Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียนวิทย์พัฒนาสื่อ

วิจัยในชั้นเรียนวิทย์พัฒนาสื่อ

Published by nawamin.ng, 2021-10-23 07:39:38

Description: วิจัยในชั้นเรียนวิทย์พัฒนาสื่อ

Search

Read the Text Version

การพฒั นาสอื่ ประกอบการเรยี นการสอนออนไลน์ เรอื่ งสัตวร์ อบตัวเรา วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ โรงเรียนบา้ นบางกะปิ สานักงานเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานครฯ นายนวมินทร์ แก้ววิเศษโฮง (Nawamin Kaeowisedhong) บทคดั ย่อ การวิจัยในช้ันเรียนครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์ 1. เพ่ือพัฒนาส่ือประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง สัตว์รอบตัวเรา วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ให้มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ ๘๐/๘๐ 2.เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนการจัดการเรียนรู้ วชิ าวิทยาศาสตร์ด้วยการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ของนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ๓.เพื่อศกึ ษาความพึง พอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อสื่อประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่องสัตว์รอบตัวเรา วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี คือนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑/๑ โรงเรียนบ้านบางกะปิ แขวง คลองจ่ัน เขตบางกะปิ สานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ จานวนนักเรียน 4๓ คน ซ่ึงได้มาโดยการเลือกแบบสุ่มอย่างง่าย โดยวิธีจับสลาก เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ ส่ือ ประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ืองสัตว์รอบตัวเรา วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ และแบบประเมินความพึงพอใจ สถิติท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (mean) ร้อยละ(Percentage) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D) และทดสอบสมมุติฐานใช้ t-test (Dependent Samples) สถิติท่ีใช้หาคุณภาพเคร่ืองมือ ได้แก่ การหาค่าความตรงตามสูตร IOC ค่าความยากง่าย แบบทดสอบ ค่าอานาจจาแนกของแบบทดสอบ ค่าความเที่ยง(Reliability) KR-20 และค่าความเที่ยง (reliability) ส่ือประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่องสัตว์รอบตัวเรา วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีค่า ความตรงเชิงเนื้อหา (IOC) เท่ากับ 0.94 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ค่าอานาจ จาแนกรายข้ออยู่ระหว่าง 0.46 ถึง 0.67 ค่าความเช่ือม่ันท้ังฉบับ 0.93 แบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อสื่อ ประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ืองสัตว์รอบตัวเรา วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษา ปีท่ี 1 เป็นแบบมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) จานวน 15 ข้อ ค่าอานาจจาแนกรายข้อ ระหวา่ ง 0.22 ถึง 0.48 คา่ ความเช่ือม่นั ทง้ั ฉบับ 0.716 การวจิ ยั สรุปผลไดด้ งั น้ี 1. สอ่ื ประกอบการเรยี นการสอนออนไลน์ เรือ่ งสัตวร์ อบตวั เรา วชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 ทีม่ ปี ระสิทธิภาพเท่ากับ 81/87 2. นักเรียนมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นหลังเรียนสงู กว่าก่อนเรยี นอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05 ๓. นกั เรียนมคี วามพงึ พอใจตอ่ ส่ือประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ืองสตั วร์ อบตัวเรา อยู่ในระดับ มากทส่ี ุด มคี า่ เฉลยี่ เท่ากบั 4.74 คาสาคญั : สื่อประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เรอื่ งสัตวร์ อบตัวเรา วิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

๒ ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2562 ในหมวด 4 มาตรา 22 ได้กาหนดว่าการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้ ถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด ทุกคนเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ กระบวนการจัดการศึกษา ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ มาตรา 24 การจัดกระบวนการ เรียนรู้ให้สถานศึกษาและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องจัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ และ ความถนัดของผู้เรียน ฝึกทักษะกระบวนการคิด จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ รวมท้ังปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัด บรรยากาศ สภาพแวดล้อม สอื่ การเรียน และอานวยความสะดวกเพือ่ ให้ผู้เรยี นเกดิ การเรยี นรู้ และมีความรอบ รู้ ท้ังน้ีผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากส่ือการเรียนการสอนจัดการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนได้ทุกเวลาทุก สถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดา ผู้ปกครอง เพ่ือร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพและการ จัดการศึกษาต้องยึดหลักผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้กระบวนการจัด การศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ การจัดการศึกษาต้องเน้น ความสาคัญทั้งด้านความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมท้ังการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอน สามารถจัดบรรยากาศ และสภาพแวดล้อมอานวยความสะดวกให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีความรู้รอบตัว และ จัดการเรียนรู้ให้สามารถเกิดขึ้นได้ทุกเวลาสถานท่ีโดยมุ่งหวัง เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพของการศึกษา ไทยให้ได้มาตรฐานสากลและเพ่ิมโอกาสทางการศึกษา การเรียนรู้ในรูปแบบที่หลากหลาย (กระทรวง เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร, กรอบนโยบายเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ระยะ พ.ศ. 2554- 2563 ของประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร: กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร, 2558), หน้า 2) วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญย่ิงในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้อง กับทุกคนทั้งในชีวิตประจาวันและการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือเคร่ืองใช้และผลผลิต ตา่ งๆ ที่มนุษย์ได้ใช้เพ่ืออานวยความสะดวกในชีวิตและการทางาน เหล่านี้ล้วนเป็นผลของความรู้วทิ ยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อื่น ๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็น เหตุเป็นผล คิดสรา้ งสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าหาความรู้ใชค้ วามรู้และทักษะเพ่ือ แก้ปัญหาหรือพัฒนางานด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็น ระบบ รวมทั้งสามารถค้นหาข้อมูลหรือสารสนเทศ ประเมินสารสนเทศ ประยุกต์ใช้ทักษะการคิดเชิงคานวณ และความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือแก้ปัญหาในชีวิต จริงอย่าง สร้างสรรค์สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและมีประจักษ์พยานท่ีตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็นวฒั นธรรมของโลกสมยั ใหมซ่ ่งึ เป็นสังคมแหง่ การเรยี นรู้ (knowledge-based society) ดังนั้น ทกุ คนจึงจาเป็นตอ้ งได้รับการพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพ่ือที่จะมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาตแิ ละเทคโนโลยี ท่ีมนุษย์ สร้างสรรค์ขึ้น สามารถนาความรู้ไปใช้อย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมีคุณธรรม (ตัวช้ีวัดและสาระ การเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐),25๖๐ : 1) และตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช ๒๕๔๒ หมวด ๔ มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักวา่ ผู้เรียนทุกคน มีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาต้อง สง่ เสริมให้ผู้เรยี นสามารถพฒั นาตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ

๓ ในฐานะของครูผู้สอนต้องการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เพ่ือให้ทันต่อสถานการณ์ในช่วงภาวการณ์แพร่ระบาดโควิด-19 และในปัจจุบันครูผู้สอนไม่สามารถสอนปกติ ได้ กระบวนการสอนหน้ากระดานหรือท่องจาได้อีกต่อไป เพราะนักเรียนสามารถแสวงหาความรู้ได้เองผ่าน เคร่ืองมือทางเทคโนโลยี จากแนวคิดดังกล่าวจึงเป็นแรงจูงใจท่ีทาให้ครูผู้สอนได้พัฒนาส่ือการสอนในรูปแบบ โปรแกรมนาเสนอ Microsoft Powerpoint ผา่ นแอปพลิเคชัน Line และใชเ้ นื้อหาของสื่อการสอนในรูปแบบ โปรแกรมนาเสนอ Microsoft Powerpoint มาพฒั นาให้อยู่ในรูปแบบ E-Book เพื่อส่งเสรมิ นกั เรียนได้เรียนรู้ ดว้ ยตนเองและทบทวนความรู้นอกเวลาเรียนได้อีก ซ่ึงจะสามารถช่วยให้นักเรียนรู้จักเรียนรเู้ พื่อตอบโจทย์การ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง และน่าจะทาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีย่ิงขึ้น ครูผู้สอนจึง สนใจที่จะสร้างและพัฒนาส่ือประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ืองสัตว์รอบตัวเรา วิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ เพื่อเป็นประโยชน์ในการพัฒนาการเรียนการสอน และ นวัตกรรมทางการศกึ ษาต่อไป วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย 1. เพ่ือพัฒนาส่ือประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่องสัตว์รอบตัวเรา วิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ ๘๐/๘๐ ๒. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนการจัดการเรียนรู้ส่ือ ประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ืองสัตว์รอบตัวเรา วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของนักเรียนชั้น ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ๓. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ส่ือ ประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ืองสัตว์รอบตัวเรา วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของนักเรียนช้ัน ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 วิธีดาเนนิ การวจิ ัย ผู้วิจัยได้ใช้กรอบแนวคิด แสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรตน้ และตัวแปรตาม ดงั แผนภมู ิ ตวั แปรตน้ ตัวแปรตาม ส่ือประกอบการเรยี นการสอน ๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าวิทยาศาสตร์ ออนไลน์ เรอ่ื งสัตวร์ อบตัวเรา วชิ า ๒ ความพึงพอใจต่อสื่อประกอบการเรียนการสอน วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี อง นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ออนไลน์ เรอื่ ง สัตวร์ อบตัวเรา

๔ แบบการศึกษาวจิ ัย การศึกษาวจิ ยั คร้งั นเี้ ปน็ การทดลองคร้ังเดยี วกลุ่มเดียว (The One Group Pretest – Posttest time series Design) โดยใช้สูตรดังนี้ (สุวมิ ล กฤชคฤหาสน์. ๒๕58 ) ตาราง 1 Pre-test Treatment Post-test T1 X T2 เมอื่ X แทน ส่ือประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เรอ่ื งสัตว์รอบตัวเรา วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1 T1 แทน การทดสอบก่อนเรียน T2 แทน การทดสอบหลงั เรียน ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ี ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖4 ของโรงเรียนบา้ นบางกะปิ สงั กัดสานักงานเขตบางกะปิ จานวน ๑๐ หอ้ ง 435 คน ในการวิจัยครั้งน้ี ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑/1 จานวน 43 คน ปีการศึกษา ๒๕๖4 โรงเรียนบ้านบางกะปิ สังกดั สานักงานเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร ซ่งึ ได้มาโดยการสุ่มโดยวธิ จี บั สลาก เครือ่ งมือที่ใช้ในการวิจยั เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการศกึ ษาค้นคว้าคร้ังนี้มี 3 ชนดิ ดังนี้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ด้วยการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ของนักเรียนชั้น ประถมศกึ ษาปีที่ 1 จานวน 8 แผน 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์มีจานวนท้ังหมด 10 ข้อ แบบปรนัยชนิด เลือกตอบ 3 ตัวเลือก 3. แบบวัดความพึงพอใจท่มี ีตอ่ การเรียนการรู้ตามแผนการจดั การเรียนรูด้ ้วยการสอนแบบสบื เสาะหา ความรู้ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 เป็นแบบมาตรสว่ นประมาณค่า 5 ระดบั (Rating Scale) จานวน 1๐ ข้อ

๕ การสร้างเครอื่ งมือ ผูว้ จิ ัยได้ดาเนินการสร้างเคร่ืองมอื การพัฒนาสื่อประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เรอื่ งสัตว์รอบตัว เรา โดยผ้วู ิจยั ไดด้ าเนินการพัฒนาและสรา้ งสื่อประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่อื งสัตว์รอบตัวเรา โดยใช้ โปรแกรม Microsoft Powerpoint และพัฒนาในรูปแบบ E-Book ตามข้ันตอน ดังน้ี ๑. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านบางกะปิ แ ขวงคอลงจั่น เขตบางกะปิ สานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร คาอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 เอกสาร วรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการปรัชญาการศึกษา จิตวิทยาพัฒนาการ จติ วิทยา การเรียนการสอน และจิตวิทยาการเรียนรู้ เอกสาร และงานวิจัยเก่ียวท่ีเก่ียวข้องกับ การจัดกิจกรรมการเรียน การสอน และการจัดทาสื่อ นวัตกรรม ประกอบการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี และศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดทาโปรแกรม Microsoft Powerpoint E- Book และแบบสอบถามความพึงพอใจ ๒. การทดลองเครอ่ื งมือ เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไลนผ์ ่านแอปพลิเคชัน Line โดยใช้ โปรแกรม Microsoft Powerpoint ๒.๑ วิเคราะหห์ ลักสตู ร กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐานการ เรียนรู้ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ๒.๒ กาหนดแนวทางการประเมนิ และหาคุณภาพของโปรแกรม Microsoft Powerpoint ๒.๒.๑ เม่ือผวู้ จิ ยั ได้พฒั นา เสร็จเรียบร้อยแล้ว นาไปให้ผูเ้ ชี่ยวชาญ จานวน ๓ คน เพอื่ ตรวจสอบความถูกตอ้ ง และสอดคลอ้ งกับจิตวทิ ยาการศึกษา เน้ือหา วัตถปุ ระสงคก์ ิจกรรม สอ่ื การเรยี นการ สอน การวัดผลและประเมนิ ผล และประเมนิ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวจิ ยั นามาปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ ก่อนจะ นาไปใชก้ ับกลมุ่ ตัวอยา่ งตอ่ ไป ๒.๒.๒ การทดลองใชโ้ ปรแกรม Microsoft Powerpoint และแบบสอบถามความพึงพอใจ โดยการสมุ่ ตัวอยา่ งนักเรียนในระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕64 ทไี่ มใ่ ช่กลุ่มตวั อย่างท่ีใช้ในการ ทดลอง โดยเลอื กนักเรียน ท่ีมีพฒั นาการทุกดา้ นระดบั ดีมาก ๑ คน ระดบั ปานกลาง ๑ คน และระดบั อ่อน ๑ คน รวม ๓ คน แลว้ ครผู ู้สอนนาโปรแกรม Microsoft Powerpoint ท่ีจะจัดทาข้นึ ใหน้ ักเรยี นทดลองเรยี น โดยใช้เครือ่ งฉายโปรเจ็คเตอร์ฉายบนกระดานทหี่ ้องเรียน เสรจ็ แลว้ ทาการสอบถามเกย่ี วกับประเด็นท่ีตอ้ งการ ตรวจสอบ ได้แก่ ความยากง่ายของเนื้อหาที่ใช้ ความเข้าใจเบ้อื งตน้ ในเนื้อหาท่ีศึกษา ความชดั เจนของภาษา และความน่าสนใจของเน้อื เร่ือง ๒.๒.๓ นาข้อคดิ เห็นและผลจากการสอบถามจากการทดลองใช้มาปรบั ปรงุ เพ่ิมเตมิ เพอื่ ให้ โปรแกรม Microsoft Powerpoint ทไี่ ด้รับการปรับปรุงแล้วจะใชไ้ ด้ผลจริงตามท่ีตอ้ งการและเกดิ ความเชือ่ มั่น มากยิง่ ขนึ้ และกอ่ ให้เกดิ ผลดีต่อการพัฒนาการเรียนการสอน จงึ นาไปทดลองใชก้ บั นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖4 ทีไ่ ม่ใชก่ ลุ่มตวั อยา่ งที่ใช้ในการทดลอง จานวน ๑๐ คน โดยเลือกนักเรียนที่มี พฒั นาการทกุ ดา้ นระดับดี ๓ คน ระดับปานกลาง ๔ คน และระดับออ่ น ๓ คน โดยแบง่ นกั เรยี นออกเปน็ ๓ กลุม่ แต่ละกลุ่มมีนักเรียนที่มีพัฒนาการตา่ งกนั กลุ่มละ ๑ หรอื ๒ คน ดาเนนิ การดังน้ี

๖ ๑. ทดสอบความร้พู น้ื ฐานก่อนเรียนเรื่อง สตั ว์รอบตัวเรา ๒. ฉายส่ือโปรแกรม Microsoft Powerpoint เร่ือง สตั ว์รอบตวั เรา ใหน้ ักเรียนได้ศึกษา แลว้ นาผลการทดสอบระหวา่ งเรยี นไปหาคา่ คณุ ภาพของส่ือการสอน ๓. ทดสอบหลงั เรียนโดยใชแ้ บบทดสอบชุดเดมิ แตม่ กี ารสลับขอ้ คาถาม และคาตอบนาผล การทดสอบไปหาคา่ คุณภาพของส่ือการสอน ๔. ประเมนิ ผลตามแบบสอบถามความพึงพอใจทีม่ ตี ่อโปรแกรม Microsoft Powerpoint ๕. นาผลการประเมินคณุ ภาพ โปรแกรม Microsoft Powerpoint ไปเปน็ ข้อมูลในการ ปรับปรงุ แก้ไขอีกครั้ง ๒.๒.๔ นาผลการประเมนิ ท่ีได้จากการทดสอบระหว่างเรยี นและหลังเรียนไปหาคณุ ภาพของ โปรแกรม Microsoft Powerpoint โดยใชเ้ กณฑ์การประเมินประสทิ ธิภาพสื่อการสอน ดา้ นพุทธิพสิ ัย ๘๐/๘๐ ของกรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ.(๒๕๔๕ : ๕๘) และหาค่าประสิทธิผลของแบบทดสอบ ๒.๒.๕ เมอื่ ไดป้ รับปรุง แกไ้ ข จนได้วิดีโอชว่ ยสอนที่มคี ุณภาพ และประสทิ ธิภาพแลว้ นาไป ทดลองกับกลมุ่ ตวั อยา่ งที่ใช้ในการวจิ ัย ทง้ั 43 คน ต่อไป ๓. ทดลองใช้กบั กลมุ่ ตวั อยา่ งนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑/๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ตามแผนการ ดาเนนิ การ ในขอบเขตของการวจิ ยั ๔. รายงานผลการพัฒนา โดยจดั ทาในรูปแบบการเขยี นรายงานการวจิ ัย และเผยแพร่สู่ สาธารณะ การเก็บรวบรวมข้อมูล ครูผู้สอนดาเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ดงั น้ี ๑. ดาเนนิ การตามแผนการจัดการเรยี นรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ กับกลุ่มตัวอย่างทีเ่ รยี นออนไลนผ์ า่ น แอปพลิเคชัน Line 2. รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนต่อสื่อประกอบการเรียนการสอน ออนไลน์ เรื่องสัตว์รอบตัวเรา วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ของกลุ่ม ตัวอย่างจานวน 43 คน มาวิเคราะห์ข้อมูลหาค่าเฉล่ียเปรียบเทียบโดยภาพรวม และนาไปเปรียบเทียบหา ระดับความพงึ พอใจ ๒. แปลความหมายของคา่ เฉลยี่ โดยนาค่าเฉลี่ยของคะแนนทไ่ี ดจ้ ากแบบสอบถามไป เปรียบเทียบกับเกณฑ์การวิเคราะห์ผลการประเมินความเห็น (Opinionate) ของ ประคอง กรรณสูตร. (๒๕๓๘ : ๗๗) โดยมคี า่ เฉลี่ย ดังนี้ ๑.๐๐ – ๑.๔๙ = ความพงึ พอใจของนกั เรยี น อยูใ่ นระดับ น้อยทส่ี ดุ ๑.๕๐ – ๒.๔๙ = ความพงึ พอใจของนักเรยี น อยู่ในระดับ น้อย ๒.๕๐ – ๓.๔๙ = ความพงึ พอใจของนกั เรยี น อยใู่ นระดับ ปานกลาง ๓.๕๐ – ๔.๔๙ = ความพงึ พอใจของนกั เรยี น อยู่ในระดับ มาก ๔.๕๐ – ๕.๐๐ = ความพงึ พอใจของนกั เรยี น อยูใ่ นระดับ มากท่สี ุด

๗ ๓. รวบรวมผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรยี นกล่มุ ตวั อย่าง ทไ่ี ด้จากการทดสอบก่อนเรียน หลังเรียนและหลังหลังเรียน นามาวิเคราะห์ข้อมูลหาค่าเฉลี่ย ( ) และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เปรียบเทียบผลการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน กับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ใน แผนการจดั การเรยี นรู้ ไม่ตา่ กว่าร้อยละ ๗๐ การวิเคราะห์ขอ้ มูล ผู้วิจัยได้ดาเนนิ การเก็บรวบรวมข้อมลู ตามขั้นตอนขา้ งต้น แลว้ ทาการวเิ คราะห์ขอ้ มลู โดยสถิตทิ ่ีใช้ ในการวเิ คราะห์ข้อมูล ประกอบดว้ ย ๑. สถิติพืน้ ฐาน ไดแ้ ก่ ร้อยละ (Percentage), คา่ เฉลี่ย ( ), สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.), และ สถติ ิทดสอบสมมตฐิ านใช้ t - Test (Dependent Samples) ๒. สถิตทิ ใี่ ช้หาคุณภาพเครอ่ื งมือ ไดแ้ ก่ การหาคา่ ความตรงเชงิ เนอ้ื หา ตามสตู ร IOC และ การหาค่าประสิทธภิ าพ ( E๑ / E๒ )

๘ ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ๑. ผลการพัฒนาส่อื ประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ืองสัตว์รอบตวั เรา วิชาวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 1 จากการพฒั นาสื่อประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง สตั วร์ อบตัวเรา วชิ าวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑/๑ ซึ่งจากการให้ผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน พิจารณาและ ประเมินเคร่ืองมือในการวิจัยท่ีได้ปรับปรุงในข้ันต้นแล้ว เพื่อหาค่าความตรงเชิงเนื้อหาของแบบทดสอบ (IOC) ก่อนการทดลอง พบว่า สื่อประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่อง สัตว์รอบตัวเรา วิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 มคี ่าความตรงเชิงเนื้อหาของแบบทดสอบ (IOC) ดงั ตารางท่ี ๑ ตารางที่ 1 แสดงค่าเฉล่ยี ระดับความคดิ เหน็ ของผู้เชยี่ วชาญตอ่ แบบทดสอบก่อน หลงั เรยี น รายการ คา่ เฉลี่ยความคดิ เห็น ค่าเฉลย่ี ประเมิน ผู้เชยี่ วชาญคนท่ี ๑ ผเู้ ชย่ี วชาญคนที่ ๒ ผู้เชี่ยวชาญคนท่ี ๓ รวม (X) โปรแกรม Microsoft Powerpoint ค่าเฉล่ีย ( X ) 1.00 1.00 0.80 0.93 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ข้อท่ี 1 1 1 1 3 1.00 ขอ้ ท่ี ๒ 1 1 1 3 1.00 ขอ้ ท่ี 3 1 1 0 2 0.67 ข้อท่ี 4 1 1 0 2 0.67 ขอ้ ท่ี 5 1 1 1 3 1.00 ข้อที่ ๖ 1 1 1 3 1.00 ข้อที่ ๗ 1 1 0 2 0.67 ข้อท่ี 8 1 1 1 3 1.00 ข้อท่ี ๙ 1 1 1 3 1.00 ขอ้ ท่ี ๑๐ 1 1 0 2 0.67 คา่ เฉลี่ย ( X ) 1.00 1.00 0.60 0.87

รายการ ค่าเฉล่ียความคดิ เห็น รวม ๙ ประเมนิ ผเู้ ชย่ี วชาญคนท่ี ๑ ผู้เชีย่ วชาญคนที่ ๒ ผูเ้ ช่ียวชาญคนที่ ๓ คา่ เฉล่ีย แบบทดสอบหลงั เรยี น (X) ข้อที่ 1 1 1 1 3 1.00 ขอ้ ที่ ๒ 1 1 1 3 1.00 1.00 ข้อที่ 3 1 1 1 3 0.67 1.00 ขอ้ ท่ี 4 1 1 0 2 1.00 0.67 ข้อท่ี 5 1 1 1 3 1.00 1.00 ข้อที่ ๖ 1 1 1 3 1.00 0.94 ข้อที่ ๗ 1 1 0 2 ข้อที่ 8 1 1 1 3 ขอ้ ที่ ๙ 1 1 1 3 ข้อท่ี ๑๐ 1 1 13 คา่ เฉลี่ย ( X ) 1.00 1.00 0.80 จากตารางที่ ๑ เป็นผลการประเมินระดับความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญก่อนการทดลองท่ีมีต่อ สื่อประกอบการเรียนการ1สอ.0น0ออนไลน์ เร่ืองสัตว์รอบตัวเรา วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 พบว่า ส่ือประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่องสัตว์รอบตัวเรา มีค่าความตรงเชิง เนื้อหาของแบบทดสอบ1(.IO00C) เฉล่ียเท่ากับ 0.93 แบบทดสอบก่อนเรียนมีค่าความตรงเชิงเนื้อหาของ แบบทดสอบ (IOC) เฉลี่ยเท่ากับ ๐.87 แบบทดสอบหลังเรียนมคี า่ ความตรงเชิงเน้ือหาของแบบทดสอบ (IOC) เฉลี่ยเท่ากับ ๐.94

๑๐ ๒. ผลการตรวจสอบ ส่ือประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง สัตว์รอบตัวเรา วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของนกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ทพี่ ฒั นาขึ้น มีดงั น้ี ๒.๑ ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังการทดลอง ของกลุ่ม ตัวอย่าง เพ่ือหาค่าคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และคะแนนผลการประเมินความพึงพอใจ โดยดาเนินการ ดังนี้ ๒.๑.๑ การจัดสอบก่อนเรียน เป็นการจัดทดสอบความรู้เดิมของนักเรียนจากแบบทดสอบ กอ่ นเรยี น เรือ่ ง สตั วร์ อบตัวเรา จานวน ๑๐ ขอ้ ๑๐ คะแนน ปรากฏดังน้ี ตารางที่ ๒ แสดงผลการทดสอบก่อนเรียน เร่อื ง สัตวร์ อบตัวเรา นักเรยี นคนที่ ผลการทดสอบกอ่ นเรียน คะแนนเต็ม คะแนนทไ่ี ด้ รอ้ ยละ ๑ ๑๐ 2 20 ๒ ๑๐ 2 20 ๓ ๑๐ 2 20 ๔ ๑๐ 2 20 ๕ ๑๐ 2 20 ๖ ๑๐ ๐ 0 ๗ ๑๐ 2 20 ๘ ๑๐ ๐ 0 ๙ ๑๐ 2 20 ๑๐ ๑๐ 2 20

๑๑ ตารางท่ี ๒ (ตอ่ ) ผลการทดสอบก่อนเรียน นักเรียนคนท่ี คะแนนเต็ม คะแนนทไี่ ด้ รอ้ ยละ ๑๑ ๑๐ ๐ 0 ๑๒ ๑๐ 4 20 ๑๓ ๑๐ 4 20 ๑๔ ๑๐ 4 20 ๑๕ ๑๐ ๐ 0 ๑๖ ๑๐ 4 ๔๐ ๑๗ ๑๐ 4 ๔๐ ๑๘ ๑๐ 2 20 ๑๙ ๑๐ 2 20 ๒๐ ๑๐ 4 ๔๐ ๒๑ ๑๐ 2 20 ๒๒ ๑๐ 2 20 ๒๓ ๑๐ 2 20 ๒๔ ๑๐ 4 ๔๐ ๒๕ ๑๐ 2 20 ๒๖ ๑๐ 2 20 ๒๗ ๑๐ 4 ๔๐ ๒๘ ๑๐ 2 20 ๒๙ ๑๐ 2 ๔๐

๑๒ นักเรยี นคนท่ี ผลการทดสอบกอ่ นเรียน คะแนนเต็ม คะแนนทไี่ ด้ รอ้ ยละ ๓๐ ๑๐ 2 20 ๓๑ ๑๐ 2 20 ๓๒ ๑๐ 4 ๔๐ ๓๓ ๑๐ 2 20 ๓๔ ๑๐ 2 20 ๓๕ ๑๐ 4 ๔๐ ๓๖ ๑๐ 4 ๔๐ ๓๗ ๑๐ 2 20 38 ๑๐ 2 20 39 ๑๐ 0 0 40 ๑๐ 2 20 41 ๑๐ 2 20 42 ๑๐ 2 20 43 ๑๐ 2 ๔๐ รวม 430 98 96๐ เฉล่ีย ( X ) 10 2.28 22.33 S.D. = 1.20 จากตารางท่ี ๒ ผลการทดสอบก่อนเรียน เรื่อง โครงสร้างพืช ของกลุ่มตัวอย่าง 43 คน จากแบบทดสอบ จานวน 10 ข้อ 10 คะแนน พบว่า มีคะแนนเฉล่ียก่อนเรียนเท่ากับ 2.28 คะแนน คิดเป็น รอ้ ยละ 22.33 และมคี า่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 1.20

๑๓ ๒.๑.๑ ดาเนนิ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจดั การเรียนรู้ จานวน 8 ช่ัวโมง ทาการสอนออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชัน Line เรื่อง สัตว์รอบตัวเรา โดยใช้โปรแกรมนาเสนอ Microsoft Powerpoint และให้นักเรียนเข้าไปศึกษา ทบทวนความรู้ และศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองผ่าน E- Book ที่มีเนื้อหาเดียวกันกับโปรแกรมนาเสนอ Microsoft Powerpoint แล้วจึงทาแบบทดสอบหลังเรียน และประเมินความพึงใจท่ีมีต่อโปรแกรมนาเสนอ Microsoft Powerpoint และ E-Book ในรูปแบบ Google Forms โดยดาเนินการดังปรากฏผลในตารางที่ 3 ตารางท่ี 3 แสดงคะแนนการทดสอบหลงั เรียน นักเรียนคนที่ ผลการทดสอบหลังเรียน ๑ คะแนนเต็ม คะแนนท่ีได้ รอ้ ยละ ๒ 10 6 60 ๓ 10 7 70 ๔ 10 10 100 ๕ 10 9 90 ๖ 10 8 80 ๗ 10 5 50 ๘ 10 8 80 ๙ 10 5 50 ๑๐ 10 9 90 ๑๑ 10 8 80 ๑๒ 10 5 50 ๑๓ 10 8 80 ๑๔ 10 8 80 10 7 70

๑๔ ผลการทดสอบหลังเรยี น นักเรียนคนท่ี คะแนนเต็ม คะแนนท่ีได้ รอ้ ยละ 10 5 50 ๑๕ 10 8 80 ๑๖ 10 8 80 ๑๗ 10 7 70 ๑๘ 10 7 70 ๑๙ 10 8 80 ๒๐ 10 6 60 ๒๑ 10 6 60 ๒๒ 10 6 60 ๒๓ 10 8 80 ๒๔ 10 6 60 ๒๕ 10 6 60 ๒๖ 10 8 80 ๒๗ 10 6 90 ๒๘ 10 6 60 ๒๙ 10 6 60 ๓๐ 10 6 60 ๓๑ 10 8 80 ๓๒ 10 7 70 ๓๓

๑๕ นักเรยี นคนที่ ผลการทดสอบหลังเรียน ร้อยละ ๓๔ คะแนนเต็ม คะแนนท่ไี ด้ 70 10 7 ๓๕ 10 9 90 ๓๖ 10 10 100 ๓๗ 10 7 70 ๓๘ 10 7 70 39 10 5 50 40 10 8 80 41 10 8 80 42 10 9 90 43 10 10 100 รวม 430 311 เฉลย่ี ( X ) 10 7.23 73.02 S.D. = 1.41 จากตารางท่ี 3 เป็นผลการทดสอบหลังเรียน เรื่อง เร่ือง สัตว์รอบตัวเรา ของกลุ่ม ตัวอย่าง 43 คน จากแบบทดสอบ จานวน 10 ข้อ 10 คะแนน พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน 7.23 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 73.02 และมีค่าส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน เทา่ กบั 1.41

๑๖ ๒. การประเมินความพึงพอใจ ของกลุ่มตวั อยา่ งที่มตี ่อสื่อประกอบการเรยี นการสอน ออนไลน์ เรอื่ ง สัตวร์ อบตัวเรา ดังตารางท่ี ๔ ตารางที่ ๔ ผลการประเมินความพงึ พอใจ รายการประเมนิ คะแนนเฉลย่ี ระดบั ความพึงพอใจ ๑. หนา้ แรกและช่อื เรื่องน่าสนใจ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ๙๒.๖๗ ๔.๖๓ ๒. รปู แบบมีความเหมาะสมสวยงาม ๙๔.๖๗ ๔.๗๓ ๓. ขนาดตวั อกั ษรมีความเหมาะสม ๙๒.๖๗ ๔.๖๓ ๔. ความสมดลุ ของภาพและตัวอักษร ๙๓.๓๓ ๔.๖๗ ๕. ภาพประกอบมีสีสันสวยงาม ๙๖.๖๗ ๔.๘๓ ๖. เน้อื หามคี วามเหมาะสม ๙๕.๓๓ ๔.๗๗ ๗. เนื้อหาแตล่ ะตอนมที าใหเ้ ข้าใจงา่ ย ๙๔.๐๐ ๔.๗๐ ๘. แบบฝึกหดั ช่วยใหเ้ ขา้ ใจเนือ้ หา ๙๘.๐๐ ๔.๙๐ ๙. บทเรยี นนี้ชว่ ยใหน้ ักเรยี นมีความเข้าใจ ๙๕.๓๓ ๔.๗๗ ๑๐. หนงั สือนี้ช่วยให้มกี ระตือรอื ร้นอยากเรยี น ๙๔.๖๗ ๔.๗๓ รวม ๙๔๗.๓๓ ๔๗.๓๗ เฉลยี่ ( X ) ๙๔.๗๓ ๔.๗๔ จากตารางท่ี ๔ เป็นผลการประเมนิ ความพงึ พอใจสอื่ ประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่อง สัตว์รอบตัวเรา ของกลุ่มตัวอย่าง 43 คน จากแบบสอบถามมาตรประมาณค่า ๕ ระดับ จานวน ๑๐ ข้อ พบว่า มีค่าคะแนนเฉล่ียรวมเท่ากับ ๔.๗๔ คิดเป็นร้อยละ ๙๔.๗๓ หมายความว่า ความพึงพอใจของกลุ่ม ตัวอย่าง ท่ีมีต่อสื่อประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง สัตว์รอบตัวเรา อยู่ในระดับมากที่สุด (๔.๕๐ – ๕.๐๐)

๑๗ จากการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ส่ือประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง สัตว์รอบตัวเรา วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยขี องนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1 สามารถแสดงได้ดังปรากฏ ตามตารางที่ ๕ ตารางที่ ๕ แสดงการเปรยี บเทยี บการทดสอบกอ่ น – หลงั เรียนเรื่อง สัตว์รอบตัวเรา ผลการทดสอบ นกั เรียนคนท่ี หลังเรยี น การพัฒนา ร้อยละการพฒั นา คะแนนเต็ม ก่อนเรียน 6 4 40 ๑ 10 2 7 5 50 ๒ 10 2 10 8 80 ๓ 10 2 9 7 70 ๔ 10 2 8 6 60 ๕ 10 2 5 5 50 ๖ 10 ๐ 8 6 60 ๗ 10 2 5 5 50 ๘ 10 ๐ 9 7 70 ๙ 10 2 8 6 60 ๑๐ 10 2 5 5 50 ๑๑ 10 ๐ 8 4 40 ๑๒ 10 4 8 4 40 ๑๓ 10 4 7 3 30 ๑๔ 10 4 5 5 50 ๑๕ 10 ๐ 8 4 40 ๑๖ 10 4

๑๘ ผลการทดสอบ นักเรียนคนที่ หลงั เรียน การพัฒนา ร้อยละการพัฒนา คะแนนเตม็ กอ่ นเรียน 8 4 40 7 5 50 ๑๗ 10 4 7 5 50 ๑๘ 10 2 8 4 40 ๑๙ 10 2 6 4 40 ๒๐ 10 4 6 4 40 ๒๑ 10 2 6 4 40 ๒๒ 10 2 8 4 40 ๒๓ 10 2 6 4 40 ๒๔ 10 4 6 4 40 ๒๕ 10 2 8 4 40 ๒๖ 10 2 6 4 40 ๒๗ 10 4 6 4 40 ๒๘ 10 2 6 4 40 ๒๙ 10 2 6 4 40 ๓๐ 10 2 8 4 40 ๓๑ 10 2 7 5 50 ๓๒ 10 4 5 50 ๓๓ 10 2 7 5 50 9 ๓๔ 10 2 ๓๕ 10 4

ตารางท่ี ๕ (ตอ่ ) ๑๙ นักเรียนคนท่ี ผลการทดสอบ ร้อยละการพฒั นา คะแนนเต็ม กอ่ นเรียน หลังเรยี น การพัฒนา 60 50 ๓๖ 10 4 10 6 50 75 50 ๓๗ 10 2 75 60 55 60 ๓๘ 10 2 86 70 86 80 39 10 0 97 10 8 49.53 40 10 2 7.23 4.95 72.33 41 10 2 1.41 42 10 2 27.66 43 10 2 เฉล่ยี ( X ) 10 2.28 ร้อยละ ๑๐๐ 22.79 S.D. 1.20 t จากตารางท่ี ๕ แสดงค่าคะแนนเฉลี่ย จากการทดสอบความรู้ความเข้าใจ เร่ือง สัตว์รอบตัวเรา พบว่า กลุ่มตัวอย่าง 43 คน ทดสอบจากแบบทดสอบก่อนเรียนเรื่อง สัตว์รอบตัวเรา จานวน 10 ข้อ ได้ คะแนนเฉล่ีย 2.28 คิดเป็นรอ้ ยละ 22.79 และเมื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแลว้ ทดสอบหลังเรียน จาก แบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจเน้ือหาเร่ือง สัตว์รอบตัวเรา จากแบบทดสอบคู่ขนาน ได้คะแนนเฉลี่ย 7.23 คิดเปน็ ร้อยละ 72.33 ผลการพฒั นา พบว่า นักเรียนได้คะแนนเฉลีย่ เพิ่มข้นึ จากรอ้ ยละ 22.79 เป็นร้อยละ 72.33 เพิ่มข้ึนร้อยละ 49.53 เม่ือเทียบกับเกณฑ์ผ่านตามจุดประสงค์การเรียนรู้ ที่นักเรียนจะต้องผ่านเกณฑ์การ ประเมินร้อยละ ๗๐ ข้ึนไป ซ่ึงปรากฏว่า คะแนนเฉลี่ยการพัฒนาของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ได้คะแนนเท่ากับ รอ้ ยละ 49.53 จากผลการทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี นของกลุม่ ตัวอย่าง ผูว้ จิ ัยไดท้ าการวเิ คราะหข์ ้อมูลเพ่ือ ทดสอบสมมติฐาน ดังตารางท่ี ๖

๒๐ ตารางท่ี ๖ แสดงการเปรียบเทียบความรู้เร่ือง สัตวร์ อบตัวเรา ก่อนและหลงั เรียน การทดสอบ n ( X ) SD t ก่อนเรียน หลังเรียน 43 2.28 1.20 27.66 43 7.32 1.41 df = 42, ระดับนยั สาคัญทางสถิติ ท่ีระดบั .๐5 จากตารางท่ี ๖ แสดงการเปรียบเทียบความรู้สื่อประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง สัตว์รอบตัวเรา วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 จานวนกลุ่มตัวอย่าง 43 คน พบว่า ก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ยคะแนน เท่ากับ 2.28 และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.20 หลังเรียนมี ค่าเฉล่ียคะแนน เท่ากับ 7.32 และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.41 และจากการเรียน ได้ค่า t เท่ากับ 27.66 แสดงว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่างหลังเรยี นสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ท่ี .๐5 แสดงให้เห็นว่า สื่อประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง สัตว์รอบตัวเรา วิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 สามารถพัฒนาการเรียนการสอนนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑/๑ ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ๒.๒ คานวณหาประสิทธิภาพส่ือการเรียนการสอน หรือ E๑ / E๒ มีค่า ๘๐ / ๘๐ ขึ้นไป โดยการหาประสิทธิภาพสื่อการเรียนการสอนน้ี ใช้ในขั้นตอนของการสร้างผลิตส่ือ โดยใช้เกณฑ์การประเมิน ประสิทธภิ าพสื่อการสอน ๘๐ / ๘๐ ของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธกิ าร (๒๕๔๕ : ๕๘) และหาค่าคุณภาพ ของสื่อประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่อง สัตว์รอบตัวเรา วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ดงั ตารางท่ี ๗

๒๑ ตารางท่ี 7 แสดงคา่ คะแนนเฉลย่ี การประเมินประสิทธภิ าพส่ือการสอน คะแนนกจิ กรรมระหวา่ งเรียน คนที่ ชดุ ท่ี ๑ ชดุ ท่ี ๒ รวมคะแนน ทดสอบหลงั เรียน (๕ คะแนน) (5 คะแนน) (1๐ คะแนน) (10 คะแนน) ๑3 589 ๒2 578 ๓3 478 ๔4 ๓77 ๕3 589 ๖2 588 ๗4 5 9 10 ๘4 5 9 10 ๙4 599 ๑๐ 4 599 รวม 33 47 81 87 เฉล่ยี ( X ) 8.1 8.7 ร้อยละ 81 87 จากตารางที่ ๙ แสดงคา่ คะแนนเฉลีย่ การประเมนิ ประสิทธภิ าพส่อื การสอน พบวา่ หลังจากการทดลองโดยให้ศึกษาร่วมกันภายในกลุ่ม มีการอภิปรายซักถามกันภายในกลุ่ม ทาแบบฝึกหัดทั้ง สองชุด กาหนดเวลาให้ ๕๐ นาที นาคะแนนท่ีได้มารวมกัน จากจานวนนักเรียน ๑๐ คน คะแนนรวม 1๐ คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 8.1 คิดเป็นร้อยละ 81 เม่ือศึกษาเสร็จสิ้น ทดสอบความรู้หลังเรียน เร่ือง สัตว์รอบตัวเรา จากแบบทดสอบหลังเรียน ๑0 ข้อ ๑0 คะแนน ได้ค่าคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 8.7 คดิ เปน็ ร้อยละ ร้อยละ 87 จากข้อมูล ประสิทธิภาพของส่ือการเรียนการสอน คือ ส่ือประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่อง สัตว์รอบตัวเรา เท่ากับ E๑ / E๒ = 81 / 87 ซ่ึงพบว่า ส่ือประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง สัตวร์ อบตัวเรา น้ีได้มาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐาน ๘๐ / ๘๐ ผู้วิจัยจึงได้นาส่ือประกอบการเรียนการสอน ออนไลน์ เรื่อง สัตว์รอบตัวเรา ไปทดลองใชก้ ับกล่มุ ตวั อย่างต่อไป

๒๒ สรปุ ผลการวิจยั ๑. ผลการพัฒนาส่ือประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง สัตว์รอบตัวเรา ท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึน ประกอบด้วย มีประสิทธิภาพ 81 / 87 ได้มาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐาน ๘๐ / ๘๐ และส่ือประกอบการ เรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง สัตว์รอบตัวเรา มีค่าความตรงเชิงเนื้อหาของแบบทดสอบ (IOC) เฉล่ียเท่ากับ 0.93 ซ่ึงแปลผลได้ว่า สื่อประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่อง สัตว์รอบตัวเรา มีคุณภาพในระดับ มาก ที่สุด สามารถพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถเรียนรู้และตอบคาถามจากเน้ือเร่ืองได้ เม่ือ เทียบกับเกณฑ์ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์การวิจัย ที่นักเรียนจะต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป ซ่ึงปรากฏว่า คะแนนเฉลี่ยการพัฒนาของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ได้คะแนนเท่ากับร้อยละ 49.53 ๒. เมื่อพิจารณาถงึ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนแต่ละคน ก่อนเรียนและหลังเรยี น จาก สอื่ ประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เรอื่ ง สัตว์รอบตัวเรา จากจานวนกล่มุ ตัวอย่าง 43 คน พบว่า ก่อนการ เรียนมีค่าเฉล่ียคะแนนร้อยละ 2.28 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.20 หลังเรียน มีค่าเฉลี่ยคะแนน เท่ากับ 72.33 และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.41 โดยมีค่าเฉลี่ยคะแนนการพัฒนา เทา่ กับ 4.95 และ จากการเรียน ได้ค่า t เท่ากับ 27.66 แสดงว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่างหลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียนมคี วามแตกตา่ งกันอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติท่ี .๐5 แสดงว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรยี นหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ .๐5 แสดงให้เห็นสื่อประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง สัตวร์ อบตัวเรา สามารถพฒั นาการเรยี นการสอนนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑/๑ ได้ 3. เม่อื พจิ ารณาผลการประเมินความพึงพอใจระหวา่ งกลุ่มตัวอย่างศึกษาส่อื ประกอบการเรยี น การสอนออนไลน์ เรอื่ ง สตั ว์รอบตวั เรา ของกล่มุ ตัวอย่าง 43 คน จากแบบสอบถามมาตรประมาณค่า ๕ ระดับ จานวน ๑๐ ขอ้ พบวา่ มคี ่าคะแนนเฉลี่ยรวมเท่ากับ ๔.๗๔ คิดเป็นรอ้ ยละ ๙๔.๗๓ หมายความว่า ความพงึ พอใจของกลุ่มตวั อย่าง ท่มี ตี อ่ ส่ือประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่อง สตั วร์ อบตัวเรา อยูใ่ น ระดับมากท่สี ุด (๔.๕๐ – ๕.๐๐)

๒๓ อภปิ รายผล จากผลการวิจัยท่ีพบว่า โปรแกรมนาเสนอ Microsoft Powerpoint เร่ือง สัตว์รอบตัวเรา ได้ มาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐาน ๘๐ / ๘๐ และมีค่าความตรงเชิงเน้ือหาของสื่อประกอบการเรียนการสอน ออนไลน์ เร่ือง สัตว์รอบตัวเรา ที่ใช้ได้ เม่ือนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการ เรียนรู้ ในการจัดการเรียนการสอนซ่ึงประกอบด้วยภาพ และสีสัน เป็นการช่วยสร้างบรรยากาศให้ผู้เรียนเกิด ความสนุกสนานเพลิดเพลินและสนุกกับการเรียน มีการให้ผลย้อนกลับโดยใช้ทฤษฏีของการเสริมแรงและการ ตอบสนอง และการแบ่งเนอื้ หาออกเป็นเรือ่ ง ๆ ซึ่งทาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหา ทีละตอนและสามารถสรุปเป็น ความคิดรวบยอดได้ อีกท้ังมีการย้อนกลับทันทีหลังจากตอบคาถามซึ่งเป็นการเสริมแรง ฉะนั้นการนา เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์มาประยุกต์เป็นโปรแกรมนาเสนอ Microsoft Powerpoint และ E-Book ผ่านแอพลิเคชัน Line ให้กับผู้เรียน นับว่าเป็นวิธีการสอนที่นิยมนามาใช้เพื่อช่วยในการเรียนรู้ในสภาวะแพร่ ระบาดของเช้ือโควิด-19 ท้ังน้ียังส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนมีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติที่ระดบั .๐5 และมีประสทิ ธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานท่ีกาหนดไว้ คือ ๘๐/๘๐ สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ัยของ ฉวีวรรณ ฤาชา (๒๕๔๒) ท่ศี ึกษาพบว่า ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของกลุ่มที่เรยี นจาก วิธีสอนโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสูงกว่ากลุ่มท่ีเรียนโดยวิธีสอ นปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ท่ี ระดบั .๐๕ ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน ซึ่งมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด ทั้งนี้ เน่ืองมาจากผู้เรียนมีความคิดเห็นว่าโปรแกรมนาเสนอ Microsoft Powerpoint และ E-Book มีความ เหมาะสมในการนามาใช้ในการเรียนการสอนและใช้ทบทวนเนื้อหาที่เรียนในชั่วโมง เพราะโปรแกรมนาเสนอ Microsoft Powerpoint และ E-Book มีสีสัน การ์ตูน และรูปภาพประกอบบทเรียน ทาให้ผู้เรียนเกิดความ สนใจในการเรียนยิ่งขึ้น ทั้งนี้อาจเน่ืองมาจากโดยปกติแล้วผู้เรียนและผสู้ อนได้สัมผัสกบั ส่ือการเรียนการสอนท่ี แปลกใหม่ทาให้ไม่เบ่ือหน่ายและเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินในการเรียนตามไปด้วย อีกทั้งโปรแกรม นาเสนอ Microsoft Powerpoint และ E-Book ได้ผ่านการตรวจสอบความเหมาะสมโดยผู้เชี่ยวชาญ ก่อนที่ จะนาไปทาการทดลอง จึงทาให้บทเรียนมีประสิทธิภาพ ด้วยเหตุผลดังกล่าวน่าจะส่งผลให้ผลการประเมิน ความ พึงพอใจของผู้เรียนและผู้สอนอยู่ในระดับความพึงพอใจมาก ส่งผลต่อผลการเรียนที่ทาให้นักเรียนมี ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนสูงข้ึน

๒๔ ภาคผนวก

๒๕ ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ผลการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี นโดยใช้โปรแกรม SPSS t-test Paired Samples Statistics Mean N Std. Deviation 2.28 43 1.20 Pair 1 Pre-test 7.23 43 1.41 Posttest Paired Samples Test Paired Differences Mean Std. Deviation Std. Error Mean t df Sig.(2-tailed) Sig.(1-tailed) Pair 1 Posttest - Pretest 4.95 1.17 0.18 27.6633 42 0.0000 0.0000

ภาพการจัดการเรียนการสอนดว้ ยสื่อประกอบการเรยี นการสอนออนไลน์ เร่อื ง สตั ว์รอบตวั เรา

๒๗ ภาพการพัฒนาส่อื ประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ เรอื่ ง สัตว์รอบตัวเรา

๒๘ ภาพสอื่ ประกอบการเรยี นการสอนออนไลน์ เรื่อง สัตวร์ อบตัวเรา โปรแกรมนาเสนอ Microsoft Powerpoint และ E-Book

๒๙ ภาพสอื่ ประกอบการเรยี นการสอนออนไลน์ เรื่อง สัตวร์ อบตัวเรา โปรแกรมนาเสนอ Microsoft Powerpoint และ E-Book

๓๐ ภาพแบบทดสอบออนไลน์ เร่อื ง สัตวร์ อบตัวเรา ในรูปแบบ Google Forms


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook