Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบบันทึกองค์ความรู้นายพลากร นิยมญาติ

แบบบันทึกองค์ความรู้นายพลากร นิยมญาติ

Published by araya.nuda2526, 2021-08-19 04:58:51

Description: แบบบันทึกองค์ความรู้รายบุคคล พลากร

Search

Read the Text Version

แบบบนั ทกึ องค์ความรูร้ ายบุคคล 1. ชอ่ื องคค์ วามรู้ การขับเคลือ่ นการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติการ 90 วัน “ปลูกผักสวนครวั เพ่ือสรา้ งความมั่นคงทางอาหาร” บ้านหนองแสง หมทู่ ี่ 12 ตาบลลุมพุก อาเภอคาเขือ่ นแกว้ จงั หวัดยโสธร 2. ชอ่ื เจา้ ของความรู้ นายพลากร นยิ มญาติ ตาแหน่ง นักวิชาการพัฒนาชมุ ชนชานาญการ สานักนกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอคาเข่อื นแกว้ จงั หวดั ยโสธร 3. องคค์ วามรทู้ ่บี ่งช้ี หมวดที่ 1 สรา้ งสรรค์ชุมชนพ่ึงตนเองได้ 4. ทม่ี าและความสาคัญในการจดั ทาองค์ความรู้ ด้วยสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด-19) กลาย เป็นโรคระบาดครงั้ ใหญ่ของโลก มีผู้ป่วยกระจายไป 118 ประเทศ ผลกระทบของโควิด-19 ส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ รวมท้ังประเทศไทยต้องชะงักงัน การท่องเท่ียวท่ีเป็น เส้นเลือดสาคัญถูกกระทบ ธุรกิจโรงแรม และการท่องเที่ยวต้องปิดตัวไป สินค้าอุปโภค บรโิ ภคกระทบหนัก หลายบรษิ ัทต้องปิดตัวลง ประกอบกับความต่ืนตระหนกของผู้คนท่ีเกรง ว่าสิ นค้าอุปโภคบริโภคจะขาดแคลน ดั งปราก ฎการณ์ประชาชนแย่งกันซ้ือ ของใน ห้างสรรพสินค้าเพือ่ ไปกกั ตุน พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว รชั กาลที่ 9 ทรงพระราชทานแนวทางการสรา้ ง พ้ืนฐานความพอมี พอกิน พอใช้ ของประชาชน เพ่ือให้พ่ึงตนเองได้ ซงึ่ จะเป็นทางออกสาหรบั วิกฤตโรคระบาดและปัญหาภยั แล้ง ท่ปี ระเทศไทยกลังเผชญิ อยู่ กรมการพฒั นาชุมชน จงึ ได้แปลงหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏบิ ัติใน ระดับครวั เรอื น โดยรณรงค์ให้มีการปลูกผักสวนครวั ทุกครวั เรอื นทวั่ ประเทศ เพ่ือสรา้ งความ ม่ันคงทางอาหารในระดับครอบครวั และชุมชน โดยเน้นการพ่ึงตนเอง และความสามัคคีของ คนในชมุ ชน เพ่ือให้รอดพน้ จากวิกฤติในครงั้ น้ี บา้ นหนองแสง หมทู่ ่ี 12 ตาบลลมุ พุก อาเภอคาเข่อื นแกว้ จงั หวัดยโสธร ซ่ึงเป็นหมู่เป้าหมายตามโครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีการขับเคลื่อนการดาเนินงานหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยการน้อมหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในระดับครัวเรือน โดยได้มีการส่งเสริมการ ดาเนินงานในระดับครอบครวั และชุมชน ด้วยการปฏิบัติใน 3 ด้าน ประกอบด้วย การสรา้ ง ความมนั่ คงทางอาหาร การสรา้ งสิ่งแวดล้อมให้ยง่ั ยืน และการสรา้ งภูมคิ มุ้ กนั ทางสังคม ซงึ่ บทบาทของพัฒนากรประจาตาบล ได้ส่งเสรมิ การขบั เคล่ือนการดาเนินงาน ตามแผนปฏบิ ัติการ 90 วนั “ปลูกผักสวนครวั เพอ่ื สรา้ งความม่นั คงทางอาหาร” ให้เป็นไปตาม แนวทางท่ีกรมการพฒั นาชมุ ชนกาหนด โดยมเี ป้าหมายให้ครวั เรอื นมีการบั รูแ้ ละเกดิ การมีส่วน รว่ มในการสรา้ งความมัน่ คงทางอาหาร /5. รูปแบบ กระบวนการ...

-2- 5. รูปแบบ กระบวนการ หรอื ลาดับขนั้ ตอน การขับเคลอื่ นการดาเนินงานตามแผนปฏบิ ตั ิการ 90 วัน “ปลูกผกั สวนครวั เพื่อสรา้ งความม่ันคงทางอาหาร” บ้านหนองแสง หมู่ที่ 12 ตาบลลุมพุก อาเภอคาเข่ือนแก้ว จงั หวดั ยโสธร มรี ปู แบบกระบวนการดาเนินการ ดังน้ี 1. ขน้ั เตรยี มการ (1) สานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอ โดยพัฒนาการอาเภอวางแผนการดาเนินการ ขบั เคลื่อนตามแผนแผนปฏิบัติการ 90 วนั “ปลกู ผกั สวนครวั เพอื่ สรา้ งความมั่นคงทางอาหาร” รว่ มกบั พัฒนากรประจาตาบล (2) จดั ทาคาส่ังแต่งคณะกรรมการขับเคลอ่ื นตามแผนปฏิบตั ิการ 90 วัน “ปลกู ผกั สวนครวั เพื่อสรา้ งความมัน่ คงทางอาหาร” ระดับตาบล และหมบู่ า้ น (3) ประสานงานหน่วยงานภาคเี ครอื ข่าย อปท. ผู้ใหญ่บ้าน ประธานคมุ้ หมบู่ า้ น ผ้นู า อช./อช. คณะกรรมการพฒั นาสตรหี มู่บ้าน และส.อบต. เพ่อื เตรยี มการบรู ณารทางานตาม แผนปฏบิ ตั ิการให้มีประสิทธภิ าพ และบรรลุวัตถปุ ระสงค์ (4) ศึกษาแนวทางการดาเนินการขบั เคลอ่ื นตามแผนปฏบิ ตั ิการ 90 วัน “ปลูกผัก สวนครวั เพอื่ สรา้ งความมั่นคงทางอาหาร” ของกรมการพฒั นาชมุ ชน 2. ขน้ั ตอนดาเนินการ (1) ดาเนนิ การประชุมสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจตามแนวทางตามแผนปฏิบัติการ 90 วนั “ปลกู ผักสวนครวั เพอื่ สรา้ งความม่ันคงทางอาหาร” ให้กับหนว่ ยงานภาคีเครอื ข่าย อปท. ผู้ใหญ่บ้าน ประธานคุ้ม ผู้นา อช./อช. ส.อบต. คณะกรรมการพัฒนานาสตรีหมู่บ้าน เพื่อ สนบั สนุนการขบั เคลื่อนตามแผนปฏิบตั ิการ (2) ดาเนินกิจกรรม ผู้นาต้องทากอ่ น โดยให้แกนนาหมู่บา้ น ประกอบไปด้วย ผู้ใหญ่บ้าน ประธานคุ้ม ผู้นา อช./อช. คณะกรรมการพัฒนาสตรหี มู่บ้าน ปลูกผักสวนครวั เพอ่ื สรา้ งความม่ันคงด้านอาหาร เพ่ือเป็นแบบอย่างให้แก่ประชนในหมู่บ้าน และติดตามส่งเสรมิ สนับสนุนการปลูกผักสวนครวั (3) พัฒนากรประจาตาบลรว่ มกับแกนนาในหมบู่ ้าน ส่งเสรมิ การปลูกผักสวน ครวั แบบเข้าถึงทุกครวั เรอื นในหมู่บ้าน เน้นการพึ่งตนเอง ใช้ความสามัคคีช่วยกันทาใน ลักษณะกลมุ่ เล็กๆ (4) ครวั เรอื นรว่ มกันสรา้ งเครอื ข่าย มกี ารเชอ่ื มโยงขยายผลในชุมชน แลกเปลี่ยน แบ่งปนั เมล็ดพันธผุ์ ัก และสรา้ งการเรยี นรูใ้ นลักษณะชุมชนนกั ปฏบิ ัติ (5) แกนนาในหมู่บ้าน ติดตามผลความกา้ วหนา้ การดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติ การ 90 วัน “ปลูกผักสวนครวั เพื่อสรา้ งความมั่นคงทางอาหาร” และรายงานผลความก้าวหน้า ให้อาเภอทราบ /6. เทคนิคในการปฏิบตั ิงาน...

-3- 6. เทคนิคในการปฏิบตั ิงาน (1) พัฒนากรประจาตาบลต้องศึกษาข้อมลู การดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการ 90 วนั “ปลูกผักสวนครัว เพ่ือสร้างความมั่นคงทางอาหาร” ให้เกิดความเข้าใจท่ีชัดเจน เพ่ือ ดาเนนิ การในระดับพน้ื ให้บรรลุวัตถปุ ระสงค์ (2) แกนนาในหมู่บ้าน ต้องปลูกผักสวนครัวเพื่อเป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่ครวั เรอื นใน หมูบ่ า้ น และสรา้ งกระบวนการเรยี นรูร้ ะดับบคุ คลก่อนลงไปส่งเสรมิ ครวั เรอื นภายในหมบู่ ้าน (3) สนับสนุนการสรา้ งเครอื ข่ายขยายผลในชุมชน มีการเชอื่ มโยงแลกเปลี่ยนแบ่งปัน เมล็ดพันธผุ์ กั และสรา้ งการเรยี นรูใ้ นลักษณะชมุ ชนนักปฏิบัติ (4) ติดตามและเยีย่ มเยยี นให้กาลงั ใจครวั เรอื นอยา่ งต่อเนอื่ ง 7. ปัญหาทีพ่ บและแนวทางการแก้ไขปัญหา ปัญหาทพี่ บระหวา่ งการดาเนินงาน (1) พัฒนากรประจาตาบล ในระยะเตรียมการยังขาดความเข้าใจในแนวทางการ ขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการ 90 วัน “ปลูกผักสวนครวั เพื่อสรา้ งความม่ันคงทางอาหาร” ทาให้ การปฏบิ ตั ิงานในพน้ื ท่มี คี วามลา่ ชา้ (2) ระดับพื้นท่ีในระยะเตรยี มการ แกนนาไม่เข้าใจแนวทางการทางการขบั เคลื่อนตาม แผนปฏิบัติการ 90 วัน “ปลูกผักสวนครวั เพ่ือสรา้ งความมั่นคงทางอาหาร” ทาให้การให้ความ รว่ มมือและให้ความสาคัญในขบั เคลอื่ นงานน้อยมาก แนวทางการแก้ไขปญั หา (1) ระดับอาเภอ/เจา้ หนา้ ที่ ใชก้ ลไกในการขบั เคลือ่ นในระดับพน้ื ท่ี มกี ารแต่งต้ังคาสั่ง และมีการประชุมทีมชุดปฏิบัติการหมู่บา้ น ให้ดาเนนิ การตามบทบาทและหนา้ ที่ (2) ระดับพ้ืนท่ีชุดปฏิบัติการหมู่บ้าน เป็นผู้ท่ีมีความรู้ ความสามารถ เสียสละ มีการ ดาเนนิ วิถชี วี ติ เปน็ แบบอย่างทด่ี ีให้แก่ครวั เรอื น (3) พัฒนากรประจาตาบลต้องเข้าไปเป็นพี่เลี้ยงในการขบั เคลือ่ นตามแผนปฏบิ ัติการ 8. ประโยชน์ขององค์ความรู้ (1) สามารถสรา้ งทีมชุดปฏิบัติการหมู่บ้านละ ๑ ทีม เป็นแกนนาในการขับเคลื่อนตาม แผนปฏบิ ตั ิการ 90 วนั “ปลูกผักสวนครวั เพอ่ื สรา้ งความม่ันคงทางอาหาร” (2) หมู่บ้านมีการรวมกลุ่มอาชีพปลูกผักสวนและสร้างอาชีพ ลดรายจ่ายในการ ดารงชวี ิต และสรา้ งรายได้ให้แก่ครวั เรอื น (3) หมบู่ า้ นมีการดาเนินชวี ิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (4) เสรมิ สรา้ งกระบวนการเรยี นรูข้ องคนในชุมชน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook