Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บันทึกการจัดการความรู้นางสาวอริษา บุตรอำคา

บันทึกการจัดการความรู้นางสาวอริษา บุตรอำคา

Published by araya.nuda2526, 2021-08-17 03:51:50

Description: บันทึกการจัดการความรู้ ปี 2564

Search

Read the Text Version

การจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management:KM) การจัดการความรเู้ รือ่ ง : การสรา้ งเครือข่ายการพัฒนาพ้ืนทต่ี ามหลกั ทฤษฎใี หม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา พช.” ชื่อเจ้าของความรู้ : นางสาวอรษิ า บตุ รอาคา ตาแหน่ง นกั วิชาการพฒั นาชมุ ชนชานาญการ สังกดั : สานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอกุดชมุ จังหวดั ยโสธร ********************************************************************************* ความเป็นมา กรมการพฒั นาชมุ ชน เน้นให้นาวิธีการเรียนรู้ในรปู แบบ “โคก หนอง นา พช.” มาเป็นกิจกรรมในการ สรา้ งศนู ยเ์ รยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง เนอ่ื งจากเป็นรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากร/ชีวิต/ชุมชน ในภาพรวม โดยเฉพาะคนและอาชีพท่ีประสบความสาเร็จในการใช้พัฒนาครัวเรือนและชุมชน ภายใต้หลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งท่เี ปน็ รปู ธรรม โดยมเี จ้าของทีด่ ินสมัครใจเขา้ ร่วมเรียนรใู้ นโครงการ และยินยอมให้ใช้ที่ดินใน การดาเนินกิจกรรมเป็นแหล่งเรียนรู้วิถีชีวิต ท่ีลงมือปฏิบัติจริงร่วมกับครอบครัวพัฒนา เป็นศูนย์เรียนรู้ ถ่ายทอดวิธกี ารและองคค์ วามรใู้ หก้ ับคนในชุมชน หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการน้อมนาแนวพระราชดารัสในพ ระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ สมดุล เป็นธรรมและมีภูมิคุ้มกันกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงจากภายในชุมชน ภายในประเทศและ ภายนอกประเทศจากสงั คมโลกทีส่ ง่ ผลต่อครอบครัวการพัฒนาประชาชนให้เข้าใจในแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง จนเกดิ การยอมรบั และนาไปปฏิบัติ จึงเป็นสิ่งสาคัญในการสร้างสมดุล ระหว่างการมีปัจจัยในการดารงชีวิตข้ัน พื้นฐาน ฐานะทางเศรษฐกิจ กับการสร้างภูมิคุ้มกัน เพ่ือรับมือกับผลกระทบจากความเปล่ียนแปลงทางสังคม ต่างๆ เพื่อให้ทุกครัวเรือนในทุกพ้ืนท่ี ได้มีวิถีปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงข้ันพื้นฐาน สาหรับการพออยู่ พอกิน ในแต่ละครอบครัว โดยสอดคล้องกับภูมิสังคมที่แต่ละพ้ืนที่ที่มีความแตกต่างกัน ของปัจจัยพน้ื ฐาน ด้านศกั ยภาพ วิถีชวี ติ วัฒนธรรม และอัตลกั ษณ์ วิธีการการสรา้ งเครอื ขา่ ยการพฒั นาพื้นที่ตามหลักทฤษฎใี หมป่ ระยุกต์สู่ “โคก หนอง นา พช.” 1.คัดเลือกครัวเรือนต้นแบบท่ีมีความพร้อม หัวไว ใจสู้ เข้าร่วมโครงการ ในปี พ.ศ. 2564 อาเภอ กุดชุม มีผู้สนใจสมัครเข้าร่วมโครงการ และผ่านการคัดเลือกจากการลงพื้นท่ีสารวจพ้ืนที่และบริบทต่างๆ ของครวั เรอื นจากเจา้ หนา้ ที่พัฒนาชุมชน จานวน 20 คน/20 หมบู่ ้าน 2. จัดเวทีประชุมสัมมนาสร้างความเข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการ แลกเปล่ียนเรียนรู้ และสร้าง ทัศนคติเชิงบวกแกผ่ ู้ร่วมโครงการ

3. แต่งต้ังคณะกรรมการเครือข่าย เพ่ือประเมินผลการดาเนินดาเนินกิจกรรมให้บรรลุตาม วัตถปุ ระสงค์ 4. วางแผนการดาเนินกิจกรรม จัดทาปฏิทินกิจกรรมรายเดือน ด้วยการเอาม้ือสามัคคี “โคก หนอง นา พช.” ในแต่ละพื้นที่ของครัวเรือน โดยเจ้าของครัวเรือนจะเป็นเจ้าภาพ และผู้ไปร่วมเอามื้อสามัคคีน้ันต้อง ไปช่วยลงแขกทากจิ กรรมทีท่ างครวั เรือนตน้ แบบจัดเตรยี มไว้ 5. เครือข่ายร่วมลงพื้นที่ดาเนินกิจกรรม ตามแผนปฏิทินที่วางไว้ พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในพ้ืนที่ รวมถึงการช้ีแนะการแกไ้ ขปัญหาทแี่ ตกต่างกันของแต่ละพื้นที่

6. ติดตามและประเมินผลการดาเนินกิจกรรม วางแผนต่อยอดเรื่องของการตลาด ในการจาหน่าย ผลิตผลทีไ่ ด้จากเครือข่าย “โคก หนอง นา พช.” 7. สรปุ ผลการพฒั นาการสรา้ งเครือขา่ ย “โคก หนอง นา พช.” จากการสร้างเครือข่าย “โคก หนอง นา พช.” ทาให้เกิดการพัฒนาคน พัฒนางาน พัฒนา พ้ืนที่ จากการ “การเอามื้อสามัคคี” ทาให้เครือข่ายเกิดการช่วยเหลือลงแรงกัน โดยยึดหลักการเรียนให้รู้ ดู ให้เห็น ทาให้เป็นด้วย 9 ฐานเรียนรู้ และวางแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองสู่ความย่ังยืน ซึ่งถือเป็นการ เรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติจริง สร้างองค์ความรู้กสิกรรมธรรมชาติ วางแผนทากิจกรรม แบ่งหน้าที่ แบ่งคน แบ่งงาน ภายใต้แนวคิด “คึกคัก คล่องแคล่ว ครื้นเครง” และลงมือปฏิบัติจริง ด้วยกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การหม่ ดนิ การจัดการน้า การปัน้ คนั นา การบารุงดิน การปลูกดอกไม้ล่อแมลง การปลูกหญ้าแฝก การปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ปลูกไม้ 5 ระดับ (สูง กลาง เต้ีย เร่ียดิน กินหัว) จบกิจกรรมด้วยการท่องคาถา “เล้ียงดิน ให้ดิน เลี้ยงพืช” และการเก็บอุปกรณ์ เม่ือเสร็จจากกิจกรรมลงมือปฏิบัติ ก็รับประทานอาหาร ร่วมกนั โดยแต่ละคนหิ้วปิ่นโตอาหารมาจากบ้าน ซึ่งเป็นผลผลติ จากการทาเกษตรมาแบ่งปันกัน และในระหว่าง การรับประทานอาหารกจ็ ะมกี ารแบง่ ปันความร้สู กึ ดี ๆ แลกเปล่ยี นประสบการณท์ ี่ไดท้ าจริง

อีกท้ังเป็นการปลูกฝังหลักความรู้คู่คุณธรรม ตามวิถีแห่งหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มกี ารร่วมแรงร่วมใจ แบ่งปัน เอื้อเฟื้อ เสียสละ มีความเพียร ซึ่งนับว่าเป็นการสร้างสรรค์บรรยากาศที่ดีในการ ทางานแบบพ่ีแบบน้อง สร้างความเข้มแข็งให้เกิดขึ้นในชุมชน อีกท้ังยังเป็นการทางานที่ได้หลัก 3 อย่าง คือ “ทางานได้งาน ทางานไดเ้ พอ่ื น ทางานได้พัฒนาตนเอง”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook