Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore องค์ความรู้สารสนเทศตำบลต้นแบบเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ประจำปี 2564

องค์ความรู้สารสนเทศตำบลต้นแบบเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ประจำปี 2564

Published by araya.nuda2526, 2021-08-17 03:50:28

Description: ตำบลห้องแซง อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร

Keywords: สารสนเทศ ห้องแซง

Search

Read the Text Version

คาํ นาํ กรมการพัฒนาชุมชน ไดสงเสริมใหมีการนําขอมูลสารสนเทศของชุมชน เชน ขอมูลความ จาํ เปนพน้ื ฐาน (จปฐ.) ขอ มลู พ้ืนฐานระดับหมูบ าน (กชช.๒ค) และขอ มูลอืน่ ๆ มาใชป ระโยชน เปน ปจ จัยนําเขา โ ดย ก า ร วิ เค ร า ะ หข อ มู ล ชุ มช น ด ว ย โ ป รแ ก ร ม Community Information Radar Analysis : CIA) นําไปสูกระบวนการพัฒนาหมูบาน/ชุมชน/ตําบล ตามบริบทของแตละชุมชน เพื่อใหคนในหมูบาน/ตําบล ใชขอมูลสารสนเทศในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และบริหารจัดการชุมชนของตนเองใหเขมแข็งอยางย่ังยืน ตลอดจนภาครัฐ เอกชน นําขอมูลสารสนเทศไปใชในการกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาในระดับหมูบาน/ตําบล/ อาํ เภอ/จังหวัด ในอนาคต เพ่ือเปนการขับเคล่ือนกระบวนการดังกลาว สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดยโสธร รวมกับ สํานักงานพัฒนาชมุ ชนอําเภอเลิงนกทา และเทศบาลตําบลหองแซง รวมดําเนิน โครงการการจัดทาํ สารสนเทศ ตําบลตนแบบเพ่ือพฒั นาคุณภาพชวี ติ เพื่อเปนตาํ บลตนแบบในการนาํ ขอมลู สารสนเทศชุมชนไปใชป ระโยชนใน การพัฒนาคุณภาพชีวิต ทายนี้หวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารถอดบทเรียนผลการดําเนินงานสารสนเทศตําบล ตนแบบเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต ตําบลหองแซง อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ฉบับน้ี จะเปนประโยชนตอ ผสู นใจสามารถนาํ ไปประยุกตใ ชใ นการทาํ งานตอไป กลุมงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน สํานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวัดยโสธร มิถุนายน 2564

สารบญั หนา สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของตําบล 1 ประวัติความเปน มา 1 ท่ตี งั้ ของตําบล 2 แผนทตี่ ง้ั ของตาํ บล 5 ลกั ษณะท่วั ไปของตําบล 6 ดา นการเมืองการปกครอง 6 ขอมลู ประชากร 7 ขอมูลดานอาชีพ 7 ขอมลู ดา นรายได/รายจา ย 7 สภาพสงั คม 8 ระบบบริการพืน้ ฐาน 8 ระบบเศรษฐกิจ 10 ขอมูลกลุมอาชพี 11 ขอมลู ผูนําชุมชน กลมุ องคกร 37 อัตลักษณ 40 ขอ มูลแหลง ทอ งเท่ยี ว 49 ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม ประเพณี เทศกาล ภูมิปญ ญาทอ งถิ่น 56 ขอ มลู ผลิตภัณฑช มุ ชน 63 สถานทสี่ ําคัญ 65 สว นท่ี 2 ผลการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตําบลตน แบบฯ 73 ความเปนมาของโครงการ 77 การบริหารจัดการ 81 การจัดทําสารสนเทศภูมศิ าสตร (GIS) 119 การวเิ คราะหขอ มูลและการจัดทาํ แผนพฒั นาตําบล 128 การจดั ทําสารสนเทศ 129 สรปุ องคค วามรู และเผยแพรสารสนเทศฯ 152 การดําเนินโครงการเชงิ บูรณาการและการแสวงหางบประมาณ 154 การเผยแพรป ระชาสมั พันธ 154 ปจจัยแหงความสาํ เร็จ 156 แผนการดําเนนิ งานและการพัฒนา ผลทเี่ กดิ ขึ้นจากการจัดการสารสนเทศตอครัวเรือนและชมุ ชน 160 ภาคผนวก

เอกสารถอดบทเรียนการดําเนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตนแบบเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชีวิต ประจําป 2564 สว นที่ 1 ขอ มูลทว่ั ไปและขอ มลู พ้ืนฐาน คาํ ขวญั ตาํ บลหอ งแซง “ขา วหอมมะลิขาวสวย หวยลิงโจนน้ําใส ถิ่นฐานไกลเมอื งพณิ หินสามกอนคา ล้าํ วฒั นธรรมภไู ท” วสิ ัยทัศนตําบลหอ งแซง “ตําบลหองแซงนาอยู เชิดชคู ุณธรรม เกษตรกรรมอนิ ทรียฟเู ฟอ ง รงุ เรืองวัฒนธรรมภไู ท กา วไกลการศึกษา ชาวประชามสี ขุ ทุกชีวิตตอ งดูแล” ประวัติความเปนมา ตําบลหองแซง เปนชุมชนขนาดใหญประชาชากรหนาแนน สภาพภูมิประเทศท่ัวไปของตําบลหองแซง สวนใหญเปนที่ราบสูงบนแนวเทือกเขาเล็กๆ สูงกวาระดับน้ําทะเล 227 ฟุต สภาพดินเปนดินรวนปนทราย พ้นื ที่ประมาณ รอ ยละ 50 เปน ปาไมมลี าํ นํา้ ขนาดเลก็ คอื ลําเซบายไหลผานและมอี า งเกบ็ นา้ํ หว ยลงิ โจนเปนแหลงน้ํา สําคัญที่ใชใ นการเกษตร ปจ จุบันประชากรสวนใหญม อี าชีพทาํ นา ตําบลหองแซง สวนใหญเปน ถน่ิ ท่ีมชี าวภูไทไดอาศยั อยูอยา งคับคั่ง มขี นบธรรมเนียมและภาษาพูดแตกตางไป จากภาษาอ่ืนๆ ในสมยั หน่งึ เคยเปนชนชาติกลมุ ใหญกลมุ หนึ่ง แตป จจุบันน้ไี ดแตกแยกกันไปทาํ มาหากิน ถน่ิ ภูไทอยูใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ที่อยูในประเทศไทยสวนมากอยูในจังหวัดสกลนคร และจังหวัด นครพนม เปน พวกท่อี พยพมาจากประเทศลาว ต้งั แตคร้งั ดนิ แดนของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือของประเทศไทยยังเปน อาณาเขตของประเทศลาว ตําบลหอ งแซง อําเภอเลิงนกทา จงั หวดั ยโสธร หนาท่ี 1

เอกสารถอดบทเรียนการดําเนนิ งานสารสนเทศตําบลตนแบบเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชีวิต ประจาํ ป 2564 สําหรับชาวภูไทท่ีอยูบานหองแซงปจจุบัน เปนพวกแรกท่ีอพยพลงมาเพื่อแสวงหาท่ีทํามาหากิน ผูท่ีไดให ความรูเร่ืองน้ีแกผูเขียนก็คือ ตาศรี นามศร มีอายุได 95 ปเศษ เปนผูที่อาวุโสท่ีสุดของหมูบาน (อยูท่ีบานโนน แดง) และอดีตเคยเปนผูใหญบานมากอน ในสมัยที่ยังหนมุ น้ันตาศรี นามศร เคยไปมาหาสูญาตทิ ี่อยฝู งซายของแมน้ํา โขง และสมัยน้นั ยงั ไมม ถี นนหนทางสะดวกสบายเชนทุกวนั นี้ตอ งเดนิ เทา เปนเวลา 9-10 วันเตม็ จุดมุงหมายกค็ ือเมือง เซโปน และเมืองพิณ ดวยเหตุท่ีมีสัตวปาจํานวนมากมายนี้เองจึงมีเรื่องเลาสืบตอกันมาวา เปนถ่ินท่ีรูจักกันดีของบรรดาพรานปา ท้ังหลาย และบริเวณท่ีมีสัตวปาชุกชุมนั้นมีอยูปาหน่ึงที่พรานปาเรียกกันวา ปาแซง และปาแหงน้ีเปนจุดหมายของ พรานหมา พรานเขียว และพรานรัง ในหมูพรานทั้งสามน้ีก็มีพรานหมาเปนหัวหนา เดินทางมาจากทิศเหนือ หรือท่ี เรียกกนั ในสมยั นั้นวา ภเู ขียว ภเู วยี ง พรานท้ังสามไดข า วเลา ลือกันวามีแรดใหญตัวหน่ึงอาศยั อยูทางปา แซง เปนแรดท่ี มีลักษณะพิเศษคอื นอกาน (เขาลายเปนปลอง) และไมเคยมีพรานคนใดลามันไดเ ลย นอกาน ของแรดตวั นี้ถือกันวา เปน ของศกั ดส์ิ ิทธ์อิ ยา งหนึง่ ของคนสมยั นัน้ ถา หากใครไดม าไวแ ลวก็จะเปน สิรมิ งคลแกตนดว ย ตาํ บลหอ งแซง อาํ เภอเลิงนกทา จงั หวดั ยโสธร หนา ท่ี 2

เอกสารถอดบทเรียนการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตน แบบเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพชีวิต ประจําป 2564 หลังจากนั้นก็มีผูคนที่เมืองพนิ และเมืองเซโปนจะตดิ ตามมาอีกมากการอพยพของชาวเซโปนและเมืองพิน มายงั บา นหองแซง จึงไดเริ่มทยอยกนั มาตามลําดับ จนกระท่ังไดมาตงั้ บานเรือนอยูกันเปนจาํ นวนมาก บา นเรอื นก็ ขยายออกเปนลําดับไรนากก็ วางขวาง ออกไปเรื่อยๆ ตาศรี นามศร ยงั ไดบอกถงึ ตาํ แหนง ทีต่ ั้งบา นเรอื นของแตละคน ในสมัยนั้น คอื 1.ท่ีอพยพมาจาคมาจากเมืองเซโปนและบานนํ้าปลีกตั้งบานเรือนอยูทางทิศเหนือของบาน (คุมเหนือ) ไดแก ตาเพ พนั ทวัต 2. พวกของเจาราชใบอินท่ีอพยพมาจากเมืองพิลนั้นตั้งบานเรือนอยูระหวางกลางของบาน (คุมกลาง) ตอ มาพอของเจาราชใบอนิ คอื ตาพะละคร ชาภูธร ก็ไดตดิ ตามมาอยกู ับเจา ราชใบอินผเู ปนลกู ชายอีกภายหลงั 3. พวกของเจาพะละครทอ่ี พยพมาจากพระนครต้ังบา นเรือนอยูท างทศิ ใตข องบาน (คุมเตอ ) เมื่อไดมาอยูกนั เปน ปกแผน จาํ เปน จะตองมผี ูน าํ เปน ผปู กครองดูแลลกู บานตามธรรมเนียม หรือทีเ่ รียกกันวา ผูใหญบ าน ซ่ึงมชี ่ือตามลําดบั กอนหลังดงั ตอไปน้ี คือ ๑. ตาเพศรี โยธา ๑๐. กาํ นนั ปนุ หองแซง ๒. ตาพะ ละคร ๑๑. กํานันคาํ บุษราคัม ๓. กาํ นันสรุ ยิ ะ ๑๒. กํานนั บุญมา คณุ สุทธิ์ ๔. ขุนเจรญิ เจรญิ ตา ๑๓. กาํ นนั ปญ ญา หองแซง ๕. กํานันขนั ติยะ ๑๔. กํานนั นเรศ ภักดลี ุน ๖. กํานนั ไชยะ กุมาร ๑๕. กํานนั สงคราม หองแซง ๗. กํานนั มี ลาํ พรทิพย ๑๖. กํานนั สํารวย หอ งแซง (๒๕๕๗ - ๒ เมษายน ๒๕๖๐) ๘. กํานนั ทอง แกว ทอง ๑๗. กาํ นนั จิตติภมู ิ จินนะคาํ (๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๐-2562) ๙. กํานนั เทยี ม ละคร 18. นายสีมาย เพชรไพร รักษาการกํานันตําบลหอ งแซง ในระหวางท่ีมีผูคนเพิ่มมากขึ้นจนทําใหบานเรือนคับแคบ ก็ไดมีผูคนยายออกไปต้ังบานเรือนใหมอีก ซ่ึงก็มีทาวไชยวงศา จันสุริยวงศ ไดแยกครอบครัวออกไปตั้งบานใหม และเรียกบานใหมน้ันวา บานแขดอน บานดงยาง และบานโนนแดง ตามลําดับ นับวาเขาเหลาน้ันเปนตนตระกูลที่ไดขยายอาณาเขตบริเวณบานให กวางขวาง เพ่อื อนชุ นรุนหลังจะไดมที ีอ่ ยอู าศัย มกี ารสรางชนกลุม เลก็ ๆ ใหแผข ยายออกไปในบริเวรใกลเคยี ง ปจจุบัน จะเห็นไดวาหมูบานเล็กๆ เหลานั้นไดเจริญเติบโตข้ึนตามลําดับ มีประชาชนอยูกันอยาง หนาแนน แมวาแมวาเขาเหลานั้นไดแยกยายกันอยูตามหมูบานตาง ๆ ความเปนญาติกันมาแตครั้งกอน ก็มิไดเส่ือม ถอยลงแตอยางใด กลับย่ิงเพิ่มพูนยิ่งข้ึนสายเลือดจากบรรพบุรุษยังทําใหเขาเหลาน้ันเปนเสมือนหน่ึงใจเดียวกัน ดังในอดีต เมื่อเขาเหลาน้ันเดินทางไปมาหาสูกัน จะมีคําที่ใชทักทายกันวา “จะไปไหน” แลวมักจะไดยินกับคําวา ไปบานใหญ อยูเสมอ นั่นก็คอื บานหองแซง สายเลือดในความรักเผา พันธุ แตค รัง้ บรรพชนยังคงดําเนินไปจากรุนสู รุนทเ่ี รียกวา ภูไทบานหอ งแซง ยงั คงเปน ภาพที่ประทบั ใจแกผูท่ไี ดพบเหน็ เสมอ ท่ีตั้งของตาํ บล ตําบลหองแซง มีเน้อื ที่ 135.30 ตารางกิโลเมตร หรอื ประมาณ 84,569 ไร แยกเปน พ้ืนท่ีต้ังชุมชน และหมูบาน 3,796 ไร พน้ื ท่ที าํ นา 50,000 ไร พ้ืนทีท่ าํ ไร 20,000 ไร พืน้ ทสี่ วน 10,679 ไร พื้นทีส่ าธารณะ 94 ไร อยูหางจากอําเภอเลิงนกทา ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 21 กิโลเมตร ระยะทางหางจากจังหวัดยโสธร 85 กิโลเมตร ตําบลหอ งแซง อําเภอเลงิ นกทา จงั หวัดยโสธร หนาที่ 3

เอกสารถอดบทเรียนการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตําบลตนแบบเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพชีวิต ประจาํ ป 2564 แผนที/่ ทีต่ ั้งของหมบู าน/ตาํ บล ตําบลหอ งแซง อําเภอเลิงนกทา จังหวดั ยโสธร มีอาณาเขตตดิ ตอ กับพ้นื ที่ของตาํ บลตางๆ ดงั น้ี ทศิ เหนือ - จด ต.กุดเชยี งหมี อ.เลิงนกทา จ.ยโสธร และ ต.หนองสูงใต อ.หนองสูง จ.มกุ ดาหาร ทศิ ตะวันออก - จด ต.สามัคคี อ.เลิงนกทา จ.ยโสธร ทิศใต - จด ต.ศรีแกว อ.เลงิ นกทา จ.ยโสธร ทิศตะวนั ตก - จด ต.โคกสวา ง และ ต.ผาน้าํ ยอย อ.หนองพอก จ.รอ ยเอ็ด ตาํ บลหอ งแซง อาํ เภอเลิงนกทา จงั หวัดยโสธร หนา ท่ี 4

เอกสารถอดบทเรยี นการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตนแบบเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพชีวิต ประจาํ ป 2564 ปจ จบุ ันตําบลหองแซง อําเภอเลงิ นกทา จงั หวดั ยโสธร มีหมูบ า นในเขตการปกครอง 19 หมูบา น ประกอบดว ย ท่ี ชื่อหมูบา น ระยะทางจากตวั อาํ เภอเลงิ นกทา ระยะทางจากจังหวดั ยโสธร (กโิ ลเมตร) (กโิ ลเมตร) 1 บานหอ งแซง หมูที่ 1 20 82 2 บานโพง หมูท ี่ 2 30 71 3 บา นหองคลอง หมูที่ 3 18 80 4 บานหนองบึง หมูที่ 4 21 82 5 บานหอ งแซง หมูท ี่ 5 20 82 6 บานทาศลิ า หมูท ่ี 6 19 73 7 บานดงยาง หมทู ่ี 7 21 83 8 บานโนนแดง หมทู ี่ 8 23 85 9 บา นปาชาด หมทู ี่ 9 25 87 10 บา นโสกสาน หมทู ่ี 10 30 90 11 บา นหอ งแซงใต หมูท่ี 11 20 82 12 บา นโพธ์ทิ อง หมูที่ 12 20 75 13 บา นหนองตว้ิ หมทู ่ี 13 20 82 14 บา นรอ งคาํ หมทู ี่ 14 17 79 15 บา นโพง หมูท่ี 15 28 92 16 บา นดงยาง หมูที่ 16 21 83 17 บานหองแซง หมูที่ 17 20 82 18 บานหองแซง หมทู ่ี 18 20 82 19 บานนาหวา หมทู ี่ 19 35 75 ลกั ษณะภมู ิประเทศ สภาพภูมิประเทศทั่วไปของตําบลหองแซง สวนใหญเปนท่ีราบสูงบนแนวเทือกเขาเล็กๆ สูงกวา ระดับน้ําทะเล 227 ฟุต พื้นที่ประมาณ รอยละ 50 เปนปาไมมีลําน้ําขนาดเล็ก คือ ลําเซบายไหลผา นและมีอางเก็บ นาํ้ หว ยลงิ โจนเปน แหลงน้าํ สาํ คญั ทใ่ี ชในการเกษตร ลกั ษณะภูมิอากาศ ตาํ บลหอ งแซงมลี กั ษณะสภาพอากาศแบบรอนชื้น มี 3 ฤดกู าล คอื ฤดฝู น เรม่ิ ต้งั แตเดือน พฤษภาคมถึงชว งเดือนสงิ หาคม ฤดูหนาวคอนขา งหนาวในเดอื นธันวาคม ฤดูรอนจะมีอากาศรอ นจัดในเดือนเมษายน ลักษณะของดิน สภาพดนิ เปนดินรว นปนทราย พืน้ ราบเหมาะแกการเพาะปลูกขาว ตาํ บลหองแซง อาํ เภอเลิงนกทา จงั หวัดยโสธร หนาท่ี 5

เอกสารถอดบทเรียนการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตนแบบเพอ่ื พฒั นาคุณภาพชวี ิต ประจําป 2564 ลกั ษณะของแหลง น้ํา - ประเภทสระนํา้ และหนองนํา้ ไดแ ก สระนํา้ สาธารณะ หมูที่ 4, หนองบงึ , หนองคําดงหมี, หนองคํากก , หนองเมก็ , หนองไฮล ง , สระนา้ํ รพช. หมทู ี่ 7 , สระดอนหล่ิน , สระโปรง พาน - ประเภทหวยและฝาย ไดแก หว ยนอ ย , หวยดอนปตู า , หวยหมุนวัง , หวยหนองสมิ , หวยหนองกก โก ,หวยอา งทอง,หวยโพง,ฝายนาํ้ ลนหนองเตา ,หวยลิงโจน,หว ยสักหลีก,หว ยแดง,หว ยแตงหวาน ,หวยซนั ,หวยใหญ , หว ยคาํ ไหล ,ฝายน้าํ ลนหวยหมนุ วงั ,หว ยลาํ เซบาย ,หว ยกดุ น้าํ กิน, ฝายสรา งกกเม็ก ลักษณะของปาไมและไม ในพ้นื ท่ีอยูในเขตปา ไมเสือ่ มโทรมบางสวน ดา นการเมืองการปกครอง 1. เขตการปกครอง ตําบลหองแซงประกอบดว ยจํานวนหมบู า น 19 หมูบ า น 2. การเลอื กตง้ั การเลือกตั้งผูบริหารและสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล ตามพระราชบัญญัติสภา ตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 และท่ีแกไขเพิ่มเติมถึงปจจุบัน มีจํานวน 19 หมูบาน มีผูบริหาร ทองถิ่น (นายกเทศมนตรีตําบลหอ งแซง) จาํ นวน 1 คน และสมาชิกสภาเทศบาล รวม 12 คน ขอ มูลประชากร ประชากรทง้ั สิ้น จาํ นวน 8,366 คน แยกเปนชาย 4,121 คน หญิง 4,245 คน จํานวน 2,610 ครวั เรอื น (จากขอมูล จปฐ.) หมทู ่ี หมูบา น ประชากร รวม (คน) หลงั คาเรอื น ชาย (คน) หญงิ (คน) 1 หองแซง 127 178 305 136 2 โพง 154 160 314 108 3 หอ งคลอง 237 218 455 152 4 หนองบึง 229 250 479 133 5 หองแซง 192 182 374 124 6 ทาศิลา 248 240 488 121 7 ดงยาง 233 241 474 174 8 โนนแดง 302 281 583 198 9 ปาชาด 331 344 675 178 10 โสกสาน 121 128 249 72 11 หองแซงใต 336 353 689 208 12 โพธิ์ทอง 105 137 242 95 13 หนองต้ิว 417 386 803 218 14 รองคาํ 157 154 311 98 15 โพง 204 211 415 128 16 ดงยาง 168 199 367 120 17 หองแซง 285 299 584 175 18 หอ งแซง 173 217 390 110 19 นาหวา 102 67 169 62 รวมทั้งส้ิน 4,121 4,245 8,366 2,610 ตําบลหองแซง อาํ เภอเลิงนกทา จังหวดั ยโสธร หนาท่ี 6

เอกสารถอดบทเรยี นการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตน แบบเพอ่ื พฒั นาคุณภาพชวี ิต ประจาํ ป 2564 ขอมลู ดา นอาชพี การประกอบอาชพี ประชากรสว นใหญป ระกอบอาชพี ทําการเกษตร ทํานา ทาํ ไร 65 % รับจา ง 15 % คาขาย 10 % รับราชการ 10% ขอมลู ดานรายได/รายจา ย รายไดครัวเรือนเฉลี่ยของคนในตําบลหองแซง จํานวน 209,081.03 บาท/ครัวเรือน/ป และรายได บุคคลเฉลี่ย 65,228.48 บาท/คน/ป โดยแหลงรายไดของครัวเรือนมาจากอาชีพหลัก ไดแก การทําการเกษตร (ทาํ นา ทําไร) จํานวน 100,048.70 บาท/ครวั เรอื น/ป รายจายครัวเรือนเฉลี่ยของคนในตําบลหองแซง 118,368.04 บาท/ครัวเรือน/ป และรายจายบุคคล เฉล่ีย 36,928.11 บาท/คน/ป โดยรายจายของครัวเรอื นสว นใหญจะเปนดานของอุปโภคบริโภคทจ่ี ําเปน จํานวน 53,459.13 บาท/ป สภาพทางสังคม จํานวนนักเรยี นประมาณ 81 คน จํานวนนกั เรียนประมาณ 55 คน 1. การศึกษา จํานวนนกั เรยี นประมาณ 144 คน โรงเรียนประถมศึกษา 9 แหง ไดแ ก จาํ นวนนกั เรียนประมาณ 158 คน 1.โรงเรยี นบา นดงยาง จาํ นวนนักเรยี นประมาณ 72 คน 2.โรงเรยี นบา นโนนแดง จํานวนนกั เรยี นประมาณ 139 คน 3.โรงเรยี นชุมชนหองแซงวิทยา จํานวนนักเรยี นประมาณ 100 คน 4.โรงเรียนบานหอ งแซง จาํ นวนนกั เรียนประมาณ 60 คน 5.โรงเรียนบา นหนองบึง 6.โรงเรียนบานหอ งคลองรองคาํ จํานวนนักเรยี นประมาณ 290 คน 7.โรงเรยี นบา นปา ชาด 8.โรงเรยี นบานทาศิลา จาํ นวนนกั เรียนประมาณ 346 คน โรงเรียนขยายโอกาส 1 แหง ไดแก โรงเรยี นบานโพง จํานวนนักเรียนประมาณ 30 คน โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา 1 แหง ไดแก จํานวนนักเรียนประมาณ 15 คน โรงเรยี นหอ งแซงวิทยาคม จาํ นวนนกั เรยี นประมาณ 41 คน ศนู ยพฒั นาเด็กเลก็ กอนวัยเรียน 7 แหง ไดแ ก จํานวนนกั เรียนประมาณ 37 คน 1.ศนู ยพฒั นาเด็กเล็กบา นดงยาง จาํ นวนนกั เรยี นประมาณ 45 คน 2.ศนู ยพัฒนาเด็กเล็กบานโนนแดง จํานวนนกั เรยี นประมาณ 34 คน 3.ศนู ยพ ัฒนาเดก็ เล็กบานหองแซงเหนือ จาํ นวนนกั เรยี นประมาณ 38 คน 4.ศนู ยพัฒนาเด็กเล็กบานหองแซง 5.ศนู ยพัฒนาเดก็ เล็กบานหองคลองรองคํา 6.ศนู ยพัฒนาเดก็ เล็กบานปาชาด 7.ศนู ยพัฒนาเด็กเล็กบานโพง ตําบลหองแซง อําเภอเลิงนกทา จังหวดั ยโสธร หนา ท่ี 7

เอกสารถอดบทเรียนการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตําบลตนแบบเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชีวิต ประจาํ ป 2564 ในพน้ื ท่ีมกี ารศึกษานอกระบบ (กศน.หองแซง) 1 แหง กศน.หอ งแซง จํานวนนกั เรียนประมาณ 125 คน 2. สาธารณสุข 1. โรงพยาบาลสง เสริมสุขภาพตําบลหองแซง 2. โรงพยาบาลสง เสริมสุขภาพตาํ บลปา ชาด 3. ศนู ยสาธารณสุขมลู ฐานชมุ ชน 19 แหง 4. สถานพยาบาลเอกชน 1 แหง 5. รานขายยาแผนปจจุบัน 1 แหง 3. ขอ มูลวดั ในตาํ บลหอ งแซง ประกอบดว ย วดั /สํานักสงฆ 13 แหง ศาลเจา 2 แหง ระบบบริการพน้ื ฐาน 1. การคมนาคมขนสง มถี นนลาดยางแอลฟล ท ถนนคอนกรีตเสริมเหล็กและถนนลกู รัง/ถนนดนิ จํานวน ถนนลาดยาง ถนนคอนกรตี ถนนลกู รงั ถนนเชือ่ ม ถนนในการ (สาย) ระหวางตาํ บล รับผิดชอบของ สายทางรวม แอสฟล ส เสรมิ เหลก็ หนวยงานอื่น (สาย) (สาย) (สาย) 258 2 210 44 1 1 2. การไฟฟา การไฟฟา จํานวนหมูบา นทมี่ ีไฟฟา เขาถงึ หมบู า นและประชาชนไดใ ชไ ฟฟา จาํ นวน 99 % ที่เหลือยังเปน ชาวบานที่เปนเกษตรกรท่ีออกไปอยูตามไรนา ยงั ไมมกี ารขยายเขตไฟฟาไปถึง 3. การประปา การประปา มีประปาหมูบานครบทกุ หมูบาน และมีระบบประปาผวิ ดินขนาดใหญมาก หมทู ่ี 4 และ 17 ระบบประปาผิวดินขนาดกลาง หมทู ่ี 10 และ19 ประปาผิวดินขนาดใหญ หมทู ี่ 3,6,8,9 และ2 บาดาลขนาดใหญ หมทู ่ี 16 4. โทรศพั ท ปจ จุบันทุกหมูบาน ใชโ ทรศพั ทเคลอื่ นท่เี ปนสวนใหญ 5. ไปรษณียหรือการสื่อสารหรือการขนสง และวสั ดุ ครุภณั ฑ ที่ทาํ การไปรษณีย 1 แหง ตง้ั อยตู ลาดสด บา นหองแซง 6. ความปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ยสิน จดุ สกดั หอ งแซง(สภ.อ.เลิงนกทา) 1 แหง มสี มาชกิ อาสาสมัครปองกนั ภัยฝา ยพลเรอื น (อปพร.) 180 นาย ระบบเศรษฐกจิ 1. การเกษตร ทาํ การเกษตร ทาํ นา ทําไร ทําสวน 55.08 % 2. การบรกิ าร -มีรา นบริการทาํ ผม เสริมสวย 51 แหง -มีรสี อรท ในพ้นื ท่ี จาํ นวน 3 แหง -มีโรงสีขาวขนาดเลก็ ในพ้นื ท่ี จํานวน 14 แหง ตาํ บลหองแซง อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร หนา ที่ 8

เอกสารถอดบทเรยี นการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตนแบบเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ประจําป 2564 3. การทอ งเที่ยว -อางเก็บน้ําหวยลงิ โจน -ภูรม เย็นมโนธรรม -ภูถ้าํ พระ -หมูบานทองเทีย่ วเชงิ อนรุ กั ษว ฒั นธรรมภไู ทหอ งแซง เศรษฐกิจพอเพียงทองถ่นิ (ดานการเกษตรและแหลงนํ้า) 1. ขอ มลู พน้ื ฐานของหมูบา นหรือชุมชน ประชากรท้งั สนิ้ จํานวน 11,509 คน แยกเปน ชาย 5,761 คน หญงิ 5,748 คน จํานวน 3,466 ครัวเรือน 2. ขอ มูลดานการเกษตร ประชากรสว นใหญท ําเกษตรกรรม-ทํานา ปลูกขา ว กข 7,294.69 ไร ปลูกขาวเจา 12,890.50ไร ปลูกมนั สาํ ปะหลัง 706 ไร ปลูกยางพารา 5,180.68 ไร 3. ขอมูลดา นแหลงนํ้าการเกษตร 3.1 ประเภทสระนํ้าและหนองนํ้า ไดแ ก สระนํา้ สาธารณะ หมทู ่ี 4 , หนองบงึ , หนองคาํ ดงหมี , หนองคํากก, หนองเม็ก, หนองไฮล ง, สระน้าํ รพช. หมูที่ 7 , สระดอนหลิ่น , สระโปรงพาน 3.2 ประเภทหว ยและฝาย ไดแก หว ยนอ ย , หว ยดอนปูตา , หว ยหมุนวัง , หวยหนองสิม , หวยหนอง กกโก ,หวยอา งทอง,หวยโพง,ฝายน้ําลนหนองเตา,หว ยลิงโจน,หวยสกั หลกี ,หวยแดง,หวยแตงหวาน ,หว ยซนั ,หวยใหญ ,หว ยคําไหล ,ฝายนํ้าลน หว ยหมนุ วัง ,หวยลําเซบาย ,หวยกดุ นา้ํ กิน, ฝายสรางกกเม็ก 3.3 อางเกบ็ น้าํ หวยลิงโจน 4. ขอ มลู ดา นแหลงน้ํากิน นํ้าใช (หรือนํ้าเพ่ือการอปุ โภค บริโภค) มปี ระปาหมบู านครบทุกหมบู าน ศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม 1. การนบั ถือศาสนา ประชาชน หมทู ี่ 1- 19 นบั ถอื ศาสนาพทุ ธ โดยมีขอมูลศาสนสถาน วัด/สํานกั สงฆ 15 แหง 2. ประเพณีและงานประจาํ ป ชว งเดือนเมษายน ประเพณีวันผสู งู อายุ สรงนาํ้ พระถาํ้ ชวงเดอื นธนั วาคม งานบุญกองขาวใหญ 3. ภมู ิปญ ญาทองถิน่ ภาษาถนิ่ ภมู ิปญ ญาทองถิน่ ท่ีโดดเดน คือ การจัดทาํ บั้งไฟโบราณ ภาษาถน่ิ คอื ภาษาภไู ท 4. สินคา พ้ืนเมืองและของทีร่ ะลึก ผามัดหมี่ ผาขาวมา ทรัพยากรธรรมชาติ 1. น้าํ -ประเภทสระนํา้ และหนองนํ้า ไดแก สระนาํ้ สาธารณะ หมทู ่ี 4 , หนองบึง , หนองคําดงหมี , หนอง คํากก , หนองเมก็ , หนองไฮลง , สระนํา้ รพช. หมูท ี่ 7 , สระดอนหลิน่ , สระโปรง พาน -ประเภทหวยและ ฝาย ไดแก หวยนอย , หวยดอนปูตา , หว ยหมนุ วัง , หวยหนองสิม , หวยหนองกกโก ,หวยอา งทอง,หว ยโพง,ฝายนาํ้ ลนหนองเตา ,หวยลงิ โจน,หวยสกั หลกี ,หวยแดง,หว ยแตงหวาน ,หวยซัน ,หวยใหญ ,หว ยคาํ ไหล ,ฝายนํ้าลน หวยหมุนวัง ,หวยลําเซบาย ,หว ยกุดนาํ้ กนิ , ฝายสรา งกกเมก็ ตาํ บลหอ งแซง อําเภอเลิงนกทา จังหวดั ยโสธร หนาที่ 9

เอกสารถอดบทเรยี นการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตําบลตนแบบเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ประจําป 2564 2. ปา ไม ปา สว นใหญเปนปาเต็งรงั และปาดงดบิ แลง 3. ภเู ขา -ภถู ้ําพระ และภรู มเยน็ มโนธรรม 4. คณุ ภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ปายงั มีความอุดมสมบูรณ ยงั เปน แหลง ดํารงชีพของประชาชนได ขอ มูลกลมุ อาชีพของตาํ บลหองแซง อําเภอเลิงนกทา จงั หวัดยโสธร บา น กลมุ อาชพี /วสิ าหกิจชุมชน กลมุ ทอผา พน้ื เมือง บา นหองแซง ม.1 กลมุ ผลิตขาวกลอง วสิ าหกจิ ชุมชนเกษตรพันธุหองแซง บา นโพง ม.2 กลุมผลิตปุยอนิ ทรียช วี ภาพ บา นโพง ม.2 บานหองคลอง ม.3 กลุมสตรีทอผา บา นหองคลอง กลมุ เกษตรอนิ ทรยี  บา นหนองบึง ม.4 กลุม เลยี้ งโค-กระบือ บา นหอ งแซง ม.5 กลุมเล้ยี งสุกร วิสาหกจิ ชุมชนกลมุ เกษตรกรปลกู ถ่ัวลิสง บ.หอ งแซง ม.5 บานทา ศิลา ม.6 กลุมเลย้ี งโค-กระบอื กลุมเลยี้ งววั บา นดงยาง ม.7 กลมุ เล้ยี งโค-กระบือ กลมุ ทอผาพน้ื เมือง บานโนนแดง ม.8 กลมุ เยบ็ ผา/ทอผา พืน้ เมือง วิสาหกิจชุมชนวสิ าหกจิ ชมุ ชนกลุมเลยี้ งโคบา นโนนแดง บา นปาชาด ม.9 กลมุ เลยี้ งโค-กระบือ กลมุ เกษตรทาํ นา กลุมทอผาพ้นื เมอื ง บานโสกสาน ม.10 กลมุ เย็บผาหม กลมุ เกษตรกรพฒั นาบา นโสกสาน (เล้ยี งโค-กระบือ) กลมุ เพาะเห็นฟาง บานหองแซง ม.11 กลมุ เกษตรพฒั นา บานหอ งแซง ม.11 (เลี้ยงโค-กระบอื ) บา นโพธิท์ อง ม.12 กลุม เล้ียงสุกร บานรอ งคาํ ม.14 กลุมเลยี้ งโค-กระบือ กลุมทอผาพื้นเมอื ง บา นโพง ม.15 กลมุ ผลติ บลอ็ กประสาน กลมุ ผลติ ปยุ อนิ ทรยี ชวี ภาพ บา นโพง ม.15 บา นดงยาง ม.16 กลุมเลย้ี งโค-กระบือ กลุมทอผาพนื้ เมอื ง บานหอ งแซง ม.17 กลมุ เลยี้ งโค-กระบือ บานหองแซง ม.18 กลุมทอผาพ้ืนเมือง วสิ าหกจิ ชมุ ชนเลี้ยงววั บา นหองแซง หมู 18 บานนาหวา ม.19 กลมุ จักสาน ตาํ บลหองแซง อําเภอเลิงนกทา จงั หวดั ยโสธร หนา ท่ี 10

เอกสารถอดบทเรียนการดําเนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตนแบบเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชีวิต ประจําป 2564 ขอมูลผนู ําชุมชน/กลุมองคก ร 1. ผูนาํ ชุมชน ตําบลหอ งแซง แบง การปกครองออกเปน 19 หมูบาน ดังน้ี หมทู ี่ 1 บานหองแซง ผูใหญบาน คอื นายสมาน แกว หาญ หมทู ่ี 2 บานโพง ผใู หญบ าน คือ นายเรอื ง ฤทธิ์วงษ หมทู ี่ 3 บานหองคลอง ผใู หญบ า น คอื นายเฉวย แกว หาญ หมูท่ี 4 บานหนองบงึ ผูใ หญบาน คอื นายสุทธศิ กั ดิ์ สมประสงค หมูที่ 5 บา นหอ งแซง ผใู หญบาน คือ นายจกั รี เพชรไพร หมทู ี่ 6 บา นทา ศลิ า ผูใ หญบาน คอื นายไพรวลั ย พนั ธส อน หมทู ี่ 7 บา นดงยาง ผูใหญบา น คอื นายสําเนียง มิระสิงห หมทู ี่ 8 บานโนนแดง ผูใหญบา น คอื นางนนั ทภิ รณ นกั ราํ หมูท่ี 9 บา นปาชาด ผใู หญบาน คอื นายสวิน เจริญตา หมูที่ 10 บา นโสกสาน ผใู หญบ าน คือ นายสมเรือง เจริญตา หมทู ่ี 11 บานหองแซงใต ผใู หญบา น คือ นางสาวศภุ าพชั เมืองพิล หมทู ่ี 12 บานโพธท์ิ อง กาํ นัน คอื นายสีมาย เพชรไพร รกั ษาการแทน หมูท่ี 13 บา นหนองติ้ว ผใู หญบาน คอื นายสาํ รอง แกว หาญ หมูท่ี 14 บา นรองคํา ผูใหญบ า น คอื นายสพุ รต จนั ทะชยั หมูที่ 15 บา นโพง ผูใหญบาน คอื นางสาวกีรตญิ า ขนั ติวงค หมูท่ี 16 บานดงยาง ผใู หญบ าน คือ นายประยุทธ พันเดช หมทู ่ี 17 บานหอ งแซง ผใู หญบ าน คอื นางสาวนวนนา ผาเวช หมูท่ี 18 บา นหองแซง ผูใหญบ า น คอื นายสีมาย เพชรไพร หมทู ่ี 19 บานนาหวา ผใู หญบ าน คอื นายสุภาพ ขันตวิ งค 2. คณะผูบริหารและสมาชิกสภาองคการบรหิ ารสว นตาํ บลหอ งแซง ซ่ึงประกอบดวย (1) คณะผูบรหิ าร ประกอบดวย นางละเอยี ด ศรสี ขุ นายกเทศมนตรี นายวรชาติ ชวงโชติ นายสมใจ แกว หาญ รองนายกเทศมนตรี คนท่ี 1 รองนายกเทศมนตรี คนท่ี 2 ตาํ บลหองแซง อําเภอเลงิ นกทา จังหวดั ยโสธร หนา ที่ 11

เอกสารถอดบทเรียนการดําเนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตน แบบเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชีวิต ประจาํ ป 2564 นายกิตชิ ัย หองแซง นางสาวชตุ กิ าญจน กอกลุ ที่ปรกึ ษานายกเทศมนตรี เลขานกุ ารนายกเทศมนตรี (2) สมาชิกสภาเทศบาลตําบลหอ งแซง ประกอบดว ย นายยทุ ธนา วรสนั ต ประธานสภาเทศบาลตาํ บลหองแซง นายวิทยา บญุ ลกั ษณ รองประธานสภาเทศบาลตาํ บลหอ งแซง นางวันทนยี  ประสบสุข เลขานกุ ารสภาเทศบาลตาํ บลหอ งแซง นายเขม็ พร ไชยจันดี นายทวี แกวหาญ นางมาลยั ดาํ พะทิก สมาชกิ สภาเทศบาลเขต 1 สมาชกิ สภาเทศบาลเขต 1 สมาชิกสภาเทศบาลเขต 1 ตําบลหองแซง อําเภอเลิงนกทา จงั หวดั ยโสธร หนา ท่ี 12

เอกสารถอดบทเรียนการดําเนนิ งานสารสนเทศตําบลตนแบบเพ่อื พัฒนาคุณภาพชีวิต ประจําป 2564 นายวรี วัฒน ศริ ิจันทร นายชาญชยั วัธนะ ศรเผือก นายบรรณสทิ ธิ์ ประกอบศุข สมาชิกสภาเทศบาลเขต 1 สมาชกิ สภาเทศบาลเขต 1 สมาชิกสภาเทศบาลเขต 1 นายสงั เวยี น โคตรสมบัติ นางเดอื นใจ หองแซง นายมนตรี ผานเมอื ง สมาชกิ สภาเทศบาลเขต 2 สมาชิกสภาเทศบาลเขต 2 สมาชกิ สภาเทศบาลเขต 2 นายคาํ แดง บุญทศ สมาชิกสภาเทศบาลเขต 2 3. ผูนาํ อาสาพัฒนาชมุ ชน/อาสาพัฒนาชมุ ชน (ผูน ํา อช./อช.) - ผูนาํ อาสาพฒั นาชุมชน (ผนู ํา อช.) จาํ นวน 2 คน ไดแ ก 1) นายประสทิ ธ์ิ หอ งแซง 2) นางสาวทวิ าทพิ ย เจริญตา - อาสาพัฒนาชมุ ชน (อช.) จาํ นวน 4 คน/หมูบา น รวม 76 คน 4. กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต ตําบลหองแซง มีกลุมออมทรพั ยเพื่อการผลิต จํานวน 2 กลมุ 2 หมบู าน ดังน้ี 1) กลุม ออมทรพั ยเ พื่อการผลติ บา นหองคลอง หมูท่ี 3 จํานวนสมาชิก 123 คน เงินสจั จะสะสม 561,000 บาท 2) กลุม ออมทรัพยเพอ่ื การผลิตบา นปาชาด หมทู ่ี 9 จํานวนสมาชิก 42 คน เงินสัจจะสะสม 140,000 บาท 5. โครงการแกไ ขปญ หาความยากจน (กข.คจ.) ตาํ บลหองแซง มกี องทุน กข.คจ. จํานวน 1 กองทุน ไดแก หมทู ่ี 10 บา นโสกสาน มีจํานวนครัวเรือนเปา หมาย 72 ครัวเรอื น ไดรับการกูยืมเงนิ แลว 50 ครัวเรือน มีเงนิ ทุนปจ จุบนั 281,500 บาท ตาํ บลหองแซง อําเภอเลิงนกทา จงั หวัดยโสธร หนา ที่ 13

เอกสารถอดบทเรียนการดําเนนิ งานสารสนเทศตําบลตน แบบเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชวี ิต ประจําป 2564 6. กองทนุ หมบู านและชุมชนเมอื ง ตําบลหองแซง มกี องทุนกองทนุ หมูบา นและชุมชนเมอื ง จํานวน 19 กองทนุ ไดแก 1) กองทนุ หมูบา นหองแซง หมูที่ 1 มีนางชอ เพชร ตาแสงสา เปน ประธานฯ จํานวนเงนิ ทนุ ทั้งสิน้ 2,500,000 บาท . 2) กองทุนหมูบานโพง หมูท่ี 2 มีนางมยุรี แถลงคํา เปนประธานฯ จํานวนเงินทุนทง้ั สนิ้ 2,200,000 บาท 3) กองทนุ หมบู านหองคลอง หมทู ี่ 3 มีนายวรชาติ ชวงโชติ เปนประธานฯ จาํ นวนเงินทุนทั้งสิ้น 2,300,000 บาท 4) กองทุนหมบู านหนองบงึ หมทู ่ี 4 มนี ายบุญสาร วเิ ชียรชัย เปนประธาน จํานวนเงินทนุ ทง้ั ส้นิ 2,300,000 บาท 5) กองทนุ หมูบานหองแซง หมทู ี่ 5 มนี างพนม ประทมุ ทอง เปนประธานฯ จํานวนเงินทุนท้ังสิ้น 2,300,000 บาท 6) กองทนุ หมบู า นทาศลิ า หมูที่ 6 มีนายทองพูน หลา พิมพ เปนประธานฯ จาํ นวนเงนิ ทนุ ทงั้ สิ้น 2,300,000 บาท 7) กองทุนหมูบ านดงยาง หมูที่ 7 มนี ายเสาร มริ ะสงิ ห เปนประธานฯ จํานวนเงนิ ทุนทัง้ สิน้ 2,300,000 บาท 8) กองทนุ หมูบา นโนนแดง หมูท ี่ 8 มนี ายสมบตั ิ คุณสุทธิ์ เปนประธานฯ จํานวนเงนิ ทนุ ทง้ั สน้ิ 2,300,000 บาท 9) กองทุนหมบู า นปา ชาด หมูที่ 9 มนี ายสวนิ เจริญตา เปน ประธานฯ จํานวนเงินทุนทง้ั ส้ิน 2,300,000 บาท 10) กองทนุ หมูบานโสกสาน หมทู ี่ 10 มีนายสาย ปต ทุม เปนประธานฯ จํานวนเงินทุนทั้งสน้ิ 2,300,000 บาท 11) กองทุนหมูบานหองแซงใต หมูท ี่ 11 มนี ายชศู ักด์ิ ณ จําปาศกั ด์ิ เปนประธานฯ จํานวนเงินทนุ ท้ังส้ิน 2,300,000 บาท 12) กองทนุ หมูบา นโพธ์ิทอง หมูท ี่ 12 มนี ายอน่ิ ดี โคตรสมบัติ เปน ประธานฯ จาํ นวนเงนิ ทุนท้งั สน้ิ 2,300,000 บาท 13) กองทนุ หมบู า นหนองติ้ว หมูท ี่ 13 มนี ายคาํ พันธ ไชยนนท เปนประธานฯ จํานวนเงินทนุ ทงั้ สน้ิ 2,300,000 บาท 14) กองทุนหมูบา นรอ งคํา หมูท่ี 14 มีนายสพุ รต จันทะชยั เปนประธานฯ จํานวนเงินทุนทั้งสิน้ 2,200,000 บาท 15) กองทนุ หมูบ านโพง หมทู ่ี 15 มีนางกีรติญา ขนั ติวงค เปนประธานฯ จาํ นวนเงินทุนท้งั สิ้น 2,300,000 บาท 16) กองทนุ หมบู า นดงยาง หมทู ่ี 16 มนี ายประสงค ไชยจนั ดี เปน ประธานฯ จาํ นวนเงินทุนท้งั สิ้น 2,200,000 บาท 17) กองทนุ หมูบา นหองแซง หมูที่ 17 มีนายเรอื นนอย เจรญิ ตา เปน ประธานฯ จํานวนเงนิ ทุน ทั้งสน้ิ 2,200,000 บาท ตําบลหองแซง อาํ เภอเลงิ นกทา จงั หวัดยโสธร หนา ที่ 14

เอกสารถอดบทเรียนการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตนแบบเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ประจาํ ป 2564 18) กองทุนหมบู า นหองแซง หมทู ่ี 18 มีนายไมตรี บญุ มี เปนประธานฯ จํานวนเงินทนุ ท้งั สน้ิ 2,200,000 บาท 19) กองทนุ หมูบา นนาหวา หมูท่ี 19 มีนายปญ จมา สมเนตร เปน ประธานฯ จํานวนเงินทุนทง้ั สน้ิ 2,2หก00,000 บาท 7. กองทนุ แมของแผน ดิน - กองทุนแมข องแผน ดินบา นโพง หมูท ่ี 2 ตําบลหองแซง อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร - กองทุนแมข องแผน ดินบา นดงยาง หมูท่ี 7 ตาํ บลหอ งแซง อําเภอเลิงนกทา จังหวดั ยโสธร - กองทนุ แมของแผนดนิ บา นหอ งแซงใต หมูที่ 11 ตาํ บลหองแซง อําเภอเลิงนกทา จังหวดั ยโสธร - กองทุนแมข องแผนดนิ บานหองแซง หมูท่ี 17 ตําบลหอ งแซง อาํ เภอเลงิ นกทา จงั หวัดยโสธร 8. คณะทาํ งานขับเคลอ่ื นกองทนุ พฒั นาบทบาทสตรีตาํ บลหอ งแซง ประกอบดว ย 2. นางกรรณิกา ทับแสง คณะทํางาน 3. นางสาวจันทรรตั น ผงทอง คณะทาํ งาน 4. นางวลัย หองแซง คณะทาํ งาน 5. นางสาวลําปาง มนทสี ตุ คณะทํางาน 6. นางสาวสุวรรณี หองแซง คณะทาํ งาน 7. นางสาวศุภาพัช เมอื งพลิ คณะทาํ งาน 8. นางสาวนาวิน นันทวัตร คณะทํางาน 9. นางสาวธนิสร สุวรรณกฏู คณะทาํ งานและเลขานุการ 9. อาสาสมคั รผปู ระสานงานกองทนุ พัฒนาบทบาทสตรหี มบู าน/ชมุ ชน ตําบลหองแซง ที่ ชื่อ-สกลุ หมทู ี่ ชื่อบาน หมายเลขโทรศพั ท ๑ นางกรรณิกา ทบั แสง ๑ หอ งแซง 087 6507745 ๒ นางดาวรุง บญุ สงิ ห ๒ โพง 093 8861550 ๓ นางสาวจนั ทรรตั น ผงทอง ๓ หอ งคลอง 064 9432031 ๔ นางสาวธนิสร สุวรรณกฏู ๔ หนองบงึ 061 9520036 ๕ นางวลยั หอ งแซง ๕ หอ งแซง 061 0703231 ๖ นางสาวลําปาง มนทสี ตุ ๖ ทา ศลิ า 065 2090333 ๗ นางสาวสุวรรณี หอ งแซง ๗ ดงยาง 099 1617885 ๘ นางจนั ทร เจรญิ ตา ๘ โนนแดง 094 4083574 ๙ นางแดง สนุ นท ๙ ปา ชาด ๑๐ นางปราณี เจรญิ ตา ๑๐ โสกสาน 098 5165075 ๑๑ นางสาวศภุ าพชั เมืองพลิ ๑๑ หองแซงใต 085 4196411 ๑๒ นางสาวบรรทม เพชรไพร ๑๒ โพธิ์ทอง 062 7790733 ๑๓ นางจาํ เนยี ร คณุ สุทธิ์ ๑๓ หนองต้ิว 085 3005566 ๑๔ นางจันทร พลเยย่ี ม ๑๔ รองคํา 084 3095708 ๑๕ นางธนพร เรง มาตร ๑๕ โพง 083 2481307 ๑๖ นางสาวนาวนิ นนั ทวตั ร ๑๖ ดงยาง 086 2355729 ๑๗ นางสาวนวนนา ผาเวช ๑๗ หอ งแซง 085 8568371 ๑๘ นางคาํ หลดุ หอ งแซง ๑๘ หอ งแซง 061 8700115 ๑๙ นางสมบตั ิ ศรชี นะ ๑๙ นาหวา 064 7075429 ตาํ บลหอ งแซง อําเภอเลงิ นกทา จงั หวดั ยโสธร หนา ที่ 15

10. กลุมผผู ลติ ผูประกอบการ OTOP ท่ีขนึ้ ทะเบียน OTOP ดังนี้ เอกสารถ ที่ ชอ่ื กลุม ประเภท ลงทะเบียน 2557 1 กลมุ ภมู ปิ ญ ญาตากะยาย กลุมผผู ลติ ชุมชน 2560 2557 2 กลุมสมั มาชพี ทอผาบานหองแซงใต กลุมผผู ลติ ชมุ ชน 2557 2557 3 กลุมตะกราเตือนใจ กลุมผผู ลติ ชมุ ชน 2557 2557 4 กลมุ จักสานตะกรา พลาสตกิ กลุมผผู ลติ ชมุ ชน 2557 2557 5 กลมุ ตะกราพลาสติก กลมุ ผผู ลติ ชุมชน 2560 2560 6 กลมุ ทอผา ยอมสีธรรมชาติ กลมุ ผผู ลติ ชมุ ชน 2560 2560 7 กลุมทอผาพ้ืนเมอื ง-ผา มัดหม่ี หมู 18 กลมุ ผผู ลติ ชมุ ชน 2557 2557 8 กลุม ภมู ิปญ ญาตากะยาย กลมุ ผผู ลติ ชุมชน 2561 2560 9 กลมุ ภมู ปิ ญ ญาตากะยาย กลุมผผู ลติ ชมุ ชน 2560 2557 10 กลุม สมั มาชีพทอผาบา นหอ งแซงใต กลุมผผู ลติ ชมุ ชน 2557 2557 11 กลุมสมั มาชพี ทอผา พ้นื เมอื งบานทาศลิ า กลมุ ผผู ลติ ชมุ ชน 2557 2560 12 กลุมสมั มาชีพทอผา พนื้ เมืองบานทา ศลิ า กลมุ ผผู ลติ ชุมชน 2560 2557 13 กลมุ สมั มาชพี ทอผา บา นหองแซงใต กลมุ ผผู ลติ ชมุ ชน 14 กลมุ ทอผาบานดงยาง ม.16 กลมุ ผผู ลติ ชมุ ชน 15 กลมุ ทอผา ปลาตะเพียน กลุมผูผลติ ชุมชน 16 รา นเสริมสวยคณุ จอ ผผู ลิตชุมชนท่ีเปนเจา ของรายเดยี ว 17 กลุมสมั มาชีพทอผา บานหองแซง ม.17 กลมุ ผผู ลติ ชุมชน 18 กลุมสมั มาชีพทอผาบานหอ งแซง ม.17 กลมุ ผผู ลติ ชุมชน 19 กลุมทอผายอ มสีธรรมชาติ กลุม ผผู ลติ ชมุ ชน 20 กลมุ ทอผายอ มสีธรรมชาติ กลมุ ผผู ลติ ชุมชน 21 กลุมทอผาบา นปา ชาด กลุมผผู ลติ ชมุ ชน 22 กลุมทอผาบานปา ชาด กลมุ ผผู ลติ ชุมชน 23 กลมุ ทอผา พ้นื เมือง ม.5 กลมุ ผผู ลติ ชมุ ชน 24 กลุมทอผาพน้ื เมอื ง ม.5 กลุมผผู ลติ ชุมชน 25 กลุมอนรุ กั ษใ ยไหม กลมุ ผผู ลติ ชุมชน

ถอดบทเรยี นการดําเนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตนแบบเพือ่ พัฒนาคุณภาพชวี ิต ประจาํ ป 2564 น ช่ือผปู ระกอบการ/ประธาน ผลติ ภัณฑ ประเภท ระดบั นาง สมเกียรติ จนั ทรส ุคนธฺ ผา เชด็ มือ ของใชฯ C นางสาว ศภุ าพัช เมืองพลิ พวงกญุ แจผไู ท ของใชฯ D นาง เตอื นใจ ศรโี ชค ตะกรา พลาสติก ของใชฯ D นาง เพญ็ พกั ตร แกวแกน ตะกรา พลาสติก ของใชฯ D นางสาว จันทรา ไชยแสง ตะกรา พลาสตกิ ของใชฯ D นาง เกษร ลุสขุ ผา ปูโตะ ของใชฯ D นาง แกว เจรญิ ตา ผา มดั หมี่ ผาและเคร่ืองแตงกาย D นาง สมเกียรติ จนั ทรส ุคนธฺ กางเกงขากว ย ผา และเครอ่ื งแตง กาย C นาง สมเกียรติ จันทรส คุ นธฺ กระเปา เอนกประสงค ผาและเครือ่ งแตงกาย C นางสาว ศภุ าพชั เมืองพิล ผาแพรนอ ย ผาและเครอ่ื งแตงกาย D นาง สดี า ไกรยรตั น ผา มัดหมี่ ผา และเคร่ืองแตง กาย D นาง สีดา ไกรยรัตน ผา สไบ ผา และเครอ่ื งแตงกาย D นางสาว ศภุ าพชั เมอื งพิล ผามัดหมี่ ผาและเคร่ืองแตง กาย D นาง สํารวย มุกธวตั ร ผามัดหม่ี ผาและเครอ่ื งแตงกาย C นาง ไพรศรี ชายทวปี ผา ทอลายปลาตะเพียน ผาและเคร่อื งแตงกาย D นาง สมคิด ทิพรตั น ชุดแปรรปู จากผา พืน้ บา น ผา และเคร่ืองแตงกาย D นาง คําตา วงศทอง ผา มัดหม่ี ผา และเครอื่ งแตง กาย D นาง คาํ ตา วงศทอง ผาขาวมา ผาและเครื่องแตง กาย D นาง เกษร ลสุ ขุ ผาขาวมา ผา และเคร่อื งแตงกาย D นาง เกษร ลสุ ขุ ผาลายขติ ผา และเครอ่ื งแตงกาย D นาง จันเพ็ง ตรวุ รรณ ผาทอถุงยา ม ผาและเครอื่ งแตงกาย D นาง จันเพ็ง ตรวุ รรณ ผา ฝา ยมัดหม่ี ผาและเครือ่ งแตงกาย C นาง มณีจนั ทร นนั ทวัตร ผาสไบ ผา และเคร่อื งแตง กาย D นาง มณีจันทร นนั ทวตั ร ผาผนื ผาและเครอื่ งแตง กาย D นาง คําตา วงศทอง ผามัดหม่ี ผา และเครอื่ งแตง กาย D ตาํ บลหองแซง อาํ เภอเลิงนกทา จงั หวดั ยโสธร หนาท่ี 16

ที่ ชือ่ กลุม ประเภท เอกสารถ 26 กลุมทอผา กลมุ ผผู ลติ ชุมชน 27 กลมุ ทอผา พ้นื เมือง-ผามดั หม่ี หมู 18 กลุม ผผู ลติ ชุมชน ลงทะเบียน 28 กลมุ ทอผา บา นปา ชาด กลุม ผผู ลติ ชุมชน 2557 29 กลุมทอผา บา นดงยาง ม.16 กลมุ ผผู ลติ ชมุ ชน - 30 กลุม สมั มาชีพทอผา บา นหอ งแซงใต กลุม ผผู ลติ ชมุ ชน - 31 วิสาหกิจชมุ ชนทอผา จันทวาหอ งแซง กลุมผผู ลติ ชมุ ชน - 32 วสิ าหกจิ ชมุ ชนทอผาจนั ทวาหองแซง กลมุ ผผู ลติ ชมุ ชน - 33 วสิ าหกจิ ชมุ ชนทอผา จนั ทวาหอ งแซง กลุม ผผู ลติ ชุมชน 2563 34 วิสาหกจิ ชุมชนทอผา จนั ทวาหอ งแซง กลุมผผู ลติ ชุมชน 2563 35 รา นเสริมสวยคณุ จอ ผูผลิตชุมชนทเ่ี ปน เจา ของรายเดยี ว 2563 36 วิสาหกิจชชุมชนแปรรปู สมนุ ไพรดงยาง กลมุ ผผู ลติ ชมุ ชน 2563 37 วิสาหกิจชชมุ ชนแปรรปู สมนุ ไพรดงยาง กลุมผผู ลติ ชุมชน 2563 38 วิสาหกจิ ชชมุ ชนแปรรูปสมนุ ไพรดงยาง กลุมผผู ลติ ชุมชน 2563 39 วิสาหกจิ ชชมุ ชนแปรรูปสมนุ ไพรดงยาง กลุม ผผู ลติ ชมุ ชน 2563 40 วสิ าหกจิ ชชมุ ชนแปรรปู สมนุ ไพรดงยาง กลมุ ผผู ลติ ชุมชน 2563 41 วิสาหกจิ ชชมุ ชนแปรรปู สมนุ ไพรดงยาง กลุมผผู ลติ ชมุ ชน 2563 42 วสิ าหกิจชชมุ ชนแปรรูปสมนุ ไพรดงยาง กลมุ ผผู ลติ ชมุ ชน 2563 43 วิสาหกจิ ชชุมชนแปรรูปสมุนไพรดงยาง กลุมผผู ลติ ชุมชน 2563 44 ขา วกลอ งงอกอาหารเสริมสขุ ภาพ กลุม ผผู ลติ ชุมชน 2563 45 กลมุ แปรรูปขาว กลุมผผู ลติ ชุมชน 2563 46 กลมุ ขา วกลอ งงอก กลมุ ผูผลติ ชุมชน 2561 2557 2557

ถอดบทเรียนการดําเนนิ งานสารสนเทศตําบลตนแบบเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพชีวิต ประจาํ ป 2564 น ชื่อผปู ระกอบการ/ประธาน ผลิตภัณฑ ประเภท ระดบั นาง สวุ ิมล งามขํา ผาลายปลาตะเพยี น ผา และเครอื่ งแตง กาย D นาง แกว เจรญิ ตา ผา ซ่ินมดั หม่ี ผา และเครอื่ งแตงกาย D นาง จันเพ็ง ตรวุ รรณ ผา มดั หมี่ ผา และเครอื่ งแตงกาย D นาง สํารวย มกุ ธวตั ร ผาถุงมัดหม่ี ผาและเครื่องแตง กาย D นางสาว ศภุ าพัช เมอื งพลิ ผาสไบตามอ ง ผา และเครอื่ งแตง กาย D นางกลั ยา หองแซง ผายอมคราม ผา และเครือ่ งแตง กาย D นางกัลยา หองแซง ผาพนั คอยอมสีธรรมชาติ ผา และเครอ่ื งแตงกาย D นางกัลยา หองแซง ผามดั หมี่ ผาและเคร่อื งแตง กาย D นางกลั ยา หอ งแซง ผา พันคอลายตามอ ง ผาและเครื่องแตง กาย D นาง สมคิด ทพิ รัตน นํา้ มันมะพรา ว สมนุ ไพรที่ไมใชอาหาร D อญั ชลี ไชยโคตร ชาใบไผซางมน สมนุ ไพรทีไ่ มใ ชอาหาร D อัญชลี ไชยโคตร สมุนไพรท่ีไมใ ชอ าหาร D อัญชลี ไชยโคตร นาํ้ มันสมุนไพรฤทธิเ์ ยน็ (ยาเขยี ว) สมุนไพรที่ไมใ ชอ าหาร D อญั ชลี ไชยโคตร สมุนไพรที่ไมใ ชอ าหาร D อญั ชลี ไชยโคตร ยามองโลดทะนงแดง สมุนไพรทไี่ มใชอ าหาร D อัญชลี ไชยโคตร ขีผ้ ้ึงยา นางเสลดพังพอน สมุนไพรทไ่ี มใ ชอ าหาร C อัญชลี ไชยโคตร นาํ้ มันกงั ซาสูตรเยน็ สมนุ ไพรทไ่ี มใชอ าหาร D อัญชลี ไชยโคตร น้ําสกัดสมนุ ไพรใบยา นาง สมนุ ไพรทไี่ มใชอ าหาร D นาง จนั ทอง ซอ นกล่นิ สบูกลีเซอรนี สมุนไพร อาหาร D นาย ริยะชติ เหล็กเพชร แซมพสู มุนไพรมะกรดู อาหาร D นาง กัญญารัตน จนิ าวรณ ขาวกลอ งงอกเสริมสุขภาพ อาหาร D ขาวกลอ งหอมมะลิ 105 ขาวกลองงอก ตําบลหอ งแซง อาํ เภอเลงิ นกทา จงั หวดั ยโสธร หนาท่ี 17

เอกสารถอดบทเรยี นการดําเนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตน แบบเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชวี ิต ประจําป 2564 11. โครงการชมุ ชนทองเที่ยว OTOP นวัตวิถี บานหอ งแซง ตําบลหองแซง อาํ เภอเลิงนกทา จังหวัด ยโสธร กรมการพัฒนาชุมชน เปนผูรับผิดชอบหลักสง เสริมการดําเนินงาน OTOP รวมกับหนว ยงานตา งๆ เพื่อ สงเสรมิ ยกระดับผลิตภัณฑและพัฒนาทางการตลาดท่ีหลากหลายเพื่อนําไปสกู ารคาแบบสากล ขณะเดยี วกันภาครัฐ ไดมีการสงเสรมิ การทอ งเที่ยววถิ ีไทย การทองเที่ยวชุมชน ท่ีผสมผสานระหวางการทองเทย่ี วและผลิตภัณฑของชมุ ชน เพื่อสรางรายได ประสิทธภิ าพของการแขง ขนั และความสุขของคนชุมชน โครงการชุมชนทองเที่ยว OTOP นวัตวถิ ี ใหความสําคัญกับการขายสนิ คาชุมชนท่ีมาจากการทองเที่ยว เนนการใชเสนหภูมิปญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรมและความคิดสรางสรรคแ ปลงเปนรายได เปนชุมชนทองเที่ยวที่เปน เจา บานทด่ี ี รว มคิดและผลิตสินคาและบรกิ าร รวมงมกี ารเชื่อมโยงเสน ทางการทอ งเที่ยวระดับชุมชนท่ีมีเสนห ดงึ ดูดและมี คุณคาเพียงพอใหนักทองเท่ียวเขามาเยี่ยมเยือนและใชจายเงนิ ในทุกกิจกรรมของชุมชน เพ่ือใหรายไดกระจายอยูกับ คนในชุมชน เปนการสรางความเขมแข็งใหชุมชน และเปนการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก (Local Economy) อยาง แทจริง จังหวัดยโสธร ไดคัดเลือกบานหองแซง ตําบลหองแซง อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร เปนชุมชน ทองเที่ยว OTOP นวัติวิถี ซ่ึงชุมชนมีความพรอมคนในชุมชนเปนเจาบานที่ดีและมีสวนรวมในการจัดการชุมชน ทอ งเทีย่ ว และรับผิดชอบอยางชัดเจนแตล ะกิจกรรมและประจําฐานเรยี นรูตามความถนัดและความสนใจ โดยแบงทีม ทํางานมีหัวหนาทีมเปนคณะทํางาน และมีการเช่ือมโยงกับกลุมตางๆ ที่ในชุมชนเพื่อเตรียมความพรอมในการเปน ชุมชนทอ งเที่ยว OTOP นวตั วถิ ี เพ่ือรองรบั นักทอ งเที่ยว ดงั น้ี 1. สภาวฒั นธรรม ผรู บั ผิดชอบ นางละเอียด ศรีสขุ 2. ชมรมผสู ูงอายุ ผรู ับผิดชอบ นายกติ ชิ ยั หองแซง 3 สภาองคกรชมุ ชน ผรู บั ผดิ ชอบ นายนเรศ ภกั ดีลุน 4. กลุมโฮมสเตย ผูรับผิดชอบ นายสมพงษ วชิ ยั ศร 5. กลุมทอผา ผูรบั ผดิ ชอบ นางสาวศุภาพชั เมืองพิล 6. กลุม ปุย อนิ ทรีย ผูรบั ผิดชอบ นายประหยัด นามศร 7. กลมุ อาหาร ผูรบั ผิดชอบ นางสมร แสงวงศ 8. กลุมนาฏศิลปถ ิน่ ภไู ท ผรู ับผิดชอบ นายสลดั เมอื งพิล 9. กลมุ ศิลปน พนื้ บาน ผูรับผดิ ชอบ นายผจุล แกวหาญ 10. กลมุ ภาษาภูไท/ประวัติภไู ท ผรู ับผดิ ชอบ นายคํากิ่ง ทบั แสง 11. กลมุ สมนุ ไพร ผูร ับผดิ ชอบ นางเฉลยี ว ดที ่ีสดุ 12. กลุมอนรุ ักษภูไท ผูรบั ผิดชอบ นางสาวผกาวลั ย หองแซง 13. กลมุ จกั สาน ผรู ับผิดชอบ นายสลี า แกว หาญ 14. กลมุ โรงเรยี นผูสงู อายุ ผูรบั ผิดชอบ นายถวลั ย หอ งแซง 15. กลมุ มัคคเุ ทศนอ ย ผรู บั ผิดชอบ นายสงั วาลย เมืองพิล 16. กลมุ บรกิ ารรถ ผูรับผดิ ชอบ นางนวนนา ผาเวช 17. กลมุ ตอ นรับ (ผปู ระสานงานทกุ กลุม) ผูร บั ผดิ ชอบ นายพเิ ชษฐ กุมาสิทธิ์ ตาํ บลหอ งแซง อําเภอเลงิ นกทา จงั หวัดยโสธร หนาท่ี 18

เอกสารถอดบทเรียนการดําเนนิ งานสารสนเทศตําบลตน แบบเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชีวิต ประจําป 2564 ขอมูลชุมชนทองเที่ยว OTOP นวตั วถิ ี หมบู านหอ งแซงมีวฒั นธรรมประเพณแี ละวิถชี ีวติ ทแี่ สดงถึงความ เปน ชนเผาภไู ท ท่โี ดดเดน เปนเอกลกั ษณ ไดแก การแตง กายชุดภไู ทมีภาษาเปน ของตนเองและการดาํ เนนิ ชีวิตทเี่ รียบ งายยิ้มแยม แจม ใสมีความโดดเดน ของชุมชน ดานวฒั นธรรมผไู ท (ภาษาพูด การแตง กาย) แหลง ทองเทย่ี วธรรมชาติ ผา , การแตง กาย (ผามัดหม่ี) (ผา ขาวมา ผาตาหมอง) (ผายอมคราม) ความรักความสามคั คกี นั ภายในชุมชน การมี ชุมชนเขามามสี ว นรวม (บ.ว.ร) (บาน, วัด, โรงเรียน) ชมรมผูสงู อายุ / มีองคค วามรู /มีภูมปิ ญ ญา มีสภาวัฒนธรรม ตําบล มถี นนคนเดินระดับ A (ตลาดตองชม) การเช่ือมโยงการทอ งเท่ยี วในเขตพื้นทต่ี ิดกัน เชนพระธาตุกอ งขา วนอย, เจดียชยั มงคล, ตลาดอินโดจนี ,วดั มโนรมย ,พระธาตุพนม มแี หลง ทองเท่ียวและสถานท่ีพกั ผอ นหยอ นใจ ไดแก หนิ สามกอ น ภูถาํ้ พระ อางเก็บนา้ํ หวยลิงโจน (มีรา นอาหารของคนในชมุ ชน) ผานางคอย ถ้ําหมี และไรนุจรนิ ทร (ไร ผลไมตามฤดูกาล) ตาํ บลหอ งแซง อาํ เภอเลิงนกทา จังหวดั ยโสธร หนาท่ี 19

เอกสารถอดบทเรียนการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตําบลตน แบบเพ่อื พัฒนาคุณภาพชวี ิต ประจําป 2564 มฐี านการเรียนรูตามวิถชี ีวติ ชาวผไู ทหองแซง (พรอ มมีมคั คเุ ทศกนําทาง) 1. ฐานสมนุ ไพรพืน้ บาน (โปลาเซา) 2. ฐานประวตั ิ และภาษาภไู ท (สอนภาษา , พรอ มเลาประวตั ิ , รอ งเพลงกลอมลูก) (เวาโหมน) 3. ฐานจกั สาน (เอ็ดเว) ตาํ บลหองแซง อําเภอเลิงนกทา จงั หวดั ยโสธร หนา ที่ 20

เอกสารถอดบทเรียนการดําเนนิ งานสารสนเทศตําบลตน แบบเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ประจาํ ป 2564 4. ฐานการละเลนพืน้ บาน (มาดิน้ นํากัน) 5. ฐานดนตรพี ้นื บานหมอลาํ หมอแคน (โมนซ่ืน) 6. ฐานวิถชี ีวิตการจีบของหนุมสาวชาวภูไท พรอมพานักทองเที่ยวรวมละเลน (ลงขว ง , ลงโขง) 7. ฐานอาหารพ้นื บาน พรอ มพาทาํ (แนวกนิ ) ตาํ บลหองแซง อําเภอเลงิ นกทา จังหวดั ยโสธร หนาที่ 21

เอกสารถอดบทเรยี นการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตําบลตน แบบเพ่อื พฒั นาคุณภาพชีวิต ประจาํ ป 2564 อาหารพื้นถ่ินภูไท (มีทีเ่ ด่ยี วในโลก) ๑. ข้ีสูบใบคูณ (นํ้าจ้ิมมะมวง) ๒. ขีส้ บู ใบผัก (อาหาร) ๓. ตะโละ (วธิ กี ารถนอมอาหาร) ๔. ตาํ มะเขือ ๕. ตาํ หนอไมส ม ๖. โจมะอบู (ฟก ทองนงึ่ ) ๗. ขา วแดกงา (ตาํ ขา วเหนียว) ๘. ขา วหัวหงอก (ขาวเหน่ยี วนงึ่ ผสม /นํา้ ตาล /น้ําออ ย / มะพราวหา ว) ๙. ขาวจี่ (สตู รหอ งแซง) รปู แบบในการใหบ รกิ ารนกั ทอ งเที่ยว ๑. พาชมแหลงทอ งเที่ยวภายในเขตพ้ืนท่ตี ิดตอ เชนเจดยี มหาชัยมงคล ระยะทาง 21 ก.ม. ภูจอกอ 11 ก.ม. ๒. พาชมกลมุ อนุรักษ (ผไู ท) พรอ มขายของท่รี ะลึกใหนดั ทองเทยี่ ว ๓.ภาคกลางคนื 1. บายศรีสขู วญั 2. รําฟอ นบายศรี 3. หมอลําภูไท 4. เดนิ แบบ 5. พาแลง 6. สง พักโฮมสเตย ตําบลหอ งแซง อาํ เภอเลงิ นกทา จงั หวัดยโสธร หนาท่ี 22

เอกสารถอดบทเรยี นการดําเนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตน แบบเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพชีวิต ประจําป 2564 ๔.เจา ของบานโฮมสเตยมาพรอมสง นักทองเทย่ี ว ๕.มอบของฝากของที่ระลกึ แกนักทองเทีย่ ว (ผา ตาหมอง) ๖.พระครูวดั โพธาราม ใหพร แกน ักทองเทยี่ ว ๗.การตอ นรับ ๘.การคลอ งมาลยั ๙.การฟอ นตอนรบั ๑๐.มีรถคอยบรกิ ารนักทองเทย่ี ว (ซาเลง, รถอีแตน, จักรยาน,) มคี าบรกิ าร 12. ชมรมผสู ูงอายตุ าํ บลหองแซง คาํ ขวัญ “รอยใจรกั พิทกั ษผูสูงวยั หวงใย ใจอาสา” วสิ ยั ทัศน “กา วสสู งั คมผสู ูงอายุที่มีคณุ ภาพท่ีดี ภายใตค วามรวมมือทุกภาคสวนแบบยั่งยืน” พันธกิจ 1. พัฒนาบริหารจัดการชมรมใหมปี ระสิทธภิ าพเพ่ือกาวไปสูองคก รทยี่ งั่ ยืน 2. สง เสรมิ ความรว มมือทุกภาคสวนใหมสี ว นรว มรบั ผดิ ชอบเพ่ือใหผูส ูงอายุกาวไปสสู ังคมอยา งมคี ณุ ภาพ 3. สงเสรมิ การนาํ ศักยภาพของผูสงู อายุมาใชเ ปนประโยชนต อ สงั คม 4. สง เสริมการคมุ ครองพิทกั ษสิทธขิ องผูสงู อายใุ หเขาถงึ ระบบสวสั ดิการสังคม 1. นายกิติชยั หอ งแซง คณะกรรมการบรหิ ารชมรมฯ 2. นายสลี า แกว หาญ ประธานชมรม 3. นายผจุล แกว หาญ รองประธาน 4. นายจมู แสงศรี รองประธาน 5. นายคายทอง แกวหาญ กรรมการผทู รงคณุ วุฒิ 6. นายคาํ นวณศกั ดิ์ มูลสาร กรรมการผูทรงคณุ วุฒิ 7. นางละมุล ไชยสัจ กรรมการผูทรงคณุ วุฒิ 8. นางละเอยี ด ศรสี ขุ กรรมการผูทรงคณุ วฒุ ิ กรรมการผูทรงคณุ วฒุ ิ ตําบลหอ งแซง อําเภอเลงิ นกทา จงั หวัดยโสธร หนา ท่ี 23

เอกสารถอดบทเรยี นการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตน แบบเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ประจําป 2564 9. นายลัง ชว งโชติ กรรมการ 10.นายสานิตย ผวิ ผอ ง กรรมการ 11.นายหนจู นั ทร เพชรพินจิ กรรมการ 12.นายสวาง สนุ ะ กรรมการ 13.นางปญจา เมอื งพลิ กรรมการ 14.นายหัด บญุ ศริ ิ กรรมการ 15.นายกุหลาย แดงอาจ กรรมการ 16.นายไวยวุทร วรสันต กรรมการ 17.นายจนั ทร สาระธรรม กรรมการ 18.นายอนิ ทรตา คุณสทุ ธิ์ กรรมการ 19.นายบุญเรือง แกวหาญ กรรมการ 20.นายออ นสี แสงวงค กรรมการ 21.นายคาํ ตา หอ งแซง กรรมการ 22.นายนารอน หองแซง กรรมการ 23.นายทวศี กั ดิ์ เจรญิ ตา กรรมการ 24.นายวนั ดี โคตรสมบตั ิ กรรมการ 25.นางสดุ ตา โพธิ์ไหม กรรมการ 26.นางออนตา ผาเวช กรรมการ 27.นางในศรี เจริญผล กรรมการ 28.นายสพุ ิน พลเยีย่ ม กรรมการ 29.นายคาํ ตา จนั ทรเ พง็ กรรมการ 30.นายเซง็ ผิวผอ ง กรรมการ 31.นายเกรยี งศักดิ์ มีชยั กรรมการ 32.นางเรณู มาสขุ กรรมการ 33.นายสวย เมฆไชยภักดิ์ กรรมการ 34.นางแซน เมืองพลิ กรรมการ 35.นายพพิ ัฒน เจริญผล กรรมการ 36.นางสนุ กอกลุ กรรมการ 37.นางทองมวน สาสงิ ห กรรมการ 38.นายบญุ เลิศ พงษส นทิ กรรมการ 39.นางตัน ชางปรุง กรรมการ 40.นางเฉลียว ดีท่สี ุด เหรญั ญิก 41.นายสาย เพชรไพร ผชู วยเหรัญญิก 42.นายสมหวงั เพชรไพร กรรมการ/เลขานกุ าร 43.นางสาวอมร หนอ แกว กรรมการผูช ว ยเลขานกุ าร ตําบลหองแซง อาํ เภอเลงิ นกทา จงั หวดั ยโสธร หนา ที่ 24

เอกสารถอดบทเรยี นการดําเนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตนแบบเพ่อื พฒั นาคุณภาพชีวิต ประจําป 2564 การดาํ เนินงานของชมรม 1. ประชุมคณะกรรมการอยางนอยเดอื นละ 1 คร้ัง 2. โครงการสรางเสริมคุณภาพชีวติ ของผสู งู อายุ - จัดกิจกรรมทางกาย - จัดกิจกรรมการฝกอาชีพ - จัดกิจกรรมโรงเรียนผสู งู อายุ 3. โครงการฟน ฟู อนรุ ักษ สืบสานขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมและการถา ยทอดแกเ ดก็ และเยาวชน จากรุน สูร ุน 4. โครงการชว ยเหลอื ดูแล และสงเคราะหผสู ูงอายุ คนพิการและผดู อ ยโอกาส - จัดหาแหลงเงินทนุ แกผ ูสงู อายุ คนพิการและผดู อยโอกาสเพ่ือนาํ ไปประกอบอาชพี - กิจกรรมเย่ยี มยามถามไถ โดยออกเยี่ยมผสู ูงอายทุ ตี่ ิดบา นติดเตียงปล ะ 3.4 ครัง้ - จดั กิจกรรมเพ่อื นชว ยเพื่อ โดยการจัดต้งั ชมรมฌาปนกิจสงเคราะหศพสมาชิกทเ่ี สียชวี ติ 5. โครงการจดั สวสั ดกิ ารทางสงั คม - การจดั ตง้ั กองทุนสวสั ดิการผสู ูงอายุ คนพิการและผดู อยโอกาส - จัดกิจกรรมหาบานหลังใหมแกเ พ่ือผูจากไป - จัดกิจกรรมทําบุญอุทศิ สวนกุศลแกดวงวิญญาณผเู สียชีวติ ผลสมั ฤทธขิ์ องชมรมผูสงู อายุตาํ บลหองแซง 1. สรางงาน สรางรายไดแ ละสรางสุขแกคนในชมุ ชน 2. ไดรับคัดเลือกจากกระทรวงพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ยใ หเปน ชมรมตน แบบสาขาอนุรักษสบื สบื สานทางวัฒนะรรมระดบั ประเทศ ประจําป 2564 ตําบลหองแซง อาํ เภอเลิงนกทา จงั หวดั ยโสธร หนาท่ี 25

เอกสารถอดบทเรียนการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตําบลตน แบบเพ่อื พัฒนาคุณภาพชีวิต ประจาํ ป 2564 ตําบลหอ งแซง อาํ เภอเลิงนกทา จังหวดั ยโสธร หนาท่ี 26

เอกสารถอดบทเรียนการดําเนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตน แบบเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชีวิต ประจาํ ป 2564 13. ศูนยวัฒนธรรมเฉลมิ ราชตาํ บลหองแซง ตาํ บลหองแซง อําเภอเลิงนกทา จังหวดั ยโสธร หนา ท่ี 27

เอกสารถอดบทเรียนการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตําบลตน แบบเพ่อื พัฒนาคุณภาพชีวิต ประจาํ ป 2564 ตําบลหอ งแซง อาํ เภอเลิงนกทา จังหวดั ยโสธร หนาท่ี 28

เอกสารถอดบทเรียนการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตนแบบเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชวี ิต ประจําป 2564 14. สภาเด็กและเยาวชนตําบลหองแซง ตําบลหองแซง อาํ เภอเลงิ นกทา จังหวัดยโสธร หนา ที่ 29

เอกสารถอดบทเรยี นการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตําบลตน แบบเพ่อื พัฒนาคุณภาพชวี ิต ประจาํ ป 2564 15. กลุมโฮมสเตยภไู ทหอ งแซง ประวตั ิความเปนมา เม่อื ป พ.ศ. 2392 ชนเผาผไู ทจากเมืองพิณ แขวงจําปาศักด์ิ ประเทศลาว ไดอพยพขา มแมนา้ํ โขงโดยผาน ทิศตะวันตกเฉยี งใตมาถึงบานปาดงนาหวา เพื่อ ตั้งถ่ินฐาน ตอมาพรานบุญตามลา แรดผา นมาถงึ ดงนาหวา ไดเลา ใหชาวผูไ ท ท่ีอพยพมาอยูว า พบแหลง ท่ีอุดมสมบูรณม ที าํ เลเหมาะสม หัวหนา ชนเผาผไู ทจงึ ได อพยพพรรคพวกมาสมทบ 5-6 ครอบครวั มาตงั้ ถิ่นฐาน ณ ปา ดงฮอ งหญาแซง ตอมาไดกลายเปน บานหองแซง เอกลกั ษณทเ่ี ดน ชดั คือ การดําเนนิ ชวี ิตแบบวิถีชนผูไท รกั ษาขนบธรรมเนียมวัฒนธรรม การแตงกายและภาษาผไู ท จุดเดน : ชมวิถีชีวิตของชนเผา ผูไทวัฒนธรรม และภาษาผูไท ประเภทโฮมสเตย : สัมผสั วฒั นธรรมและวิถชี วี ติ ชนเผาผไู ท กลมุ การทองเที่ยว : กลมุ ทองเทย่ี วอารยธรรมอีสานใต ชวงเวลาทอ งเท่ียว : ตลอดท้ังป, งานบุญบงั้ ไฟ, ชวงเดอื นกุมภาพันธและเดือนธนั วาคม กิจกรรม – พิธีบายศรีสูขวญั – เล้ียงอาหารพาแลง – ชมการแสดงของชนเผา ผไู ท สถานทีท่ องเทยี่ วใกลเ คียง – อา งเก็บนา้ํ หวยลงิ โจน – พระเจดียช ัยมงคล – โบสถไ มท ่ใี หญทสี่ ุดในโลก – ตลาดอนิ โดจีน สินคาเดน – ผา พ้ืนเมืองลายมัดหม่ี – ขาวกลองหอมมะลิ ท่พี ัก โฮมสเตย 25 หลงั รบั นักทอ งเทย่ี วได 100 คน บา นพักหลงั หนงึ่ รองรบั นักทองเท่ยี วไดอยางนอยจํานวน 4 คน อตั ราคาบริการ : จํานวน 10- 30 ทา นๆละ 650 บาท จํานวน 31-50 ทานๆละ 550 บาท จํานวน 51-100 ทา นๆละ 500 บาท (ราคานรี้ วมคาใชจ า ยทกุ รายการ ยกเวน คาใชจายสว นตัว) ตาํ บลหองแซง อําเภอเลงิ นกทา จงั หวดั ยโสธร หนาท่ี 30

เอกสารถอดบทเรียนการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตนแบบเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ประจําป 2564 มีบริการ ดงั น้ี – บา นพกั โฮมสเตย – อาหารพาแลง – อาหารเชา – ชมกิจกรรมฐานเรียนรเู กีย่ วกับประเพณีและวัฒนธรรม - บายศรสี ขู วัญ ตดิ ตอ สอบถาม คณุ พเิ ชษุ กุมารสิทธิ์ เลขท่ี 272 หมู 11 ตาํ บลหอ งแซง อําเภอเลงิ นกทา จงั หวัดยโสธร 35120 โทร 045-777-014, 085-016-7836 ดูขอ มูลเพ่มิ เติมไดท ี่ Website : http://www.visityasothon.com/?p=1891 Facebook :https://web.facebook.com/hongsang111/โฮมสเตยภูไทหอ งแซง แผนท่ี โฮมสเตยหอ งแซงยโสธร ตาํ บลหอ งแซง อาํ เภอเลิงนกทา จงั หวัดยโสธร หนาท่ี 31

เอกสารถอดบทเรียนการดําเนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตน แบบเพอ่ื พฒั นาคุณภาพชีวิต ประจําป 2564 โปรแกรมนําเทีย่ วหมบู า นวัฒนธรรมผไู ท บานหอ งแซง โปรแกรมท่ี 1 ชมถ่ินวฒั นธรรมผไู ท โปรแกรมคร่ึงวัน กาํ หนดการวันท่ีแรก 15.00 น. – 15.30 น. ตอ นรับคณะนักทองเทย่ี ว ณ ศนู ยการเรยี นรวู ดั ปาจนั ทวนาราม พรอมแนะนํา ประวตั ิขอ มูลพ้นื ฐานตลอดจนวฒั นธรรมประเพณหี มูบ านวฒั นธรรมผูไท บา นหองแซง 15.30 น. – 16.15 น. นาํ คณะเขาเยยี่ มชมฐานการเรยี นรูวิถีชุมชนภมู ิปญญาทองถ่นิ อาทิ แหลงเรยี นรู ดา นสมุนไพร การลงโขง และงานจักสาน 16.15 น. – 17.00 น. นาํ คณะไหวศ าลหลักบา น เย่ียมชมวถิ ชี ุมชนหมูบ านทอผา กลมุ อนรุ ักษ /เยี่ยมชม หมูบานเศรษฐกิจพอเพียง หมู 11 และ 16 17.00 น. – 18.00 น. นาํ สง คณะเขา สทู ่ีพัก โฮมสเตย หมูบา นวฒั นธรรมผไู ท บานหอ งแซง เจา ของบานพักนาํ เที่ยวชมุ ชน /พรอ มพกั ผอ นตามอธั ยาศัย 18.00 น. – 21.00 น. นาํ คณะเดนิ ทางเขาสปู ระเพณีตอ นรับงานพาแลงถน่ิ วฒั นธรรมผูไ ท - กลา วตอ นรับคณะนักทอ งเที่ยว โดยตัวแทนประธานสภาวฒั นธรรม - พธิ ีบายศรสี ูขวญั เพื่อตอ นรบั นกั ทอ งเท่ยี วสูหมบู านวฒั นธรรมผูไ ท บา นหอ งแซง - ชมการแสดงราํ บายศรี และฟอนผูไท - รวมรับประทานอาหารพาแลง (อาหารพืน้ ถ่ิน) พรอ มชมการแสดงของศลิ ปน พน้ื บาน (หมอลาํ หมอแคน) - เชิญชวนนกั ทอ งเที่ยวรว มกิจกรรมรวมกับศิลปน พืน้ บา น 21.00 น. เสรจ็ ส้ินกจิ กรรม พรอมนําคณะนกั ทอ งเทย่ี วเขา สทู พี่ ักโดยสวสั ดิภาพ พรอมความ ประทับใจ กําหนดการวันท่สี อง 06.30 น. - 07.30 น. รว มกิจกรรมทาํ บุญตกั บาตร ณ บานพกั โฮมสเตย 07.30 น – 08.30 น รับประทานอาหารเชา ณ ศูนยก ารเรยี นรูวัฒนธรรม วดั ปา จนั ทวนาราม 08.30น. – 09.00 น. นําคณะเขาเย่ียมชมศนู ยจาํ หนา ยสินคาและเย่ียมชมผลติ ภัณฑช ุมชน และซอื้ ของทร่ี ะลึกผลติ ภณั ฑชมุ ชน – 09.01 น. คณะฯเดนิ ทางกลับ ตาํ บลหองแซง อาํ เภอเลงิ นกทา จังหวดั ยโสธร หนา ที่ 32

เอกสารถอดบทเรียนการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตน แบบเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพชีวิต ประจําป 2564 โปรแกรมท่ี 2 ชมถ่ินวัฒนธรรมผไู ท โปรแกรม 1 วนั กําหนดการวันทแ่ี รก 15.00 น. – 15.30 น. ตอ นรับคณะนักทองเทีย่ ว ณ ศนู ยก ารเรียนรวู ดั ปาจนั ทวนนาราม พรอมแนะนาํ ประวัตขิ อมูลพ้ืนฐาน ตลอดจนวฒั นธรรมประเพณีหมูบานวัฒนธรรมผไู ท บา นหอ งแซง 15.30 น. – 17.00 น. นําคณะไหวศาลหลกั บา น เขา เยยี่ มชมฐานการเรียนรวู ิถีชุมชนภมู ิปญ ญาทอ งถ่ิน อาทิ แหลง เรียนรดู า นสมุนไพร การลงโขง และงานจักสาน กลุมอนรุ กั ษ /เศรษฐกิจ พอเพยี ง หมู 11-16 17.00 น. – 18.00 น. นาํ สงคณะเขาสูที่พกั โฮมสเตย หมบู า นวัฒนธรรมผูไท บานหองแซง /เจา ของ บานพกั นาํ เทีย่ วชุมชน พรอมพักผอ นตามอัธยาศัย 18.00 น. – 21.00 น. กลาวตอนรับคณะนักทองเทีย่ ว โดยตัวแทนประธานสภาวัฒนธรรม - พธิ บี ายศรสี ขู วัญ เพ่ือตอนรบั นกั ทอ งเทย่ี วสูหมบู านวฒั นธรรมผไู ท บานหอ งแซง - ชมการแสดงรําบายศรี และฟอนผูไท - รวมรบั ประทานอาหารพาแลง (อาหารพ้นื ถ่ิน) พรอ มชมการแสดงของศิลปน พนื้ บา น (หมอลาํ หมอแคน) - เชญิ ชวนนักทอ งเทย่ี วรว มกิจกรรมรวมกับศิลปน พื้นบาน 21.00 น. เสรจ็ สนิ้ กจิ กรรม พรอมนําคณะนกั ทอ งเที่ยวเขาสูที่พักโดยสวสั ดิภาพ พรอมความ ประทบั ใจ กําหนดการวนั ท่สี อง 06.30 น. - 07.30 น. รวมกจิ กรรมทาํ บุญตักบาตร ณ บานพักโฮมสเตย 07.30 น – 08.30 น รับประทานอาหารเชา ณ ศนู ยก ารเรยี นรูวัฒนธรรม วัดปาจนั ทวนาราม 08.30น. – 10.30 น. นาํ คณะเขาเย่ียมชมศนู ยจ าํ หนายสินคา และเยีย่ มชมผลติ ภณั ฑ ชุมชน และซ้อื ของทรี่ ะลกึ ผลิตภณั ฑช มุ ชน 10.30น. – 11.30 น. นําคณะเดินทางสูแหลง เรยี นรธู รรมชาติหนิ สามกอน /ภูถาํ้ พระ เตรียมตวั ออก นาํ คณะเดนิ ทางสูอางเกบ็ นํา้ หวยลิงโจน เพื่อทศั นียภาพ และความสวยงามของเกาะ กลางนา้ํ ท่ีเกิดขน้ึ เองตามธรรมชาติท่ีงดงาม 11.31 น อาํ ลานักทองเท่ยี ว พรอมสงนักทอ งเท่ียวเดนิ ทางกลับโดยสวสั ดภิ าพ ตาํ บลหองแซง อาํ เภอเลิงนกทา จงั หวัดยโสธร หนา ท่ี 33

เอกสารถอดบทเรยี นการดําเนนิ งานสารสนเทศตําบลตนแบบเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชวี ิต ประจําป 2564 โปรแกรมท่ี 3 ชมถนิ่ วัฒนธรรมผูไท โปรแกรม 2 วนั 1 คืน กาํ หนดการวนั ท่แี รก 13.00 น. – 13.30 น. ตอ นรบั คณะนักทองเท่ยี ว ณ ศนู ยก ารเรียนรวู ัดปาจนั ทวนาราม พรอมแนะนาํ ประวตั ขิ อ มลู พน้ื ฐาน ตลอดจนวฒั นธรรมประเพณหี มบู า นวัฒนธรรมผูไท บา นหองแซง 13.30 น. – 14.30 น. นาํ คณะเดินทางสูอางเก็บนา้ํ หวยลงิ โจน เพอ่ื ทศั นียภาพ และความสวยงามของเกาะ กลางน้าํ ที่เกิดขึน้ เองตามธรรมชาตทิ ่งี ดงาม 14.30 น. – 16.30 น. นาํ คณะเขาเยย่ี มชมวถิ ีชมุ ชนกลมุ เกษตรอินทรยี ชีวภาพ และกลุมทอผา มดั หมี่ หมู 16 และกลมุ เกษตรพอพยี ง หมู 16 16.30 น. – 17.00 น. นาํ สง คณะเขา สูที่พกั โฮมสเตย หมูบ านวฒั นธรรมผูไ ท บานหองแซง พรอมพักผอ น ตามอธั ยาศัย 17.00 น. 18.00 น. นาํ คณะเดินทางเขาสปู ระเพณตี อนรบั งานพาแลงถ่นิ วฒั นธรรมผูไ ท - กลาวตอนรบั คณะนกั ทองเที่ยว โดยตวั แทนประธานสภาวฒั นธรรม - พิธบี ายศรสี ขู วัญ เพื่อตอนรับนักทอ งเที่ยวสูหมบู า นวฒั นธรรมผไู ท บานหอ งแซง - ชมการแสดงราํ บายศรี และฟอ นภไู ท - รว มรับประทานอาหารพาแลง (อาหารพืน้ ถ่ิน) พรอ งชมการแสดงของศิลปน พื้นบา น (หมอลาํ หมอแคน) - เชิญชวนนกั ทองเทย่ี วรวมกิจกรรมรว มกับศลิ ปน พืน้ บาน 21.00 น. เสรจ็ ส้นิ กิจกรรม พรอมนาํ คณะนกั ทองเท่ยี วเขาสทู ีพ่ ักโดยสวัสดภิ าพ พรอมความ ประทับใจ กําหนดการวนั ที่สอง 06.30 น. รว มกิจกรรมทาํ บุญตักบาตร ณ บา นพกั โฮมสเตย รับประทานอาหารเชา 07.30 น. – 08.00 น. นาํ คณะเขา เย่ยี มชมสวนมะนาวเศรษฐกิจพอเพียง หมู 11 08.00น. – 08.45 น. นาํ คณะเขาเยี่ยมชมศนู ยเ รียนรูช มรมผูสูงอายุตําบลหอ งแซง ชมการสาธิตขัน้ ตอน การทอผา และเย่ียมชมสินคา ผลิตภณั ฑช ุมชนและเลือกชมเลือกซือ้ สินคาผลติ ภณั ฑ ทอ งถิ่น 08.45น. – 10.30 น. นาํ คณะเดนิ ทางสูแหลงเรยี นรูธรรมชาติหนิ สามกอ น พรอมชมความสวยงามของ ปรากฏการณท างธรรมชาตติ นไมกลายเปนหินท่ีหาชมไดยาก 10.30น. – 11.30 น นําคณะเดินทางกลบั สหู มบู านวัฒนธรรมภูไท บา นหองแซง พรอ มอําลานักทองเทย่ี ว เดินทางกลบั โดยสวัสดิภาพ หมายเหตุ : รายการอาจมกี ารเปล่ยี นแปลงตามความเหมาะสม ตาํ บลหอ งแซง อาํ เภอเลงิ นกทา จงั หวัดยโสธร หนาที่ 34

เอกสารถอดบทเรยี นการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตําบลตน แบบเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชีวิต ประจําป 2564 16. รายชื่อปราชญชาวบาน / ภูมิปญ ญาทองถ่ิน ดานอนรุ ักษวัฒนธรรมประเพณี ไดแก (1) ชอ่ื นายอํานวย หองแซง มีความรคู วามชํานาญดา นทําบายศรสี ขู วัญ (2) ชอ่ื นายจักร หอ งแซง มีความรูความชาํ นาญดา นศาสนพธิ ี (3) ชอ่ื นายเกณฑ หองแซง มคี วามรคู วามชาํ นาญดานศาสนพธิ ี (4) ชื่อ นายแสงทพิ ย หองแซง มคี วามรคู วามชาํ นาญดานศาสนพธิ ี ดา นภมู ิปญญาทองถ่ิน ไดแก (1) ชอื่ นายจรญู เมอื งพลิ มีความรคู วามชํานาญดานการทําไมก วาดทางมะพราว (2) ช่อื นายทนิ เมอื งพลิ มคี วามรูความชํานาญดา นจักสาน (3) ชือ่ นายทองดา ศาสตรศ ิลป มคี วามรคู วามชํานาญดา นจกั สานกลองขาว (4) ชอ่ื นายบุญสี แกว หาญ มคี วามรูความชาํ นาญดา นจกั สานกลอ งขาว (๕) ชื่อ นายนารอน หองแซง มคี วามรคู วามชํานาญดานจักสานกลอ งขาว ดา นทอผา ไดแก (1) ชอ่ื นางอาํ นวย หอ งแซง มีความรูความชาํ นาญดานทอผา พื้นเมืองชดุ วัฒนธรรมภไู ท (2) ชื่อ นางแววตา ผงทอง มีความรคู วามชาํ นาญดา นทอผา พนื้ เมืองชุดวฒั นธรรมภูไท (3) ช่อื นางกิลา เจริญตา มีความรคู วามชํานาญดานทอผาพื้นเมืองชดุ วฒั นธรรมภูไท (4) ชอ่ื นางมะลิวัลย คุณสุทธิ์ มีความรูค วามชํานาญดานทอผา พนื้ เมืองชดุ วฒั นธรรมภไู ท (๕) ช่ือ นางจาํ นงค แกวหาญ มคี วามรคู วามชํานาญดา นทอผา พ้ืนเมืองชุดวฒั นธรรมภไู ท ดานสมนุ ไพร ไดแ ก (1) ชื่อ นายกาญจน บญุ ลน มคี วามรคู วามชํานาญดานสมนุ ไพร (2) ชอื่ นางตกิ๊ แสงวงค มีความรูค วามชํานาญดานสมุนไพร (3) ชอื่ นายเกณฑ หองแซง มีความรูความชํานาญดา นสมุนไพร ดา นการเกษตร ไดแก (1) ช่ือ นายไสว เวียงคาํ มคี วามรคู วามชํานาญดานไรนาสวนผสม (2) ชอื่ นายกาญจน บุญลน มคี วามรูค วามชาํ นาญดา นไรน าสวนผสม (3) ช่อื นายสงกรานต เมฆชัยภกั ดิ์ มคี วามรูค วามชํานาญดานไรน าสวนผสม ตําบลหองแซง อําเภอเลิงนกทา จงั หวดั ยโสธร หนา ที่ 35

เอกสารถอดบทเรียนการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตําบลตนแบบเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชวี ิต ประจําป 2564 17 ขอ มลู ผลติ ภณั ฑเ ดน ของชุมชน ๑.ชอื่ ผลิตภัณฑ ผามัดหมี่ ผาขาวมา ผลิตโดยกลมุ ทอผา ๒.ชื่อผลิตภณั ฑ จกั สานกระติบขา ว ผลติ โดยกลมุ ผสู งู อายุ ๓.ชอ่ื ผลิตภัณฑ ไมกวาดทางมะพรา ว ผลิตโดยกลุมผูสูงอายุ ผา ถงุ มดั หมี่ พวงกุญแจผา ตําบลหอ งแซง อาํ เภอเลงิ นกทา จังหวัดยโสธร หนา ท่ี 36

เอกสารถอดบทเรียนการดําเนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตน แบบเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชีวิต ประจําป 2564 18. อตั ลกั ษณถิน่ ภูไท ตาํ บลหอ งแซง ตําบลหองแซง อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ชุมชนชาวผูไท หรือ ภูไทแหงภาคอีสาน ที่เต็มไปดวยเสนห ของวิถีชีวิต ซ่ึงยังคงรักษาขนบประเพณีและอนุรักษวัฒนธรรมดั้งเดิมไวไดอยางงดงาม ท้ังในเร่ืองของอัตลักษณ ทางดา นภาษา อาหารทองถิ่น ศิลปะการแสดง การฟอนรําที่ออนชอยตามแบบชาวภูไท การแตงกายที่เปนเอกลักษณ ดวยผาฝาย ผาซิ่นมัดหมี่ ผาขาวมาสําหรับพาดไหลและผูกเอว รวมถึงผายอมสีธรรมชาติจากครามและพืชชนิดตางๆ นอกจากน้ียังมีสถานที่ทองเที่ยวธรรมชาติ ภูตากแดด ท่ีเกิดจากกอนหินขนาดนอยใหญ รูปรางแปลกตา อายุหลาย รอยหลายพนั ป ซงึ่ กระจายตวั และซอนทบั กนั อยูทว่ั บริเวณ จนเกดิ เปนสถาปตยกรรมตามธรรมชาติที่แปลกตา และยัง มีจุดชมวิวบริเวณลานหินท่ีสามารถชมวิวทิวทัศนมุมสูงของเมืองได แหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในชุมชน ผาทอ พื้นเมือง ถอื เปน มรดกทางวฒั นธรรมของชาวภไู ทบานหองแซง ทส่ี ืบทอดกนั มาต้ังแตบรรพบุรุษ โดยชาวบานไดร วมตัว กันกอตง้ั กลุมทอผาพื้นเมืองตําบลหองแซงขึ้น เพ่ืออนรุ ักษและสงตอภูมิปญญาดานการแตงกายสูคนรุนหลัง และยัง เปน การสงเสรมิ รายไดใ หกบั ชาวบา น โดยมลี วดลายประจาํ ทองถน่ิ คือ ลายหมากจับ ที่นาํ มาประยกุ ตเปนลายสนหยาด เพชร มีการออกแบบตัดเย็บเปนผลิตภัณฑตาง ๆ เพ่ือจําหนายท่ีศูนย OTOP ของหมูบาน นอกจากนี้ยังไดเห็นวิถี อาชีพของชาวบานในดา นการทอเส่ือกก และหามพลาดกับการเดินเทย่ี วตลาดวถิ ีถ่ินภไู ทหอ งแซง ตลาดวัฒนธรรมของ ชาวบานทนี่ ักทองเท่ียวสามารถเดนิ จับจายเลอื กซ้ือผลติ ภัณฑ และเลอื กชิมอาหารพ้ืนเมอื งกันไดอ ยางเพลดิ เพลิน อาหารวถิ ีถิ่นชาวภูไท เอกลักษณด านอาหารของชาวภไู ทเปน เสนหอีกอยา งหน่งึ ที่ไมค วรพลาด โดยอาหารทชี่ ุมชนนําเสนอคือ ออ ม หวายและหมกหนอ ไม ท่ไี มเ พียงแตจะไดช มิ เทานนั้ ชาวบา นที่นยี่ งั พาไปหาวัตถุดบิ อยา งหวายและหนอไมท ส่ี วนใน ชมุ ชน เรียกวา ทงั้ อรอยและมีความสขุ แบบงาย ๆ ตามสไตลชาวภไู ทแท ๆ กนั ไดท่บี า นหองแซงแหงน้ี ตําบลหองแซง เปนชมุ ชนทม่ี ีความสงบรม เยน็ มธี รรมชาติทส่ี วยงาม และยังมีเอกลักษณว ัฒนธรรมผไู ทและยัง มีแหลงทองเท่ียวอีกหลายแหง ซึ่งกําลังไดรับความนิยมจากนักทองเท่ียวเปนจํานวนมาก พรอมมีบานพักโฮมสเตย เพื่อใหนักทองเทยี่ วไดเขามาพักและลองใชชีวติ อยูกับคนในชุมชน เพ่ือไดเรยี นรูความเปนอยูของการใชช ีวิตแบบภูไท อีกท้ังยังมีอาหารพ้ืนบานอีกหลายเมนู ท่ีหากินทอี่ ื่นไมไดเลยนอกจากที่หองแซงท่ีนี่ท่ีเด่ยี ว และมีกิจกรรมมากมายให นกั ทองเท่ียว ไดทํารวมกับคนในชุมชน เชน บายศรสี ขู วัญ , รําฟอนบายศรี , หมอลาํ ผูไท , เดินแบบผาพนื้ บาน , พา แลง , คนในชุมชน ก็อัธยาศัยดี ย้ิมแยมแจมใส มคี วามเปนกันเองใหกับนักทองเท่ียว ทั้งในประเทศ และตางประเทศ ทางหองแซง ยังมสี ่ิงอํานวยความสะดวกใหก บั นกั ทองเทย่ี ว อยางเชน รถนําทาง , ไกดน ําเท่ียว (ชมรมมัคคเุ ทศกนอย) คนในชมุ ชนก็สามารถท่ีจะใหความรู และอธบิ าย ความเปนมาของหองแซงได วถิ ีชวี ติ ด้ังเดิมของชาวภูไทที่รอคุณไปสมั ผสั บา นเรอื น ตําบลหองแซง อําเภอเลิงนกทา จงั หวดั ยโสธร หนาที่ 37

เอกสารถอดบทเรียนการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตนแบบเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชีวิต ประจาํ ป 2564 การแตง กาย ภมู ปิ ญญาท่รี บั ถายทอด การทอผามัดหม่ี การแสดงศลิ ปะฟอนรําพ้ืนบาน ตําบลหองแซง อําเภอเลงิ นกทา จังหวดั ยโสธร หนาที่ 38

เอกสารถอดบทเรียนการดําเนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตน แบบเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ประจาํ ป 2564 การจัดจําหนา ยสินคา ชุมชนถนนคนเดิน (ตลาดตองชม) ห้องแซงก้าวไกล นําวัฒนธรรมภูไท สู่สังคมไทยยคุ 4.0 โฮมสเตยหองแซง กากราบรบายาศยรศีสรูขีสวูข ญัวญั เยาวชนไมลืมวัฒนธรรม ตอยอดสคู นรุน ใหม ฟอนภูไท การทอผา ผูสงู อายุสดใส การทํากิจกรรมรวมกบั ชุมชน เดนิ แบบผา ภูไท เยาวชนชอสะอาด แตงกายเปนเอกลักษณ สบื ทอดวัฒนธรรม ตําบลหอ งแซง อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร หนา ท่ี 39

เอกสารถอดบทเรยี นการดําเนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตนแบบเพ่อื พฒั นาคุณภาพชีวิต ประจาํ ป 2564 19. แหลง ทองเทีย่ วในตาํ บลหองแซง ภูตากแดด หรอื ภรู มเย็นมโนธรรม ต้ังอยหู มูที่ 8 บานโนนแดง ตาํ บลหองแซง อําเภอเลิงนกทา จงั หวดั ยโสธร เปน ที่ตงั้ ของวดั ภรู ม เยน็ มโนธรรม (ภตู ากแดด) เปน สถานที่เหมาะสาํ หรับปฏบิ ัตธิ รรม และชมทิวทศั น ตาํ บลหอ งแซง อาํ เภอเลงิ นกทา จงั หวัดยโสธร หนา ท่ี 40

เอกสารถอดบทเรยี นการดําเนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตน แบบเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชีวิต ประจําป 2564 2. หว ยลิงโจนเปนสถานที่เหมาะสํารบั พักผอ นหยอ นใจในการชมทวิ ทศั นท ส่ี วยงามมาก โครงการอางเกบ็ นาํ้ หวยลิงโจน ตง้ั อยูหมทู ี่ 4 บานหนองบึง ตาํ บลหองแซง อาํ เภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ระยะทางหา งจากอําเภอประมาณ ๒๐ กม. เปนอางเก็บนํา้ ในโครงการชลประทานมีเนื้อทป่ี ระมาณ ๑๔,๐๐๐ ไร มีระบบสง นาํ้ สาํ หรบั การเพาะปลกู พืชผลทางการเกษตรและเปน แหลง เพาะพนั ธปลา มีรานจําหนายอาหารและ เครอ่ื งดม่ื ไวค อยบริการประชาชน นิยมใชเ ปนสถานท่ีพักผอนหยอนใจเปนสถานท่ีทมี่ ีหาดทรายยาว และสวยงาม ตําบลหอ งแซง อาํ เภอเลงิ นกทา จงั หวัดยโสธร หนาท่ี 41

เอกสารถอดบทเรยี นการดําเนนิ งานสารสนเทศตาํ บลตน แบบเพอ่ื พฒั นาคุณภาพชวี ิต ประจาํ ป 2564 3. ภถู ํ้าพระ อยูหมทู ่ี 9 บานปา ชาด ตาํ บลหอ งแซง อําเภอเลงิ นกทา จังหวดั ยโสธรเปนที่ตง้ั ของวดั ภูถํา้ พระ มีเนือ้ ท่ีท้งั หมด 50 ไร อยทู างทิศใตของบานปา ชาด ตาํ บลหองแซง อําเภอเลิงนกทา จงั หวดั ยโสธร หนา ท่ี 42

เอกสารถอดบทเรียนการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตําบลตนแบบเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชีวิต ประจาํ ป 2564 ตําบลหอ งแซง อําเภอเลิงนกทา จังหวดั ยโสธร หนา ท่ี 43

เอกสารถอดบทเรียนการดําเนนิ งานสารสนเทศตําบลตนแบบเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชีวิต ประจําป 2564 ตําบลหอ งแซง อําเภอเลิงนกทา จงั หวดั ยโสธร หนา ท่ี 44

เอกสารถอดบทเรียนการดาํ เนนิ งานสารสนเทศตําบลตนแบบเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชีวิต ประจาํ ป 2564 ตําบลหอ งแซง อําเภอเลิงนกทา จังหวดั ยโสธร หนาท่ี 45