเคราะห โดยใช การวิเคราะหเสนIQ , Isocost และกฎผลไดตอขนาด (Law of Returns to Scale ) โดยพิจารณาวาควรจะเพ่ิมปจจัยการผลิตK หรือLอีกหรือไมโดยดูจากเมอ่ื เพม่ิ ปจ จยั K และ Lในรอ ยละท่เี ทา กนั แลว ผลผลิตทีเ่ ปลยี่ นเพิ่มข้นึ มีผลไดตอ ขนาดอยางใด การผลิตโดยใชปจ จยั แปรผนั ชนดิ เดียว การผลิตในระยะสัน้ TFC และ TVC ถา จะเพมิ่ Q เพมิ่ ไดเพยี ง TVC Q = f ( K , L) โดยที่ Q คือ ปริมาณผลผลิตทัง้ หมดของสนิ คาชนิดหนงึ่ K คอื ปรมิ าณปจ จยั คงท่ี เชน เครอ่ื งจกั ร ,อาคาร , ที่ดนิ ฯ L คอื ปรมิ าณปจ จยั แปรผันท่ใี ช ฉะนั้นสรุปไดว า Q = f (L) กาํ หนดให เทคนคิ การผลิตคงท่ี TP MP TP= เพิม่ ในอัตราลด AP Law of Diminishing marginal Physical ReturnII II I I หนวยงานตา ง ๆหลายหนวยงาน AP=MP ของไทย ผลิตใน Stage ท่ีสามจงึ มี ประสทิ ธิภาพตา่ํ เพราะมี L มากเกนิ ไป •L1 L2 (L) ปริมาณปจจยั แปรผัน MP

ทฤษฎีเศรษฐศาสตรจ ุลภาค : EC 301 35ผลผลติ ทงั้ หมด(TP) = Total Productผลผลติ หนว ยสดุ ทาย หรอื ผลผลติ เพ่ิม (MP) = marginal Product = dTP หรือ ∆TPผลผลติ เฉลีย่ (AP) = Average Product = TP dL ∆L Lผลผลติ หนวยสุดทาย หรอื ผลผลติ เพิ่ม คอื ความชนั เสน TP นน้ั เองความชน้ั ของเสน AP AP = TP และ MP = dTP d AP = d TP/L L dL dL dLstage I ความชันของเสน AP เปน + เม่อื MP > APเร่มิ ตน stage II ,สิน้ สุด stage I ความชันของเสน AP = 0 เมื่อ MP = AP , AP max ความชนั ของเสน AP เปน - เมื่อ MP < APเร่ิมตน stage III,สิ้นสุด stage II เมือ่ MP = 0 TP สูงสุด TP ลดลง เมื่อ MP ติดลบ3.2 แนวคดิ เกย่ี วกับฟง กชนั การผลติ3.2 ความหมายของฟงกชันการผลิต Q = f (x1,x2) ฟงกชันการผลิตแสดงถึงปริมาณ ผลผลิตสูงสุดท่ีสามารถผลิตไดจากปริมาณปจจัยการผลิตชุดใด ๆ ภายใตเ ทคนคิ การผลิตที่กําหนดให Q = ปริมาณผลผลิต X1,X2 ปริมาณของปจจัยการผลิตสําหรับปริมาณการผลิต Q จะมีปริมาณสูงสุด Qmaxทีเ่ กิดจากการใชปจจยั การผลิตแตละชนิด 3.2.1 ฟงกช ันการผลิตในระยะสั้นและในระยะยาว Q = f (X1,X2,…………..,Xn)

ทฤษฎเี ศรษฐศาสตรจ ลุ ภาค : EC 301 36 ในระยะส้นั ฟงกชันการผลิตในระยะส้ันจะอยูภายใตอิทธิพลของกฎการลดนอยถอยลงของผลผลิตเพิ่ม(Law of Diminishing Maginal Physical Return) ในขณะที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงเทคนิคการผลิต ถาเพิ่มปริมาณปจจัยการผลิตชนิดหนึ่งขึ้นเรื่อย ๆโดยใหปริมาณปจจัยการผลิตชนิดอ่ืนอยูคงที่ ผลไดหรือผลผลิตหนว ยสุดทา ยท่ีไดรับจะคอยๆ ลดนอยถอยลงตามลําดับเมื่อเพ่ิมปริมาณปจจัยการผลิตชนิดหนึ่งน้นั จนถึงระดับหน่งึ แลว ในระยะยาว สําหรับฟงกชันการผลิตในระยะยาว จะอยูภายใตอิทธิพลของกฎท่ีไดตอขนาด (Law ofReturns to Scale) ซึ่งกลาวไดวา แมเทคนิคการผลิตจะไมเปลี่ยนแปลง แตถาเพ่ิมปริมาณปจจัยการผลิตทุกชนิดใหไดสัดสวนดวยรอยละท่ีเทากันของ K และ L แลวผลไดหรือผลิตผลท่ีไดรับเพิ่มขึ้น อาจจะเพิ่มข้นึ ในสดั สวนตางๆกันคืออาจเปน Increasing Return to Scale, Constant Return to Scaleหรือ Decreasing Return to Scale ฟง กช นั การผลติ ที่ใชกันมากในการวิเคราะห ทางเศรษฐศาสตร ไดแก ฟง กชันคอ็ บ-ดักลัส(Cobb-Douglas Function) ซงึ่ เปนฟง กชนั เอกพันธอ งศา 1 (Homogeneous function of degree 1) รูปแบบของฟง กช นั Cobb-Douglas ท่ใี ชป จ จยั การผลติ 2 ชนิด คือ Q = b Lα Kβเม่ือ Q คือ ปรมิ าณผลผลิต L, K คือ ปริมาณปจ จยั การผลิตสมมติวา เปนแรงงาน และทุนตามลาํ ดบั α, β คือ คา คงที่ ทีเ่ ปน เศษสวน > 0 b คอื คาคงท่ี ทีม่ คี า มากกวา 0Cobb-Douglas มีคุณสมบัตติ างๆ ที่นาสนใจ คอืฟง กช ัน Cobb - Douglas เปนฟง กช นั เสน ตรงในรูป logarithm โดยการ take log ของCobb - Douglas log Q = log (b Lα Kβ) log Q = log b + log Lα+ log Kβ log Q = log b + α log L + β log K ****

ทฤษฎีเศรษฐศาสตรจุลภาค : EC 301 37การผลิตโดยใชป จ จยั 2 ชนดิ ปจจยั KK1 AK2 ∆K B ∆L CK3 IQ = 100 L1 L2 L3 ปจ จยั L อัตราการทดแทนหนวยสุดทาย (Marginal Rate of Technical Substitution หรือ MRTSKL,MRTSLK) กําหนดใหฟ งกช ันการผลิต Q = f(K,L)Total derivative ของ Q มคี า คอื dQ = ∂f .dL + ∂f .dk (1) ∂L ∂Kจากคณุ สมบตั ขิ องเสน IQ ท่วี า ทุกๆ จุดบนเสน IQ เดียวกัน จะตองมีผลผลิต (Q) เทากัน ฉะน้ันบนเสน IQ เดยี วกัน dQ=0จาก (1) ได ∂f .dL + ∂f .dk = 0 ∂L ∂K ∂f .dL = − ∂f .dk ∂L ∂K − dk = ∂f / ∂L = MPPL dL ∂f / ∂K MPPK ∴ − ∆k = MRTS LK = MPPL * ∆L MPPK *ในทํานองเดยี วกนั ไดว า ∴− ∆L = MRTS KL = MPPK ∆K MPPL

ทฤษฎเี ศรษฐศาสตรจลุ ภาค : EC 301 38 ถา เพ่ิมปจจัยการผลิตชนิดหน่งึ โดยไมเ พิ่มปจ จัยการผลติ อีกชนดิ หน่ึงเรยี กวา เปน การเปลี่ยนแปลงปจ จัยการผลิตอยา งไมไดส ดั สว นกนั เปนลักษณะของการเปลยี่ นแปลงปจ จัยการผลิตในระยะสัน้ ผลไดหรอื ผลผลติ จะเพ่ิมขนึ้ ในอตั ราทเี่ พ่ิมข้ึนในระยะท่ี 1 และจะเพิ่มข้ึนในอตั ราลดลงในระยะที่ 2 และสูงสดุ เมอื่ สนิ้ สดุ ระยะท่ี 2 เมอื่ MP=0 ตอ จากนัน้ คาของ MP จะมคี าตดิ ลบในการผลติระยะท่ี 3 และคาของผลผลิตรวมจะมคี า ลดลง 3.3 แนวคดิ เก่ียวกบั ตน ทนุ การผลิต ตนทุนการผลิต (Cost of Production) หรือตนทุนทางเศรษฐศาสตร (Economic Cost) แตกตางจากตนทุนทางบัญชี(Explicit Cost) หรือตนทุนแจงชัดซึ่งตองใชจายเปนตัวเงินจริงๆ เพราะตนทุน ทางเศรษฐศาสตรตองรวมตนทุนไมแจงชัด (Implicit Cost) หรือตนทุนกําบังหรือตนทุนเสียโอกาส(Opportunity Cost) เขาดว ยกบั ตนทุนทางบัญชี (Explicit Cost) ตน ทนุ ทางบญั ชี (Accounting Cost) = Explicit Cost ตน ทุนทางเศรษฐศาสตร (Economic Cost) = Explicit Cost + Implicit Cost โดยท่วั ไป Economic Cost > Accounting Cost เพราะฉะนนั้ กําไรทางบญั ชีจึงมคี า มากกวากําไรทางเศรษฐศาสตรตวั อยาง การทําธุรกิจรานอาหารเชนตองเสียคาเชาตึกเพื่อทําธุรกิจรานอาหารกับมีตึกของพอแมใหทําธุรกจิ รา นอาหารฟรหี รอื ตอ งออกจากงานเพอ่ื มาดาํ เนินกิจการดว ยตวั เองกบั ทํางานที่อืน่ ไดเ งินเดอื น คาใชจายซอ้ื ปจ จัยคงท่ี คือ ตน ทนุ คงท่ี (Fixed Cost) คาใชจ ายซ้อื ปจ จัยแปรผัน คอื ตน ทุนแปรผัน (Variable Cost) การผลิตในระยะสั้นประกอบดวยตนทุนท้ังหมดมีคาเทากับตนทุนคงที่ทั้งหมด + ตนทุนแปรผนั ทั้งหมด ไมผ ลติ เลยก็เสียตนทุนคงท่ีท้ังหมด (TFC) เม่ือผลิต Q↑ ทําให TVC↑ (คาแรง, คาไฟฟา,คาวัตถดุ บิ เปนตน ) การผลติ ระยะยาว มแี ตเฉพาะตนทุนแปรผัน (TC = TVC)ตน ทนุ Explicit Cost , Implicit Cost (Opportunity Cost) , TC , TFC , TVC , ATC , AV C , AFC Private Cost = Economic Cost, Social Cost = Private Cost + ผลกระทบทางสังคม (External Cost หรอื External benefit)

ทฤษฎเี ศรษฐศาสตรจลุ ภาค : EC 301 39 แบบฝก หดั ทา ยบทที่ 31. จงอธิบายถึงข้ันตอนในการผลิตในระยะส้ันวาในแตละ Stage มีคาของ TP , MP และ AP เปล่ียนแปลงอยางไรและทําไมถึงเปล่ียนแปลงอยางนั้น พรอมอธิบายดวยวาทําไมตองทําการ ผลิตใน Stage ท่ี 2 จึงจะไดร ับกําไรสูงสดุ และผูผลติ จะไมท าํ การผลติ ใน Stage ท่ี 32. Laws of Returns to Scale คืออะไร ประกอบดวยชนดิ ใดบา งและหมายความวา อยา งไร3. จงอธิบายวา Economy of Scale และ Diseconomy of Scale หมายความวาอยางไร เกิดขึ้นในชวง ใดของการผลิตระยะยาวและมีความสัมพันธกับ กฎผลไดตอขนาด ( Law of Returns to Scale ) อยางไร4. ในการผลิต การไมประหยัดภายในและภายนอกคืออะไร มีผลตอการผลิตอยางไร จงอธิบาย พรอมยกตวั อยา งประกอบ5. ในการผลิต การประหยัดภายในและภายนอกคืออะไร มีผลตอการผลิตอยางไร จงอธิบายพรอม ยกตัวอยางประกอบ6. ตนทนุ การผลิตในระยะสน้ั และระยะยาวตางกนั อยา งไร จงอธบิ ายพรอ มเขยี นกราฟประกอบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook