Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิปัญญา4ภาค

ภูมิปัญญา4ภาค

Published by Kultida Seenual, 2021-04-03 10:30:29

Description: ภูมิปัญญา4ภาค

Search

Read the Text Version

ภมู ปิ ัญญาไทย 4 ภาค นางสาว กุลธดิ า สีนวล เลขที่25 ม.5/4

ภมู ปิ ญั ญาภาคกลาง

ประเพณีรับบัว ประเพณรี บั บวั เป็นประเพณเี กา่ แกส่ บิ ทอดกนั มาแต่ โบราณ ของชาวอาเภอบางพลี จังหวดั สมทุ รปราการ โดยจัดงานทกุ วนั ขน้ึ 14 ค่า เดอื น 11 ของทกุ ปี โดยใน สมัยกอ่ น อาเภอบางพลี มีประชาชนอาศยั อยแู่ บง่ เป็น 3 กลุ่ม คอื คนไทย คนลาว และคนรามัญ (ชาวมอญ พระประแดง) ทุกกลมุ่ ชนตา่ งทามาหากนิ และอยรู่ ว่ มกนั อย่างอบอนุ่ เสมือนญาตมิ ติ ร

เครอื่ งเบญจรงค ์ งานศลิ ป์ ชน้ั สงู ดว้ ยฝี มอื เชงิ ชา่ งทางดา้ นหตั ถกรรมเบญจ รงคท์ สี่ ง่ั สมมานาน จากรนุ่ ส่รู นุ่ ผ่านมาหลายสมยั กลบั ยงิ่ ทางานหตั ถกรรมเบญจรงคพ์ ฒั นาไปส่ตู ลาดสากลไดอ้ ย่าง รวดเรว็ ดว้ ยคณุ คา่ ในตวั ผลติ ภณั ฑเ์ องทมี่ สี ว่ นผสมของ ทองคา และ คณุ คา่ ทางดา้ นงานศลิ ปะชน้ั สงู ทหี่ าประเทศใด ในโลกเทยี บเคยี งได ้ วตั ถปุ ระสงคใ์ นการผลติ ในปัจจบุ นั จะแตกตา่ งกบั การผลติ ในสมยั กอ่ น ในสมยั โบราณนั้น จะผลติ ใชก้ นั แตใ่ น ชนชน้ั สงู แตใ่ นปัจจบุ นั เครอื่ งเบญจรงคข์ องไทย ก็เป็ นทไี่ ดร้ บั ความ นิยม จากทง้ั ชาวไทย และ ชาวตา่ งชาติ ไม่วา่ จะซอื้ ไปใช ้ สาหรบั ตกแตง่ บา้ นเรอื น หรอื นาไปใชเ้ พอื่ เป็ น ของขวญั ของชารว่ ย ของทรี่ ะลกึ

ประเพณีลงแขกเกยี่ วขา้ ว ประเพณีลงแขกเกยี่ วขา้ ว เป็ นประเพณีทเี่ จา้ ของ นาจะบอกเพอื่ นบา้ นใหร้ วู ้ ่าจะเกยี่ วขา้ วเมอื่ ใด และเมอื่ ถงึ วนั ทกี่ าหนดเจา้ ของนาก็จะตอ้ งปักธงทที่ นี่ าของตน เพอื่ ใหเ้ พอื่ นบา้ นหรอื แขกทรี่ จู ้ ะไดม้ าชว่ ยเกยี่ วได ้ ถกู ตอ้ งทงั้ นีเ้ จา้ ของนาจะตอ้ งจดั เตรยี มอาหาร คาว หวาน สรุ า บหุ รี่ นา้ ดมื่ ไวร้ องรบั ดว้ ย และในการขณะ เกยี่ วขา้ วก็จะมกี ารละเลน่ รอ้ งเพลงเกยี่ วขอ้ งระหวา่ ง หนุ่มสาวเป็ นทสี่ นุกสนานและเพลดิ เพลนิ เพอื่ คลาย ความเหน็ดเหนื่อยได ้

ภมู ปิ ญั ญาภาคเหนอื

ประเพณียเี่ ป็ ง ประเพณียเี่ ป็ ง เป็ นประเพณีลอยกระทงตามประเพณีลา้ นนาทจี่ ดั ทาขนึ้ ในวนั เพ็ญเดอื น ของชาวลา้ นนา ยเ่ี ป็ ง เป็ นภาษาคาเมอื งในภาคเหนือ คาวา่ ย่ี แปลวา่ สอง และคาวา่ เป็ ง ตรงกบั คาวา่ เพ็ญ หรอื พระจนั ทรเ์ต็มดวง ซง่ึ ชาวไทยในภาคเหนือจะนับเดอื นทางจนั ทรคติ เรว็ กวา่ ไทยภาคกลาง เดอื น ทาให ้ เดอื นสบิ สองของไทยภาคกลาง ตรงกบั เดอื นยี่ หรอื เดอื น ของไทยลา้ นนา ประเพณียเี่ ปงจะเรม่ิ ตงั้ แต่ วนั ขนึ้ คา่ ซงึ่ ถอื วา่ เป็ น วนั ดา หรอื วนั จา่ ยของเตรยี มไป ทาบญุ เลยี้ งพระทว่ี ดั ครน้ั ถงึ วนั ขนึ้ คา่ พอ่ อยุ ้ แม่อยุ ้ และผูม้ ศี รทั ธากจ็ ะพากนั ไปถอื ศลี ฟัง ธรรม และทาบุญเลยี้ งพระทวี่ ดั มกี ารทากระทงขนาดใหญต่ ง้ั ไวท้ ล่ี านวดั ในกระทงนั้นจะใสข่ อง กนิ ของใช ้ ใครจะเอาของมารว่ มสมทบดว้ ยก็ไดเ้ พอ่ื เป็ นทานแกค่ นยากจน ครน้ั ถงึ วนั ขนึ้ ค่า จงึ นากระทงใหญท่ วี่ ดั และกระทงเล็ก ๆ ของสว่ นตวั ไปลอยในลานา้

ขนั โตก ขนั โตก ไดช้ อื่ วา่ เป็ นภาชนะทใี่ สอ่ าหารคาวหวานไว ้ รบั ประทานของคนลา้ นนา เป็ นเครอื่ งแสดงออกถงึ หนา้ ตา อย่างหนึ่ง โดยเฉพาะเมอื่ มแี ขกจากตา่ งถนิ่ มาเยยี่ มเยอื นที่ บา้ น เป็ นธรรมเนียมของเจา้ ของบา้ นทจี่ ะตอ้ งเชอื้ เชญิ แขก ผูม้ าเยอื นรว่ มวงรบั ประทานอาหาร จนมคี ากลา่ วทวี่ า่ กนั วา่ ถา้ ใครมาเยอื นเมอื งเหนือแลว้ ไม่ไดร้ บั ประทานอาหาร ขนั โตก ก็ยงั ไม่นับวา่ มาถงึ เมอื งเหนือโดยแท ้

พธิ บี วชตน้ ไม้ พระครมู านัสนทพี ทิ กั ษ ์ เจา้ คณะอาเภอแม่ใจ จงั หวดั พะเยา ไดค้ ดิ พธิ บี วชตน้ ไมข้ นึ้ เพอ่ื ตอ้ งการยบั ยง้ั การลกั ลอบตดั ไมท้ าลายป่ าและเพอ่ื เป็ นกศุ โลบายหา้ มมใิ หค้ นตดั ไมท้ าลายป่ า ตน้ ไมต้ น้ ใดทผี่ ่านการบวชแลว้ ชาวบา้ นจะไม่ตดั เด็ดขาด เจา้ คณะอาเภอแม่ใจจงึ ไดน้ าพธิ บี วช ตน้ ไมม้ าดาเนินการ เพอื่ ป้ องกนั การลกั ลอบตดั ไมท้ าลายป่ า โดยเฉพาะป่ าบรเิ วณตน้ นา้ ลาธาร ซงึ่ พธิ กี รรมดงั กลา่ ว ไดเ้ ผยแพรไ่ ปสสู่ าธารณชน อยา่ งไรก็ตามชาวอาเภอแม่ใจกต็ ระหนักและ มคี วามเชอ่ื วา่ พญาตน้ ไมท้ ผี่ ่านการบวชแลว้ จะคมุ ้ ครองรกั ษาตน้ ไมต้ า่ ง ๆ ในบรเิ วณนั้น ซง่ึ จะ มผี ลทาใหน้ า้ ไม่แหง้ ฝนตกตอ้ งตามฤดกู าล ถอื เป็ นการยบั ยงั้ การทาลายธรรมชาตแิ ละชว่ ย อนุรกั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม พรอ้ มทง้ั รกั ษาป่ าไมท้ เี่ ป็ นตน้ นา้ ลาธารใหอ้ ดุ มสมบูรณ์ และทสี่ าคญั คอื สรา้ งความสานึกใหแ้ กช่ มุ ชนในการดแู ลรกั ษาสภาพธรรมชาติ

ภมู ปิ ญั ญาภาคอสี าน

ประเพณี บุญบงั้ ไฟ ประเพณี บุญบง้ั ไฟ เป็ นประเพณีสาคญั ของภาค อสี านบา้ นเราทปี่ ฏบิ ตั สิ บื ทอดกนั มาตงั้ แตส่ มยั โบราณ คะ่ ถอื เป็ นหนึ่งในฮตี สบิ สองเดอื นของชาวอสี านทที่ า กนั ในเดอื น ชว่ งเขา้ สฤู่ ดฝู นซงึ่ เป็ นฤดทู านา จะมี การจดุ บงั้ ไฟเพอื่ บชู าเทพยดา และสงิ่ ศกั ดสิ ์ ทิ ธิ ์ ทง้ั หลาย หรอื ทชี่ าวอสี านเรยี กกนั วา่ พญา แถน หรอื เทพวสั สกาลเทพบุตร ซงึ่ มคี วามเชอื่ วา่ พระยาแถนมหี นา้ ทคี่ อยดแู ลใหฝ้ นตกถกู ตอ้ งตาม ฤดกู าล และทาใหพ้ ชื พนั ธธุ ์ ญั ญาหารอดุ มสมบรู ณ์

ผา้ ซนิ่ ผา้ ซนิ่ นับเป็ นความภาคภมู ใิ จอย่างหนึ่งของหญงิ ไทย ในสมยั โบราณ การทอผา้ เป็ นงานในบา้ น ลกู ผูห้ ญงิ มี หนา้ ทที่ อผา้ แม่จะสง่ั สอนใหล้ กู สาวฝึ กทอผา้ จน ชานาญ แลว้ ทอผา้ ผนื งามสาหรบั ใชใ้ นโอกาสพเิ ศษ เชน่ งานแตง่ งาน งานบวช หรอื งานบญุ ประเพณีตา่ ง ๆ การนุ่งผา้ ซนิ่ ของผูห้ ญงิ จงึ เป็ นเหมอื นการแสดงฝี มอื ของตนใหป้ รากฏ ผา้ ซนิ่ ทที่ อไดส้ วยงาม มฝี ี มอื ดี จะ เป็ นทกี่ ลา่ วขวญั และชนื่ ชมอยา่ งกวา้ งขวาง

กระตบิ ขา้ ว กระตบิ ขา้ ว คอื ภาชนะในการเก็บอาหารทเี่ ป็ นงาน หตั ถกรรมอนั ทรงคณุ คา่ ชนิดหนึ่งทมี่ ากดว้ ยภมู ิ ปัญญาทอ้ งถนิ่ เป็ นของทมี่ ปี ระจาบา้ นของชาวไทย ทางภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือและภาคเหนือมา ยาวนาน ใชส้ าหรบั บรรจขุ า้ วเหนียวทนี่ ึ่งสกุ แลว้ หรอื ใชเ้ ก็บเมล็ดพนั ธพุ ์ ชื หรอื แมแ้ ตใ่ ชเ้ ป็ นเครอื่ งประดบั ใน ครวั เรอื นหรอื ประดบั สถานทตี่ า่ งๆ เป็ นเครอื่ งจกั สานที่ ทาจากวสั ดธุ รรมชาติ เชน่ ไมไ้ ผ่ ใบจาก ใบตาล ใบ ลาน ตน้ คลา้ หรอื จากตน้ พชื ทมี่ ลี กั ษณะยาวเรยี ว ประวตั ิ

ภมู ปิ ญั ญาภาคใต้

หนงั ตะลงุ หนงั ตะลุง คอื ศลิ ปะการแสดงประจาทอ้ งถนิ่ อย่างหนึ่งของ ภาคใต ้ เป็ นการเล่าเรอื่ งราวทผี่ กู รอ้ ยเป็ นนิยาย ดาเนินเรอื่ ง ดว้ ยบทรอ้ ยกรองทขี่ บั รอ้ งเป็ นสาเนียงทอ้ งถนิ่ หรอื ทเี่ รยี ก กนั วา่ การ วา่ บท มบี ทสนทนาแทรกเป็ นระยะ และใชก้ าร แสดงเงาบนจอผา้ เป็ นสงิ่ ดงึ ดดู สายตาของผชู ้ ม ซงึ่ การวา่ บท การสนทนา และการแสดงเงานี้ นายหนังตะลงุ เป็ นคน แสดงเองทง้ั หมด

เรอื กอและ เรอื กอและเป็ นเรอื ประมงทใี่ ช ้ ในแถบจงั หวดั ภาคใต ้ ตอนลา่ งมลี กั ษณะเป็ นเรอื ยาวทตี่ อ่ ดว้ ยไมก้ ระดาน โดยทาใหส้ ว่ นหวั และทา้ ยสงู ขนึ้ จากลาเรอื ใหด้ ู สวยงาม ทาสแี ลว้ เขยี นลวดลายดว้ ยสฉี ูดฉาดเป็ น ลายไทยหรอื ลายอนิ โดนีเซยี ซงึ่ นามาประยุกตใ์ ห ้ เหมาะกบั ลาเรอื

กระเป๋ าจดู กระจดู พชื พนื้ ถนิ่ ของชมุ ชน ในอดตี ชาวบา้ นนิยมนามา สานเป็ นของใชต้ า่ งๆ เชน่ เสอื่ ทใี่ ส่ขา้ วสาร หมวก ตอ่ มา ไดเ้ พมิ่ มลู คา่ ของกระจดู โดยการพฒั นาเป็ นผลติ ภณั ฑใ์ น รปู แบบตา่ งๆ เพอื่ ใหเ้ ขา้ กบั ยคุ สมยั ในปัจจบุ นั สว่ นใหญ่จะ เนน้ ไปทกี่ ระเป๋ า ในรปู แบบตา่ งๆ ตามสมยั นิยม ซงึ่ ไดร้ บั ความนิยม และการตอบรบั จากผูซ้ อื้ สรา้ งรายไดใ้ หก้ บั กล่มุ ผูผ้ ลติ ในชมุ ชน

THANK YOU


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook