Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่ม วิเคราะห์ตัวชี้วัด ควรรู้และต้องรู้ กอท64

เล่ม วิเคราะห์ตัวชี้วัด ควรรู้และต้องรู้ กอท64

Published by Vichakan Suanpa, 2022-01-15 13:54:15

Description: เล่ม วิเคราะห์ตัวชี้วัด ควรรู้และต้องรู้ กอท64

Search

Read the Text Version

การวเิ คราะห์ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง ต้องรู้และควรรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาหรับการจัดการเรยี นรู้ ปกี ารศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดตอ่ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid – 19) กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ หลักสตู รโรงเรียนสวนป่าเขาชะอางค์ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง 2560) ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563 โดย นางสาวสริ ณิ ัฏฐฐก์ ุล จริ างค์กูร ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการ โรงเรียนสวนป่าเขาชะอางค์ ตาบลพลวงทอง อาเภอบ่อทอง จังหวดั ชลบุรี สงั กดั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั ชลบุรี

การวิเคราะห์ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนร้แู กนกลางตอ้ งรแู้ ละควรรู้ ตามหลกั สูตรโรงเรยี นสวนปา่ เขาชะอางค์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ึ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปุรง 2560) ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563 สาหรบั การเรยี นรู้ ปีการศึกษา 2564 ภายใต้สถานณ์แพรร่ ะบาดของโรคตดิ ต่อเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (Covid -19) กลุ่มสาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพ สาระที่ 1 การดารงชวี ติ และครอบครวั สาระที่ 2 การอาชพี รายวชิ าพ้นื ฐาน ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 โดย นางสาวสริ ณิ ฏั ฐ์กลุ จริ างคก์ ูร ตาแหน่ง ครู วิทยาฐานะ ครขู านาญการ โรงเรยี นสวนป่าเขาชะอางค์ ตาบลพลวงทอง อาเภอบอ่ ทอง จงั หวัดขลบรุ ี สงั กัดองค์การบริหารสว่ นจังหวัดชลบรุ ี

คำนำ เอกสารการวเิ คราะหต์ ัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางต้องรูแ้ ละควรรู้ ตามหลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาหรบั การจดั การเรียนรู้ ปีการศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์แพร่ ระบาดของโรคติดต่อเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid – 19) กลุ่มสารการเรียนร้กู ารงานอาชีพ หลักสูตร โรงเรยี นสวนปา่ เขาชะอางค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานพุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ 2560) ปรับปรุง พ.ศ. 2563 สาระท่ี 1 การดารงชีวติ และครอบครวั และ สาระท่ี 2 การอาชีพ รายวิขาพืน้ ฐาน ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5 เลม่ น้ี จัดทาข้นึ เพอื่ วิเคราะห์ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลางให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ปจั จุบัน โดยทาการวเิ คราะหต์ ัวช้วี ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลางทต่ี ้องรู้และควรรู้ เนอ่ื งจาก ในปี การศึกษา 2564 เกดิ สถานการณ์การแพร่ระบบาดของโรคตดิ ตอ่ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid – 19) ทาให้ มกี ารหยดุ เรยี นและจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ดงั นั้น เพอื่ ให้สถานศึกษาสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรไู้ ด้ ตามหลักสตู รฯ ทางสานักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จงึ ได้แจ้งแนวทางในการจดั การเรยี นรู้ทเ่ี น้นตัวชีว้ ดั ต้องรู้ และ บรู ณาการตัวช้วี ัดควรรู้กับ กจิ กรรมภาคปฏิบตั หิ รือภาระงานของนักเรยี น ตามหนังสือที่ ศธ. 04010/ว1228 เร่อื ง ซักซอ้ มความเข้าใจ เกย่ี วกับแนวทางปฏิบตั ิการนับเวลาเรียน การสอนชดเชย การจดั การเรยี นการสอนตามหลักสูตรปีการศึกษา 2564 และการอนมุ ัติจบการศึกษาภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 (หลังวนั ที่ 15 พฤษภาคม 2564) ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2564 (ขอ้ 3. การจัดการเรียนตามหลักสูตร) ทางผู้จดั ทา หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารเลม่ นี้ จะมปี ระโยชน์ตอ่ การจัดการเรยี นการสอน เกิดผลดตี ่อ ผู้เรียนและเปน็ ประโยชนต์ ่อเพอื่ นครูทา่ นอนื่ ๆ ได้นาไปปรับประยุกต์ใช้ใหเ้ หมาะสมกบั บริบทของตน้ เอง ขอขอบคุณผอู้ านวยการสถานศกึ ษา โรงเรียนสวนป่าเขาชะอางค์ รองผอู้ านวยการสถานศึกษา โรงเรยี นสวนป่าเขาชะอางค์ นางเยาวป์ ระภา สงิ หม์ หาไชย กลมุ่ งานวิชาการ และหวั หนา้ กล่มุ สาระการ เรยี นรู้การงานอาชีพท่ีไดต้ ิดตาม สนับสนนุ และใหค้ าแนะนากาลงั ใจ ในการจัดทาหลกั สูตรฉบบั นใ้ี หส้ าเร็จ ลลุ ว่ งด้วยดี สามารถนาไปใช้ในการเรยี นการสอนได้ สิริณฏั ฐก์ ลุ จิรางคก์ ูร

สารบัญ หนา้ คานา 1 สารบัญ 2 1 บทนา 3 2 วิสัยทศั น์ของกลุม่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ 3 3 หลักการ 4 4 จุดมงุ่ หมาย 5 5 สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี น 5 6 คุณลักษณะของผู้เรยี นที่พึงประสงค์ 7 7 คณุ ภาพผู้เรยี น 7 8 ทาไมต้องเรยี นการงานอาชพี 9 9 เรียนรู้อะไรในการงานชพี 11 10 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 11 11 ตัวชี้วดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลางต้องรแู้ ละควรรู้ 26 21 รายวชิ าพ้นื ฐาน : สาระที่ 1 การดารงชีวติ และครอบครวั 21 รายวิชาพืน้ ฐาน : สาระที่ 2 งานอาชีพ 23 12 การวิเคราะหส์ าระและมาตรฐานการเรียนรู้ตัวช้วี ัด 24 รายวชิ าพน้ื ฐาน : สาระท่ี 1 การดารงชวี ติ และครอบครวั 25 รายวิชาพื้นฐาน : สาระที่ 2 งานอาชีพ 26 13 คาอธบิ ายรายวชิ า 14 โครงสรา้ งหนว่ ยการเรียนรู้ 15 การวดั และประเมนิ ผล ภาคผนวก - หนังสือที่ ศธ 04010/ว 1228 เร่ืองซักซอ้ มความเข้าใจเก่ียวกับแนวปฏิบัติการนับเวลา เรียนการสอนชดเชย การจดั การเรยี นรหู้ ลกั สูตรปีการศึกษา 2564 และการอนมุ ัติจบ การศึกษาภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 (หลังวนั ที่ 15 พฤษภาคม 2564) ลงวนั ที่ 31 พฤษภาคม 2564 - โครงสร้างหลักสตู รโรงเรยี นสวนป่าเขาชะอางค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ปรบั ปรุง พ.ศ. 2563

บทนำ หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นสวนปา่ เขาชะอางค์ ได้จัดทาข้ึนโดยใช้กรอบและแนวทางทห่ี ลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ได้วางไว้โดยใหท้ อ้ งถ่ินได้มีสว่ นรว่ มในการกาหนดทิศ ทางการพัฒนาหลักสตู รร่วมกันเพือ่ สนองเจตนารมย์ของหลักสตู รแกนกลางท่มี ุ่งเนน้ ใหเ้ ด็กและเยาวชนไทยทุก คนในระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐานมคี ุณภาพดา้ นความรู้และทักษะ ทจ่ี าเป็นสาหรบั การดารงชีวิตในสังคมที่มีการ เปลยี่ นแปลงและแสวงหาความร้เู พ่ือพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนอื่ งตลอดชีวติ ควำมสำคัญของสำระกำรเรยี นรกู้ ำรงำนอำชีพ กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี เปน็ กลมุ่ สาระท่ีมุ่งพัฒนาให้ผู้เรยี น มคี วามรู้ ความเข้าใจ มี ทักษะพนื้ ฐานทีจ่ าเปน็ ต่อการดารงชวี ติ และรู้เท่าทันการเปล่ียนแปลง สามารถนาความรู้เกย่ี วกับการ ดารงชีวิต การอาชีพ และเทคโนโลยี มาใช้ประโยชนใ์ นการทางาน อย่างมคี วามคดิ สร้างสรรค์ และแข่งขนั ในสงั คมไทยและสากล เหน็ แนวทางในการประกอบอาชีพ รกั การทางาน และมีเจตคตทิ ่ีดีต่อการทางาน สามารถดารงชวี ติ อยู่ในสงั คมไดอ้ ยา่ งพอเพียง และมีความสขุ สำระสำคัญของกลุ่มสำระกำรเรยี นรกู้ ำรงำนอำชพี กลมุ่ สาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชพี มุ่งพฒั นาผู้เรียนแบบองคร์ วม เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ มีทกั ษะในการทางาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและ การศกึ ษาตอ่ ไดอ้ ย่างมี ประสทิ ธิภาพ โดยมสี าระสาคัญ ดงั น้ี • กำรดำรงชีวิตและครอบครัว เป็นสาระเกี่ยวกับการทางานในชีวิตประจาวัน การชว่ ยเหลอื ตนเอง ครอบครัว และสังคมได้ในสภาพเศรษฐกิจท่พี อเพยี ง ไมท่ าลายสิ่งแวดลอ้ ม เนน้ การ ปฏบิ ัติจริงจนเกิดความม่ันใจและภมู ใิ จในผลสาเร็จของงาน เพ่อื ให้คน้ พบความสามารถ ความถนดั และความสนใจของตนเอง • กำรอำชีพ เป็นสาระเก่ียวกับทักษะท่ีจาเป็นต่ออาชีพ เห็นความสาคัญของคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติทดี่ ีต่ออาชีพ ใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสม เหน็ คณุ คา่ ของอาชีพสจุ ริต และเหน็ แนวทาง ในการประกอบอาชพี

2 สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้ สำระที่ ๑ กำรดำรงชีวติ และครอบครัว มำตรฐำน ง ๑.๑ เข้าใจการทางาน มีความคดิ สร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ ทกั ษะกระบวนการแกป้ ัญหา ทักษะการทางานรว่ มกนั และทักษะการแสวงหาความรู้ มคี ุณธรรม และลกั ษณะนิสยั ในการทางาน มจี ิตสานึกในการใชพ้ ลังงาน ทรัพยากร และส่ิงแวดลอ้ ม เพือ่ การดารงชีวติ และครอบครัว สำระท่ี ๒ กำรอำชพี มำตรฐำน ง ๒.๑ เข้าใจ มีทกั ษะท่จี าเป็น มปี ระสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชีพ ใช้ เทคโนโลยเี พอ่ื พัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติท่ีดตี ่ออาชีพ วสิ ยั ทศั น์ การจัดกระบวนการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนทุกคนมีความรู้ ทักษะ และกระบวนการทางาน รจู้ กั การแกป้ ัญหา การจดั การอย่างเป็นระบบ มีระเบยี บ ม่งุ พัฒนาผูเ้ รยี นทกุ คน ซง่ึ เป็น กาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทย และเป็นพลโลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ปลูกฝัง คณุ ธรรมจริยธรรม มีนสิ ยั รกั การทางาน เห็นคุณคา่ ของศลิ ปวัฒนธรรมท้องถิน่ รู้จักใช้ทรพั ยากรในทอ้ งถ่ินอย่าง ประหยัดและค้มุ คา่ สามารถใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นเครอ่ื งมือในการเรียนรู้ แสวงหาความร้แู ละนาเสนอ ผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ สามารถนาความรู้ไปบูรณาการกับการดาเนินงานในชีวิตประจาวันได้ มี ความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ตามศักยภาพของ ตนเอง

3 หลักกำร หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นสวนปา่ เขาชะอางค์ ได้ใช้หลกั การพฒั นาหลกั สูตรตามแบบของหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานซงึ่ มหี ลักการทส่ี าคัญ ดังน้ี ๑. เป็นหลักสตู รการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจดุ หมายและมาตรฐานการเรยี นรู้ เปน็ เป้าหมายสาหรับพฒั นาเด็กและเยาวชนให้มคี วามรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐาน ของความเปน็ ไทย ควบคกู่ บั ความเป็นสากล ๒. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ทปี่ ระชาชนทุกคนมีโอกาสไดร้ ับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี คณุ ภาพ ๓. เป็นหลกั สูตรการศกึ ษาท่ีสนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมสี ว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา ให้ สอดคล้องกับสภาพและความตอ้ งการของท้องถน่ิ ๔. เป็นหลกั สูตรการศึกษาท่มี ีโครงสร้างยืดหยนุ่ ทง้ั ดา้ นสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจดั การ เรยี นรู้ ๕. เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสาคญั ๖. เปน็ หลักสูตรการศกึ ษาสาหรบั การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั ครอบคลุมทกุ กล่มุ เป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ จดุ หมำย หลกั สตู รสถานศกึ ษามคี วามมุ่งหมายในการพฒั นาผู้เรียนใหเ้ ป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศกั ยภาพในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพ่ือใหเ้ กดิ กับผู้เรยี น เม่อื จบ การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ดังน้ี ๑. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมที่พงึ ประสงค์ เหน็ คุณคา่ ของตนเอง มีวนิ ัยและปฏบิ ัติตนตาม หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทีต่ นนับถอื ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๒. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคดิ การแกป้ ัญหา การใช้เทคโนโลยี และมที ักษะชีวติ ๓. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ทีด่ ี มสี ุขนสิ ยั และรักการออกกาลงั กาย ๔. มคี วามรกั ชาติ มจี ิตสานกึ ในความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ยดึ ม่นั ในวิถชี วี ิตและ การ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข ๕. มีจติ สานึกในการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมและภูมปิ ัญญาไทย การอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาสง่ิ แวดลอ้ ม มจี ติ สาธารณะทม่ี ุ่งทาประโยชนแ์ ละสรา้ งสิ่งทีด่ งี ามในสงั คม และอยูร่ ่วมกันในสงั คมอยา่ งมีความสขุ

4 สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ หลกั สตู รสถานศึกษามงุ่ เน้นพัฒนาผู้เรยี นใหม้ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานมสี มรรถนะสาคัญและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ดังน้ี สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น สมรรถนะสาคญั ๕ ประการ คอื ๑. ควำมสำมำรถในกำรสอ่ื สำร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มวี ัฒนธรรมในการใชภ้ าษา ถ่ายทอดความคดิ ความรู้ความเข้าใจ ความรสู้ ึก และทัศนะของตนเองเพอ่ื แลกเปลย่ี นข้อมูลขา่ วสารและ ประสบการณ์อนั จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเองและสังคม รวมทงั้ การเจรจาตอ่ รองเพ่ือขจัดและลด ปญั หาความขดั แยง้ ตา่ ง ๆ การเลือกรบั หรอื ไม่รบั ข้อมูลข่าวสารดว้ ยหลกั เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ เลือกใช้วิธกี ารสอ่ื สาร ท่ีมปี ระสิทธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบทีม่ ตี ่อตนเองและสงั คม ๒. ควำมสำมำรถในกำรคิด เปน็ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ การคิดสงั เคราะห์ การคดิ อยา่ ง สร้างสรรค์ การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพอ่ื นาไปสู่การสรา้ งองค์ความรู้หรอื สารสนเทศ เพื่อการตดั สินใจเกีย่ วกบั ตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม ๓. ควำมสำมำรถในกำรแกป้ ัญหำ เป็นความสามารถในการแกป้ ญั หาและอปุ สรรคต่าง ๆ ทีเ่ ผชิญได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสมบนพนื้ ฐานของหลกั เหตุผล คุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์ และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณต์ ่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรูม้ าใช้ในการป้องกนั และ แก้ไขปญั หา และมกี ารตดั สินใจทมี่ ีประสิทธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ตอ่ ตนเอง สงั คมและ สง่ิ แวดลอ้ ม ๔. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการตา่ ง ๆ ไปใชใ้ นการ ดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง การทางาน และการอย่รู ่วมกันในสังคม ด้วยการสรา้ งเสริมความสัมพันธอ์ นั ดรี ะหวา่ งบคุ คล การจัดการปัญหาและความขดั แย้งต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม การปรบั ตัวใหท้ นั กับการเปลย่ี นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรจู้ ักหลกี เล่ียงพฤติกรรมไมพ่ ึง ประสงคท์ สี่ ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อืน่ ๕. ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยดี ้านต่าง ๆ และ มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรยี นรู้ การส่อื สาร การทางาน การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

5 คุณลักษณะของผู้เรียนท่ีพึงประสงค์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสวนป่าเขาชะอางค์ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพอ่ื ใหส้ ามารถอยรู่ ว่ มกับผู้อนื่ ในสงั คมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง การปฏิบัติตนเป็นคนดีในสังคม มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ ๒. ซื่อสตั ยส์ ุจรติ หมายถึง ปฏบิ ตั ิตนอยา่ งตรงไปตรงมา ทงั้ กาย วาจา ใจ ๓. มวี ินยั หมายถงึ ปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ของโรงเรยี น ครอบครัวชมุ ชน และกิจกรรมในห้องเรียน เช่น สมดุ งาน ช้ินงาน สะอาดเรียบรอ้ ยปฏบิ ตั ิตนอยู่ในข้อตกลงท่ีกาหนดให้ร่วมกัน ทกุ ครั้ง ๔. ใฝ่เรียนรู้ หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่มีความกระตือรือร้นในการเรียน รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์ แสวงหาความร้จู ากแหลง่ เรียนรทู้ ่หี ลากหลาย และสามารถถ่ายทอดเผยแพร่ องค์ความรใู้ ห้กับผูอ้ ื่น ๕. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง หมายถงึ มีความเป็นอยอู่ ยา่ งพอเพยี ง รู้จักการดารงชวี ิตให้มคี ณุ ค่า ๖. มงุ่ ม่ันในการทางาน หมายถงึ มุ่งมน่ั ทางานอยา่ งรอบคอบ จนประสบผลสาเร็จ ๗. รักความเป็นไทย หมายถึง มคี วามตระหนักเห็นคุณค่าของความเปน็ ไทย และมเี จตคติทด่ี ี รกั ษา เอกลักษณ์ ไทย และขนบธรรมเนยี มประเพณี ๘. มีจิตสาธารณะ หมายถึงมคี วามสานึกและมุ่งทาประโยชน์และสร้างสง่ิ ทดี่ ีงามในสงั คม และอยู่ รว่ มกนั ในสงั คมอย่างมีความสุข คณุ ภำพผเู้ รียน จบช้นั ประถมศึกษำปีที่ ๓ • เข้าใจวธิ กี ารทางานเพ่อื ช่วยเหลือตนเอง ครอบครวั และส่วนรวม ใช้วัสดุ อปุ กรณ์ และเครื่องมือ ถูกต้องตรงกับลักษณะงาน มีทักษะกระบวนการทางาน มีลักษณะนิสัยการทางาน ท่ี กระตอื รอื ร้น ตรงเวลา ประหยดั ปลอดภัย สะอาด รอบคอบ และมีจิตสานกึ ในการอนุรกั ษส์ ่งิ แวดล้อม • เข้าใจประโยชนข์ องสิง่ ของเครอ่ื งใชใ้ นชีวติ ประจาวัน มคี วามคิดในการแกป้ ัญหาหรอื สนองความ ต้องการอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะในการสร้างของเล่น ของใช้อย่างง่าย โดยใช้กระบวนการ เทคโนโลยี ได้แก่ กาหนดปญั หาหรือความตอ้ งการ รวบรวมข้อมลู ออกแบบโดยถ่ายทอดความคดิ เป็นภาพร่าง ๒ มิติ ลงมือสร้าง และประเมินผล เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์อย่างถูกวิธี เลือกใช้สิง่ ของเครอ่ื งใช้ ในชวี ติ ประจาวัน อยา่ งสร้างสรรค์และมีการจัดการสิง่ ของเคร่ืองใช้ด้วยการนากลบั มาใชซ้ า้

6 จบชนั้ ประถมศึกษำปีท่ี ๖ • เข้าใจการทางานและปรับปรุงการทางานแต่ละข้ันตอน มีทักษะการจัดการ ทักษะ การทางานร่วมกัน ทางานอย่างเป็นระบบและมีความคิดสร้างสรรค์ มีลักษณะนิสัยการทางานที่ขยัน อดทน รับผิดชอบ ซื่อสัตย์ มีมารยาท และมีจติ สานึกในการใช้น้า ไฟฟา้ อย่างประหยดั และคุม้ ค่า • ร้แู ละเขา้ ใจเกีย่ วกับอาชพี รวมท้งั มีความรู้ ความสามารถและคณุ ธรรมที่สมั พันธก์ บั อาชีพ จบชัน้ มธั ยมศึกษำปีท่ี ๓ • เข้าใจกระบวนการทางานที่มีประสิทธิภาพ ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางาน มีทักษะ การแสวงหาความรู้ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาและทักษะการจัดการ มีลักษณะนิสัยการทางาน ท่ีเสียสละ มีคุณธรรม ตัดสินใจอย่างมีเหตุผลและถูกต้อง และมีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และ ส่งิ แวดล้อมอย่างประหยัดและคมุ้ ค่า • เข้าใจแนวทางการเลือกอาชีพ การมีเจตคติท่ีดีและเห็นความสาคัญของการประกอบอาชีพ วิธีการ หางานทา คุณสมบัติที่จาเป็นสาหรับการมีงานทา วิเคราะห์แนวทางเข้าสู่อาชีพ มีทักษะพื้นฐาน ท่ี จาเป็นสาหรับการประกอบอาชีพ และประสบการณ์ต่ออาชีพที่สนใจ และประเมินทางเลือก ในการประกอบ อาชพี ท่สี อดคลอ้ งกบั ความรู้ ความถนัด และความสนใจ จบชัน้ มธั ยมศกึ ษำปีที่ ๖ • เข้าใจกระบวนการทางานท่ีมีประสิทธิภาพ ใช้กระบวนการกลุ่มในก ารทางาน มีทักษะ การแสวงหาความรู้ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาและทักษะการจัดการ มีลักษณะนิสัยการทางาน ที่เสียสละ มีคุณธรรม ตัดสินใจอย่างมีเหตุผลและถูกต้อง และมีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และ สง่ิ แวดล้อมอย่างประหยดั และคุ้มค่า • เข้าใจแนวทางการเลือกอาชีพ การมีเจตคติท่ีดีและเห็นความสาคัญของการประกอบอาชีพ วิธีการ หางานทา คุณสมบัติท่ีจาเป็นสาหรับการมีงานทา วิเคราะห์แนวทางเข้าสู่อาชีพ มีทักษะพื้นฐาน ท่ี จาเป็นสาหรับการประกอบอาชีพ และประสบการณ์ต่ออาชีพที่สนใจ และประเมินทางเลือก ในการประกอบ อาชีพที่สอดคลอ้ งกับความรู้ ความถนดั และความสนใจ

7 กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้กำรงำนอำชีพ ทำไมตอ้ งเรยี นกำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพเปน็ กล่มุ สาระทีช่ ่วยพัฒนาใหผ้ ูเ้ รียน มีความรู้ ความเขา้ ใจ มี ทักษะพื้นฐานทจ่ี าเปน็ ต่อการดารงชวี ิต และรเู้ ทา่ ทนั การเปลยี่ นแปลง สามารถนาความรเู้ กีย่ วกับการ ดารงชวี ิต การอาชพี และเทคโนโลยี มาใชป้ ระโยชนใ์ นการทางาน อยา่ งมีความคิดสรา้ งสรรค์ และแข่งขัน ในสงั คมไทยและสากล เหน็ แนวทางในการประกอบอาชีพ รกั การทางาน และมีเจตคตทิ ด่ี ตี ่อการทางาน สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างพอเพียง และมคี วามสขุ เรยี นรูอ้ ะไรในกำรงำนอำชีพ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ มุง่ พัฒนาผเู้ รยี นแบบองคร์ วม เพือ่ ให้มคี วามรู้ ความสามารถ มีทักษะในการทางาน เหน็ แนวทางในการประกอบอาชีพและ การศกึ ษาตอ่ ได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ โดยมีสาระสาคญั ดังนี้ • กำรดำรงชวี ติ และครอบครัว เปน็ สาระเกย่ี วกบั การทางานในชีวิตประจาวนั การช่วยเหลือตนเอง ครอบครวั และสังคมไดใ้ นสภาพเศรษฐกิจท่ีพอเพยี ง ไมท่ าลายส่ิงแวดลอ้ ม เน้นการ ปฏบิ ัตจิ ริงจนเกดิ ความม่นั ใจและภมู ใิ จในผลสาเร็จของงาน เพื่อให้คน้ พบความสามารถ ความ ถนัด และความสนใจของตนเอง • กำรอำชพี เปน็ สาระเกย่ี วกับทักษะท่ีจาเปน็ ต่ออาชพี เห็นความสาคญั ของคณุ ธรรม จริยธรรม และเจตคติทีด่ ตี ่ออาชีพ ใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสม เหน็ คุณค่าของอาชีพสุจรติ และเหน็ แนวทาง ในการประกอบอาชีพ คุณภำพผูเ้ รยี น จบช้นั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๓ • เขา้ ใจวิธีการทางานเพอ่ื ชว่ ยเหลือตนเอง ครอบครัว และสว่ นรวม ใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ และเคร่ืองมือ ถูกต้องตรงกับลักษณะงาน มีทักษะกระบวนการทางาน มีลักษณะนิสัยการทางาน ที่ กระตือรอื รน้ ตรงเวลา ประหยดั ปลอดภยั สะอาด รอบคอบ และมีจิตสานึกในการอนรุ กั ษ์สิ่งแวดลอ้ ม • เข้าใจประโยชน์ของสิ่งของเครอื่ งใชใ้ นชีวิตประจาวนั มคี วามคิดในการแกป้ ญั หาหรอื สนองความ ต้องการอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะในการสร้างของเล่น ของใช้อย่างง่าย โดยใช้กระบวนการ เทคโนโลยี ไดแ้ ก่ กาหนดปญั หาหรือความตอ้ งการ รวบรวมข้อมูล ออกแบบโดยถา่ ยทอดความคดิ เปน็ ภาพร่าง

8 ๒ มิติ ลงมือสร้าง และประเมินผล เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์อย่างถูกวิธี เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ ในชีวิตประจาวัน อย่างสร้างสรรคแ์ ละมีการจัดการสงิ่ ของเครื่องใช้ดว้ ยการนากลับมาใช้ซ้า จบช้นั ประถมศึกษำปีที่ ๖ • เข้าใจการทางานและปรับปรุงการทางานแต่ละข้ันตอน มีทักษะการจัดการ ทักษะ การทางานร่วมกัน ทางานอย่างเป็นระบบและมีความคิดสร้างสรรค์ มีลักษณะนิสัยการทางานที่ขยัน อดทน รบั ผดิ ชอบ ซื่อสตั ย์ มีมารยาท และมีจิตสานกึ ในการใชน้ ้า ไฟฟ้าอย่างประหยดั และคุม้ ค่า • รู้และเข้าใจเกย่ี วกับอาชีพ รวมท้ังมีความรู้ ความสามารถและคณุ ธรรมทส่ี มั พันธก์ บั อาชพี จบชัน้ มธั ยมศึกษำปีท่ี ๓ • เขา้ ใจกระบวนการทางานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ใชก้ ระบวนการกลมุ่ ในการทางาน มที ักษะ การแสวงหาความรู้ ทักษะกระบวนการแกป้ ัญหาและทักษะการจดั การ มีลักษณะนิสัยการทางาน ท่ีเสยี สละ มคี ุณธรรม ตัดสนิ ใจอยา่ งมีเหตผุ ลและถูกต้อง และมจี ิตสานกึ ในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และส่ิงแวดลอ้ มอย่างประหยัดและคุ้มค่า • เขา้ ใจแนวทางการเลือกอาชพี การมีเจตคติที่ดีและเหน็ ความสาคญั ของการประกอบอาชพี วธิ ีการ หางานทา คณุ สมบัติทจี่ าเปน็ สาหรับการมงี านทา วิเคราะห์แนวทางเข้าสู่อาชีพ มีทกั ษะพื้นฐาน ที่ จาเปน็ สาหรับการประกอบอาชีพ และประสบการณต์ ่ออาชพี ที่สนใจ และประเมนิ ทางเลือก ในการประกอบอาชีพทีส่ อดคลอ้ งกบั ความรู้ ความถนดั และความสนใจ จบชนั้ มัธยมศึกษำปีท่ี ๖ • เขา้ ใจวิธกี ารทางานเพ่ือการดารงชวี ติ สรา้ งผลงานอยา่ งมคี วามคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ การทางานร่วมกัน ทกั ษะการจดั การ ทกั ษะกระบวนการแก้ปัญหา และทักษะการแสวงหาความรู้ ทางานอย่าง มีคุณธรรม และมีจติ สานกึ ในการใช้พลังงานและทรัพยากรอยา่ งคุ้มคา่ และย่ังยืน • เข้าใจแนวทางสู่อาชพี การเลือก และใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมกับอาชีพ มปี ระสบการณ์ใน อาชพี ที่ถนดั และสนใจ และมคี ณุ ลักษณะทีด่ ตี ่ออาชพี

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี 1 การดารงชวี ิตและครอบครวั สาระท่ี 2 การอาชพี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5

10 ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระที่ 1 การดารงชีวิตและครอบครวั มาตรฐาน ง1.1 เข้าใจการทางาน มคี วามคดิ สร้างสรรค์ มที กั ษะกระบวนการทางาน ทกั ษะ การจัดการ ทักษะกระบวนการแกป้ ญั หา ทักษะการทางานร่วมกัน และทกั ษะ การแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสยั ในการทางาน มจี ติ สานึก ในการใชพ้ ลงั งาน ทรัพยากร และสงิ่ แวดล้อม เพ่อื การดารงชีวติ และครอบครัว ตวั ช้วี ัด อธบิ ายวธิ กี ารทางานเพื่อการดารงชวี ติ ง1.1 ม5/1 สร้างผลงานอย่างมีความคดิ สรา้ งสรรค และมีทกั ษะการทางานรว่ มกนั ง1.1 ม5/2 มที ักษะการจดั การในการทางาน ง1.1 ม5/3 มีทักษะกระบวนการแกปญหาในการทางาน ง1.1 ม5/4 มีทกั ษะในการแสวงหาความรูเพ่อื การดารงชวี ิต ง1.1 ม5/5 มคี ณุ ธรรมและลักษณะนสิ ยั ในการทางาน ง1.1 ม5/6 ใชพลงั งาน ทรัพยากร ในการทางานอย่างคมุ้ คา่ และย่ังยืน เพอื่ การอนรุ ักษสิ่งแวดลอม ง1.1 ม5/7

11 ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางต้องรู้และควรรู้ กลุ่มสาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี ตามหลักสูตรโรงเรยี นสวนป่าเขาชะอางค์ ตาม หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) สาระท่ี 1 การดารงชวี ิตและครอบครัว รายวชิ าพนื้ ฐาน ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ชน้ั ท่ี รหสั ตัวช้ีวดั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ม.5 1 ง1.1 ม.5/1 อธิบายวธิ ีการทางานเพอื่ วิธกี ารทางานอยา่ งมคี ุณธรรม ✓ การดารงชีวิต และมีลักษณะนสิ ัยการทางาน 2 ง1.1 ม5/2 สร้างผลงานอย่างมี โดยใช้ทักษะการจัดการในการ ✓ ความคดิ สร้างสรรค และ ทางาน ทักษะกระบวนการ มีทักษะการทางาน แก้ปญั หาในการทางาน รว่ มกัน ทักษะในการแสวงหาความรู้ 3 ง1.1 ม5/3 มีทักษะการจดั การใน เพื่อการดารงชีวติ และสรา้ ง ✓ การทางาน ผลงานอย่างมีความคดิ สร้างสรรค์ 4 ง1.1 ม5/4 มีทักษะกระบวนการแก (ความคิดรเิ ร่ิม ความคล่องในการ ✓ ปญหาในการทางาน คดิ ความยดื หยุน่ ในการคิด และ 5 ง1.1 ม5/5 มที กั ษะในการแสวงหา ความคดิ ละเอียดลออ) คานึงถงึ ✓ ความรูเพื่อการดารงชีวติ การใชพ้ ลงั งาน ทรัพยากรและ 6 ง1.1 ม5/6 มคี ุณธรรมและลักษณะ ส่ิงแวดล้อมอย่างคุ้มค่า ยงั่ ยืน ✓ นสิ ัยในการทางาน โดยฝกึ ปฏิบัติผ่านงานหรือ ✓ 7 ง1.1 ม5/7 ใชพลงั งาน ทรัพยากร โครงงานอาชพี เชน่ ในการทางานอย่างคมุ้ ค่า - งานช่าง (งานไม้ งานไฟฟา้ ชา่ ง และย่ังยนื เพื่อการอนุ ยนต์ หรอื งานอื่น) รักษสงิ่ แวดลอม - งานบา้ น (อาหาร เสอื้ ผ้า การ ดูแลบา้ น) - งานประดิษฐ์ - งานเกษตร - งานธุรกิจ (การตลาด การ จดั การ การโรงแรม การ ทอ่ งเท่ยี ว)

12 สรุปตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นร้แู กนกลางต้องรู้ กล่มุ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี ตามหลักสูตรโรงเรียนสวนป่าเขาชะอางค์ ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) สาระท่ี 1 การดารงชวี ิตและครอบครัว รายวชิ าพ้ืนฐาน ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ชนั้ ท่ี รหสั ตัวช้ีวัด ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ม.5 1 ง1.1 ม5/3 มที ักษะการจดั การใน ใชท้ ักษะการจัดการในการทางาน ✓ การทางาน ทักษะกระบวนการแกป้ ัญหาใน 2 ง1.1 ม5/4 มที ักษะกระบวนการแก การทางาน ทักษะในการแสวงหา ✓ ปญหาในการทางาน ความรเู้ พ่ือการดารงชีวติ และ 3 ง1.1 ม5/5 มที ักษะในการแสวงหา สร้างผลงานอย่างมีความคิด ✓ ความรูเพื่อการดารงชีวิต สร้างสรรค์ (ความคดิ รเิ ร่ิม ความ คล่องในการคิดความยืดหยุ่นใน การคิด และความคดิ ละเอียดลออ) คานงึ ถงึ การใช้ พลงั งาน ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มคา่ ยั่งยนื โดยฝึกปฏบิ ตั ิผา่ นงานหรือ โครงงานอาชีพ เชน่ - งานชา่ ง (งานไม้ งานไฟฟา้ ช่าง ยนต์ หรืองานอ่นื ) - งานบ้าน (อาหาร เส้ือผ้า การ ดแู ลบ้าน) - งานประดิษฐ์ - งานเกษตร - งานธรุ กจิ (การตลาด การ จดั การ การโรงแรม การ ท่องเที่ยว)

13 รวมตัวชว้ี ัดต้องรู้ทง้ั หมด 3 ตวั ช้ีวัด 1. ง1.1 ม5/3 มที กั ษะการจดั การในการทางาน 2. ง1.1 ม5/4 มีทกั ษะกระบวนการแกปญหาในการทางาน 3. ง1.1 ม5/5 มีทกั ษะในการแสวงหาความรูเพอื่ การดารงชวี ิต

14 สรุปตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลางควรรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี ตามหลกั สูตรโรงเรียนสวนปา่ เขาชะอางค์ ตาม หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) สาระที่ 1 การดารงชีวิตและครอบครวั รายวชิ าพื้นฐาน ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ช้ัน ท่ี รหัสตัวช้ีวดั ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ม.5 1 ง1.1 ม.5/1 อธิบายวิธกี ารทางานเพ่ือ วิธกี ารทางานอย่างมีคุณธรรม ✓ การดารงชีวิต และมีลกั ษณะนิสยั การทางาน 2 ง1.1 ม5/2 สร้างผลงานอย่างมี โดยใช้ทักษะการจดั การในการ ✓ ความคดิ สรา้ งสรรค และ ทางาน ทักษะกระบวนการ มีทกั ษะการทางาน แกป้ ญั หาในการทางาน รว่ มกัน ทกั ษะในการแสวงหาความรู้ 3 ง1.1 ม5/6 มคี ุณธรรมและลกั ษณะ เพื่อการดารงชีวติ และสร้าง ✓ นิสยั ในการทางาน ผลงานอยา่ งมีความคดิ สรา้ งสรรค์ 4 ง1.1 ม5/7 ใชพลงั งาน ทรัพยากร (ความคดิ รเิ ร่ิม ความคล่องในการ ✓ ในการทางานอย่างค้มุ ค่า คดิ ความยดื หยุน่ ในการคิด และ และย่งั ยืน เพื่อการอนุ ความคิดละเอียดลออ) คานึงถงึ รกั ษสงิ่ แวดลอม การใช้พลังงาน ทรพั ยากรและ สงิ่ แวดล้อมอย่างคุ้มคา่ ยง่ั ยนื โดยฝกึ ปฏบิ ัตผิ า่ นงานหรือ โครงงานอาชพี เช่น - งานช่าง (งานไม้ งานไฟฟา้ ชา่ ง ยนต์ หรืองานอื่น) - งานบ้าน (อาหาร เส้อื ผ้า การ ดแู ลบ้าน) - งานประดิษฐ์ - งานเกษตร - งานธรุ กจิ (การตลาด การ จดั การ การโรงแรม การ ทอ่ งเทย่ี ว)

15 รวมตัวชว้ี ดั ควรรทู้ ง้ั หมด 4 ตัวชี้วดั 1. ง1.1 ม5/1 อธิบายวิธีการทางานเพ่ือการดารงชีวิต 2. ง1.1 ม5/2 สรา้ งผลงานอย่างมีความคิดสรา้ งสรรค และมีทกั ษะการทางานรว่ มกัน 3. ง1.1 ม5/6 มีคณุ ธรรมและลักษณะนสิ ยั ในการทางาน 4. ง1.1 ม5/7 ใชพลังงาน ทรัพยากร ในการทางานอย่างคุม้ ค่าและยง่ั ยนื เพ่อื การอนรุ ักษสงิ่ แวดลอม

16 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ 2 งานอาชีพ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5

17 ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระท่ี 2 งานอาชพี มาตรฐาน ง2.1 เขา้ ใจ มีทักษะท่ีจาเปน็ มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชพี ใชเ้ ทคโนโลยี เพือ่ พฒั นาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคตทิ ่ีดีต่ออาชีพ ตัวช้ีวัด อภิปรายแนวทางส่อู าชีพที่สนใจ ง2.1 ม5/1 เลือกและใช้เทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมกบั อาชีพ ง2.1 ม5/2 มปี ระสบการณใ์ นอาชพี ท่ีถนัดและสนใจ ง2.1 ม5/3 มีคุณลกั ษณะที่ดีต่ออาชีพ ง2.1 ม5/4

18 ตัวชี้วดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลางตอ้ งรแู้ ละควรรู้ กล่มุ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี ตามหลักสูตรโรงเรยี นสวนปา่ เขาชะอางค์ ตาม หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) สาระท่ี 2 การอาชพี รายวชิ าพ้นื ฐาน ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ช้นั ท่ี รหสั ตัวชี้วัด ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ม.5 1 ง2.1 ม.5/1 อภปิ รายแนวทางสู่อาชพี **แนวทางเข้าสู่อาชีพ ✓ ท่ีสนใจ - ขอบเขตลักษณะงานของแต่ละ 2 ง2.1 ม5/2 เลอื กและใช้เทคโนโลยี กลุม่ อาชีพ ✓ อยา่ งเหมาะสมกับอาชีพ - คณุ ลกั ษณะเฉพาะของอาชีพ 3 ง2.1 ม5/3 มีประสบการณใ์ นอาชีพ - ลักษณะความมนั่ คงและ ✓ ท่ีถนดั และสนใจ ความกา้ วหน้า ของอาชพี 4 ง2.1 ม5/4 มีคณุ ลักษณะทด่ี ีต่อ - การเตรียมตัวเข้าสโู่ ลกอาชีพ ✓ อาชพี (การพฒั นาบุคลิกภาพ การทา แฟ้มสะสมผลงาน การเตรยี ม ทกั ษะภาษาท่จี าเปน็ ของอาชีพที่ สนใจ การใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะ กบั อาชีพ) - จาลองสถานการณ์อาชีพหรอื กิจกรรมอาชีพท่สี นใจ ** คุณลักษณะท่ีดีของผปู้ ระกอบ อาชีพ - ความรบั ผดิ ชอบ - ซอื่ สตั ย์ - ขยนั - อดทน - ตรงเวลา

19 รวมตัวชี้วดั ต้องรู้ทั้งหมด 1 ตวั ช้ีวัด 1. ง2.1 ม5/1 อภิปรายแนวทางสู่อาชพี ทสี่ นใจ รวมตัวช้ีวดั ควรรู้ทั้งหมด 3 ตวั ช้ีวัด 1. ง2.1 ม5/2 เลือกและใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมกบั อาชีพ 2. ง2.1 ม5/3 มปี ระสบการณ์ในอาชีพท่ีถนัดและสนใจ 3. ง2.1 ม5/4 มีคุณลกั ษณะที่ดตี ่ออาชพี

20 สรปุ สาระ มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชี้วัดตอ้ งรู้และควรรู้ (น้ำเงิน = ตอ้ งรู้ / แดง = ควรรู้) สาระที่ 1 การดารงชีวิตและครอบครวั มาตรฐาน ง1.1 เขา้ ใจการทางาน มคี วามคิดสร้างสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทางาน ทักษะ การจดั การ ทักษะกระบวนการแก้ปญั หา ทักษะการทางานร่วมกนั และทกั ษะ การแสวงหาความรู้ มคี ณุ ธรรม และลักษณะนิสยั ในการทางาน มจี ติ สานึก ในการใชพ้ ลงั งาน ทรพั ยากร และสงิ่ แวดล้อม เพือ่ การดารงชวี ิตและครอบครวั ตวั ช้วี ัด ง1.1 ม5/1 อธิบายวิธีการทางานเพือ่ การดารงชีวิต ง1.1 ม5/2 สร้างผลงานอย่างมีความคดิ สร้างสรรค และมีทักษะการทางานรว่ มกัน ง1.1 ม5/3 มที ักษะการจัดการในการทางาน ง1.1 ม5/4 มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทางาน ง1.1 ม5/5 มที กั ษะในการแสวงหาความรู้เพ่อื การดารงชวี ติ ง1.1 ม5/6 มีคณุ ธรรมและลักษณะนสิ ยั ในการทางาน ง1.1 ม5/7 ใชพลังงาน ทรัพยากร ในการทางานอย่างคมุ้ ค่าและยงั่ ยืน เพ่อื การอนุรักษสิง่ แวดลอม สาระที่ 2 งานอาชพี มาตรฐาน ง2.1 เข้าใจ มีทักษะที่จาเป็น มีประสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชีพ ใชเ้ ทคโนโลยี เพอ่ื พฒั นาอาชพี มีคุณธรรม และมเี จตคตทิ ่ดี ตี ่ออาชีพ ตวั ช้วี ัด อภิปรายแนวทางสู่อาชพี ทีส่ นใจ ง2.1 ม5/1 เลอื กและใช้เทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมกับอาชีพ ง2.1 ม5/2 มปี ระสบการณ์ในอาชพี ที่ถนัดและสนใจ ง2.1 ม5/3 มีคณุ ลกั ษณะท่ดี ตี ่ออาชีพ ง2.1 ม5/4

21 การวเิ คราะห์สาระและมาตรฐานการเรียนรตู้ วั ชี้วดั สาระที่ 1 การดารงชีวิตและครอบครวั ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 สาระการเรยี นร้แู กนกลาง / ทอ้ งถ่ิน มาตรฐาน / ตวั ชี้วดั ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คณุ ลักษณะ แกนกลาง ทอ้ งถิ่น กระบวนการ(P) (A) สาระท่ี 1 การดารงชีวิต 1. ความสาคญั ของการดแู ลรกั ษา - สบื ค้นข้อมลู 1. มวี นิ ยั และครอบครัว ความสะอาดภายในโรงเรียน - อธบิ าย 2. ใฝเ่ รยี น มาตรฐาน ง1.1 2. ประยุกต์ใช้แนวความคดิ การ - ยกตวั อยา่ ง 3. มุ่งมนั่ ในการ เขา้ ใจการทางาน มคี วามคดิ จดั การปญั หาขยะในโรงเรยี นสกู่ าร - เขียน ทางาน สรา้ งสรรค์ มีทักษะ พัฒนานวตั กรรมเพอื่ การแกไ้ ขปญั หา - อภิปราย 4. จติ สาธารณะ กระบวนการทางาน ทักษะ 3. การถนอมอาหารและการเน่าเสีย - วเิ คราะห์ การจดั การ ทักษะ ของอาหาร - เปรยี บเทยี บ กระบวนการแก้ปญั หา 4. การถนอมอาหารด้วยวธิ กี ารทา ทักษะการทางานรว่ มกัน อาหารแหง้ และการใชค้ วามรอ้ น และทักษะการแสวงหา 5.การถนอมอาหารดว้ ยวธิ กี ารใช้ ความรู้ มีคณุ ธรรม และ นาตาลและวธิ กี ารหมักดอง ลกั ษณะนสิ ัยในการทางาน 6. ความสาคัญของเงนิ และธรุ กิจ มจี ติ สานกึ ในการใชพ้ ลังงาน 7. บทบาทของเงนิ และธรุ กจิ ในระบบ ทรัพยากร และสิง่ แวดล้อม เศรษฐกจิ เพอื่ การดารงชวี ิตและ ครอบครัว ตัวชีว้ ัด 1. อธบิ ายวธิ ีการทางานเพ่ือ การดารงชีวิต

22 สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง / ท้องถ่ิน มาตรฐาน / ตัวชี้วัด ความรู้ (K) ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะ 2. สรา้ งผลงานอย่างมี แกนกลาง ท้องถ่ิน กระบวนการ(P) (A) ความคดิ สร้างสรรค และมี ทักษะการทางานร่วมกัน - สร้างผลงานอยา่ งมีความคดิ - ปฏบิ ตั ิ 1. มีวินยั 3. มีทักษะการจดั การในการ สร้างสรรค์ (ความคิดรเิ ริม่ ความ - สบื ค้นขอ้ มูล 2. ใฝเ่ รียน ทางาน คล่องในการคดิ ความยดื หยุ่นในการ 3. มุ่งมนั่ ในการ 4. มที ักษะกระบวนการ แก้ปัญหาในการทางาน คดิ และความคดิ ละเอยี ดลออ) ทางาน 5. มีทกั ษะในการแสวงหา 4. จติ สาธารณะ ความรู้เพอ่ื การดารงชีวิต - วธิ กี ารทางานอยา่ งมคี ณุ ธรรม และ - ปฏบิ ตั ิ 1. มวี ินัย 6. มคี ุณธรรมและลักษณะ นิสยั ในการทางาน มลี ักษณะนิสยั การทางาน โดยใช้ - สืบค้นข้อมูล 2. ใฝ่เรียน 7. ใชพลังงาน ทรพั ยากร ใน ทกั ษะการจัดการในการทางาน 3. มงุ่ ม่ันในการ การทางานอย่างคมุ้ คา่ และ ย่ังยืน เพือ่ การอนุรักษสิ่ง ทางาน แวดลอม 4. จติ สาธารณะ - ทักษะกระบวนการแก้ปญั หาในการ - ปฏิบตั ิ 1. มวี นิ ยั ทางาน - สืบคน้ ข้อมูล 2. ใฝ่เรยี น 3. มุ่งมัน่ ในการ ทางาน 4. จติ สาธารณะ - ทักษะในการแสวงหาความรเู้ พอ่ื การ - ปฏิบตั ิ 1. มวี นิ ยั ดารงชีวิต - สบื คน้ ข้อมลู 2. ใฝเ่ รยี น 3. มุ่งมน่ั ในการ ทางาน 4. จติ สาธารณะ - วิธกี ารทางานอยา่ งมคี ุณธรรม 1. มีวนิ ัย 2. ใฝ่เรยี น 3. มุ่งมั่นในการ ทางาน 4. จติ สาธารณะ - คานงึ ถงึ การใชพ้ ลังงาน - อภิปราย 1. มวี นิ ยั ทรัพยากรและส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งคมุ้ คา่ - ปฏิบตั ิ 2. ใฝเ่ รยี น ย่ังยืน 3. มงุ่ มั่นในการ ทางาน 4. จิตสาธารณะ

23 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ท้องถ่ิน มาตรฐาน / ตัวชี้วัด ความรู้ (K) ทักษะ/ คณุ ลักษณะ แกนกลาง ท้องถน่ิ กระบวนการ(P) (A) สาระที่ 2 งานอาชีพ 1. ความหมายและความสาคญั ของ - สบื ค้นข้อมลู 1. มวี นิ ยั มาตรฐาน ง2.1 อาชีพ - อธิบาย 2. ใฝเ่ รยี น เขา้ ใจ มีทกั ษะทีจ่ าเป็น มี 2. การเลือกใชเ้ ทคโนโลยอี ย่าง - ยกตัวอยา่ ง 3. มุ่งมนั่ ในการ ประสบการณ์ เหน็ แนวทาง เหมาะสม - เขยี น ทางาน ในงานอาชพี ใชเ้ ทคโนโลยี 3.เครอื่ งชาสานกั งาน - อภิปราย 4. จติ สาธารณะ เพือ่ พัฒนาอาชพี มี 4. การใชอ้ ปุ กรณส์ านกั งาน - วิเคราะห์ คุณธรรม และมเี จตคติท่ีดี - เปรียบเทียบ ตอ่ อาชีพ ตวั ชวี้ ัด 1. เลอื กและใช้เทคโนโลยี อย่างเหมาะสมกับอาชพี

24 คำอธิบำยรำยวิชำ รหสั วิชำ กำรงำนอำชีพ รหสั วิชำ ง32102 กล่มุ สำระกำรเรยี นรูก้ ำรงำนอำชพี ชนั้ มธั ยมศึกษำปีที่ 5 ภำคเรียนท่ี 2 เวลำ 20 ชวั่ โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ คำอธิบำยรำยวิชำ ศึกษาและวิเคราะห์วิธีการทางานเพ่ือดารงชีวิต ในเร่ืองหลักการทางานร่วมกัน ความสาคัญของการ เป็นนักเรียนที่ดี คุณสมบัติของนักเรียนที่ดี หน้าที่และบทบาทในฐานะสมาชิกของโรงเรียน ประโยชน์จากการ ปฏิบัติตามหน้าที่และบทบาทในฐานะสมาชิกของโรงเรียน การดูแลรักษาและทาความสะอาดโรงเรียน การจัด และตกแต่งสวนหย่อมในโรงเรียน ความสาคัญ ของการถนอมอาหาร การเน่าเสียของอาหาร หลักการถนอม อาหาร วิธีการถนอมอาหาร ความสาคญั ของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ประเภทของธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม การประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม แผนธุรกิจ การบริหารจัดการธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม การเลือกและใช้เทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมกบั อาชพี เครือ่ งใชส้ านักงาน โดยมีทักษะการทางานร่วมกัน มีทักษะการจัดการในการทางาน มีทักษะกระบวนการในแสวงหา ความรู้เพื่อการดารงชีวิต มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทางาน ใช้พลังงาน ทรัพยากร ในการทางานอย่าง คุ้มค่าและยงั่ ยืนเพือ่ การอนุรักษส์ ่ิงแวดล้อม เพ่ือให้มีความเข้าใจ มีทักษะท่ีจาเป็น มีประสบการณ์เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพื่อ พัฒนาอาชีพ มีคุณธรรมและมีเจตคติท่ีดีต่ออาชีพ อธิบายแนวทางเข้าสู่อาชีพที่สนใจ เลือกและใช้เทคโนโลยี อย่างเหมาะสมกับอาชีพ มีประสบการณ์ในอาชีพที่ถนัดและสนใจ มีคุณลักษณะท่ีดีต่ออาชีพ ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใชท้ ง้ั ในชีวิตและการทางาน ตัวชี้วัด ง 1.1 ม.5/1, ม.5/2, ม.5/3, ม.5/4, ม.5/5, ม.6/6, ม.7/7 ง 2.1 ม.5/2 รวม 8 ตวั ชว้ี ัด

25 โครงสรา้ งหนว่ ยการเรียนรู้ รหัสวชิ า การงานอาชพี รหสั วิชา ง32102 กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หน่วยกติ หน่วย ชือ่ หน่วยการ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั ที่ เรยี นรู้ (ชั่วโมง) คะแนน 1 โรงเรียนของเรา ง 1.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, 1.การดูแลรักษาทาความ ม.4-6/3,ม.4-6/4 , ม.4-6/5 สะอาดโรงเรียน 4 15 2 การถนอมอาหาร ,ม.4-6/6 , ม.4-6/7 2.การจดั และตกแตง่ สวนหย่อม ในโรงเรยี น 6 15 3 ธรุ กจิ ขนาดกลาง ง 1.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, 1. ความสาคญั ของการถนอม และธุรกิจขนาด ม.4-6/3, ม.4-6/4, อาหาร 4 20 ย่อม ม.4-6/5, ม.4-6/6, 2. การเน่าเสยี ของอาหาร ม.4-6/7 3. หลักการถนอมอาหาร 4 20 4 เทคโนโลยีกับ 4. วิธีการถนอมอาหาร 1 10 อาชพี ง 1.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, 1. ความสาคญั ของธรุ กิจขนาด 1 20 ม.4-6/3, ม.4-6/4, กลางและขนาดย่อม 20 - 5 สอบกลางภาค ม.4-6/5, ม.4-6/6, 2. ประเภทของธรุ กิจขนาด - 100 6 สอบปลายภาค ม.4-6/7 กลางและขนาดย่อม รวมชั่วโมง 3. การประกอบธรุ กจิ ขนาด คะแนนตลอดปกี ารศึกษา ง 2.1 ม.4-6/2 กลางและขนาดย่อม 4. แผนธุรกจิ สอบหนว่ ยที่ 1 และ 2 5. การบรหิ ารจดั การธรุ กิจ สอบหน่วยท่ี 3 และ 4 ขนาดกลางและขนาดย่อม 1. การเลอื กและใช้เทคโนโลยี อยา่ งเหมาะสมกับอาชีพ 2. เครื่องใชส้ านกั งาน

การวดั และประเมินผล สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ความสาคัญ การวัดและประเมินผลการเรยี นร้ตู ามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นกระบวนการเกบ็ รวบรวม ตรวจสอบ ตคี วามผลการเรยี นรแู้ ละพฒั นาการด้านต่างๆ ของผูเ้ รยี นตาม มาตรฐานการเรยี นรู้ /ตัวชว้ี ัด ของหลักสูตร นาผลไปปรับปรงุ พฒั นาการจดั การเรยี นร้แู ละใชเ้ ป็นข้อมูลสาหรบั การตัดสินผลการเรยี น โดยมีองคป์ ระกอบของการวัดผลและประเมินการเรยี นรู้ทีห่ ลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนด จดุ หมาย สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น คุณ,กษณะอันพึงประสงค์ และ มาตรฐานการเรยี นรไู้ ว้เปน็ เป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาผูเ้ รียนให้เป็นคนดี มีปญั ญา มคี ุณภาพชวี ติ ท่ดี ีและมีขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดบั โลก กาหนดให้ผู้เรยี นได้เรียนรู้ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวช้ีวดั ที่กาหนดในสาระการเรียนรู้ 8 กล่มุ สาระ มีความสามารถดา้ นการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขียน มี คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์และเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การวดั และประเมินผลรายกลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี ผสู้ อนวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ผู้เรียนตามตัวชว้ี ัดในรายวชิ าพน้ื ฐาน และตามผลการเรียนรูใ้ นรายวิชาเพิม่ เตมิ ตามท่ีกาหนดไว้ในหน่วยการ เรยี นรู้ ใชว้ ธิ ีการวดั และประเมนิ ผลท่ีหลากหลาย จากแหล่งขอ้ มลู หลาย ๆ แหลง่ เพ่อื ให้ไดผ้ ลการ ประเมินท่ีสะท้อนความรู้ความสามารถท่ีแท้จริงของผเู้ รยี นโดยการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ อยา่ ง ต่อเนื่องไปพรอ้ มกบั การจดั การเรยี นการสอนโดยสงั เกตพัฒนาการและความประพฤติของผ้เู รียน สงั เกต พฤติกรรมการเรียน การรว่ มกิจกรรม การประเมินตามสภาพจรงิ เช่นการประเมนิ การปฏิบัติงาน การประเมนิ จากโครงงาน การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน เปน็ ตน้ ควบคูก่ ับการใชก้ ารทดสอบแบบต่างๆ อย่างสมดุลและ ครอบคลุมทง้ั ดา้ นความรู้ ดา้ นทกั ษะ และด้านเจตคติ โดยใหค้ วามสาคัญกับการประเมินผลระหว่างเรียน มากกวา่ การประเมินปลายป/ี ปลายภาค และใช้เปน็ ข้อมูลเพอื่ การประเมนิ การเล่ือนช้ันและการจบการศกึ ษา และเพ่ือให้การจดั การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพผู้สอนต้องตรวจสอบความรคู้ วามสามารถท่ีแสดง พัฒนาการของผ้เู รียนอย่างสม่าเสมอและตอ่ เนื่อง และผเู้ รยี นต้องรับผิดชอบและตรวจสอบความก้าวหนา้ ของ ตนเองอย่างสมา่ เสมอเช่นกัน หน่วยการเรียนรู้เปน็ สว่ นท่ีผสู้ อนและผู้เรียนใช้ตรวจสอบย้อนกลบั วา่ ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้หรอื ยังการประเมนิ ในระดับชนั้ เรียนต้องอาศัยทง้ั ผลการประเมนิ ย่อยเพื่อพัฒนาการประเมนิ ผลรวม เพ่อื สรปุ ผลการเรยี นรู้เมื่อจบหนว่ ยการเรยี นรู้และจบรายวิชา วธิ กี ารวดั ผลและประเมินผลการเรยี นรู้ให้บรรลุผลตามเป้าหมายของการเรียนรู้ที่วางไวค้ วรมี แนวทางดังต่อไปน้ี 1. ตอ้ งวดั ทงั้ ความรู้ ความคิด ความสามารถ ทักษะกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ มรวมท้งั โอกาสในการเรียนของผู้เรียน

27 2. วธิ กี ารวัดผลและประเมินผล ตอ้ งสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนร/ี ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรทู้ ่ี กาหนดไว้ 3. ต้องเกบ็ ข้อมูลที่ไดจ้ ากการวดั ผลและประเมินผลตามความเปน็ จริงและต้องประเมนิ ผลภายใต้ ขอ้ มูลท่ีมีอยู่ 4. ผลการวัดและประเมินผลการเรยี นร้ขู องผเู้ รยี นต้องนาไปส่กู ารแปลผลและลงข้อสรปุ ที่ สมเหตสุ มผล 5. การวดั ผลตอ้ งเทีย่ งตรงและเป็นธรรม ทง้ั ด้านของวิธีการวัด โอกาสของการประเมิน วตั ถุประสงคข์ องการวัดในรายวิชา กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑. เพื่อวนิ จิ ฉัยความรู้ ความสามารถ ทกั ษะกระบวนการ เจตคติ คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ มของผ้เู รยี นและเพื่อสง่ เสรมิ ผู้เรยี นใหพ้ ัฒนาความรู้ความสามารถและทกั ษะไดเ้ ต็มศักยภาพ ๒. เพ่ือใช้เป็นขอ้ มูลป้อนกลับให้แกต่ วั ผเู้ รยี นเองวา่ บรรลตุ ามมาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชวี้ ัด/ผล การเรียนรมู้ ากน้อยเพียงใด ๓. เพ่ือใชเ้ ปน็ ข้อมลู สรุปผลการเรยี นรแู้ ละเปรยี บเทยี บถงึ ระดับพฒั นาการของการเรยี นรู้ การวัดผลประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ กจิ กรรมการเรียนรู้ของผเู้ รียนมีหลากหลายเช่นกจิ กรรมในห้องเรยี น กจิ กรรมการปฏบิ ัติ กิจกรรมการสารวจ กจิ กรรมการตรวจสอบ การทดลอง กิจกรรมศกึ ษาค้นคว้า กิจกรรมศึกษาปัญหาพิเศษหรือ โครงงาน ฯลฯ อยา่ งไรก็ตามในการทากิจกรรมต้องคานึงว่าผูเ้ รียนแต่ละคนมีศักยภาพทแ่ี ตกตา่ งกัน ผูเ้ รียนแต่ ละคน จึงอาจทางานชน้ิ เดียงกนั ไดเ้ สร็จในเวลาท่ีแตกต่างกนั และผลของงานท่ีได้อาจแตกต่างกันด้วย เม่อื ผ้เู รียน ทากจิ กรรมเหล่านีเ้ สร็จแลว้ ก็จะตอ้ งเก็บรวบรวมผลงาน เชน่ รายงาน ช้ินงาน บันทึก และรวมถงึ ทักษะ ปฏบิ ตั ติ ่างๆ เจตคติ ความรัก ความซาบซ้ึง กจิ กรรมท่ผี ูเ้ รยี นได้ทาเหลา่ น้ีต้องใช้วธิ ี ประเมินทม่ี คี วามแตกต่าง กนั เพื่อช่วยใหส้ ามารถประเมินความรู้ ความสามารถและความรู้สกึ นึกคิดที่แท้จรงิ ของผเู้ รียนได้ การวดั และ ประเมนิ ผลตามสภาพจริงจะมีประสทิ ธภิ าพกต็ ่อเม่ือมีการประเมินหลายๆ ด้าน หลากหลายวิธี ในสถานการณ์ ต่าง ๆ กันสอดคล้องกับชีวิตจรงิ และตอ้ งประเมินอย่างต่อเนือ่ งเพ่ือจะได้ข้อมูลทีม่ ากพอท่ีจะสะท้อนของผเู้ รียน ได้ ลกั ษณะสาคัญของการวดั และประเมินผลจากสภาพจริง 1. การวัดประเมินผลตามสภาพจรงิ มีลักษณะที่สาคญั คือใช้วธิ ีการประเมนิ กระบวนการคิดทซ่ี บั ซ้อน ความสามารถในการปฏิบัตงิ าน ศักยภาพผู้เรยี นในดา้ นของผผู้ ลติ และกระบวนการที่ได้ผลผลิตมากกวา่ ที่จะ ประเมนิ ว่าผูเ้ รยี นจดจาความรอู้ ะไรบ้าง 2. เปน็ การประเมนิ ความสามารถของผ้เู รยี นเพอ่ื วนิ จิ ฉัยผ้เู รียนในส่วนท่คี วรส่งเสรมิ และสว่ นทแ่ี กไ้ ข ปรับปรุงเพื่อให้ผู้เรยี นได้พฒั นาอย่างเต็มศักยภาพตามความสามารถ ความสนใจและความต้องการของแตล่ ะ บคุ คล

28 3. เป็นการประเมนิ ทจี่ ะเปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นไดม้ ีส่วนรว่ มประเมินผลงานของตนเองและของเพ่อื น ร่วมหอ้ ง เพื่อส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นรู้จักตนเอง เชอื่ มน่ั ในตนเอง สามารถพฒั นาตนเองได้ 4. ขอ้ มลู ท่ีได้จากการประเมินจะสะท้อนใหเ้ หน็ ถึงกระบวนการเรียนการสอนและการวางแผนการ สอนของผ้สู อนว่าสามารถตอบสนองความสามารถ ความสนใจและความตอ้ งการของผเู้ รียนแตล่ ะบุคคลได้ หรอื ไม่ 5. ประเมนิ ความสามารถของผเู้ รียนในการถ่ายโอนการเรยี นไปสูช่ ีวิตจริงได้ 6. ประเมินดา้ นต่างๆดว้ ยวิธที ่ีหลากหลายในสถานการณต์ า่ ง ๆอย่างต่อเน่ือง วธิ กี ารและแหล่งข้อมลู ทใี่ ช้ เพอ่ื ใหก้ ารวดั และประเมินผลสะท้อนความสามารถทแ่ี ท้จรงิ ของผู้เรยี นผลการประเมนิ อาจได้มา จากแหลง่ ข้อมลู และวธิ กี ารต่างๆดงั ตอ่ ไปนี้ 1. การประเมนิ ผลกลมุ่ ( Group Assessment ) ความสามารถที่จะทางานในฐานะสมาชกิ ท่ีมี ประสิทธิภาพของกลุ่มถือเป็นทักษะสาคญั ในการจดั การเรยี นรทู้ ่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ ศูนยก์ ลาง การทากิจกรรมต้อง เนน้ ยา้ การทางานเปน็ กลมุ่ ท่มี ีการจัดการดา้ นความพรอ้ มที่มีคุณภาพและมีการประเมินผลท่ลี ะเอียดรอบคอบ การทางานกลุม่ ของผู้เรยี นจะมคี ุณภาพสูงสดุ รวมทงั้ มีความสนกุ สนาน เพลดิ เพลินเมอื่ มีการปฏิบัติดังน้ี 1) จัดบรรยากาศให้เหมาะสม ช่วยใหผ้ เู้ รยี นทราบและเขา้ ใจว่าการทางานกลุ่มจะให้ผลดแี ก่ ผเู้ รียนอย่างไร ผลงานกลมุ่ จะประเมนิ ด้วยวิธใี ด 2) จ้าใหผ้ ู้เรียนทราบวา่ งานของกลุ่มจะประเมนิ เมื่อใดล่วงหนา้ เพ่ือผูเ้ รยี นจะไดไ้ ม่กดดันและวติ ก กังวลว่าผ้สู อนจะประเมนิ เมื่อใด 3) การกาหนดคะแนนไมค่ วรมากเกนิ ไป เพราะหลักการต้องการจะพฒั นาการทางานร่วมกัน 4) แจ้งเกณฑ์การประเมินใหผ้ ู้เรยี นได้ทราบ และบอกเกณฑ์บางส่วนให้ พรอ้ มทั้งใหผ้ ้เู รียน เพิ่มเติมเกณฑ์ของตนเองได้ จึงค่อยตดั สนิ ใจวา่ แตล่ ะเกณฑ์จะใหค้ ะแนนอยา่ งไร 5) จดั เวลาให้ผูเ้ รียนไดม้ ีการสารวจว่าคุม้ คา่ แก่การเรยี นรหู้ รือไม่ เป็นการให้ผูเ้ รียนได้วเิ คราะห์ ผลสาเรจ็ ของตนเอง มีเวลาแยกแยะวา่ ยังมจี ุดใดทสี่ ามารถทาได้ดยี ิง่ ขึ้นอีก 6) ผู้สอนตอ้ งมั่นใจและกระจ่างชดั เจนวา่ สิง่ ที่ประเมนิ ผล คือ ผลผลติ จากงานของกล่มุ หรือ ประเมนิ กระบวนการทางาน กระบวนการและผลผลิตเป็นคนละเรอื่ งกนั และจาเป็นต้องมีแนวทางการประเมนิ ท่ีแตกต่างกนั ในการทากิจกรรมกล่มุ บางกจิ กรรมใช้การประเมินผลผลิต แต่บางกจิ กรรมอาจใช้เพอื่ การ ประเมินผลกระบวนการปฏบิ ัตเิ ทา่ นนั้ 7) ต้องระวงั อันตรายจากการประเมินงานกลุ่มเปน็ รายบุคคล เพราะจะนาไปสูค่ วามรู้สึกเจบ็ ช้า น้าใจและการโตแ้ ย้งอย่างรนุ แรงได้ ต้องมกี ารแจง้ เกณฑล์ ว่ งหนา้ มีการอภปิ ราย มีข้อตกลงตง้ั แตแ่ รกเร่มิ ลงมือ ปฏิบตั ิกิจกรรม การประเมินผลบคุ คลควรจะทาต่อเม่อื ผูเ้ รียนทั้งกลมุ่ ได้รับการพัฒนาความม่ันใจและความ เชอื่ ถือ

29 8) พิจารณาการจดั กลุม่ จะให้ผู้เรียนจัดกลุ่มเองหรือไม่หรอื จะใชก้ ารสมุ่ จดั ผ้เู รยี นเข้ากลมุ่ เพอ่ื ความเหมาะสมในการคละ ความสามารถของผเู้ รยี นในกลมุ่ หรือผู้สอนจัดผู้เรยี นให้สมดุลเพื่อคละ ประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถและทักษะของผเู้ รียน วธิ นี ีม้ ีประโยชน์เพอื่ จัดกลุ่มการเรยี นรู้แบบรว่ มมือ อย่างมีคุณภาพ แต่ตอ้ งการทักษะการประสานงานทีส่ งู มาก 2. การประเมนิ ตนเอง ( Self Assessment ) ในการเสนอผลงาน ผสู้ อนควรฝึกให้ผู้เรียนมีการ ประเมนิ ตนเองทั้งดา้ นความคิด และดา้ นความรูส้ ึก โดยให้ผู้เรยี นไดพ้ ดู ถึงงานของตนเอง มีข้นั ตอนกระบวนการ ทาอยา่ งไร มีจุดบกพร่อง จุดดตี รงไหน ผูเ้ รยี นได้ความรอู้ ะไรบ้างและผเู้ รียนมีความรู้สึกอยา่ งไรตอ่ งานท่ที า ขณะเดยี วกนั ก็เปิดโอกาสให้เพอื่ นได้มีการวพิ ากษ์วิจารณง์ านของผูเ้ รียนอันจะนาไปสู่ความภาคภมู ใิ จ 3. การเขยี นรายงาน ( Self - Report) เปน็ การให้ผเู้ รยี นเขียนรายงานเกี่ยวกับพฤติกรรมของตนเอง เหมือนการสัมภาษณเ์ พยี งแต่ไมม่ ีคนคอยต้งั คาถามเท่านั้นเอง จากวธิ กี ารประเมนิ ดังกลา่ วสามารถนามาจดั แสดงวิธกี ารและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรขู้ อง สาระการเรยี นรู้ในด้านความรู้ ด้านทกั ษะกระบวนการ และดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยมได้

30 แนวปฏบิ ัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรโู้ รงเรยี นสวนป่าเขาชะอางค์ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ของผเู้ รียนต้องอยบู่ นหลกั การพนื้ ฐานสองประการคอื การประเมนิ เพ่ือพัฒนาผู้เรยี นและเพื่อตัดสนิ ผลการเรยี น ในการพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น ให้ ประสบผลสาเรจ็ นน้ั นกั เรยี นจะตอ้ งไดร้ ับการพัฒนา และประเมนิ ตามตัวช้ีวดั เพอ่ื ให้บรรลุตามมาตรฐานการ เรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญ และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ของนักเรียนซงึ่ เป็นเปา้ หมายหลักในการวดั และประเมินผลการเรียนรใู้ นระดับช้ันเรียน ระดับสถานศกึ ษา การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ เปน็ กระบวนการ พัฒนาคุณภาพนักเรียนโดยใชผ้ ลการประเมนิ เปน็ ข้อมลู และสารสนเทศทแ่ี สดงพัฒนาการ ความกา้ วหนา้ และความสาเร็จทางการเรียนของนักเรยี น ตลอดจนข้อมูลทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ ่อการส่งเสริมให้ นกั เรียนเกิด การพัฒนาและเรยี นรู้อย่างเตม็ ตามศักยภาพ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ แบง่ ออกเปน็ 2 ระดบั ไดแ้ ก่ ระดบั ช้ันเรยี น ระดบั สถานศึกษา มี รายละเอยี ด ดังน้ี 1. การประเมินระดับชัน้ เรียน เปน็ การวัดและประเมินผลทอ่ี ยใู่ นกระบวนการจัดการเรียนรู้ ครู ผสู้ อนดาเนินการเป็นปกติและสม่าเสมอ ในการจดั การเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอยา่ งหลากหลาย เช่น การซกั ถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินช้ินงาน/ ภาระงาน แฟ้ม สะสมงาน การใชแ้ บบทดสอบ ฯลฯ โดยครู ผสู้ อนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้นักเรียนประเมินตนเอง เพอ่ื นประเมนิ เพ่ือน ผ้ปู กครองรว่ มประเมิน ในกรณที ่ีไมผ่ ่านตวั ช้วี ดั ให้มี การสอนซ่อมเสริม การประเมนิ ระดบั ช้ันเรยี นเป็นการตรวจสอบวา่ นักเรียนมีพัฒนาการความก้าวหนา้ ในการเรียนรู้ อันเปน็ ผลมาจากการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพยี งใด มสี ิ่งที่จะต้องได้รบั การพัฒนา ปรับปรงุ และสง่ เสริมในดา้ นใด นอกจากนี้ยังเปน็ ข้อมลู ให้ผู้สอนใช้ปรับปรงุ การเรียนการสอนของตนด้วย ท้ังนี้ โดยสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนร้แู ละตวั ช้วี ดั 2. การประเมินระดับสถานศกึ ษา เปน็ การประเมนิ ทส่ี ถานศึกษาดาเนินการเพ่ือตัดสินผล การ เรียนของผเู้ รยี นเป็นรายป/ี รายภาค ผลการประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขียน สมรรถนะผเู้ รียน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน นอกจากนเ้ี พือ่ ให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจดั การศกึ ษาของ สถานศกึ ษาว่าส่งผลตอ่ การเรียนรขู้ องผเู้ รยี นตามเป้าหมายหรอื ไม่ ผเู้ รยี นมจี ดุ พัฒนาในด้านใด รวมทงั้ สามารถ นาผลการเรียนของผเู้ รยี นในสถานศกึ ษาเปรียบเทยี บกับเกณฑร์ ะดบั ชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะ เป็นขอ้ มูลและสารสนเทศเพ่ือการปรบั ปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจดั การเรยี นการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทาแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ของสถานศึกษาตามแนวทางการประกนั คุณภาพ การศึกษา และการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศกึ ษา สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ผูป้ กครองและชมุ ชน ขอ้ มลู การประเมินในระดับต่าง ๆ ขา้ งต้น เป็นประโยชนใ์ นการตรวจสอบทบทวนพัฒนาคุณภาพ นักเรียน ที่จะต้องจดั ระบบดแู ลชว่ ยเหลือ ปรบั ปรงุ แกไ้ ข ส่งเสรมิ สนับสนุนเพอ่ื ให้นักเรียนไดพ้ ฒั นาเตม็ ตาม ศักยภาพบนพื้นฐาน ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลท่จี าแนกตามสภาพปัญหาและความตอ้ งการ ได้แก่ กลุ่ม

31 นักเรยี นทั่วไป กลุ่มนกั เรยี นท่ีมีความสามารถพเิ ศษ กลุ่มนักเรยี นทม่ี ผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนต่า กลมุ่ ผูเ้ รียนที่ มีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรม กลมุ่ นกั เรียนท่ีปฏเิ สธโรงเรียน กลุ่มนักเรยี นท่ีมปี ญั หาทางเศรษฐกจิ และ สังคม กล่มุ พกิ ารทางรา่ งกายและสตปิ ัญญา เป็นต้น ขอ้ มลู จากการประเมินจงึ เปน็ หัวใจของสถานศึกษาในการ ดาเนนิ การชว่ ยเหลอื ผู้เรียนได้ทนั ทว่ งทีปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รยี นไดร้ ับการพัฒนาและประสบความสาเร็จในการเรียน สถานศกึ ษาในฐานะผรู้ บั ผดิ ชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทาระเบียบวา่ ดว้ ยการวดั และประเมินผล การเรียนของสถานศกึ ษาให้สอดคล้องและเปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ และแนวปฏบิ ัตทิ ีเ่ ป็นข้อกาหนดของหลักสูตร สถานศกึ ษา เพ่ือให้บุคลากรที่เกี่ยวขอ้ งทกุ ฝ่ายถือปฏิบัตริ ว่ มกัน เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลการเรยี น 1. การตดั สนิ การใหร้ ะดับและการรายงานผลการเรียน 1.1 การตัดสินผลการเรียน ในการตัดสนิ ผลการเรียนของกลุม่ สาระการเรยี นรู้ การอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น สมรรถนะผู้เรยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นน้นั ผสู้ อนต้องคานงึ ถงึ การพฒั นา นกั เรยี นแต่ละคนเปน็ หลกั และตอ้ งเก็บข้อมูลของนักเรยี นทุกด้านอยา่ งสม่าเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมท้ังสอนซ่อมเสรมิ ผู้เรียนให้พฒั นาจนเตม็ ตามศักยภาพ ระดับประถมศึกษา (1) ผเู้ รยี นต้องมเี วลาเรียนไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเวลาเรยี นทงั้ หมด (2) ผเู้ รยี นตอ้ งได้รับการประเมินทกุ ตัวชวี้ ดั และผ่านเกณฑ์ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80 ของจานวน ตวั ชี้วดั (3) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรยี นทุกรายวชิ า ไม่น้อยกวา่ ระดบั “ 1 ” จงึ จะถือวา่ ผ่านเกณฑ์ (4) นักเรยี นต้องไดร้ บั การประเมิน และมผี ลการประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์และเขยี น และ สมรรถนะผู้เรยี นในระดบั “ ผ่าน ” ข้ึนไป มผี ลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ในระดับ“ ผา่ น ” ขึน้ ไป และมผี ลการประเมนิ กจิ กรรมพัฒนานกั เรียน ในระดบั “ ผ่าน ” ระดบั มธั ยมศกึ ษา (1) ตดั สินผลการเรยี นเปน็ รายวิชา ผู้เรียนตอ้ งมีเวลาเรยี นตลอดภาคเรียน ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเวลาเรียนทง้ั หมดในรายวิชานน้ั ๆ (2) นักเรยี นต้องได้รับการประเมินทุกตวั ชี้วัด และผ่านเกณฑ์ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 ของจานวน ตัวชี้วดั (3) นักเรียนต้องไดร้ บั การตดั สินผลการเรียนทกุ รายวชิ า ไม่น้อยกว่าระดบั “ 1 ” จงึ จะถือว่าผา่ นเกณฑ์

32 (4) นกั เรยี นต้องไดร้ บั การประเมนิ และมีผลการประเมนิ การอ่านคดิ วเิ คราะห์และเขยี น และ สมรรถนะผูเ้ รยี นในระดับ “ ผ่าน ” ขึน้ ไป มผี ลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคใ์ นระดบั “ ผ่าน ” ขึน้ ไป และมีผลการประเมนิ กิจกรรมพัฒนานกั เรยี น ในระดบั “ ผ่าน ” การพจิ ารณาเลื่อนชัน้ ท้ังระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ถา้ นกั เรยี นมขี ้อบกพรอ่ งเพยี งเล็กน้อย และพิจารณาเหน็ ว่าสามารถพฒั นาและสอนซ่อมเสรมิ ได้ ใหผ้ อ่ นผันให้เล่อื นชน้ั ได้ แต่หากนักเรียนไมผ่ า่ น รายวิชาจานวนมาก และมแี นวโน้มวา่ จะเป็นปญั หาต่อการเรยี นในระดับชนั้ ทสี่ ูงขึน้ ให้ต้งั คณะกรรมการ พิจารณาให้เรยี นซ้าชัน้ ได้ ทง้ั นี้ใหค้ านึงถึงวฒุ ิภาวะและความร้คู วามสามารถของนักเรยี นเปน็ สาคญั 1.2 การให้ระดับผลการเรียน ระดบั ประถมศกึ ษา ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวชิ า ให้ระดับผลการเรยี นหรือระดับคุณภาพ การปฏบิ ตั ขิ องนักเรยี น เป็นระบบตวั เลขแสดงระดับผลการเรียนเป็น 8 ระดบั ดังน้ี ระดับผลการเรียน ความหมาย ช่วงคะแนนรอ้ ยละ 4 ผลการเรียนดเี ยย่ี ม 80 - 100 3.5 ผลการเรียนดีมาก 75 - 79 3 ผลการเรยี นดี 70 - 74 2.5 ผลการเรียนค่อนข้างดี 65 - 69 2 ผลการเรยี นนา่ พอใจ 60 - 64 1.5 ผลการเรยี นพอใช้ 55 - 59 1 ผลการเรียนผ่านเกณฑ์ข้นั ตา่ 50 - 54 0 ผลการเรยี นตา่ กวา่ เกณฑ์ 0 - 49 การประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขยี น สมรรถนะผู้เรียน และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคน์ ัน้ ให้ ระดบั ผลการประเมินเปน็ ดีเยี่ยม ดี ผ่านและไมผ่ ่าน การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน จะตอ้ งพจิ ารณาทั้งเวลาการเขา้ ร่วมกิจกรรม การปฏบิ ัติ กจิ กรรมและผลงานของผเู้ รยี น ตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากาหนด และให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นผ่าน และไม่ ผ่าน ระดบั มัธยมศึกษา ในการตดั สินเพื่อใหร้ ะดบั ผลการเรียนรายวชิ า ให้ใชต้ ัวเลขแสดงระดับผลการเรยี นเป็น 8 ระดับ ดังนี้

33 ระดบั ผลการเรยี น ความหมาย ชว่ งคะแนนรอ้ ยละ 4 ผลการเรียนดีเย่ียม 80 - 100 3.5 ผลการเรยี นดีมาก 75 - 79 3 ผลการเรยี นดี 70 - 74 2.5 ผลการเรียนคอ่ นข้างดี 65 - 69 2 ผลการเรยี นนา่ พอใจ 60 - 64 1.5 ผลการเรยี นพอใช้ 55 - 59 1 ผลการเรยี นผ่านเกณฑ์ขนั้ ตา่ 50 - 54 0 ผลการเรียนต่ากว่าเกณฑ์ 0 - 49 การประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขียน สมรรถนะผเู้ รียน และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคน์ ้ัน ใหร้ ะดบั ผลการประเมนิ เปน็ ดเี ยีย่ ม ดี ผ่านและไมผ่ า่ น การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น จะต้องพจิ ารณาทั้งเวลาการเขา้ ร่วมกจิ กรรม การปฏบิ ัติ กจิ กรรมและผลงานของผูเ้ รียน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด และใหผ้ ลการเข้ารว่ มกิจกรรมเป็นผา่ น และไม่ ผา่ น 1.3 การรายงานผลการเรียน การรายงานผลการเรยี นเปน็ การสอ่ื สารใหผ้ ู้ปกครองและนักเรยี นทราบความก้าวหนา้ ในการ เรียนรู้ ของนกั เรียน ต้องสรุปผลการประเมนิ และจัดทาเอกสารรายงานใหผ้ ปู้ กครองทราบเป็นระยะ ๆ หรือ อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 คร้ัง การรายงานผลการเรยี นสามารถรายงานเป็นระดบั คณุ ภาพการปฏิบตั ขิ องนกั เรยี นทสี่ ะท้อน มาตรฐานการเรยี นร้กู ลุ่มสาระการเรยี นรู้ 2. เกณฑก์ ารจบการศึกษา หลักสตู รสถานศกึ ษา กาหนดเกณฑ์กลางสาหรบั การจบการศกึ ษาเป็น 2 ระดับ คือ ระดับ ประถมศึกษา และระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ 2.1 เกณฑ์การจบระดบั ประถมศึกษา (1) นักเรยี นเรียนรายวชิ าพื้นฐาน และรายวิชา/กจิ กรรมเพ่ิมเติมตามโครงสร้างเวลาเรียน (2) นกั เรียนต้องมีผลการประเมินรายวชิ าพื้นฐาน ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ตามท่กี าหนด (3) นกั เรยี นมผี ลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน (4) นักเรยี นมีผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคใ์ นระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน

34 (5) นกั เรียนเขา้ รว่ มกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนและมผี ลการประเมินผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ 2.2 เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ (1) นกั เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไมเ่ กิน 81 หนว่ ยกิต โดยเป็นรายวชิ าพืน้ ฐาน 66 หน่วยกติ และรายวิชาเพ่ิมเติมตามที่กาหนด (2) นักเรียนต้องไดห้ นว่ ยกิต ตลอดหลกั สตู รไม่นอ้ ยกวา่ 77 หนว่ ยกติ โดยเปน็ รายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกติ และรายวิชาเพ่ิมเติมไมน่ อ้ ยกว่า 11 หน่วยกิต (3) นักเรยี นมผี ลการประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน สมรรถนะผเู้ รยี น ในระดับผ่าน เกณฑ์การประเมิน (4) นักเรียนมีผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ในระดบั ผ่านเกณฑ์การประเมิน (5) นักเรียนเข้ารว่ มกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นและมผี ลการประเมินผา่ นเกณฑ์การประเมิน สาหรบั การจบการศึกษาสาหรับกลุม่ เป้าหมายเฉพาะ เช่น การศกึ ษาเฉพาะทาง การศึกษาสาหรบั ผมู้ ี ความสามารถพิเศษการศกึ ษาทางเลอื ก การศึกษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศยั ให้ คณะกรรมการของสถานศึกษา ดาเนนิ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรตู้ ามหลกั เกณฑ์ในแนวปฏิบตั ิการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรสถานศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เอกสารหลกั ฐานการศึกษา เอกสารหลกั ฐานการศึกษา เป็นเอกสารสาคัญทบ่ี นั ทึกผลการเรียน ข้อมลู และสารสนเทศ ท่ี เกี่ยวขอ้ ง กับพัฒนาการของผเู้ รยี นในดา้ นต่าง ๆ แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ดังนี้ 1. เอกสารหลกั ฐานการศึกษาท่กี ระทรวงศึกษาธิการกาหนด 1.1 ระเบียนแสดงผลการเรยี น เปน็ เอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรยี นของผู้เรียน ตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขียน ผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ สถานศกึ ษา และผลการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น สถานศกึ ษาจะต้องบันทึกข้อมลู และออกเอกสารนใี้ ห้ ผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล เมื่อผู้เรยี นจบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6) จบการศึกษาภาค บังคับ(ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3) จบการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน(ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6) หรอื เมอ่ื ลาออกจากสถานศึกษา ในทกุ กรณี 1.2 ประกาศนียบัตร เป็นเอกสารแสดงวฒุ กิ ารศึกษาเพ่ือรับรองศักดิ์และสิทธิข์ องผู้จบการศกึ ษา ทสี่ ถานศึกษาให้ไว้แกผ่ จู้ บการศกึ ษาภาคบังคบั และผ้จู บการศึกษาข้ันพ้นื ฐานตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษา ขัน้ พื้นฐาน 1.3 แบบรายงานผู้สาเร็จการศกึ ษา เป็นเอกสารอนุมัติการจบหลกั สตู รโดยบันทึกรายชอื่ และ ขอ้ มลู ของผจู้ บการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6) ผจู้ บการศึกษาภาคบงั คบั (ช้ัน มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3) และผูจ้ บการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน (ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 6)

35 2. เอกสารหลกั ฐานการศึกษาท่ีสถานศึกษากาหนด เป็นเอกสารท่ีสถานศึกษาจดั ทาขน้ึ เพือ่ บันทกึ พฒั นาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมลู สาคัญ เก่ยี วกบั นกั เรยี นดังนี้ 1) แบบรายงานประจาตวั นักเรยี น 2) แบบบนั ทกึ ผลการเรยี นประจารายวชิ า 3) ระเบยี นสะสม 4)ใบรบั รองผลการเรียน 5) เอกสารอ่นื ๆ ตามวัตถปุ ระสงค์ของการนาเอกสารไปใช้ การเทยี บโอนผลการเรียน สถานศึกษาสามารถเทยี บโอนผลการเรียนของนักเรยี นในกรณตี ่างๆได้แก่ การยา้ ยสถานศึกษา การ เปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การยา้ ยหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารบั การศึกษาตอ่ การศึกษาจาก ต่างประเทศและขอเข้าศกึ ษาต่อในประเทศ นอกจากน้ี ยงั สามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จาก แหล่งการเรียนรู้อืน่ ๆ เชน่ สถานประกอบการ สถาบนั ศาสนา สถาบันการฝกึ อบรมอาชีพ การจัดการศึกษาโดย ครอบครวั การเทยี บโอนผลการเรยี นควรดาเนินการในชว่ งก่อนเปดิ ภาคเรยี นแรก หรือต้นภาคเรียนแรกที่ สถานศึกษารับผขู้ อเทยี บโอนเปน็ ผู้เรียน ท้ังน้ี นักเรียนท่ีไดร้ ับการเทียบโอนผลการเรยี นต้องศึกษาต่อเน่ืองใน สถานศกึ ษาทีร่ ับเทียบโอนอย่างนอ้ ย1 ภาคเรยี น โดยสถานศกึ ษาทร่ี บั นักเรียนจากการเทียบโอนควรกาหนด รายวิชา/จานวนหนว่ ยกติ ทีจ่ ะรบั เทียบโอนตามความเหมาะสม การพจิ ารณาการเทียบโอน สามารถดาเนินการได้ ดงั นี้ 1. พจิ ารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอืน่ ๆ ที่ให้ข้อมลู แสดงความรู้ ความสามารถของ ผเู้ รยี น 2. พจิ ารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรยี นโดยการทดสอบดว้ ยวิธกี ารต่าง ๆ ท้ัง ภาคความรู้ และภาคปฏบิ ัติ 3. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัตใิ นสภาพจริง การเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตาม ประกาศ หรอื แนวปฏิบตั ิ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร การบรหิ ารจัดการหลกั สตู ร 1. การบรหิ ารงานวิชาการ โรงเรยี นสวนปา่ เขาชะอางค์ มีคณะกรรมการบรหิ ารวิชาการประกอบดว้ ย ผอู้ านวยการ โรงเรียน รองผอู้ านวยการโรงเรียน หัวหนา้ งานวชิ ากา หัวหน้าระดับช้นั ป. 1 – 3 หัวหนา้ ระดบั ชั้น ป.4 – 6 หวั หนา้ ระดบั ชนั้ ม.1 – 3 หวั หน้าระดับชนั้ อนุบาล หัวกลมุ่ สาระ 8 กล่มุ สาระ ครูฝ่ายงานทะเบียนวชิ าการ ครฝู า่ ยงานกิจกรรมนกั เรยี น ประธานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน เป็นคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ของโรงเรียน โดยอยภู่ ายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียน ซง่ึ ประกอบ ไปด้วยผทู้ รงคณุ วฒุ ิในชุมชน และตัวแทนผ้ปู กครองนักเรยี น ในสว่ นการบริหารงานวชิ าการในแต่ละระดับชั้น หวั หน้าระดับชนั้ และหัวหนา้ กล่มุ สาระเปน็ ผู้ดาเนนิ การรว่ มกับครปู ระจาชั้นและครูประจาวชิ ามกี ารกาหนด

36 แผนปฏิบตั งิ านวิชาการ และงานกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียนอย่างชดั เจน เพือ่ ให้การใช้หลกั สตู รมปี ระสิทธิภาพ ยิ่งข้นึ จงึ กาหนดกจิ กรรมดา้ นวิชาการ และกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ดังนี้ 1.1 โครงการตามแผนพฒั นาประจาปีของโรงเรยี น โรงเรียนไดจ้ ดั ทาโครงการต่าง ๆ ซ่ึงไดจ้ ัดทาขึน้ เพ่อื สนองยทุ ธศาสตร์การบรหิ ารของโรงเรียน เช่น โครงการวิจยั และพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา โครงการ สง่ เสริมการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนทเ่ี น้นผ้เู รียนเปน็ สาคญั 1.2 กจิ กรรมสง่ เสริมการเรียนรู้กล่มุ สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ มีดังนี้ โครงการความเป็นเลิศทางวชิ าการ โครงการนกั เรียนใฝร่ ูใ้ ฝ่เรียนและรกั การอา่ น โครงการพัฒนา แหลง่ เรยี นรู้และสภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการเรยี นแบบบรู ณาการโครงการเรียนรู้สโู่ ลกกวา้ งโครงการเสริมสร้าง และพัฒนาอนามยั สว่ นบคุ คลของนักเรยี น โครงการความเปน็ เลิศทางวชิ าการ 2. การบรหิ ารท่ัวไป คณะกรรมการบรหิ ารงานท่ัวไป ประกอบดว้ ย ผอู้ านวยการโรงเรยี น รองผ้อู านวยการ โรงเรียน หัวหน้างานบริหารทวั่ ไป ดแู ลในเร่อื งของงานบรหิ าร งานอาคารสถานทแ่ี ละสง่ิ แวดลอ้ ม งาน ชมุ ชนสัมพนั ธ์ งานอนามัย งานสาธารณปู โภคและงานดแู ลนักเรียน ซึง่ แตล่ ะฝ่ายมีแผนปฏบิ ตั งิ านดาเนนิ การ ในรปู ของคณะกรรมการ 3. การบริหารงานบคุ คลากร คณะกรรมการบรหิ ารบุคคลประกอบดว้ ย ผู้อานวยการโรงเรยี น รองผูอ้ านวยการโรงเรียน หวั หนา้ งานบคุ ลากร หวั หน้างานวิชาการ หวั หน้างานบรหิ ารทวั่ ไป หัวหน้างานธุรการและการเงิน หวั หนา ระดันชนั้ เรียน และหัวหน้ากล่มุ สาระ โดยทาหน้าทสี่ ่งเสริมและสนับสนุนในด้านการพัฒนาบุคลากรใน โรงเรียนให้ปฏบิ ัติหนา้ ทต่ี ามความสามารถและความถนดั รวมทัง้ การสง่ บุคลากรเข้าร่วมประชุมสัมมนา อบรมพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน ดูงานท่ีเกย่ี วข้องกับการพัฒนาวิชาการอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนการ สนบั สนนุ บคุ ลากรให้มีความก้าวหน้าในวชิ าชพี ในการทาผลงานวิชาต่าง ๆ 4. การบรหิ ารงบประมาณ คณะกรรมการบรหิ ารงบประมาณ ประกอบดว้ ย ผ้อู านวยการโรงเรยี น รองผูอ้ านวยการ โรงเรียน งานพสั ดคุ รภุ ณั ฑ์ งานธุรการการเงิน หวั หนา้ ระดบั ชน้ั หวั หนา้ กล่มุ สาระซง่ึ แต่ละงานมีการ ปฏิบัติงานในรูปของคณะกรรมการเงินท่ีได้รับจดั สรรใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อการพัฒนาวิชาการ กาเรียนการสอนมี การวางแผนจดั ทางบประมาณรายรบั รายจ่ายมกี ารใชเ้ งนิ ตามแผนพฒั นาประจาปีอยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยมี การตรวจสอบ บัญชีจากผูต้ รวจสอบบญั ชขี องสานักงานเขตพนื้ ท่ีอยา่ งสม่าเสมอ และมีการจดั ทารายงานการ ใช้จ่ายงบประมาณต่อหน่วยงานต้นสงั กัดเป็นประจาทุกเดือน 5. อืน่ ๆ 5.1 กาประเมินการใช้หลักสตู รเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารหลักสตู ร เพือ่ ใหก้ ารใชห้ ลกั สตู ร เป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ โรงเรียนจึงกาหนดแนวทางการประเมนิ การใช้หลักสูตร ดังน้ี 5.1.1 ประเมินการใช้หลกั สูตร

37 5.1.2 ประเมินระหวา่ งการใช้หลกั สตู ร 5.1.3 ประเมินหลังการใชห้ ลักสูตร การประเมินก่อนการใชห้ ลักสูตรโรงเรยี นสวนปา่ เขาชะอางค์ ดาเนนิ การโดยให้คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ตลอดจนครูผู้สอนของกลมุ่ สาระการเรียนรู้เป็นผ้ปู ระเมินหลกั สูตรในด้านโครงสรา้ ง ของหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ คาอธบิ ายรายวชิ า ตวั ช้ีวดั การเรียนรู้ วางแผนการจัดการเรียนรู้ และ การวดั ผลและประเมินผลเพื่อตรวจสอบความชัดเจนถูกตอ้ งและสมบูรณต์ ามหลกั การของการจดั ทาหลักสูตร นาผลทไี่ ดม้ าปรับปรุงแก้ไขสว่ นท่บี กพร่องเพ่อื ให้มีความสมบูรณก์ อ่ นนาหลกั สูตรไปใช้ การประเมินระหวา่ งการใชห้ ลกั สตู รจะมีการประเมนิ ควบคู่ไปกบั การปรบั ปรงุ แก้ไข การประเมินหลังการใชห้ ลกั สูตรเป็นการประเมินเพ่ือสรปุ ผลการใช้หลักสตู รของโรงเรียนทุกๆด้าน 5.2 การผลิตส่อื การเรียนรู้ และการประเมนิ การใช้สือ่ การเรียนรู้ โรงเรียนสวนปา่ เขาชะอางค์ กาหนดหลักการและแนวคิดในการผลติ สอื่ การเรียนรู้ดังนี้ 5.2.1 เปน็ สอื่ การเรียนรทู้ ีเ่ กิดจากการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ของครหู รือนกั เรียน 5.2.2 เป็นสอ่ื การเรียนรู้ทคี่ รูและนักเรยี นชว่ ยกนั วางแผนจัดทา และพัฒนาขึ้นใชใ้ นการ เรียนการสอนรว่ มกนั 5.2.3 รูปแบบของส่ือการเรียนการสอนต้องหลากหลาย และสอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ ธรรมชาติของกลุ่มสาระการเรียนรแู้ ละศกั ยภาพ ทั้งนส้ี อื่ การเรยี นรทู้ ีน่ ามาใช้ในการจัดการเรียน มีท้ังส่ือใกล้ตัว สือ่ ธรรมชาติ ส่อื ส่งิ พิมพ์ สอื่ เทคโนโลยี และสอ่ื อืน่ ๆ สว่ นการประเมินการใชส้ ่ือการเรียนรู้ ประเมินจากบนั ทกึ ผลการใชส้ ื่อการเรียนรู้ ในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนในแตล่ ะครัง้ แล้วนาผลการประเมนิ มาปรับปรงุ แก้ไขโดยครผู ้สู อน ครู หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และงานวชิ าการดาเนินรว่ มกัน 5.3 การประกันคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนจัดให้มีระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษา เพ่ือ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทุกระดับชั้นและงานทกุ งานของโรงเรียน ซึ่งการประกนั คุณภาพน้ี ประกอบ ด้วยระบบประกนั คุณภาพภายใน ระบบประกนั คณุ ภาพภายนอก 5.3.1 ระบบประกนั คุณภาพภายใน โรงเรียนไดด้ าเนนิ การให้เป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการบริหารการศกึ ษาอย่างต่อเน่ือง โดยมี การจัดทารายงานคุณภาพการศึกษาประจาทุกปี เพ่ือนาเสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ครู นกั เรียน ผู้ปกครอง และชมุ ชน ซ่งึ นาไปสกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา และการรบั รองการ ประกันคุณภาพภายนอก 5.3.2 ระบบการประกันคุณภาพภายนอก โรงเรียนมกี ระบวนการบริหารการศึกษา โดยคานึงถึงมาตรฐานวิชาการในกรอบหลกั สตู ร และเกณฑม์ าตรฐานการศึกษา และโรงเรียนไดผ้ า่ นการประเมนิ จากหน่วยงานรบั รองมาตรฐาน และประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาในรอบสองแลว้ และโรงเรียนได้เตรียมพร้อมที่จะเขา้ รับการประเมนิ ในรอบต่อไป

38 อภิธานศพั ท์ สาระที่ 1 การดารงชีวิตและครอบครวั กระบวนการกล่มุ กระบวนการในการทางานกลุ่ม มขี ั้นตอน ดงั นี้ การเลอื กหวั หนา้ กลุ่ม การกาหนดเป้าหมาย หรือ วัตถปุ ระสงค์ของงาน วางแผนการทางาน แบ่งงานตามความสามารถของแต่ละบุคคล ปฏบิ ตั ิตามบทบาท หนา้ ท่ี ประเมนิ ผล และปรบั ปรุงการทางาน การดารงชีวิต เปน็ การทางานในชวี ิตประจาวันเพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน และสังคม ทวี่ า่ ดว้ ย งาน บา้ น งานเกษตร งานช่าง งานประดษิ ฐ์ งานธรุ กิจ และงานอ่นื ๆ การทางานเพือ่ การดารงชวี ติ เปน็ การทางานทจี่ าเป็นเกีย่ วกบั ความเป็นอยูใ่ นชีวติ ประจาวัน ช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และสงั คมได้ในสภาพเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ทาลายส่งิ แวดล้อม เนน้ การปฏิบัติจริงจนเกดิ ความมั่นใจ และ ภมู ิใจในผลสาเร็จของงาน เพื่อให้คน้ พบความสามารถ ความถนดั และความสนใจของตนเอง คุณธรรม จรยิ ธรรม เจตคติ และลกั ษณะนสิ ัยในการทางาน ประกอบด้วย ความซื่อสัตย์ เสยี สละ ยตุ ธิ รรม ประหยดั ขยัน อดทน รับผดิ ชอบ ตรงเวลา รอบคอบ ปลอดภยั คมุ้ ค่า ย่ังยืน สะอาด ประณตี มเี หตผุ ล มีมารยาท ชว่ ยเหลอื ตนเอง ทางานบรรลุ เป้าหมาย ทางานถูกวิธี ทางานเป็นขัน้ ตอน ทางานเปน็ ระบบ มีความคิดสรา้ งสรรค์ มีประสิทธิภาพ รกั ษาสิ่งแวดล้อม ฯลฯ ทกั ษะกระบวนการแกป้ ญั หา เป็นกระบวนการทตี่ ้องการให้ผ้เู รยี นได้เกิดความคิดหาวิธีการแก้ปัญหาอย่างมีขน้ั ตอน การสงั เกต การวเิ คราะห์ การสรา้ งทางเลอื ก และการประเมินทางเลือก ทกั ษะการจัดการ ความพยายามของบุคคลทจี่ ะจัดระบบงาน (ทางานเปน็ รายบุคคล) และจัดระบบคน (ทางาน เป็น กลมุ่ ) เพ่ือให้ทางานสาเรจ็ ตามเป้าหมายอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

39 ทกั ษะกระบวนการทางาน การลงมอื ทางานดว้ ยตนเอง โดยม่งุ เนน้ การฝกึ วิธีการทางานอย่างสมา่ เสมอ ท้งั การทางาน เปน็ รายบุคคล และการทางานเป็นกลุม่ เพื่อใหส้ ามารถทางานไดบ้ รรลเุ ป้าหมาย ได้แก่ การวิเคราะห์งาน การวางแผนในการทางาน การปฏิบัตงิ าน และการประเมนิ ผลการทางาน ทกั ษะการทางานร่วมกนั การทางานเปน็ กลุ่ม สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข โดยมุ่งเน้นใหผ้ ูเ้ รยี น ได้ทางาน อยา่ งมีกระบวนการตามขัน้ ตอนการทางาน และฝึกหลักการทางานกลมุ่ โดยรู้จกั บทบาทหนา้ ที่ภายในกลมุ่ มี ทักษะในการฟงั - พูด มคี ุณธรรมในการทางานร่วมกัน สรุปผล และนาเสนอรายงาน ทักษะการแสวงหาความรู้ วิธีการและกจิ กรรมท่มี ุ่งเนน้ ให้ผูเ้ รียนได้แสวงหาขอ้ มลู ความรตู้ ่าง ๆ เกย่ี วกบั เร่ืองหรือเนื้อหา นัน้ ๆ ไดแ้ ก่ การศกึ ษาคน้ คว้า การรวบรวม การสังเกต การสารวจ และการบันทึก สาระท่ี 2 การอาชพี การจาลองอาชพี เปน็ การจัดกิจกรรมเพอ่ื การเรียนรเู้ ก่ียวกับอาชีพทส่ี ถานศกึ ษาจดั ทาให้เสมือนจริงเพือ่ ให้ผเู้ รยี น มี ทกั ษะการทางานอาชีพ เหน็ คณุ ค่าของงานอาชพี สจุ ริต และเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ เชน่ การจดั นิทรรศการ บทบาทสมมติ ฯลฯ การประเมนิ ทางเลือกอาชีพ เป็นการร้จู ักตนเองดา้ นความรู้ ความสามารถ ทัศนคติ ศักยภาพ วสิ ัยทศั น์ แนวโนม้ ดา้ นอาชีพ ท่ีต้องการของตลาดแรงงาน ทเ่ี หมาะสมกับความสนใจ ความถนดั และทักษะทางด้านอาชีพ ก่อนตัดสินใจ เลอื กอาชพี การอาชพี เป็นสาระที่เกย่ี วข้องกบั ทักษะท่ีจาเปน็ ต่ออาชีพ เหน็ ความสาคัญของคุณธรรม จรยิ ธรรม และเจต คติที่ดตี ่ออาชีพ ใช้เทคโนโลยไี ดเ้ หมาะสม เหน็ คณุ ค่าของอาชพี สจุ รติ และเหน็ แนวทาง ในการประกอบ อาชพี ทักษะทจ่ี าเป็นตอ่ อาชีพ ประกอบด้วย ทกั ษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ ทกั ษะกระบวนการแก้ปญั หา ทักษะ การทางานร่วมกนั และทักษะการแสวงหาความรู้

40 ประสบการณ์ในอาชีพ เป็นการจัดให้ผูเ้ รียนได้เรียนรู้ ได้เห็น และได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมท่ีเกี่ยวกับอาชพี ท่ีตนเองถนัดและ สนใจ สถานการณแ์ รงงาน ประกอบดว้ ย การมีงานทา การจา้ งงาน การคุ้มครองแรงงาน และการประกันสงั คม ทั้งใน ปัจจุบนั และอนาคต

ภาคผนวก

หนงั สือที่ ศธ 04010 / ว1228 เร่อื ง ซักซอ้ มความเข้าใจเก่ยี วกบั แนวปฏิบัติการนับเวลาเรียน การสอนชดเชย การจดั การเรียนรตู้ าม หลักสูตรปกี ารศกึ ษา 2564 และการอนุมตั ิจบการศึกษาภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 (หลงั วันที่ 15 พฤษภาคม 2564) ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2564 สแกนที่น่ี เพื่ออา่ นเอกสาร หนงั สอื ศธ 04010/ว1228

โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรียนสวนปา่ เขาชะอางค์ พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสูตรโรงเรยี นสวนป่าเขาชะอางค์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ 2560 ) ปรับปรงุ พ.ศ. 2563

โครงสร้างหลักสตู รโรงเรียนสวนป่าเขาชะอางค์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) (ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๓) เวลาเรียน (หนว่ ยกติ ) กลุ่มสาระการเรยี นรู้ / กจิ กรรม ประถมศึกษา ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 รายวชิ าพ้นื ฐาน ภาษาไทย 200 (5.0) 200 (5.0) 200 (5.0) 160 (4.0) 160 (4.0) 160 (4.0) คณติ ศาสตร์ 200 (5.0) 200 (5.0) 200 (5.0) 160 (4.0) 160 (4.0) 160 (4.0) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80 (2.0) 80 (2.0) 80 (2.0) 80 (2.0) 80 (2.0) 80 (2.0) สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 (2.0) 80 (2.0) 80 (2.0) 80 (2.0) 80 (2.0) 80 (2.0) ประวัตศิ าสตร์ 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 80 (2.0) 80 (2.0) 80 (2.0) ศลิ ปะ 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 80 (2.0) 80 (2.0) 80 (2.0) การงานอาชีพ 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 80 (2.0) 80 (2.0) 80 (2.0) ภาษาองั กฤษ 120 (3.0) 120 (3.0) 120 (3.0) 80 (2.0) 80 (2.0) 80 (2.0) รวมเวลาเรยี น (พ้ืนฐาน) 840 (21.0) 840 (21.0) 840 (21.0) 840 (21.0) 840 (21.0) 840 (21.0) รายวิชาเพิ่มเตมิ หน้าทพ่ี ลเมือง 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) รวมเวลาเรียน (เพ่มิ เตมิ ) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) รวมเวลาเรยี น (พื้นฐาน+เพมิ่ เตมิ ) 880 (22.0) 880 (22.0) 880 (22.0) 880 (22.0) 880 (22.0) 880 (22.0) กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน 120 (3.0) 120 (3.0) 120 (3.0) 120 (3.0) 120 (3.0) 120 (3.0) 1. แนะแนว 40 40 40 40 40 40 2. กจิ กรรมนักเรยี น - ลูกเสือ-เนตรนารี 40 40 40 40 40 40 - ชุมนุม 40 40 40 40 40 40 - กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 20* 20* 20* 20* 20* 20* รวมเวลาเรียนต่อปี 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 หมายเหตุ - กิจกรรม “ลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้” จัดกจิ กรรมพัฒนา 4H จานวน 200 ช่วั โมง รวมเป็น 100 ชั่วโมง/ภาคเรยี น - กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 20* ช.ม. ใหน้ กั เรียนทากิจกรรมบรู ณาการนอกตารางเรยี น

โครงสรา้ งหลักสูตรโรงเรยี นสวนป่าเขาชะอางค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๓) เวลาเรยี น (หนว่ ยกิต) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ / กิจกรรม ม.1 ม.2 ม.3 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 รายวิชาพืน้ ฐาน ภาษาไทย 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) คณติ ศาสตร์ 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) -วิทยาการคานวณ 20 (0.5) - - 20 (0.5) - 20 (0.5) -การออกแบบและเทคโนโลยี - 20 (0.5) 20 (0.5) - 20 (0.5) - สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) ประวัตศิ าสตร์ 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) ศิลปะ 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) การงานอาชีพ 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) 40 (1.0) ภาษาองั กฤษ 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) รวมเวลาเรียน (พนื้ ฐาน) 460(11.5) 460(11.5) 460(11.5) 460(11.5) 460(11.5) 460(11.5) รายวชิ าเพ่มิ เติม คณติ ศาสตร์เพิม่ เติม 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) ดนตรี - นาฏศลิ ป์ 20 (0.5) 20 (0.5) - - -- หน้าทพี่ ลเมือง 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) ภาษาองั กฤษเสรมิ ทกั ษะ 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) 20 (0.5) โครงงานวิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน - - 20 (0.5) - - - โครงงานวิทยาศาสตร์ - - - 20 (0.5) - - เกษตรพอเพยี ง - - - - 20 (0.5) 20 (0.5) การเขยี น - - - - 20 (0.5) 20 (0.5) รวมเวลาเรยี น (เพมิ่ เตมิ ) 80 (2.0) 80 (2.0) 80 (2.0) 80 (2.0) 100 (2.5) 100 (2.5) รวมเวลาเรียน (พน้ื ฐาน+เพ่มิ เตมิ ) 540 (13.5) 540 (13.5) 540 (13.5) 540 (13.5) 560(14) 560(14) กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 60 (1.5) 1. แนะแนว 20 20 20 20 20 20 2. กิจกรรมนกั เรยี น - ลกู เสอื -เนตรนารี 20 20 20 20 20 20 - ชมุ นุม 20 20 20 20 20 20 - กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ 20* 20* 20* 20* 20* 20* รวมเวลาเรียนต่อภาคเรยี น 600 (13.5) 600 (13.5) 600 (13.5) 600 (13.5) 620 (14.0) 620 (14.0) รวมเวลาเรียนตอ่ ปี 1,200 1,200 1,240 กิจกรรมลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้ 4H* 120 120 120 120 120 120 รวมเวลาเรียนและกิจกรรมต่อปี 1,440 1,440 1,480 หมายเหตุ - กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 20* ช.ม. ใหน้ ักเรียนทากิจกรรมบูรณาการนอกตารางเรียน

โครงสร้างหลกั สูตรโรงเรียนสวนป่าเขาชะอางค์ ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (แผนการเรียน วิทย์-คณิต) เวลาเรยี น (หนว่ ยกติ ) กลุ่มสาระการเรียนรู้/ ม.4 ม.5 ม.6 กจิ กรรม ภาคเรยี นที่1 ภาคเรยี นที่2 ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรียนท่ี2 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี2 พฐ. พต. พฐ. พต. พฐ. พต. พฐ. พต. พฐ. พต. พฐ. พต. กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย 40(1.0) - 40(1.0) - 40(1.0) - 40(1.0) - 40(1.0) - 40(1.0) - - ภาษากบั วฒั นธรรมทอ้ งถิ่น - - - - - - - - - - - 40(1.0) คณิตศาสตร์ 60(1.5) 60(1.5) 60(1.5) 60(1.5) วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 40(1.0) 40(1.0) 40(1.0) 40(1.0) 40(1.0) 60(1.5) 40(1.0) 60(1.5) - วทิ ย์กายภาพ1/ (ฟสิ กิ ส)์ - วทิ ย์กายภาพ2/ (เคมี) - 60(1.5) - 60(1.5) 60(1.5) 60(1.5) - 60(1.5) - 80(2.0) - 80(2.0) - วทิ ย์ชวี ภาพ/ (ชีววทิ ยา) - วิทย์โลกและอวกาศ (โลกฯ) - 60(1.5) - 60(1.5) - 60(1.5) 60(1.5) 60(1.5) - 60(1.5) - 60(1.5) - วิทยาการคานวณ - ออกแบบและเทคโนโลยี 40(1.0) 60(1.5) - 60(1.5) - 60(1.5) - 60(1.5) - 60(1.5) - 60(1.5) สงั คมศกึ ษาฯ - ประวตั ิศาสตร์ - --- ---- 60(1.5) - - 40(1.0) - หน้าทพี่ ลเมอื ง สุขศึกษาและพลศึกษา - - 20(0.5) - - - 20(0.5) - ---- ศลิ ปะ การงานอาชีพ 20(0.5) - - - 20(0.5) - - -- - การงานอาชพี (สง่ิ ทอ) - ฝกึ ประสบการณง์ านอาชีพ 40(1.0) - 40(1.0) - 40(1.0) - 40(1.0) - 40(1.0) - 40(1.0) - - เกษตรเศรษฐกจิ พอเพยี ง ภาษาอังกฤษ 20(0.5) - 20(0.5) - 20(0.5) - 20(0.5) - ---- - ภาษาจนี - ภาษาองั กฤษ ฟงั - พูด - 20(0.5) - 20(0.5) - 20(0.5) - 20(0.5) ---- รวมหน่วยกติ รวมหน่วยกติ /ภาคเรียน 20(0.5) - 20(0.5) - 20(0.5) - 20(0.5) - 20(0.5) - 20(0.5) - รวมเวลาเรยี น(หนว่ ยกิต)/ปี 20(0.5) - 20(0.5) - 20(0.5) - 20(0.5) - 20(0.5) - 20(0.5) - 20(0.5) - 20(0.5) - 20(0.5) - 20(0.5) - 20(0.5) - 20(0.5) - - - - 60(1.5) ---- - -- - --- ---- - 60(1.5) - - - --- ---- - - 40(1.0) 40(1.0) - 40(1.0) - 40(1.0) - 40(1.0) - 40(1.0) - 40(1.0) - - 20(0.5) - 20(0.5) - 20(0.5) - 20(0.5) --- - - 40(1.0) - 40(1.0) - 40(1.0) - 40(1.0) ---- 8.0 8.0 6.5 9.5 8.0 8.0 8.0 8.0 7.0 7.5 5.5 9.0 640(16.0) 640(16.0) 640(16.0) 640(16.0) 580(14.5) 580(14.5) 1,280(32.0) 1,280(32.0) 1,160(29.0)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook