Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ2560 - 2579)

ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ2560 - 2579)

Published by fery069, 2020-09-15 03:51:43

Description: ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ2560 - 2579)

Keywords: ยุทธศาสตร์ชาติ20ปี

Search

Read the Text Version

( ร่ า ง ) ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ร ะ ย ะ 2 0 ปี (พ.ศ.2560-2579) ดาวนโ์ หลดเอกสารได้ที่ : www.thaigov.go.th www.nesdb.go.th

ส า ร บั ญ บทนา หน้า ส่วนที่ 1 3-14 อนาคตประเทศไทยปี พ.ศ. 2579 15-28 สว่ นท่ี 2 29-58 สภาพแวดลอ้ มการพฒั นาและความทา้ ทายท่ปี ระเทศไทยต้องพรอ้ มจะเผชิญ 59-112 สว่ นท่ี 3 64-68 69-83 วิสัยทัศน์ เป้าหมาย และยุทธศาสตร์ 84-93 ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 : 94-100 ยุทธศาสตร์ด้านความมัน่ คง 101-104 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 : ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 105-112 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 : 113-117 ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 : 118-122 ยุทธศาสตรก์ ารสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 : ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดล้อม ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 : ยุทธศาสตร์ดา้ นการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั ส่วนที่ 4 กระบวนการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ การขับเคลอ่ื นสกู่ ารปฏบิ ัติและการตดิ ตามประเมนิ ผล บทสรปุ

บทนา  สถานการณแ์ ละแนวโน้มดา้ นความม่ันคงในระยะยาว  สถานการณ์และแนวโน้มส่งิ แวดล้อมโลก  สถานการณ์และแนวโนม้ ของพัฒนาการ ด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี  สถานการณแ์ ละแนวโน้มด้านเศรษฐกจิ  ปจั จัยและเงือ่ นไขภายในและภายนอกประเทศ

รา่ งยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 4 บทนา บทนา บทนา ในอนาคต 20 ปีข้างหน้า... สภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกประเทศ มีแนวโน้มจะมีการเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ รนุ แรง และฉบั พลันในหลากหลายมติ ิ ซงึ่ จะส่งผลต่ออนาคตการพัฒนาประเทศไทยเปน็ อยา่ งมาก การวเิ คราะหเ์ งือ่ นไขและสถานการณ์ภายในประเทศในปจั จบุ ันโดยเฉพาะอย่างยิ่งลักษณะในเชิงโครงสร้าง ทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมทั้งที่เป็นจุดแข็งและเป็นจุดอ่อน และแนวโน้มการเปล่ียนแปลงในอนาคต ท้ังจากภายในและภายนอก เพื่อบง่ ช้ีและประเมนิ โอกาสและความเสย่ี งของประเทศในด้านต่าง ๆ เป็นองคป์ ระกอบ สาคัญหน่ึงของการจัดทายุทธศาสตร์ชาติเพ่ือการพัฒนาในระยะยาว ซึ่งต้องมีการกาหนดยุทธศาสตร์ ที่เหมาะสมเพอ่ื แก้ไขจดุ ออ่ นและเสรมิ จดุ แข็งใหเ้ ออ้ื ตอ่ การพัฒนาประเทศให้บรรลซุ งึ่ เป้าหมายการสร้างและรักษา ไว้ซ่ึงผลประโยชน์แห่งชาติในการที่จะให้ประเทศไทยมีความมั่นคงในทุกด้าน คนในชาติมีคุณภาพชีวิตท่ีดี และม่ังคัง่ และประเทศสามารถพฒั นาไปไดอ้ ยา่ งยัง่ ยืน ทั้งนี้ การวิเคราะห์ให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและข้อจากัด รวมทั้งความเส่ียง ของประเทศ จะนาไปสูก่ ารกาหนดตาแหนง่ เชงิ ยุทธศาสตรแ์ ละเปา้ หมายของประเทศทชี่ ัดเจนและได้รับการยอมรับ ร่ ว ม กั น ใ น สั ง ค ม ไ ท ย ท่ี จ ะ ส่ ง ผ ล ใ ห้ เ กิ ด ก า ร ผ นึ ก ก า ลั ง แ ล ะ ร ะ ด ม ท รั พ ย า ก ร อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ในการขับเคล่ือนการพัฒนาไปในทิศทางท่ีสอดคล้องกัน การดาเนินการมีบูรณาการ และเป็นเอกภาพ ภายใต้การมองภาพอนาคตของประเทศท่ีเป็นภาพเดียวกัน และตั้งอยู่บนพื้นฐานการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม และแนวโน้มในอนาคตท่ีสาคัญ รวมทั้งการท่ีประเทศไทยจะต้องดาเนินการตามเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ตามที่องค์การสหประชาชาติ (The United Nations: UN) ได้กาหนดไว้ และตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Suffiif cient Economy Philosophy: SEP)

ร่างยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 5 บทนา บทนา บทนา 1.1 แนวโน้มดา้ นความมั่นคงในระยะยาว การประเมินสถานการณ์เพื่อประกอบการจัดทายุทธศาสตร์ระยะยาว ดาเนินการจากการศึกษาสภาพแวดล้อม ท้ังปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก สถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนในปัจจุบัน และความไม่แน่นอนท่ีอาจเกิดขึ้นในอนาคต รวมถึงการประเมินความเป็นไปได้ในอนาคตในกรณีต่างๆ นามากาหนดภาพอนาคต (Scenarios) โดยในระยะ 20 ปีข้างหน้า มคี วามเป็นไปได้ (Possible Futures) ของภาพอนาคต 4 แนวโนม้ หลัก ดงั น้ี 1) การเมืองของโลกยังคงมีสหรฐั อเมริกา เปน็ ตวั แสดงหลัก 2) กลุม่ ประเทศเศรษฐกิจใหม่ (BRICS) ได้แก่ บราซิล รสั เซยี อนิ เดยี จีน และแอฟริกาใต้ โดยเฉพาะจีนและอินเดีย จะเข้ามามีบทบาทในการขับเคล่อื นเศรษฐกิจของโลกและกระแสโลกาภิวัฒน์ใหม่ 3) กระแสการเมืองอิสลามและการรือ้ ฟน้ื ระบอบการปกครองแบบรฐั เคาะลีฟะฮ์ (Caliphate) 4) ประเด็นความม่นั คงยงั คงเปน็ ความวติ กกังวลของหลายประเทศ 1.1.1 การเมอื งของโลกยังคงมีสหรฐั ฯ เป็นตวั แสดงหลัก สหรัฐอเมริกายังเป็นผู้นาทางทหารที่เข้มแข็งและสามารถผนึกกาลังกับพันธมิตร โดยเฉพาะยุโรป ในการรับมือกับ วกิ ฤตความขดั แยง้ ของโลก และภยั คกุ คามใหมท่ เ่ี กดิ ขนึ้ รวมถงึ สหรฐั อเมรกิ า ยงั มคี วามไดเ้ ปรยี บดา้ นเทคโนโลยที มี่ คี วามกา้ วหนา้ มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญเพียงพอโดยไม่ต้องพ่ึงพงิ หรือนาเข้าจากประเทศอื่นๆ ได้แก่ น้ามัน และ ก๊าซธรรมชาติ นอกจากนี้ สหรัฐอเมิรกิ ายังมกี ารใช้อานาจอ่อน (Soft Power) ร่วมกับอานาจแข็ง (Hard Power) ส่งผลให้ สหรฐั อเมรกิ า ยังคงมีความเข้มแข็งและเป็นที่น่าเกรงขามต่อประเทศอ่ืนๆ อย่างไรก็ตาม มีการคาดการณ์ว่าบทบาทของ สหรัฐอเมริกา จะถกู ทา้ ทายจากประเทศอน่ื ๆ มากขน้ึ โดยเฉพาะจากประเทศทไ่ี มใ่ ชพ่ นั ธมติ ร อาทิ จนี และ รสั เซยี เพอื่ ถว่ งดลุ อานาจ 1.1.2 กลุ่มประเทศเศรษฐกจิ ใหม่ (BRICS) ไดแ้ ก่ บราซิล รสั เซยี อนิ เดีย จีน และแอฟริกาใต้ โดยเฉพาะจีน และอินเดีย จะเขา้ มามบี ทบาทในการขับเคลือ่ นเศรษฐกจิ ของโลกและกระแสโลกาภิวตั นใ์ หม่ กลุ่มประเทศเศรษฐกิจใหม่ ได้แก่ บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน และแอฟริกาใต้ จะมีความสาคัญมากขึ้น ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลกให้ขยายตัว อานาจทางเศรษฐกิจของโลกจะย้ายจากกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว มายังกลุ่มประเทศเศรษฐกิจใหม่ โดยที่แนวโน้มการค้าโลกในปี 2563 จะได้รับการขับเคล่ือนจากการค้า ภายในกลุ่มประเทศเกิดใหม่มากขึ้นโดยเฉพาะจีนและอินเดียที่มีประชากรรวมกันกว่า 2,700 ล้านคน และคาดการณ์ว่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของทั้ง 2 ประเทศ รวมกันจะมากกว่า สหรัฐฯ ภายในปี 2573 นอกจากนี้ ระบบเศรษฐกจิ โลกจะมลี กั ษณะเชอ่ื มโยงและพง่ึ พาอาศยั กนั มากขนึ้ (Interlinked) 1.1.3 กระแสการเมืองอิสลามและการร้อื ฟ้ืนระบอบการปกครองแบบรัฐเคาะลีฟะฮ์ (Caliphate) ภายหลังช่วงทศวรรษ 1990 ไโดยเฉพาะหลังสงครามในอิรักได้เกิดขบวนการอิสลามที่ต้องการร้ือฟ้ืน ระบอบการปกครองแบบรัฐเคาะลีฟะห์ (Caliphate) โดยเฉพาะในภูมิภาคตะวันออกกลาง อย่างไรก็ตามกระแสดังกล่าว จะถกู ตอ่ ตา้ นจากชาตติ ะวนั ตก 1.1.4 ประเด็นความมัน่ คงยังคงเปน็ ความวติ กกงั วลของหลายประเทศ ปัญหาภัยคุกคามต่อความมั่นคงต่างๆ ส่งผลให้หลายประเทศจัดให้ปัญหาความม่ันคงเป็นความสาคัญลาดับต้นๆ ของประเทศ เช่น ภัยคุกคามจากการก่อการร้าย อาชญากรรมข้ามชาติ ความขัดแย้งภายในประเทศ การแพร่ขยายของอาวุธทาลายล้างสูง การค้าอาวุธ การค้ามนุษย์ ความยากจน การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ ตอ่ รา้ ยแรง ความมนั่ คงดา้ นอาหาร ความมน่ั คงทางพลงั งาน เปน็ ตน้

บทนา รา่ งยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 6 บทนา 1.2 สถานการณ์ความมั่นคงในระยะยาว จากแนวโน้มความเป็นไปได้ของภาพอนาคตโลก ในระยะ 20 ปีข้างหน้า ได้แก่ 1) การเมืองของโลกยังคงมีสหรัฐอเมริกา บทนา เปน็ ตวั แสดงหลกั 2) กลุ่มประเทศเศรษฐกจิ ใหม่ (BRICS) ไดแ้ ก่ บราซลิ รัสเซีย อินเดยี จนี และแอฟริกาใต้ โดยเฉพาะจีนและอนิ เดีย จะเข้ามามีบทบาทในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของโลกและกระแสโลกาภิวัตน์ใหม่ 3) กระแสการเมืองอิสลามและการร้ือฟ้ืน ระบอบการปกครองแบบรัฐเคาะลีฟะฮ์ (Caliphate) และ 4) ประเด็นความมั่นคงยังคงเป็นความวิตกกังวลของหลายประเทศ สามารถนามากาหนดแนวโนม้ สถานการณค์ วามม่ันคงในระยะยาวได้ ดังน้ี 1.2.1 ดา้ นความสัมพันธ์ระหวา่ งประเทศและการจัดระเบยี บของโลก และภูมิภาค ระเบียบระหว่างประเทศยังคงถูกาหนดโดยประเทศมหาอานาจ ได้แก่ สหรัฐอเมริกาและ ยุโรป อย่างไรก็ตาม ประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่นาโดยกลุ่ม BRICS จะมีความพยายามคานอานาจกับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะจีนและอินเดีย ท่ีมีความพยายามในการพฒั นาขดี ความสามารถทางการทหารให้ทัดเทียมสหรัฐอเมริกา ในขณะเดียวกัน สหรัฐอเมริกาและ ยุโรป จะผนึกกาลังเพื่อรักษาสถานภาพของตนในฐานะประเทศมหาอานาจต่อไป โดยจะเข้าไปมีบทบาทในการรักษาความมั่นคง การส่งเสริมประชาธปิ ไตยในแตล่ ะภมู ิภาค ซ่ึงอาจนาไปสกู่ ารกระทบกระท่งั ระหวา่ งกันเพอ่ื รกั ษาผลประโยชน์ แต่จะไม่นาสู่ความขัดแย้ง ดว้ ยกาลังอาวธุ สาหรบั แนวโนม้ สถานการณ์ความมนั่ คงของภูมภิ าคตา่ งๆของโลก ในระยะยาว เปน็ ดงั น้ี ภู มิ ภ า ค ยุ โ ร ป จ ะ มี ก า ร ป รั บ โ ค ร ง ส ร้ า ง ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ( แ ร ง ง า น พ ลั ง ง า น แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม ) เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน และต้องมีการปฏิรูปโครงสร้างการบูรณาการในกรอบของสหภาพยุโรป เพ่ือให้สหภาพยุโรปมีการบูรณาการทางเศรษฐกิจ การต่างประเทศ และความมั่นคงมากขึ้น รวมถึงจะยังคงเผชิญกับปัญหา ผู้อพยพหนีภัย โดยที่ยุโรปจะยังคงดาเนินนโยบายที่สอดคล้องกับ สหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะนโยบายการต่อต้านการก่อการร้าย และ ภยั คกุ คามรปู แบบใหม่ ภูมิภาคแอฟริกา จะเป็นภูมิภาคท่ีน่าสนใจท้ังด้านยุทธศาสตร์และการค้ารองจากภูมิภาคเอเชีย อย่างไรก็ตาม ภูมิภ าคดังกล่า ว ยังประสบปั ญห าความมั่นคง โด ยเฉพา ะปัญ หา กา รก่อ กา รร้า ยแ ละปัญห าความรุนแรง ในปจั จุบนั ทีท่ าแอฟริกามกี ารพัฒนาท่ีล่าช้า ยกเว้นบางประเทศ เช่น ไนจีเรีย และ แอฟริกาใต้ เป็นต้น จะเป็นประเทศท่ีมีการพัฒนา และเป็นผนู้ าทางเศรษฐกิจของภูมมภิ าค ภมู ภิ าคตะวนั ออกกลาง จะยงั คงประสบปญั หาความรุนแรง และไรเ้ สถยี รภาพจากความขัดแยง้ ภายในประเทศ ภูมิภ าคเอเชีย – แป ซิฟิก จ ะทวีควา มส าคัญ มากขึ้น โดยเฉพาะในด้ านเ ศรษ ฐกิ จ อ ย่าง ไรก็ ตา ม จะยังคงประสบปัญหาข้อพิพาทเหนือดินแดนในพ้ืนท่ีต่างๆ อาทิ บริเวณทะเลจีนใต้ และทะเลจีนตะวันออก ส่งผลให้ญี่ปุ่น เพิ่มบทบาทด้านความม่ันคงมากขึ้นโดยร่วมมือกับสหรัฐอเมริกา อย่างไรก็ตาม มีการคาดการณ์ว่าจะมีการรวมชาติ ระหว่างเกาหลีเหนือเกาหลีใตใ้ น พ.ศ. 2578 แตอ่ าจเป็นเพียงการตกลงในหลกั การเท่าน้นั ภูมิภาคเอเชียกลาง จะยังเป็นภูมภิ าคที่ขาดความมนั่ คง โดยสาเหตุหลักของความไรเ้ สถียรภาพมากจากระบบอานาจนิยม ซ่ึงอาจส่งผลให้ประชาชนในภูมิภาคเกิดการต่อต้านและอาจลุกลามเป็นการประท้วง นอกจากน้ี ภูมิภาคดังกล่าว จะยังคงเปน็ พ้นื ทขี่ ยายอทิ ธพิ ลของจีนและรัสเซีย ทาให้หลายประเทศมีความพยายาม ในการพัฒนาความสัมพันธ์กับจีนและรัสเซีย ผ่านองคก์ รความรว่ มมอื ในภมู ภิ าค ภูมิภาคเอเชียใต้ จะยังคงเป็นภูมิภาคท่ีมีความสาคัญต่อความมั่นคงโลก เนื่องจากเป็นพื้นที่ปัญหาการก่อการร้าย ปัญหาความขัดแยง้ ระหวา่ งอินเดยี และปากีสถาน ปัญหาขบวนการแบ่งแยกดินแดน และปัญหาการอพยพย้ายถ่ิน รวมถึงเป็นพ้ืนท่ี ขยายอิทธิพลระหว่างมหาอานาจ ได้แก่ รัสเซีย จีน และสหรัฐอเมริกา นอกจากน้ี เอเชียใต้ยังเป็นตลาดใหม่ที่น่าลงทุน เนือ่ งจากมีประชากรกว่า 1,700 ลา้ นคน ภู มิ ภ า ค เ อ เ ชี ย ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง ใ ต้ จ ะ มี ก า ร ร ว ม ตั ว กั น ม า ก ขึ้ น ผ่ า น ก ล ไ ก ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น โดยท่ีการพัฒนาของภูมิภาคจะเติบโตอย่างรวดเร็ว แต่ยังคงประสบปัญหาระดับการพัฒนา ที่แตกต่างกันของแต่ละประเทศ ในภูมิภาค อย่างไรก็ตามภูมิภาคดังกล่าวจะเป็นแหล่งดึงดูดการลงทุนท่ีสาคัญ กอปรกับ หลายประเทศในภูมิภาค อาทิ มาเลซีย เวียดนาม และไทย จะพยายามพฒั นาประเทศไปสู่การเปน็ ประเทศพฒั นาแลว้ หรอื ประเทศทมี่ รี ายได้สงู

ร่างยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 7 บทนา บทนา บทนา 1.2.2 บทบาทของตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐ (Non-State Actors) ตัวแสดงท่มี ิใชร่ ัฐ ได้แก่ องค์การระหว่างประเทศ บรรษทั ขา้ มชาติ จะทวบี ทบาทและความสาคญั ในการกาหนดระเบียบ กติกา และทิศทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมากข้ึน โดยท่ีสหประชาชาติจะยังเป็นองค์การ ระหว่างประเทศ ที่ประชาคมโลก ให้ความสาคัญในบทบาทการรักษาสันติภาพ และความมั่นคงของโลก ท้ังนี้สหประชาชาติจะขยายจานวน สมาชิกคณะมนตรคี วามมั่นคงมากขนึ้ ท้ังสมาชิกถาวรและไม่ถาวร องค์การระหว่างประเทศอื่นๆท่ีมีบทบาทสาคัญในการกาหนดกติการะหว่างประเทศท่ีส่งผลกระทบต่อการบริหาร ราชการและวิถีทางธุรกิจของประเทศอ่ืนๆให้ต้องปฏิบัติตาม ได้แก่ การกาหนดกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการทาประมงผิดกฎหมาย และไร้การควบคุม (IUU Fishing) ของสหภาพยุโรป การกาหนดกฎการบินปลอดภัยขององค์การบินพลเรือน ( ICAO) รวมถึงองค์การระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนจะเข้ามามีบทบาทในการกาหนดและตรวจสอบ มาตรฐานสิทธิมนุษยชน ของรัฐบาลตา่ งๆ มากขึน้ การก่อการร้ายในระยะ 20 ปีข้างหน้าจะมีความซับซ้อนมากขึ้นทั้งรูปแบบและวิธีการก่อการร้ายโดยจะอาศัย ช่องทางอินเทอร์เน็ตในการชักชวนและบ่มเพาะแนวคิดหัวรุนแรงกับบุคคล ท้ังนี้ เป้าหมายการก่อการร้าย จะมุ่งสถานท่ีสาธารณะซ่ึงก่อให้เกิดความเสียหายจานวนมาก นอกจากนี้ ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติจะขยายตัวมากขึ้น อนั เปน็ ผลมาจากปรากฏการณโ์ ลกาภิวตั น์ 1.2.3 ประเด็นปญั หาความมัน่ คงของโลกท่คี รอบคลมุ ทกุ มิติ ในระยะ 20 ปีข้างหน้า ปัญหาความมั่นคงของโลกจะขยายขอบเขตจากเดิมท่ีมุ่งเน้น ความมั่นคงทางการทหารเป็นหลัก ครอบคลุมปัญหาความมั่นคงรูปแบบใหม่ ตลอดจนปัญหาท่ีส่งผลกระทบต่อความม่ันคงของมนุษย์ ประกอบด้วย 5 ประเด็นปัญหาหลัก ได้แก่ 1) ปัญหาความขัดแย้งด้านเขตแดน ที่จะส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ โดยยังไม่มีแนวโน้มยุติในอนาคตอันใกล้ 2) ปัญหาความมั่นคงด้านอาหารและแหล่งน้า อันเป็นผลกระทบ จากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติทางธรรมชาติท่ีรุนแรงที่ก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรง โดยมีการคาดการณ์ว่าใน พ.ศ. 2593 จะมีประชากรท่ีประสบภาวะหิวโหยมากถึง 130 ล้านคน 3) ปัญหาความมั่นคงไซเบอร์ (Cyber Security) จะมีความรุนแรงมากข้ึน โดยเฉพาะปัญหาการใช้ช่องทาง ไซเบอร์ในการจารกรรมข้อมูล การโจมตรี ะบบสาธารณูปโภค และการทาลายเสถียรภาพของรัฐบาล 4) ปัญหาความม่ันคงสาธารณสุข จะมีโรคระบาดร้ายแรง และโรคอุบัติใหม่เกิดขึ้นเป็นระยะ ซึ่งสร้างความเสียหาย และมีการติดต่อระหว่างผู้คนในหลายประเทศ จากการอพยพย้ายถ่ิน แ ล ะ กา รเ ดิ นท า ง ท่ี มี ค วา ม เ ส รี มา กขึ้ น 5 ) ปั ญห า ค วา ม มั่ น ค งท า ง เศ ร ษฐ กิ จ จ า กส ภ า ว ะเ ศ รษ ฐ กิ จ โล ก ยังคงชะลอตวั มีความผันผวน กอปรกบั มคี วามเส่ยี งทางการคลังของกลุ่มประเทศในยุโรปซ่ึงเป็นความเสี่ยง ที่อาจส่งผลกระทบ เปน็ ลกู โซ่ต่อประเทศพ้นื ฐานทางเศรษฐกิจไมเ่ ขม้ แข็ง 1.3 สถานภาพด้านความมัง่ คงของไทย และแนวโนม้ สถานการณ์ความมั่นคงของไทยในระยะยาว 1.3.1 การวิเคราะห์สถานภาพด้านความม่ันคงของไทย โดยใช้ผลการจัดอันดับการพัฒนาด้านต่างๆ ตามวงรอบโดยองค์การระหวา่ งประเทศตา่ งๆ น้นั สถานภาพการพฒั นาของไทยเทยี บกบั นานาประเทศ เป็นดงั น้ี 1) การจัดอันดับด้านคุณภาพชีวิตมนุษย์ ในด้านคุณภาพชีวิตมนุษย์มีการจัดอันดับท่ีสาคัญ ได้แก่ ดั ช นี ก า รพั ฒ น า มนุ ษ ย์ ( Human Development Index: HDI) แ ล ะ ดั ช นี คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ( Quality of Life Index) จากการสารวจพบว่าประเทศไทย ยังคงประสบปัญหาความยากจน มีอัตราการฆาตกรรมที่สูง รวมถึงมีอัตราการเสียชีวิต จากอุบัติเหตุทางรถยนต์มากเป็นอันดับต้นของโลก อย่างไรก็ตาม ไทยยังคงมีจุดแข็งด้านค่าครองชีพที่ไม่สูง และมีค่าเฉล่ียด้านสขุ ภาพและบรกิ ารดา้ นสาธารณสขุ อยใู่ นระดบั ดี 2) การจัดอันดับด้านคุณภาพสังคม การเมือง และการบริหารประเทศ มีการจัดอันดับท่ีสาคัญ ได้แก่ ร า ย ง า น ค ว า ม สุ ข ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร โ ล ก ( World Happiness Report) อั น ดั บ ค ว า ม โ ป ร่ ง ใ ส ป ร ะ จ า ปี ซึ่ ง จั ด ท า โดยองค์กรความโปร่งใสระหว่างประเทศ (Transnational International) ดัชนีความสามารถในการแข่งขัน ซ่ึงจัดทา โดยสภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum) การจัดอันดับเสรีภาพการใช้อินเทอร์เน็ตของประชาชน ซ่ึงจัดทาโดย Freedom House การจัดอันดับสภาพแวดล้อม และความสะดวกในการประกอบธุรกิจ จัดทาโดยธนาคารโลก ร ว ม ถึ ง ก า ร จั ด ท า ตั ว ชี้ วั ด ภ า ว ะ สั ง ค ม ข อ ง ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร พั ฒ น า ก า ร เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม แ ห่ ง ช า ติ ประเทศไทยยังประสบปัญหาความยากจน ปัญหาการทุจริตคอรัปช่ัน ความไร้เสถียรภาพทางการเมือง ปัญหาความมั่นคง ปัญหาทรัพย์สินทางปัญญา การขาดเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต การขาดการบริหารจัดการที่ดินอย่างมีคุณภาพ อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยยังคงติดอันดับ 1 ใน 50 ประเทศของโลกท่ีมีสภาพแวดล้อมน่าลงทุน รวมถึงเป็นประเทศ ท่ีประชากรมคี วามสขุ อย่ใู นอนั ดับตน้ ของอาเซียน

ร่างยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 8 บทนา บทนา บทนา 1.3.2 แนวโนม้ ด้านความมั่นคงภายในประเทศไทยในระยะ 20 ปี ข้างหน้า ประเทศไทยจะยังเผชิญกับความท้าทายด้านความม่ันคงท่ีหลากหลายทั้งภัยคุกคามแบบด้ังเดิมและภัยคุกคาม รูปแบบใหม่ ได้แก่ ปัญหาการเมอื งท่ีเกดิ ขึ้นจากความแตกแยกของสงั คม ปัญหาการก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ปญั หาการก่อการรา้ ย ปัญหาอาชญากรรมขา้ มชาติ และปัญหาความมน่ั คงรูปแบบใหม่ ปัญหาการเมืองที่เกิดข้ึนจากความแตกแยกของสังคม ไทยจะยังประสบปัญหาการขาดเสถียรภาพ โดยส่งผลให้การเมืองไทยขาดเสถียรภาพ โดยปัญหาดังกล่าวมีสวาเหตุมาจากหลายปัจจัย อาทิ ความเหลื่อมล้า ปัญหาการทจุ ริต การขาดระบบยุติธรรมเพื่อลดความเหล่ือมล้า การบริหารจัดการภาครัฐขาดประวิทธิภาพ อย่างไรก็ตาม การจัดยุทธศาสตร์ชาติ มีวัตถุประสงค์เพื่อวางรากฐานการพัฒนาของไทยในอนาคตในการสร้างธรรมาภิบาล การพัฒนาระบบบริหารราชการ ตลอดจนการเร่งปรับปรุง/พัฒนา กฎหมาย ระเบียบ ท่ีเก่ียวข้อง ทั้งด้านเศรษฐกิจ สงั คม และส่งิ แวดลอ้ ม เพือ่ ขจัดสาเหตุฐานรากของปัญหาดังกลา่ ว ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีแนวโน้มคลี่คลายหากรัฐบาลยังคงดาเนินการ เพื่อสร้างความเข้าใจ และผสมผสานพลังร่วมกับประชาชน การเสริมสร้างการยอมรับสังคมพหุวัฒนธรรม และการได้รับความร่วมมือ จากมาเลเซีย ซึ่งจะส่งผลให้สามารถสกัดก้ันแนวคิดหัวรุนแรงมิให้แพร่ขยายเข้ามา ในไทยได้ รวมถึงจะชว่ ยใหไ้ ทยสามารถเชื่อมโยงในมติ ติ ่างๆ เขา้ กบั ประเทศอาเซียนทางตอนใต้ไดม้ ากขึน้ ปัญหาการก่อการร้าย ไทยจะยังคงมีความเสี่ยงจากกลุ่มท่ีเข้ามาปฏิบัติการในไทย โดยเฉพาะจากกลุ่ม ที่เคยเข้ามาปฏิบัติการแล้ว อาทิ กลุ่มฮิชบัลเลาะฮ์ กลุ่มชาวอิหร่าน และกลุ่มชาวตุรกี ซ่ึงจะใช้วิธีการและรูปแบบใหม่ๆ ในการก่อการร้าย อาทิ การใช้อาวุธเคมี อาวุธชีวภาพ อาวุธแผ่รังสี และการก่อการร้ายทางไซเบอร์ นอกจากนีไ้ ทยยังเปน็ ประเทศทางผา่ นของกลุ่มก่อการรา้ ยทสี่ นับสนุน IS ปัญหาอาชญากรรมขา้ มชาติ ไทยจะยังคงประสบปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติอย่างต่อเน่ือง อันเป็นผลมาจาก การเช่ือมโยงในภูมิภาค พัฒนาการทางเทคโนโลยีการสื่อสาร ทาเลท่ีตั้งของไทยซ่ึงอยู่ใจกลางภูมิภาค นโยบายการเปิดเสรีการค้าและการลงทุนของไทย โดยปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติท่ีสาคัญท่ีไทยต้องเผชิญ ได้แก่ การค้ายาเสพติด การลักลอบผลิตและจัดหาเอกสารปลอม อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ อาชญากรรมไซเบอร์ อาชญากรรมสงิ่ แวดล้อม และการค้ามนุษย์ 1.4 สถานการณ์และแนวโน้มสง่ิ แวดลอ้ มโลก วาระการพัฒนาท่ีย่ังยืนของโลก ค.ศ. 2030 ได้กาหนดทิศทางการรักษาและบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างบูรณาการ ในขณะเดียวกันการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรงและพันธกรณีท่ีเกี่ยวข้อง ทาให้ไทยตอ้ งพร้อมรบั ภาระในการลดก๊าซเรือนกระจกมากขน้ึ ภายใต้กระแสการแขง่ ขันการคา้ ทเี่ ขม้ ขน้ วาระการพฒั นาทย่ี ัง่ ยืน ค.ศ. 2030 เป็นทิศทางหลักในการพัฒนาของโลกหลัง ค.ศ. 2015 โดยมีเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ประกอบด้วย 17 เป้าหมายและ169 เป้าประสงค์ จะมีส่วนสาคัญในการกาหนดทิศทาง การพฒั นาประเทศไทยในอนาคต โดยเฉพาะการสรา้ งหลกั ประกนั ในการจดั ใหม้ นี ้าและสขุ อนามยั สาหรบั ทกุ คน ยกระดบั คณุ ภาพน้า เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้าทุกภาคส่วน การมีรูปแบบ การผลิตและบริโภคที่ยั่งยืน ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ลดการเกิดของเสีย การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จาก มหาสมุทรและทะเล การปกป้องและฟื้นฟูระบบนิเวศป่าไม้อย่างย่ังยืน และหยุดยั้งการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ การบริหารจัดการการเมืองอย่างยั่งยืน ลดผลกระทบทางลบ ตอ่ ส่ิงแวดล้อม และการดาเนินการอย่างเร่งด่วน เพ่ือต่อสู้กับการเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และผลกระทบท่ีเกิดข้ึน ทาให้ประเทศต้องมีการกาหนดเป้าหมายและแนวทาง การพัฒนาเพ่ือรักษาฟ้ืนฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติ ควบคู่กับแนวทาง การพัฒนาทางเศรษฐกิจท่ีมีการใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างย่ังยืน ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมให้น้อยที่สุด ซึ่งจะเป็นโอกาสที่ประเทศไทยจะพัฒนากลไกดาเนินงาน ของหน่วยงานต่าง ๆ ภายในประเทศให้เกิดการบรูณาการ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั เพอื่ บรรลเุปา้ หมายการพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื ของโลกและพรอ้ มไปกบั การพฒั นาภายในประเทศอยา่ งยงั่ ยนื ข้อตกลงระหว่างประเทศเกีย่ วกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศจะทวีความเข้มข้น ส่งผลให้ประเทศต่าง ๆ รวมท้ัง ไทยต้องดาเนินมาตรการลดก๊าซเรือนกระจกอย่างจริงจัง ประเทศไทยได้ประกาศเจตนารมณ์และกาหนดเป้าหมาย ของประเทศในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ต่ากว่าระดับการปล่อยตามปกติ ร้อยละ 7 - 20 ภายในปี พ.ศ. 2563 นอกจากนี้ บันทึกความตกลงปารีส (Paris Agreement) ท่ีนานาประเทศได้รับรองร่วมกันเมื่อ 12 ธันวาคม 2558 ซึ่งมุ่งควบคุมการเพิ่มข้ึนของอุณหภูมิเฉล่ียของโลกให้ต่ากว่า 2 องศาเซลเซียส และประเทศไทยได้ลงนามรับรอง บันทึกความตกลงดังกล่าวเม่ือ 22 เมษายน 2559 ส่งผลให้ไทยต้องมีส่วนร่วมในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก อยา่ งตอ่ เนอื่ งโดยกาหนดเปา้ หมายในการลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกเพม่ิ ขนึ้ เปน็ รอ้ ยละ 25 ภายในปี พ.ศ. 2573

รา่ งยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 9 บทนา บทนา บทนา อีกท้ังต้องมีการทบทวนเพ่ือเพิ่มระดับการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทุก 5 ปี ก่อให้เกิดนัยสาคัญ ต่อการพัฒนาประเทศที่จะต้องเร่งดาเนินการเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในทุกภาคส่วนทั้งภาคอุตสาหกรรม เกษต รกรรมแล ะบริ กา ร ต ลอ ด จนภา คครั วเ รื อน เ ป็นแ รง กด ดั นให้ประเ ทศต้ อง เปล่ี ยนแปล งรู ปแ บบ การผลิตและบรโิ ภคใหเ้ ปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อม และเพิม่ การใ่ ชพ้ ลังงานหมนุ เวียนและพลงั งานชีวภาพเพ่มิ มากข้นึ อย่างไรก็ตาม ประธานาธิบดี Donald Trump ถอนตัวออกจากข้อตกลงสภาพอากาศปารีส ซึ่งเป็นผลจากการประชุม COP21 อาจสง่ ผลตอ่ ทศิ ทางการดาเนนิ การเพอ่ื แกป้ ญั หาการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศโลกได้ นอกจากนี้ ยังมีแนวโน้มในการใช้ประเด็นการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นเงื่อนไขสาหรับกาหนดมาตรฐานสินค้า ในการคา้ ระหวา่ งประเทศ ซง่ึ อาจสง่ ผลกระทบตอ่ ภาคการสง่ ออกของไทย แตอ่ าจสรา้ งโอกาสสาหรบั ธรุ กจิ ใหม่ ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม อาทิ ผลิตภัณฑ์และบริการท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การเพ่ิมประสิทธิภาพการลดของเสีย อย่างไรก็ดี แม้ว่ากรอบอนุสัญญาว่าด้วยการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศได้กาหนดให้มีความช่วยเหลือแก่ประเทศกาลังพัฒนา ด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยที ่ีเปน็ มิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม แตใ่ นทางปฏิบัติยงั มีขอ้ จากัดเพราะความขดั แย้ง กับแนวทางการปกปอ้ ง สิทธิของทรัพย์สินทางปัญญาภายใต้กรอบการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) ทาให้ประเทศไทย ไมส่ ามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ กาหนดของอนสุ ญั ญาฯ ในสว่ นนไี้ด้ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติมีความผันผวนและรุนแรงมากข้ึนส่งผลต่อการผลิต ในภาคเกษตร และความม่ันคงด้านน้าและอาหาร การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ก่อให้เกิดการขาดแคลนน้า อุทกภัย และภัยธรรมชาติท่ีรุนแรง สร้างความเสียหายต่อระบบการเพาะปลูก ทาให้ปริมาณผลผลิตทางการเกษตรของโลกลดลง อาจก่อให้เกิดความไม่มั่นคงด้านอาหาร สาหรับประเทศไทยความผันผวนและการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ส่งผลต่อเนื่องไปยังการผลผลิตและการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหาร ซ่ึงเป็นแหล่งรายได้สาคัญของประเทศ อาจก่อให้เกิดความไม่ม่ันคงด้านอาหารท้ังระดับประเทศและระดับครัวเรือน ในขณะเดียวกัน ภาคเกษตรเป็นแหล่งรายได้ ห ลั ก ข อ ง เ ก ษ ต ร ก ร ผู้ มี ร า ย ไ ด้ น้ อ ย ที่ ต้ อ ง ป ร ะ ส บ ค ว า ม สู ญ เ สี ย จ า ก ส ภ า พ ภู มิ อ า ก า ศ ท่ี แ ป ร ป ร ว น ส่ ง ผ ล ซ้ า เ ติ ม ตอ่ ปญั หาความยากจน เชน่ เดยี วกบั การเปลยี่ นแปลงฤดกู าลทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ การทอ่ งเทยี่ วของประเทศ 1.5 สถานการณ์และแนวโน้มของพัฒนาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด และฉับพลนั จะเปน็ เงือ่ นไขสาคญั สาหรับวิถชี ีวิตและการพฒั นาในทุกดา้ น ในช่วงท่ผี า่ นมาการพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เช่น เทคโนโลยสี อื่ สารและเทคโนโลยชี ีวภาพ ทาให้รปู แบบการผลิต ก า ร ด า เ นิ น ธุ ร กิ จ แ ล ะ ก า ร ใ ช้ ชี วิ ต ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ไ ป ม า ก อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว ม นุ ษ ย์ ส า ม า ร ถ ส่ือสารทั้งภาพและเสียงได้อย่างไร้พรมแดน การท าธุรกิจและธุรกรรมบนโครงข่ายดิจิทัลเพิ่มมากข้ึน ประเทศที่ใช้เทคโนโลยีเป็นฐานการพัฒนาเศรษฐกิจทาให้การเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นไปอย่างก้าวกระโดด เช่น การลงทุนวิจัยและพัฒนาอย่างมากในประเทศเกาหลีได้ผลักดันผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศให้เติบโตอย่างก้าวกระโดดจาก 67,000 ลา้ นดอลลาร์ สรอ. ในปี 2523 เปน็ 561,000 ลา้ นดอลลาร์ สรอ. ในปี 2543 หรอื ขยายตวั ประมาณ 8.3 เทา่ ภายใน 20 ปี และกรณปี ระเทศจนี ทาให้ GDP เพมิ่ ขน้ึ จาก 1.2 ล้านลา้ นดอลลาร์ สรอ. ในปี 2543 เปน็ 6.6 ล้านลา้ นดอลลาร์ สรอ. ในปี 2553 และใช้เวลาอีกเพียง 4 ปีในการขยายตัวเป็น 10.4 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. ในปี 2557 ดังน้ัน ประเทศไทยต้องให้ความสาคัญกับการพัฒนากาลังคนด้านวิจัยและพัฒนา รวมท้ัง ส่งเสริมระบบ STEM ศึกษา เพ่ือพัฒนาเด็กวัยเรียนให้คิดเป็นวิทยาศาสตร์ จะทาให้สามารถเป็นเจ้าของเทคโนโลยี และนวัตกรรมก้าวทันโลก ซงึ่ จะสง่ ผลใหเ้กดิ การสรา้ งมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ กา้ วกระโดดการพฒั นา และลดความเหลอื่ มลา้ และสรา้ งคณุ ภาพชวี ติ ในอนาคตองคค์ วามรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที สี่ งั่ สมมาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ประกอบกบั ความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์ พ้นื ฐานแขนงใหม่ เช่น วิทยาการรับรู้ (Cognitive Science) ซึง่ เป็นการทางานระหว่างสมองและจิตใจ ความสัมพันธ์ระหว่าง ความคดิ อารมณ์ และการกระทา เปน็ ตน้ มคี วามสาคญั ตอ่ การสรา้ งเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมใหมท่ จี่ ะสง่ ผลใหเ้ กดิ การพลกิ โฉมการ พฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม และการดารงชวี ติ ของมนษุ ยแ์ บบกา้ วกระโดด (Disruptive Technology) โดยมแี นวโนม้ วา่ เทคโนโลยพี นื้ ฐาน ใน 4 ด้าน ได้แก่ เทคโนโลยีชีวภาพ นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์ พลังงานและส่ิงแวดล้อม และเทคโนโลยีสารสนเทศ การส่ือสาร และดิจิทัล จะส่งผลให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ 12 ด้าน ได้แก่ (1) อินเทอร์เน็ตเคล่ือนที่ (2) โปรแกรม อจั ฉรยิ ะทสี่ ามารถคดิ และทางานแทนมนษุ ย์ (3) อนิ เทอรเ์ นต็ ในทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ ง (Internet of Things) (4) เทคโนโลยคี ลาวด์ (Cloud Technology) (5) เทคโนโลยีหุ่นยนต์ขั้นก้าวหน้า (Advanced Robotics) (6) ยานพาหนะไร้คนขับ (Autonomous and Near- Autonomous Vehicles) (7) เทคโนโลยีพันธุกรรมสมัยใหม่ (Next-Generation Genomics) (8) เทคโนโลยีการเก็บพลังงาน (Energy Storage) (9) การพมิ พแ์ บบสามมติ ิ (3D Printing) (10) เทคโนโลยวี สั ดขุ นั้ กา้ วหนา้ (11) เทคโนโลยกี ารขุดเจาะน้ามนั และ กา๊ ซขนั้ กา้ วหนา้ และ (12) เทคโนโลยพี ลงั งานทดแทน แนวโนม้ การเปลยี่ นแปลงทางเทคโนโลยดี งั กลา่ วสง่ ผลกระทบตอ่ ประเทศทงั้ ใน มติ เิศรษฐกจิ และสงั คมทส่ี าคญั มดี งั นี้

รา่ งยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 10 บทนา บทนา บทนา การเกิดสาขาอุตสาหกรรมและบริการใหม่ ๆ ที่ผสมผสานการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลากหลายสาขา เพ่ือตอบสนองความต้องการในภาคการผลิต บริการ และพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยอตุ สาหกรรมใหมท่ คี่ าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ ใน 5 กลมุ่ หลกั ไดแ้ ก่ (1) กลมุ่ อาหาร เกษตร และเทคโนโลยชี วี ภาพ (2) กลมุ่ สาธารณสขุ สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (3)กลุ่มเคร่ืองมืออุปกรณ์อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และระบบเคร่ืองกล ที่ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ควบคุม (4) กลุ่มดิจิทัล เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่เช่ือมต่อและบังคับอุปกรณ์ต่างๆ ปัญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยี สมองกลฝังตัว และ (5) กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และบริการท่ีมีมูลค่าสูง รวมท้ั ง รู ปแ บบแ ล ะกระบวนกา ร ประกอ บธุ รกิ จ บริ กา รจ ะเ ปล่ี ยนแ ปล ง อ ย่า ง รวด เ ร็ วแ ล ะห ล า กห ล า ย รปู แบบผลิตภัณฑ์และบริการมีวัฎจักรชีวิตสัน้ ลง การแข่งขันในตลาดอยู่บนฐานของการใช้นวัตกรรมทงั้ ในกระบวนการผลิต การออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการ นวัตกรรมด้านตลาดและการบริหารจัดการ ถ้าภาคธุรกิจโดยเฉพาะ ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมปรับตัวไม่ทัน อาจสูญเสียความสามารถในการแข่งขันได้ ในขณะเดียวกัน จะสร้างโอกาสให้ผู้ประกอบการในการสร้างธุรกิจรูปแบบใหม่ๆ ท่ีใช้เทคโนโลยีเพ่ือปรับเปล่ียนกระบวนการผลิต ทที่ าใหส้ ามารถบรหิ ารจดั การหว่ งโซก่ ารผลติ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ เกิดความเหลื่อมล้าในมิติต่างๆ อันเน่ืองจากการเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด เช่น ความเหล่ือมล้าในการเข้าถึงเทคโนโลยีเน่ืองจากความแตกต่างด้านรายได้ ด้านความรู้ ด้านทักษะ หรือด้านการ เข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี ความเหล่ือมล้าของแรงงานที่มีทักษะ ด้านเทคโนโลยีข้ันสูง และแรงงาน ที่ไม่มีทักษะความเหลื่อมล้าของผู้ประกอบการขนาดใหญ่และขนาดเล็กที่มีความสามารถในการลงทุนเพ่ือยกระดับ ศกั ยภาพทางเทคโนโลยแี ตกตา่ งกนั เปน็ ตน้ ปร ะ เ ทศ ไ ท ยจ า เ ป็ น ต้ อ ง เ ร่ ง ส ร้ า ง ส ม ร ร ถน ะ ท า ง เ ท คโ น โ ล ยี ชั้ น สู ง ใ น 5 ก ลุ่ ม ดั ง กล่ า ว ข้ า ง ต้ น โดยกลุ่มเทคโนโลยีที่ไทยมีศักยภาพพัฒนาได้เอง ได้แก่ การเกษตร การแพทย์ และสิ่งแวดล้อม อุตสาหกรรม สร้างสรรค์และวัฒนธรรม จะต้องพัฒนาต่อยอดให้เกิดมูลค่าเพิ่มขึ้นและเป็นฐานเศรษฐกิจใหม่ในระยะต่อไป สาหรับกลุ่มเทคโนโลยีอื่น ๆ ที่ประเทศไทยยังขาดศักยภาพในการพัฒนา อาจใช้รูปแบบการให้พฒั นา ในลักษณะวิศวกรรม ย้อนกลับ (Reverse Engineering) เพื่อให้สามารถเร่งพัฒนาเทคโนโลยีให้ทันการเปลี่ยนแปลงของโลก และในขณะเดียวกัน จะต้องลงทุนวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์พ้ืนฐานที่เป็นฐานของการพัฒนาเทคโนโลยีในอนาคต รวมทั้งต้องเตรียม พัฒนากาลังคนด้านวทิ ยาศาสตร์ทั้งในระยะส้ันและในระยะยาว โดยในระยะส้ันต้องดงึ ดูดนักวจิ ัยจากต่างประเทศ และในระยะยาว พัฒนาคนและบุคลากรวิจัย โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์พื้นฐานในลักษณะสหสาขา เพ่ือส่ังสมองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยสี าหรบั การพฒั นาเศรษฐกจิ และยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในระยะยาว 1.6 สถานการณแ์ ละแนวโน้มด้านเศรษฐกิจ ในปจั จบุ นั เศรษฐกจิ โลกมกี ารแตบิ โตต่ากวา่ ศกั ยภาพทค่ี วรจะเปน็ ภายหลงั จากทต่ี อ้ งเผชญิ กบั วกิ ฤตเศรษฐกจิ หลายครงั้ มีปัญหาในเชิงโครงสร้างท่ียังอ่อนแอในหลายภาคส่วนของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาการคลังไม่ย่ังยืนและ ปัญหาหนี้สาธารณะของกลุ่มสหภาพยุโรป ปัญหาเศรษฐกิจจีนชะลอตัว และการฟ้ืนตัวของเศรษฐกิจญี่ปุ่นท่ีล่าช้า ในขณะท่ีมีข้อจากัดจากโครงสร้างประชากรสูงอายุ ภาวะความซบเซาของเศรษฐกิจโลกส่งผลให้การแข่งขัน ในตล าด โล กรุ นแรงข้ึ น มีกา รใช้มาต รกา รที่ ไม่ ใช่ ภา ษี ในกา รกี ดกั นกา รค้ า (Non-tariff Barriers: NTBs) และท่สี าคัญคือการเพิ่มผลติ ภาพการผลติ ด้วยการใช้นวตั กรรมเพอ่ื เพ่มิ ขีดความสามารถในการแข่งขันและแก้ปัญหาอุปสรรค ด้านทรัพยากรและกาลังคน ในขณะเดียวกันการรวมตัวทางการค้าและการลงทุนเพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแข่ง ขนั และสรา้ งรายไดม้ คี วามเขม้ ขน้ ขนึ้ สาหรับเศรษฐกิจไทยก็ยังอยู่ในช่วงของการขยายตัวต่ากว่าศักยภาพเช่นกัน ท้ังจากผลกระทบ เศรษฐกิจโลกซบเซาและยังอยู่ในช่วงของการฟื้นตัวของการลงทุนภายในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลงทุน ใ น ก า ร พั ฒ น า โ ค ร ง ส ร้ า ง พ้ื น ฐ า น แ ล ะ ร ะ บ บ โ ล จิ ส ติ ก ส์ เ พื่ อ เ พ่ิ ม ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ข่ ง ขั น การกระจายโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และเพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตท่ีดีของประชาชน ร ว ม ท้ั ง ยั ง ต้ อ ง ป รั บ โ ค ร ง ส ร้ า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ไ ป สู่ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ฐ า น ค ว า ม รู้ ที่ ขั บ เ ค ลื่ อ น ด้ ว ย น วั ต ก ร ร ม และผลิตภาพการผลิตใหส้ มั ฤทธ์ผิ ล

รา่ งยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 11 บทนา บทนา บทนา สาหรับสถานการณ์และสภาพแวดล้อมภายในประเทศไทยน้ัน ผลของการพัฒนาต้ังแต่อดีตถึงปัจจุบัน ทาให้ประเทศไทย มีระดับการพัฒนาท่ีสูงข้ึนตามลาดับ โดยถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศระดับรายได้ปานกลางมาตั้งแต่ปี 2531 และไดข้ ยบั สงู ขน้ึ มาอยใู่ นกลมุ่ บนของกลมุ่ ประเทศระดบั รายไดป้ านกลางตงั้ แตป่ ี 2553 โดยมรี ายไดป้ ระชาชาตติ อ่ หวั เทา่ กบั 4,957 ดอลลาร์ สรอ. (ประมาณ 157,088 บาท) ต่อปี และล่าสุดในปี 2559 รายได้ประชาชาติต่อหัวเพ่ิมข้ึนเป็นประมาณ 6,000 ดอลลาร์ สรอ. ต่อปี (ประมาณ 212,980 บาท คิดจากอัตราแลกเปลี่ยนเฉล่ีย 35.30 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ) โดยท่ีฐานการผลิตและบริการมีความหลากหลายมากขึ้น มีลักษณะโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศกึ่งอุตสาหกรรม ฐานการส่งออกโดยเฉพาะการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม ใหญ่ขึ้นตามล าดับ หลายสาขาการผลิต และบริการสามารถแข่งขนั และมีสว่ นแบ่งในตลาดโลกมากข้นึ และเป็นฐานรายได้ เงินตราต่างประเทศทีส่ าคัญ อาทิ กลุ่มยานยนต์ อเิลก็ ทรอนกิ สแ์ ละเครอ่ื งใชไ้ฟฟา้ อตุ สาหกรรมอาหารสนิ คา้ เกษตร การทอ่ งเทย่ี ว และบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพ เปน็ ตน้ ประเทศไทยใหค้ วามสาคญั กบั การพฒั นาความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศของไทยกบั นานาชาตทิ งั้ ในรปู ของทวภิ าคแี ละพหพุ าคี เพ่ือเป็นกลไกและช่องทางในการสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองมากข้ึนตามลาดับ และนับว่า มีความก้าวหน้าไปมาก โดยเฉพาะอย่างย่ิงภายใต้กรอบแผนงานการพัฒนาเศรษฐกิจ 3 ฝ่าย (The Indonesia-Malaysia- Thailand Growth Triangle : IMT-GT) ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง 6 ประเทศ (Greater Mekong Subregion : GMS) และสมาคมประชาชาตแิ หง่ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (Association of South East Asian Nations : ASEAN) ในสาขาต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในด้านความเช่ือมโยงระหว่างกันทั้งกายภาพ กฎระเบียบ เชิงสถาบัน และผู้คน แ ล ะ ก า ร ผ ลั ก ดั น ใ ห้ เ กิ ด ก า ร พั ฒ น า เ ป็ น แ น ว ร ะ เ บี ย ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ร่ ว ม กั น น้ั น มี ค ว า ม คื บ ห น้ า เ ป็ น รู ป ธ ร ร ม ม า ก ข้ึ น อันจะเป็นการสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจแก่ประชาชนในพื้นท่ีและเกิดการพัฒนาเชิงพื้นที่ต่าง ๆ ท่ีกว้างขวางข้ึน กล่าวได้ว่าในช่วงหลายปีที่ผ่านมาประเทศไทยได้ดาเนินนโยบายความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการค้าและการลงทุน รวมท้ังการพัฒนาเชิงสร้างสรรค์ท่ีเป็นเชิงรุกชัดเจนขึ้น การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ภายใต้ กรอบแนวทางการสร้างความเชื่อมโยงภายในประเทศไทยเองเพ่ือกระจายโอกาสของการพัฒนาความเชื่อมโยง ในอนุภูมิภาคและในภูมิภาคเอเชีย เพ่ือการเช่ือมต่อห่วงโซ่อุปทานจะส่งผลให้ประเทศไทยสามารถใช้จุดแข็ง ในเร่ืองตาแหน่งท่ีต้ังทางภูมิศาสตร์ของประเทศให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศมากขึ้น โดยได้กาหนดตาแหน่ง ในเชิงยุทธศาสตร์ให้เป็นเทศไทยเป็น Gateway of Asia ท่ีเด่นชัดมากข้ึน ในขณะเดียวกันประเทศไทยก็ได้ให้ความสาคัญ และเข้าไปมีส่วนร่วมในการผลักดันขับเคลื่อนการพัฒนาร่วมกันภายใต้กรอบความร่วมมือพหุภาคสี าคัญอ่ืน ๆ อาทิ RCEP กลุ่มเอเชียแปซิฟิก ( Asia-Paciicf Economic Cooperation: APEC) ซึ่งเป็นกรอบความร่วมมือที่มีความสาคัญ ในการยกระดบั มาตรฐานตา่ ง ๆ ไปสรู่ ะดบั สากล และการยกระดบั การบรหิ ารจดั การ และสรา้ งการแขง่ ขนั ในตลาด เปน็ ตน้ ฐานเศรษฐกจิ ทพ่ี ัฒนากวา้ งขวางหลากหลายมากขนึ้ สง่ ผลใหป้ ระชากรวยั แรงงานมงี านทาเป็นจานวนเพมิ่ ขน้ึ ตามลาดับ แตแ่ รงงานยงั ขาดคณุ ภาพ โดยในปจั จบุ นั มจี านวนการจา้ งงานรวม 38.1 ลา้ นคน จากประชากรวยั แรงงานทง้ั หมด 38.1 ลา้ นคน และการวา่ งงานมอี ตั ราเฉลยี่ ไมถ่ งึ ร้อยละ 1 ปญั หาความยากจนลดลงตามลาดบั จากรอ้ ยละ 20.0 ในปี 2550 เปน็ รอ้ ยละ 7.1 ในปี 2558 คุณภาพชีวิตดีขึ้นในทุกระดับโดยท่ีโอกาสการได้รับการศึกษา บริการสาธารณสุข บริการสาธารณะ โครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ และการคุ้มครองทางสังคมอ่ืน ๆ รวมถึงการเข้าถึง ทรัพยากรต่าง ๆ มีความครอบคลุม และมีคุณภาพดีขึ้นตามลาดับ อาทิ จานวนปีการศึกษาเฉลี่ยอยู่ที่ 9 ปี และประชาชนเกือบร้อยละ 100 อยู่ภายใต้ ระบบประกันสุขภาพประเภทใดประเภทหน่ึง กลุ่มคนพิการและด้อยโอกาสได้รับความคุ้มครองทางสังคมดีขึ้น ขณะที่อายุขัยเฉลี่ยยืนยาวขึ้น เป็นต้น อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงด้านประชากรท่ีประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมสูงวัย ระดับสุดยอดในปี 2579 โดยจะมีสัดส่วนของผู้สูงอายุถึงร้อยละ 30 ขณะที่สัดส่วนวัยเด็กและวัยแรงงานมีสัดส่วนลดลง อย่างต่อเน่ืองโดยวัยเด็กมีสัดส่วนคิดเป็นร้อยละ 14 ขณะท่ีวัยแรงงานคิดเป็นร้อยละ 56 ทั้งน้ี การลดลง ของจานวนวัยแรงงานซึ่งเริ่มตั้งแต่ปี 2557 ประกอบคุณภาพและทักษะฝีมือแรงงานยังไม่สอดคล้องกับนโยบาย Thailand 4.0 จะเปน็ ความเสยี่ งสาคญั ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ การเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ *ขอ้ มลู ดงั กล่าวเป็นข้อมลู GNI per Capita (GDP per capita อย่ทู ่ี 6041 ดอลลาร์ สรอ (ประมาณ 199,353 บาท คิดจากอัตราแลกเปลี่ยนเฉลย่ี 33 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ) ตอ่ หวั ต่อปี โดย สศช.)

ร่างยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 12 บทนา บทนา ปจั จยั และเงื่อนไขภายในและภายนอกประเทศ โดยสรปุ จากสถานการณแ์ ละสภาพแวดลอ้ มของประเทศในปจั จบุ นั ทงั้ ทเี่ ปน็ จดุ แขง็ และจดุ ออ่ นและแนวโนม้ บรบิ ท และเงอื่ นไข บทนา การพัฒนาภายนอกประเทศดังกล่าวประเทศไทยยังจะต้องเผชิญกับความเส่ียงและความท้าทายท่ีเป็นแนวโน้ม ในระยะยาวหลายประการทส่ี าคญั อนั ประกอบดว้ ย ปัจจัยและเงื่อนไขภายในประเทศ ได้แก่ (1) การมีตาแหน่งท่ีตั้งท่ีสามารถเป็นจุดกระจาย ความเชื่อมโยงในภูมิภาค และเปน็ ประตสู ู่เอเชีย (Gateway of Asia) ท่ีสาคัญ โดยมีชอ่ งทางสู่ภายนอกในทุกภาคของประเทศ (2) การเป็นฐานการผลิต และบรกิ ารสาคญั ทห่ี ลากหลาย (3) การเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งประชากรสสู่ งั คมผสู้ งู อายอุ ยา่ งสมบรู ณ์ ในระยะเวลา 15 – 20 ปี ต่อจากน้ีไป กาลังคนในวัยเด็กและวัยแรงงานลดลง ผู้สูงอายุ จะเพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อศักยภาพทางเศรษฐกิจ ของประเทศ รูปแบบการใช้จ่าย การลงทุนและการออม ตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ความมั่นคงทางสังคม และคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ (4) ข้อจากัดด้านทรัพยากร ท้ังด้านแรงงานและทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีนัยยะต่อต้นทุน การผลิตและสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ของประชาชน (5) ผลิตภาพการผลิตของเศรษฐกิจไทยยังต่า การพัฒนาและการใชน้ วตั กรรมมีนอ้ ย และการลงทนุ เพื่อการวิจัยและพัฒนามนี ้อย (6) ปัญหาความเหลื่อมล้าในมิติต่าง ๆ ที่มีนัยยะต่อการสร้างความสามัคคีสมานฉันท์ในสังคม เป็นข้อจากัดต่อการยกระดับศักยภาพทุนมนุษย์ ความจาเป็นในการลงทุนเพ่ือยกระดับบริการ ทางสังคมและโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีมีคุณภาพอย่างทั่วถึง และการปฏิรูป กฎระเบียบและกฎหมาย ทท่ี าใหเ้ กิดความเป็นธรรมและลดความเหลอ่ื มล้า และ (7) ความอ่อนแอของการบรหิ ารราชการแผน่ ดิน จงึ จาเปน็ ตอ้ งเรง่ ปฏริ ปู ระบบราชการและการเมอื งเพอ่ื ใหเ้กดิ การบรหิ ารราชการทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ โปรง่ ใส และรบั ผดิ รบั ชอบ สาหรับเง่ือนไขภายนอก ที่สาคัญและท้าทายต่อการพัฒนาประเทศไทยในอนาคตในระยะ 20 ปี ข้างหน้า ได้แก่ (1) กฎเกณฑ์มาตรฐานโลกท่ีสูงกว่ามาตรฐานประเทศไทยที่ประเทศต้องทาตาม เช่น องค์การระหว่างประเทศอื่นๆ ทม่ี บี ทบาทสาคัญในการกาหนดกตกิ าระหว่างประเทศทสี่ ่งผลกระทบต่อการบรหิ ารราชการของประเทศอ่ืน ๆ ให้ตอ้ งปฏบิ ัตติ าม ได้แก่ การกาหนดกฎเกณฑ์เก่ียวกับการทาประมงผิดกฎหมายและไร้การควบคุม ( IUU Fishing) ของสหภาพยุโรป การกาหนดกฎการบินปลอดภัยขององค์การบินพลเรือน (ICAO) รวมถึงองค์การระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน จะเข้ามามีบทบาทในการกาหนดและตรวจสอบมาตรฐานสิทธิมนุษยชนของรัฐบาลต่างๆ มากขึ้น เป็นต้น (2) กระแสโลกาภิวตั น์ท่ีเข้มขน้ ขึ้นอย่างต่อเนื่องและมีความเส่ียงและทา้ ทายต่อการปรบั ตัวมากขนึ้ จากการเคลือ่ นย้ายอย่างเสรี และรวดเรว็ ของผคู้ น เงนิ ทนุ ขอ้ มูลขา่ วสาร องคค์ วามรแู้ ละเทคโนโลยี และสนิ คา้ และบริการ (3) การรวมกลมุ่ เศรษฐกจิ ในภมู ภิ าค นาไปสู่ความเช่ือมโยงทุกระบบ ในขณะที่ศูนย์รวมอานาจทางเศรษฐกิจโลกเคล่ือนย้ายมาสู่เอเชีย (4) การเข้าสู่สังคมสูงวัย ของโลกส่งผลให้เกิดโอกาสทางธุรกิจใหม่ ๆ แต่มีความเสี่ยงให้เกิดการแย่งชิงแรงงานและเงินทุน (5) เทคโนโลยีท่ีก่อให้เกิด การเปล่ียนแปลงอย่างฉับพลันจะเป็นโอกาสทางธุรกิจและการดารงชีวติ ของคนได้อยา่ งมคี ุณภาพมากข้ึน แต่ในขณะเดียวกัน ก็เป็นเงื่อนไขท่ีทาให้การแข่งขันมีความยากลาบากมากขึ้น และหากไม่รู้เท่าทันการอาจส่งผลเสีย จากการนามาใช้ไม่เหมาะสม (6) สภาพแวดล้อมและการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลกมีความผันผวน ความเส่ียง จากภัยธรรมชาติเพ่ิมข้ึน รวมท้ัง มคี วามเส่ียงตอ่ ความมน่ั คงดา้ นอาหาร น้า และพลังงาน กฎระเบยี บและข้อตกลงดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มจะมคี วามเขม้ ข้นและเข้มงวดขน้ึ แต่น้าหนักเสียงและสิทธิ์ของประเทศกาลังพัฒนาในการควบคุมกากับหลักเกณฑ์และการดูแลสภาพแวดล้อมจะเพิ่มข้ึน ตามระดับการพัฒนาเศรษฐกิจและการยกระดับระบบมาตรฐานในประเทศกาลังพัฒนา ภาวะโลกร้อนและการเปล่ียนแปลง สภาวะภูมิอากาศที่ผันผวนและก่อให้เกิดภัยธรรมชาติท่ีทวีความรุนแรงมากขึ้น และจะกดดันให้ต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบ การดาเนนิ ธุรกจิ การดารงชวี ติ การปรับการผลติ และการบรโิ ภคใหเ้ ปน็ มติ รตอ่ ส่งิ แวดล้อมมากขึน้ (7) แนวโนม้ ความตอ้ งการ พลังงานสะอาดและพลังงานทดแทนเพม่ิ ขนึ้ ตอ้ งสร้างสมดลุ ความมนั่ คง ดา้ นพลังงาน และอาหาร (8) ความเปน็ เมอื งที่เติบโต อยา่ งต่อเนื่องและมีขอ้ กาหนดของรูปแบบ และกฎเกณฑท์ เ่ี ก่ียวเนื่อง กับลักษณะการใช้พื้นท่ี และความเป็นมิตรตอ่ สิง่ แวดล้อม (9) การยดึ ถอื หลกั การบรหิ ารจดั การทดี่ แี ละระบอบประชาธปิ ไตยและสทิ ธมิ นษุ ยชนทม่ี คี วามเขม้ ขน้ มากขน้ึ

ร่างยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 13 บทนา บทนา บทนา อย่างไรก็ตาม ในช่วงที่ผ่านมา ประเ ทศไทยมิได้มีการก าหนดวิสัยทัศน์ประเ ทศ เปา้ หมายและยทุ ธศาสตรข์ องประเทศในระยะยาว จงึ ส่งผลให้การบรหิ ารราชการแผ่นดินของฝา่ ยบริหาร ให้ความสาคัญกับนโยบายพรรคการเมือง หรือนโยบายของรัฐบาลเป็นหลัก ซ่ึงเมื่อมีการเปลี่ยน รัฐบาลทาให้ขาดความต่อเนื่องของการดาเนินนโยบายสาคัญและขาดบูรณาการ ท้ังในระดับนโยบาย และการนาสู่การปฏิบัติ ถือเป็นการสูญเสียโอกาส และสิ้นเปลืองทรัพยากรของประเทศ ดังนั้นเพื่อเป็นการปฏิรูประบบการบริหารราชการแผ่นดินของประเทศไทยให้มีเป้าหมายการพัฒนาในระยะยาว และเพื่อเป็นการกาหนดให้ฝ่ายบริหารมีความรับผิดชอบท่ีจะต้องขับเคล่ือนประเทศไปสู่เป้าหมายท่ีเป็นท่ียอมรับ รว่ มกนั และเปน็ เอกภาพ ประเทศไทยจาเป็นจะต้องมี “ยทุ ธศาสตร์ชาติ” ซ่ึงภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ ประเทศไทยต้องปฏิรูป และปรับเปล่ียนอย่างเป็นระบบขนานใหญ่ เพ่ือให้โครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เหมาะสมกับภูมิทัศน์ใหม่ของโลก ยืดหยุ่นปรับตัวได้เร็ว สามารถรับมือกับความเสี่ยงและภัยคุกคามแบบใหม่ได้ และสามารถอาศยั โอกาสจากการเปลย่ี นแปลงบรบิ ทโลกมาสรา้ งประโยชนส์ ขุ ใหก้ บั คนในชาตไิ ด้ ดังน้ัน การจัดทา “ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี” เพ่ือเป็นเป้าหมายการพัฒนาในระยะยาว จึงเป็นองค์ประกอบ จาเปน็ ของการปฏริ ปู ระบบการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ของประเทศไทยใหส้ ามารถดาเนนิ งานในการขบั เคลอ่ื นการพฒั นาไปสู่ เป้าหมายอนาคตของประเทศท่ีพึงประสงค์ได้ในระยะยาว และเพ่ือเป็นการกาหนดใหฝ้ ่ายบริหารมีความรับผิดชอบที่จะต้อง ขบั เคลอื่ นประเทศไปสูเ่ ปา้ หมายท่เี ป็นทีย่ อมรับร่วมกนั และเปน็ เอกภาพ มกี ารจดั ลาดบั ความสาคญั สาหรบั ปญั หาพ้นื ฐานสาคญั ของประเทศทีจ่ ะต้องแก้ไข ปรับปรุง หรือปฏิรปู อย่างต่อเน่อื ง จะต้องบรู ณาการการดาเนินการทั้งในเชงิ ประเด็นการพัฒนา และพ้ืนท่ีการพัฒนา โดยให้ได้รับการจัดสรรทรัพยากรมาสนับสนุนการดาเนินงานอย่างเหมาะสม ภายใต้หลักคิดดังกล่าว ประเทศไทยจาเป็นจะต้องมี “ยุทธศาสตร์ชาติ” ซึ่งภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติจะต้องมีการกาหนดวิสัยทัศน์ เปา้ หมายอนาคตของประเทศ และทิศทางในการขบั เคลอื่ นประเทศใหส้ อดคลอ้ งกบั ประเดน็ การเปลยี่ นแปลง และความทา้ ทายต่าง ๆ ของบรบิ ทโลก และบรบิ ทการพฒั นาภายในประเทศ เพอื่ มงุ่ สกู่ ารบรรลเุปา้ หมายอนาคตของประเทศทต่ี งั้ ไว้ ก า ร ก า ห น ด ใ ห้ มี “ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ”เ พื่ อ เ ป็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ใ น ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ ใ น ร ะ ย ะ ย า ว พร้อมกับการปฏิรูปและการพัฒนา ระบบการบริหารราชการแผ่นดินในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ ให้สามารถ น า ไ ป สู่ ก า ร ป ฏิ บั ติ อ ย่ า ง จ ริ ง จั ง จ ะ ช่ ว ย ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ใ น ทุ ก ภ า ค ส่ ว น แ ล ะ น า พ า ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ให้หลุดพ้นหรือบรรเทาความรุนแรงของสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ท้ังปัญหาความม่ันคง ปัญหาทางเศรษฐกิจ ปัญหาความเหล่ือมล้า ปัญหาการทุจริตคอรัปช่ัน และปัญหาความขัดแย้งในสังคม รวมถึงสามารถรับมือกับภัยคุกคาม และบริหา รจัด การกับความเสี่ยงที่จ ะเกิ ดขึ้นในอ นาคต แล ะสา มารถเปล่ียนผ่าน ประเทศไทยไปพร้อ ม กับการเปล่ียนแปลงภูมิทัศน์ใหม่ของโลกได้ ซึ่งจะทาให้ประเทศไทยยังคงรักษาบทบาทสาคัญ ในเวทีโลกสามารถดารงรักษา ความเปน็ ชาติท่มี คี วามมน่ั คงทางเศรษฐกจิ สงั คม และวัฒนธรรม และคนไทยในประเทศ มีความอยู่ดีมสี ขุ อย่างถ้วนหน้า รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 จึงบัญญัติให้รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืนในระยะยาวตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทาแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกันเพื่อให้เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกัน ไปสู่เป้าหมายดังกล่าว โดยการจัดทาการกาหนดเป้าหมาย ระยะเวลาท่ีจะบรรลุเป้าหมาย และสาระที่พึงมีในยุทธศาสตร์ชาติ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีพระราชบัญญัติการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ พุทธศักราช 2560 บัญญัติ โดยที่การจัดทายุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีได้กาหนดเป้าหมายอนาคตของประเทศท่ีสะท้อนถึงผลประโยชน์ แห่งชาติและประโยชน์สุขขอ งประชาชนชา วไทยบนพื้นฐา นของการวิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อมในปัจจุบั น และแนวโน้มในอนาคตทั้งภายในและภายนอกประเทศอย่างรอบด้าน วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและความเสี่ยง จากการวิเคราะห์ดังกล่าวภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีกรรมการฯ ได้กาหนดยุทธศาสตร์ และแนวทางหลัก ทป่ี ระเทศจะตอ้ งขบั เคล่ือนดาเนินการ เพือ่ ให้บรรลเุ ป้าหมายอนาคตประเทศทีก่ าหนด

ร่างยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 14 บทนา บทนา ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปกี าหนดเปา้ หมายการพฒั นาประเทศอยา่ งยงั่ ยนื ในระยะยาว บทนา ทตี่ อ้ งมคี วามชดั เจน เพอื่ ใหเ้ หน็ อนาคตของประเทศทจี่ ะนาไปใชเ้ ปน็ กรอบหลกั ในการจดั ทาแผนเพอื่ การพฒั นาในมติ แิ ละระดบั ตา่ ง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน เพ่ือให้เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมายอนาคตประเทศในระยะยาว และภายใต้ยุทธศาสตร์แต่ละด้านจะมีการจัดทาแผนแม่บท สาหรับประเด็นการพัฒนา/ประเด็นปฏิรูปสาคัญ เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ เพื่อนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายตามที่กาหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ ทั้งน้ี ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ชาตแิ ละแผนแม่บทดังกลา่ ว ในบางประเด็นการพัฒนาอาจมคี วามจาเป็นต้องดาเนินการเปลี่ยนแปลง สาคัญในเชิงโครงสร้างกลไก และกฎหมายที่เก่ียวข้อง จึงจะสามารถขับเคลื่อนการพัฒนาในเรื่องนั้น ๆ ได้สัมฤทธิ์ผล รวมทั้งบูรณาการระหว่างนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติของสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และแผนปฏิรปู ท่ีสอดคล้องกัน ดังน้ัน แผนแม่บทและแผนการปฏริ ูปประเทศตามกฎหมายวา่ ด้วยแผนและขน้ั ตอนการดาเนินการ ปฏริ ูปประเทศตอ้ งมีความสอดคล้องกนั เพอ่ื พฒั นาเศรษฐกิจและสังคมมีความเช่อื มโยงกันภายใตก้ ฎเกณฑข์ องสหประชาชาติ (United Nations) สาหรับการจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเชิงบูรณาการระยะ 5 ปี และ นโยบายและแผนระดบั ชาตวิ า่ ดว้ ยความมน่ั คงแหง่ ชาตกิ ต็ อ้ งสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ โดยที่ประเด็นการพัฒนาและความมั่นคงในทุกด้านจะถูกครอบคลุมภายใต้ 2 แผนนี้ ซึ่งบางประเด็นการพัฒนาภายใต้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติจะมีแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติที่กากับไว้ด้วยหากมีความจาเป็น แต่ระยะเวลา สาหรับแผนแม่บทอาจจะสั้นหรือยาวกว่า 5 ปี และในบางประเด็นการพัฒนาภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สัง คมแ ห่ ง ชา ติ ก็ อา จ จ าเ ป็ นต้ อ ง ดา เ นิ นกา รในระดับของ กา รปฏิ รู ปจึ ง จ ะเ กิ ดผล ในส่ วนขอ ง รัฐ บา ล คณะรัฐมนตรีท่ีจะเข้าบริหารราชการแผ่นดินต้องแถลงนโยบายต่อรัฐสภา โดยยึดความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ (มาต รา 162 ของ รั ฐธ รรมนูญ แ ห่ง รา ช อา ณา จั กรไทย พุทธศั กรา ช 2560) รวมถึ ง ใช้ เป็ นกรอ บ ในการจัดสรรงบประมาณประจาปี ซึ่งเป็นแผนงบประมาณในลักษณะบูรณาการที่ครอบคลุมทั้งมิติประเด็นการพัฒนา (Agenda) ภารกิจ (Function) และพื้นท่ี (Area) ซ่ึงต้องสอดคล้องกับยุทธศาตร์ชาติเช่นกัน (มาตรา 5 วรรคสาม ในพระราชบัญญัตกิ ารจดั ทายุทธศาสตร์ชาติ พุทธศกั ราช 2560) สาหรบั การเชอ่ื มโยงนาสรู่ ะดบั ปฏบิ ตั ิ ...... ส่วนราชการนาแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติระยะ 5 ปี มาจัดทาแผนปฏิบัติราชการและแผนปฏิบัติราชการประจาปี รวมถึงใช้เป็นกรอบในการจัดทา แผนพฒั นาภาค/จงั หวดั แผนอาเภอแผนทอ้ งถนิ่ /ชมุ ชน เชน่ กนั (มาตรา 10 วรรคสาม ในพระราชบัญญัติการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ พุทธศักราช 2560) ในขณะเดียวกัน หากมีประเดน็ การพัฒนาใดทจี่ าเปน็ ต้องดาเนินการในระดับของการปฏิรปู หนว่ ยงานท่รี ับผดิ ชอบจะนาแผนปฏิรูปในเรือ่ งน้ันๆ มาดาเนินการ โดยอาจจะผนวกรวมไว้ภายใต้แผนปฏิบัติการ ทั้งนี้ การจัดทาและขับเคลื่อนแผนในทุกระดับ ต้ังแต่ระดบั ยุทธศาสตร์ชาติลงมาถึงระดับพื้นที่จะเน้นการสร้างความสมดุลระหว่างความต้องการในระดบั พ้ืนท่ี (Bottom-Up) และทิศทางในภาพรวมของระดับประเทศ (Top-Down) โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการกาหนดทิศทางการพัฒนา ประเทศของทกุ ภาคสว่ น

1ส่วนท่ี อนาคตประเทศไทยปี พ.ศ. 2579  อนาคตประเทศไทยท่ามกลางการเปลยี่ นแปลง  รูปแบบการเปลยี่ นผ่านพฒั นาประเทศในช่วง 20 ปี  ภาพเปา้ หมายอนาคตประเทศไทยปี พ.ศ. 2579

รา่ งยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 16 สว่ นที่ 1 อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ท่ า ม ก ล า ง ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง อนาคตประเทศไทย ีป พ.ศ. 2579 การกาหนดให้มี “ยุทธศาสตร์ชาติ” เพื่อเป็นยุทธศาสตร์ การดาเนินนโยบายการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ระยะยาวท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงท่ีสาคัญตั้งแต่ช่วงต้น อย่างเสรีนับเป็นกลไกท่ีมีความสาคัญมากข้ึนในการเพ่ิม ศตวรรษท่ี 21 ได้แก่ กระแสโลกาภิวัตน์เข้มข้นข้ึนมาก ศักยภาพการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการพัฒนาด้านอื่น เนื่องจากประเทศต่าง ๆ ดาเนินนโยบายเศรษฐกิจการค้า การรวมกลุม่ ทางเศรษฐกจิ และการคา้ เพื่อสร้างพลังอานาจการ การลงทุนเสรีกันอย่างกว้างขวางท่ามกลางความก้าวหน้า ต่อรองและพลังอานาจทางเศรษฐกิจเกิดมากข้ึนในส่วนต่าง ๆ อย่างก้าวกระโดดของเทคโนโลยีหลากหลายสาขา โดยเฉพาะ ของโลก รวมทัง้ เป็นการปรบั ตัวทา่ มกลางการเปล่ียนแปลงทาง อย่างย่ิงเทคโนโลยีสารสนเทศซ่ึงได้ทาให้โลกเชื่อมต่อถึงกันได้ ภูมิรัฐศาสตร์ด้วย การแข่งขันในเวทีโลกเป็นทั้งการแข่งขัน ง่ายขึน้ ภายใตก้ ระแสโลกาภิวัฒน์ที่เข้มข้นสินค้า บริการ เงินทุน ระหว่างกลุ่มท่ีจับมือกันและขณะเดียวกันก็แข่งขันกันเองภายใน ผู้คน และข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ รวมถึงเทคโนโลยีมีการ กลุ่ม การเปล่ียนแปลงในบริบทโลกดังกลา่ วไดส้ รา้ งโอกาสทงั้ ใน เคล่ือนย้ายถึงกันและข้ามพรมแดนกันได้ง่ายและกระจายท่ัวถึง ด้านเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม เทคโนโลยี และการเมือง โลกไร้พรมแดนได้ส่งผลให้ภูมิทัศน์ทางด้านเศรษฐกิจสังคมและ สาหรับประเทศไทยเองก็ได้รับประโยชน์ในการขยายตลาด ภูมิรัฐศาสตร์ของโลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว เศรษฐกิจ ขยายฐานการผลิตและบริการรวมถึงการใช้เทคโนโลยีสูงข้ึน ของประเทศต่าง ๆ มีความเช่ือมโยงใกล้ชิดและต้องพึ่งพา จึงมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมากขึ้นและได้ก้าวข้ึนเป็น อาศัยซ่ึงกัน โอกาสท่ีเปิดกว้างข้ึนและผลกระทบถึงกันได้อย่าง ประเทศรายได้ปานกลางขั้นสูง รวมถึงมีการพัฒนาทรัพยากร รวดเร็ว ผูกพันต่อเน่ืองและรุนแรงมากขึ้น กอปรกับ มนษุ ย์และสงั คมสูงขึ้น ท้ังน้ี โอกาสท่ีเกิดจากกระแสโลกาภิวัฒน์ การพัฒนาเทคโนโลยีก้าวหน้าไปอยา่ งกา้ วกระโดด โดยเฉพาะ ความร่วมมือระหว่างประเทศและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ในกลุ่มของเทคโนโลยีชีวภาพ นาโนเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ เมื่อประกอบเข้ากับจุดแข็งของประเทศไทยที่มีมีฐานการผลิตและ และเทคโนโลยีท่ีเก่ียวกับวิทยาการปัญญา ได้ส่งผลให้รูปแบบ บรกิ ารทีส่ าคัญหลายสาขาและมีที่ตั้งท่ีเหมาะที่จะพัฒนาเป็นประตู การดาเนินชีวิต คุณภาพชีวิตและรูปแบบธุรกิจพัฒนาไปมาก สู่เอเชียที่สาคัญได้ ก็นับว่าเป็นโอกาสท่ีจะใช้ยุทธศาสตร์ท่ีเป็น และในอนาคตข้างหน้าการเปลี่ยนแปลงจะยิ่วรวดเร็วข้ึนจะเป็น เชิงรุกมากข้ึนภายใต้การกาหนดเป้าหมายหรือตาแหน่ง เงอ่ื นไขสาคญั ท่พี ลิกโฉมอนาคตของโลกรวมท้ังประเทศไทยเอง เชิงยุทธศาสตร์ของประเทศไทยให้มีความท้าทาย ซึ่งจะทาให้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เปน็ อจั ฉรยิ ะ รวมทั้งเกิด สามารถใช้ประโยชน์จากจุดแข็งให้เกิดผลต่อการพัฒนาได้ การเชื่อมต่อและการบรรจบกันของเทคโนโลยีก้าวหน้าท้ัง อยา่ งเตม็ ท่ี เทคโนโลยฐี านชวี ภาพ เทคโนโลยีฐานฟิสิกส์ และฐานดิจิทัลท่ี จะเป็นความท้าทายต่อโลกของการแข่งขันอย่างมาก ประเทศ ไทยจึงจะต้องลงทุนด้านทรัพยากรมนุษย์และการพัฒนา วิทยาศาสตร์ วิจัยและพัฒนาให้สามารถพัฒนาเทคโนโลยี สมัยใหม่และเกิดนวัฒนกรรมท่ีจะพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการท่ี มีมูลค่าสูงและแข่งขันได้ รวมทั้ง พฒั นาคณุ ภาพชีวติ คน ปั จ จั ย ภ า ย น อ ก ความก้าวหน้า เคล่ือนย้ายได้ เปลีย่ นแปลง/ การรวมกลมุ่ ความมัน่ คงชาติ ของเทคโนโลยี อย่างเสรใี น ผันผวนของ ประเทศ/แข่งขัน และไซเบอร์ สภาพแวดลอ้ ม ทุกด้าน 1 Cognitive Science

ร่างยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 17 ส่วนที่ 1 การท่ีประเทศไทยมตี าแหนง่ ที่ต้ังที่เหมาะสาหรับการพฒั นาเป็นจุดกระจายความเช่ือมโยงท่ีสาคัญในภูมิภาคและเป็น อนาคตประเทศไทย ีป พ.ศ. 2579 การประตูสู่เอเชีย (Gateway to Asia) ที่สาคัญแห่งหนึ่ง เมื่อประกอบกับการเป็นฐานการผลิตและบริการสาคัญท่ีหลากหลาย ประเทศไทยจะสามารถพฒั นาต่อยอดตอ่ ไปให้เป็นฐานการผลิตและบริการท่ีใชเ้ ทคโนโลยีสูง มูลค่าสูง และตอบโจทย์ความต้องการของ ตลาดในอนาคตได้อย่างโดดเด่น ความได้เปรยี บในเชิงภูมิศาสตร์ของท่ีตั้ง หากมีกลยุทธ์ท่ีเหมาะสมและเชิงรุกจะทาให้ประเทศไทยเป็นจุด เช่อื มโยงท่ีสาคัญระหวา่ งประเทศที่มพี ลังอานาจทางเศรษฐกิจสงู ในฝั่งตะวันออกและกลุม่ ประเทศในฝง่ั ตะวนั ตกทกี่ าลงั เจรญิ เติบโตมาก ขึ้นตามลาดบั รวมทงั้ การท่กี ล่มุ ประเทศเพอ่ื นบา้ นมศี ักยภาพที่จะพัฒนาก้าวหนา้ ไดม้ ากขนึ้ โดยท่ีประเทศเหล่าน้ีมโี ครงสร้างประชากรที่มี กล่มุ เด็กและหนมุ่ สาวในสดั ส่วนท่สี ูง จงึ เป็นสภาพแวดลอ้ มการพัฒนาทน่ี ับวา่ เป็นโอกาส ดังนน้ั การลงทุนด้านโครงสรา้ งพ้ืนฐานเพ่ือ การเช่ือมโยงเป็นโครงข่ายภายในประเทศและเช่ือมโยงสู่ภายนอกในเชิงรุก การพัฒนาในเชิงพ้ืนที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนและพื้นท่ี เขตเศรษฐกิจฝง่ั ตะวันออก และการพฒั นาข้อตกลงระหวา่ งประเทศด้านการขนส่งและการอานวยความสะดวกทางการค้า จะส่งผลให้ ประเทศไทยเปน็ ประตสู เู่ อเชียท่สี าคญั ในขณะที่สามารถขยายโครงข่ายความเชอ่ื มโยงส่ยู ุโรป โดยทางบกโดยเชือ่ มตอ่ กับเสน้ ทางสายไหม ของจีน (One Belt One Road: OBOR) (ตงั้ แตเ่ ดือนพฤษภาคม 2560 ทางการจีนได้เปลี่ยนช่ือเป็น Belt and Road Initiative) ได้อีกด้วย ซึ่งหากดาเนินการควบคู่ไปกับการดาเนินบทบาทท่ีสร้างสรรค์ในการสนับสนุนการลดช่องว่างการพัฒนาระหว่าง ประเทศ และการพัฒนามาตรฐานและระบบมาตรฐานท่ีเป็นสากลมากข้ึนและการขับเคลื่อนสู่เป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ตามมติสหประชาชาตปิ ระเทศไทยจะได้รับความไว้เนื้อเชื่อใจจากประเทศเพ่ือนบ้าน และมีบทบาทสาคัญในเวทโี ลกมากขน้ึ ประเทศไทย ป ร ะ ตู สู่ เ อ เ ชี ย

ร่างยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 18 ส่วนท่ี 1 ในเชงิ สงั คม แนวโน้มการเปล่ียนแปลงของบริบทโลก สาหรับประเทศไทยการพัฒนาทางสังคมก้าวหน้ามา อนาคตประเทศไทย ีป พ.ศ. 2579 ท่ีสาคัญมากขึ้นในอนาคต ได้แก่ การเปล่ียนแปลงโครงสร้าง ตามลาดับส่งผลให้คนไทยโดยเฉลี่ยมีการศึกษาและสุขภาพ ประชากรซ่ึงนับว่าเป็นความเสี่ยงและความท้าทายสาคัญ ดีขึ้น และระบบเก้ือกูลในครอบครัวไทยเข้มแข็งเป็นทุนทาง สาหรับนานาประเทศ ประเทศที่พัฒนาแล้วและกาลังพัฒนา สังคมที่สาคัญ นอกจากน้ัน กล่าวได้ว่าระบบการศึกษา จานวนไม่น้อยต้องเผชิญกับความเส่ียงที่เกิดจากโครงสร้าง ระบบสาธารณสุขและสวัสดกิ าร และโครงสร้างพื้นฐานในทุกด้าน ประชากรสูงวยั ข้นึ ตามลาดบั ซ่งึ เปน็ ความเสยี่ งจากการขาดแคลน ก็มีการพัฒนาก้าวหน้าไปตามลาดับ แต่หากเม่ือเปรียบเทียบกับ แรงงานและภาระด้านงบประมาณท่ีสูงขึ้น รวมท้ังผลกระทบต่อ ประเทศท่ีพัฒนาแล้วและกลุ่มประเทศกาลังพัฒนาด้วยกันนับว่า คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ แต่ในขณะเดียวกันในอีกด้านหนึ่งได้เกิด ประเทศไทยพัฒนาไปได้ช้ากว่าหลายๆ ประเทศ การพัฒนา โอกาสทางการตลาดของผลิตภัณฑแ์ ละบรกิ ารทต่ี อบโจทยส์ งั คม ประเทศไทยในช่วงระยะเวลาถดั ไปจะเผชญิ กบั ความท้าทายในหลาย สงู วัยหลากหลายขึ้น และเป็นความท้าทายตอ่ การวิจัยและพัฒนา ด้าน ทั้งการเปล่ียนแปลงด้านประชากรที่ประเทศไทยจะเข้าสู่ เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงวัยให้ดีข้ึน วิวัฒนาการและ สังคมสูงวัยระดับสุดยอดในปี 2579 โดยจะมีสัดส่วนของ ปัจจัยดงั กล่าวได้ส่งผลให้ภูมทิ ัศน์ของโลกเปลี่ยนแปลงไปอย่าง ผู้สูงอายุถึงร้อยละ 30 ขณะที่สัดส่วนวัยเด็กและวัยแรงงาน รวดเรว็ ในทกุ ดา้ น โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในดา้ นการพฒั นาและการใช้ มีสัดส่วนลดลงอย่างต่อเน่ือง โดยวัยเด็กมีสัดส่วนคิดเป็น วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีในการตอบโจทย์การดารงชีวิตและการ ร้อยละ 14 ขณะที่วัยแรงงานคิดเป็นร้อยละ 56 ท้ังน้ี ดาเนนิ ธรุ กจิ รปู แบบใหม่ ๆ การลดลงของจานวนวัยแรงงานซ่ึงเริ่มต้ังแต่ปี 2557 จะเป็น ความเสยี่ งสาคญั ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ การเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ ขณะเดียวกันแนวโน้มของการย้ายถิ่นฐานของ หากการดาเนินนโยบายในการทดแทนกาลังแรงงานด้วยการใช้ ประชากรท่ีเพ่ิมข้ึนจากการแสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยแี ละการยกระดบั คณุ ภาพและขดี ความสามารถของแรงงาน และความกดดนั ภายในประเทศจะส่งผลกระทบต่อการผสมผสาน ไมป่ ระสบความสาเรจ็ นอกจากนั้น สถาบันครอบครัวมีขนาดเล็ก ทางวัฒนธรรมและกฎเกณฑ์ทางสังคม นอกจากนี้ รูปแบบการ ลงและมีรูปแบบท่ีหลากหลายมากข้ึน ปัญหาเชิงคุณภาพของ ดาเนนิ ชวี ิตและความสัมพนั ธ์ของคนจะเปลี่ยนแปลงไป อันเป็นผล ประชากรทุกกลุ่มวัย ท้ังในส่วนของคุณภาพการศึกษา จากอิทธิพลของโลกาภิวัตน์และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ระดับคุณธรรมจริยธรรม ความเจ็บป่วยจากโรคไม่ติดต่อ ดังน้ัน การสร้างภูมิคุ้มกันและความเข้าใจถึงการผสมผสาน เรือ้ รัง และการเล่ือนไหลทางวัฒนธรรม รวมทั้งการเพิ่มทักษะ หลากหลายและเรียนรู้อยู่อย่างต่อเนื่องจะเป็นเง่ือนไขสาคัญ นอกจากน้ัน ท่ามกลางโอกาสท่ีเกิดข้ึนจากกระแส ต่อการดารงชวี ิตอย่างมีคุณภาพในโลกซ่ึงนาด้วยเทคโนโลยีและ โลกาภิวัฒน์และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีความเส่ียงและภัย ไร้พรมแดน นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยจากภาวะโลกร้อนและ คุกคามทแ่ี ทรกแฝงอยใู่ นโอกาสดังกล่าว ซึ่งต้องบริหารจัดการ การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศทีส่ ง่ ผลกระทบตอ่ สุขภาพ ด้วยความยากลาบากมากข้ึน อาทิ ความเสี่ยงด้าน และความเปน็ อยูข่ องคน อาชญากรรมข้ามชาติ ความเสี่ยงต่อการโจมตีทางไซเบอร์ ผลกระทบในทางลบต่อคุณภาพทางสังคม และมีความเส่ียงต่อ ความม่ันคงและคุณภาพชีวิตของประชาชนท่ีปรับตัวไม่ทันหรือ ขาดความร้แู ละทกั ษะท่ีทันกับยุคสมัยท่ีเปลี่ยน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การทางานร่วมกับเทคโนโลยีก้าวหน้าเป็นต้น ซ่ึงในสังคมไทยยัง มีผู้คนจานวนมากที่ขาดการปรับตัวให้ทันกับความเปลี่ยนแปลง กฎเกณฑแ์ ละกตกิ าใหม่ ๆ และมาตรฐานท่ีสูงขึ้น แต่คนไทยจานวนไม่น้อยยังขาดทัศนคติที่พึงประสงค์ เมื่อประกอบกับบริการทางสังคมท่ีมีคุณภาพยังไม่สามารถกระจายไปได้ ครอบคลุมท่ัวถึง จึงติดกับดักทักษะระดับต่าและรายได้ต่า ในขณะท่ีภูมิทัศน์ด้านเศรษฐกิจและสังคมเปลี่ยนแปลงไปมากและรวดเร็ว แต่ผู้คนยังขาดการปรับวัฒนธรรมในด้านต่าง ๆ ของการดาเนินชีวิตให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างเศรษฐกิจ และสังคม สังคมไทยจึงมคี วามลกั ลน่ั ระหวา่ งความกา้ วหน้าทางเศรษฐกจิ และเทคโนโลยกี ับความกา้ วหนา้ ทางคณุ ภาพของสังคม การ เลอ่ื นไหลและผสมผสานทางสงั คมและวัฒนธรรมขาดการกลั่นกรองและภูมิคุ้มกันที่เหมาะสม จึงต้องเร่งปรับเปล่ียนวัฒนธรรมใน ทุกดา้ นโดยเฉพาะอยา่ งยิง่ วัฒนธรรมการเรียนรู้ การทางานร่วมกัน การมีวินัย การมีจิตสาธารณะและรับผิดชอบต่อสังคม การคิดวิเคราะห์และสรา้ งสรรค์ ความกระตอื รอื รน้ และขยนั และความเปน็ คนไทยสากล เป็นตน้

รา่ งยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 19 ส่วนท่ี 1 นอกจากน้ัน ในช่วงทศวรรษท่ีผ่านมาโลกต้อง ประเภท การกกั เกบ็ อดตี ปัจจุบนั อนาคตประเทศไทย ีป พ.ศ. 2579 เผชญิ กบั ความเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ของสภาพแวดล้อม ต่างๆ ท่ีส่งผลกระทบในทางลบต่อการพัฒนา อาทิ นาเข้า :MOC - ลา้ นบาท (2539) 103,037 ล้านบาท (2559) สภาพภูมิอากาศเปล่ียนแปลงรวดเร็วและผันผวน ฤดูกาล กา๊ ซ ประมาณ 5.4 ปี (Reserves-to-production ratio) เปล่ียนแปลงไป อุบัติภัยทางธรรมชาติรุนแรงข้ึน การใช้ ธรรมชาติ ปรมิ าณ เชื้อเพลิงฟอสซิลท่ีเพ่ิมขึ้นมากส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้อม ในขณะที่ราคาพลังงานก็สูงขึ้นมากตามความต้องการที่ สารอง :BP เพิ่มขึ้น เป็นต้น ในขณะที่ปริมาณการผลิตมีข้อจากัด ความผันผวนของสภาพภูมิอากาศได้กดดันให้ประชาคมโลก นาเข้า :MOC 4,069 ล้านบาท (2539) 41,905 ลา้ นบาท (2559) ต้องรว่ มกันปรับเปลีย่ นกฎเกณฑแ์ ละระเบียบด้านส่ิงแวดล้อมให้ มีความเข้มงวดขึ้นเพ่ือท่ีคนจะอยู่กับโลกได้อย่างยั่งยืน ถา่ นหิน ปริมาณ ประมาณ 63 ปี (Reserves-to-production ratio) มาตรฐานของสินค้าและบริการท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม นา้ มันดบิ สารอง :BP ถูกกาหนดเป็นมาตรฐานสากลในโลกของการแข่งขัน เงื่อนไข 113,037 ล้านบาท 520,886 ลา้ นบาท (2559) การผลิตและการบรโิ ภคทีเ่ ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ มกจ็ ะเป็นเกณฑ์ นาเข้า :MOC (2539) มาตรฐานท่ีกดดันให้ประเทศไทยต้องปรับเปลี่ยนไปสู่สังคม สีเขียวโดยการพัฒนาและนาเทคโนโลยีสีเขียวมาใช้ก็จะมีส่วน ปรมิ าณ ประมาณ 2.3 ปี (Reserves-to-production ratio) สาคัญ และช่วยแก้ปัญหาการลดลงของทรัพยากรต่าง ๆ สารอง :BP รวมทั้งน้ามัน ซ่ึงแม้ราคาจะลดลงแต่มีผลกระทบต่อ สภาพแวดล้อม จึงต้องผลักดันให้มุ่งสู่การผลิตพลังงาน ปี 2558 ภาคเกษตร ภาคอุตสาห ภาคบริการ ทดแทนในรูปแบบต่าง ๆ รวมทั้งพืชพลังงานที่อาจจะส่ง กรรม ผลกระทบต่อความมัน่ คงทางอาหารได้ นอกจากนี้ การรักษา แรงงาน (Labors) :NESDB 12.27 17.17 ความหลากหลายเชงิ นิเวศนซ์ ่งึ นบั ว่าเป็นจุดแข็งสาคัญอีกด้าน มูลค่าเพม่ิ ล้านคน 12.27 ลา้ นคน หน่ึงของประเทศไทย ให้สามารถเป็นฐานสาคัญของการ 1.19 ลา้ นคน 8.29 พฒั นาเศรษฐกิจฐานชีวภาพและการท่องเที่ยว (Value added) :NESDB ลา้ นล้านบาท ล้านบาท 4.18 ล้านลา้ นบาท มลู คา่ เพ่มิ ต่อแรงงาน 96,984 บาท 340,668 บาท 482,818 บาท สาหรับประเทศไทยเสน้ ทางการพฒั นาทีผ่ า่ นมามีการเจรญิ เติบโตในเชิงปรมิ าณมากกว่าคุณภาพ มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างส้ินเปลือง สภาพแวดล้อมเส่ือมโทรมลงอย่างรวดเร็ว รูปแบบการพัฒนามุ่งเน้นการดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ พ่ึงพาการ ส่งออกที่ต้องอาศัยการนาเข้าทุนและเทคโนโลยีเข้ามาสนับสนุนในสัดส่วนที่สูง ทาให้เศรษฐกิจของประเทศพัฒนาเติบโตได้อย่างรวดเร็ว สามารถปรับเปล่ียนประเทศจากประเทศที่มีเศรษฐกิจในระบบ“เกษตรแบบพ่ึงตนเอง” เป็นระบบเศรษฐกิจท่ี “พึ่งพาอุตสาหกรรมและการ ส่งออก” จนกระทั่งทาให้ประเทศไทยกลายเป็นฐานการผลิตของสินค้าอุตสาหกรรมสาคัญ ๆ ของโลก เช่น ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ และปิโตรเคมี ซ่ึงการลงทุนจากต่างประเทศส่งผลให้ภาคอุตสาหกรรมขยายตัวเร็วกว่าและมีผลิตภาพการผลิตที่สูงกว่าภาคเกษตรและ ภาคบรกิ ารซ่งึ เปน็ ภาคเศรษฐกจิ ท่ีเป็นฐานรองรับประชากรขนาดใหญก่ ว่า แต่ภาคเกษตรและภาคบริการโดยเฉพาะการท่องเที่ยวน้ันผลิตภาพ ยังต่าแม้วา่ จะเป็นสาขาสาคัญที่สามารถช่วยรองรับผลกระทบของไทยจากความผันผวนจากสถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่เกิดข้ึนเป็นระยะ ๆ ได้ จงึ นับวา่ การพัฒนาในรูปแบบทีผ่ า่ นมาสง่ ผลใหป้ ระเทศไทยติดในกับดักความไม่สมดลุ กบั ดกั ผลิตภาพตา่ และกบั ดักความเหล่อื มล้า

รูปแบบการเปล่ียนผ่านพัฒนาประเทศในช่วง 20 ปี รา่ งยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 อนาคตประเทศไทยปี พ.ศ. 2579 ส่วนที่ 1 20

ร่างยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 21 ส่วนท่ี 1 ในขณะเดียวกัน โครงสร้างแรงงานของประเทศ นอกจากน้ัน ยังกล่าวได้ว่าการพัฒนาที่ผ่านมา อนาคตประเทศไทย ีป พ.ศ. 2579 ยังคงกระจุกตัวอยู่ในภาคเกษตร แต่ไม่ได้ช่วยสร้างมูลค่าเพ่ิม ของประเทศไทยมักให้ความสาคัญกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้ ให้กับภาคเกษตรมากเท่าที่ควรเพราะการใช้ความรู้ข้อมูล เติบโตอย่างรวดเร็ว แต่ขาดการมุ่งเน้นในการกระจายโอกาสและ และการทางานร่วมกับเครื่องมือและเทคโนโลยีสมัยใหม่ยังมีน้อย ความม่ังค่ังเพ่ือยกระดับให้ทุกคนในสังคมสามารถพัฒนา ส่งผลให้ผลิตภาพแรงงานของภาคเกษตรยังอยู่ในระดับต่า ให้เกิ ดข้ึนควบคู่กันไป ส่งผลให้ การพัฒนาไม่ สมดุ ล เป็นตัวฉุดร้ังการยกระดับรายได้ของเกษตรกรและแรงงานใน มีความเหลื่อมล้าในสังคมไทยในทุกด้าน การกระจายรายได้และ ภาคการเกษตร จงึ ยงั เปน็ ขอ้ จากดั ในการสร้างความม่ังคั่งของ การเข้าถึงโอกาสต่างๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ ยงั กระจุกตัวในเฉพาะบางกลุ่ม ประเทศ ประกอบกบั การพัฒนาทีพ่ ฒั นาคณุ ภาพและทักษะขั้นสูง รายได้ระหว่างภาคอุตสาหกรรมกับภาคเกษตรและภาคบริการ ของแรงงานไม่ตรงกับความต้องการของตลาด จึงเป็น แตกตา่ งกันมาก ภาคอตุ สาหกรรมพัฒนาได้เร็วกว่าภาคเกษตร อุปสรรคสาคัญในการยกระดับศักยภาพของภาคการผลิต และบริการซึ่งคุณภาพและผลิตภาพเพ่ิมข้ึนช้ามาก ยังมีความ และบริการไทยไปสู่การใช้ความรู้และเทคโนโลยีเข้มข้น ประเทศไทย เหล่ือมล้าระหว่างพื้นที่เมืองและชนบท โอกาสการเข้าถึง จึงยังไม่สามารถหลุดพ้นกับดักของการเป็นประเทศผู้รับจ้าง เทคโนโลยีการเข้าถึงทรัพยากร การเข้าถึงบริการทางสังคมและ ผลิตสนิ คา้ และผใู้ ห้บริการในสาขาทม่ี ีมลู ค่าเพ่ิมต่าได้ ดังน้ัน การ บรกิ ารสาธารณะทมี่ ีคุณภาพอย่างครอบคลุมทว่ั ถึง การเข้าถึง ติดอยู่ในกับดักรายได้ปานกลางของประเทศไทยสะท้อนถึงการ และการเขา้ ถึงกระบวนการยตุ ธิ รรม ติดกับดักในหลายด้านที่เป็นรากฐานสาคัญของการพัฒนา ได้แก่ กับดักของผลิตภาพต่าที่หย่ังรากลึกไปถึงปัญหา คุณภาพคน การขาดการบริหารจดั การท่ีดี การขาดโครงสร้าง พ้ืนฐานและระบบ และระบบโลจิสติกส์ที่มีคุณภาพ และความไม่ เพียงพอของการพัฒนาศักยภาพเพ่ือการดูดซับ การกระจาย เทคโนโลยีต่างประเทศ และก้าวกระโดดไปสู่การพัฒนาเทคโนโลยี ของตนเอง เนื่องจากการลงทุนวิจัยและพัฒนาด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพ้ืนฐานยังน้อย ทาให้ประเทศไทยไม่ สามารถยกระดับความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมได้ รวมถึงการท่ีสังคมไทยยังติดกับดัก ความเหล่ือมล้าและกับดักของความไม่สมดุลซึ่งล้วนแล้วแต่เป็น ข้อจากัดของการเพ่ิมศกั ยภาพของประเทศ

ร่างยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 22 ส่วนท่ี 1 ปั ญ ห า ดั ง ก ล่ า ว บ่ั น ท อ น ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง ข อ ง ในภาพรวมกล่าวได้ว่า การพัฒนาประเทศไทยท่ีมี อนาคตประเทศไทย ีป พ.ศ. 2579 โครงสร้างทางเศรษฐกิจและทางสังคมของไทยลงตามลาดับ ความก้าวหน้ามาตามลาดับยังมิได้สร้างพ้ืนฐานท่ีเข้มแข็งเพื่อ ที่เป็นปัญหาสาคัญ คือ (1) คนไทยมคี วามเปราะบางและอ่อนไหว การพัฒนาภาคการผลิตและบริการให้เป็นฐานรายได้ท่ีมั่งคั่ง ต่อการเปลี่ยนแปลงทางสถานการณ์เศรษฐกิจ ทางสังคมและ มีความมั่นคงและยั่งยืนสาหรับคนทุกกลุ่มได้ กล่าวได้ว่ากลไก วัฒนธรรม (2) คนไทยขาดทักษะและดุลยพินิจในการเลือก รับ ขับเคล่ือนเศรษฐกิจท่ีแท้จริงของประเทศยังไม่เข้มแข็งพอ ปรบั ใช้ วัฒนธรรมและเทคโนโลยีได้อย่างชาญฉลาดและรู้เท่าทัน ที่ยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนได้อย่างท่ัวถึง ประเทศไทย ดังน้ันการที่คนไทยยังคณุ ภาพต่าประเทศไทยจึงยังมีข้อจากัดใน ยังคงต้องพ่ึงพาการนาเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศสูง การใช้ประโยชน์อันเกิดจากโอกาสของกระแสโลกาภิวัตน์ เป็นเพียงประเทศผู้ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมจากต่างประเทศ กระแสการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี และโอกาสจากการเล่ือน โดยยังไมส่ ามารถเป็นผู้สร้างเทคโนโลยีโดยเฉพาะเทคโนโลยีขั้นสูง ไหลของกระแสวัฒนธรรมท่ีนาไปสู่การผสมผสานหรือการ ได้เอง อกี ทั้งยังตอ้ งพึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศอย่างมาก บรรจบกันทางวัฒนธรรมของประเทศต่าง ๆ อย่างรวดเร็วที่จะ และมีการใช้ท่ีส้ินเปลือง โดยในช่วงเวลาท่ีผ่านมาการใช้ สามารถนามาสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ทรัพยากรต่างๆ ในการพัฒนาประเทศไม่มีการวางกลยุทธ์ระยะ ประเทศในระดับของศักยภาพท่ีสูงข้ึน ผลพวงที่เกิดขึ้นตามมา ยาวในการใช้และการรักษาทรัพยากรท่ีชัดเจน ส่งผลให้ คือ วิกฤตพฤติกรรมทางสังคมและวิกฤตทางวัฒนธรรมของ ทรัพยากรสาคัญหลายอย่างหมดส้ินไปอย่างรวดเร็ว หรือ ประเทศในหลายด้าน เชน่ พฤตกิ รรมบริโภคนิยมและค่านิยมที่เน้น เส่ือมโทรมมากจนต้องอาศัยระยะเวลายาวนานที่จะฟ้ืนฟูให้ วัตถุนิยมท่ีให้คุณค่ากับฐานะทางสังคมและความม่ังค่ังมากกว่า กลับคืนมา เช่น ก๊าซธรรมชาติท่ีเป็นทรัพยากรพลังงานหลัก ความดีงามและความเอ้ืออาทรต่อผู้อื่น ค่านิยมที่เป็นปัจเจกสูง ของประเทศ ทรพั ยากรแรต่ ่างๆ และป่าไม้ เปน็ ตน้ รักษาสิทธิตนเอง แต่ไม่เคารพสิทธิของผู้อื่น ขาดความ รับผิดชอบ ไม่คานึงถึงการกระทาของตนท่ีจะกระทบต่อสังคม สถานการณ์ดังกล่าวทาให้ความได้เปรียบในด้าน และส่วนรวม และความไร้วินัยส่งผลให้เกิดปัญหาสังคมด้าน ทรัพยากรของประเทศไทยลดลงอย่างรวดเร็ว และการพัฒนา ต่างๆ ตามมา ไม่ว่าจะเป็นปัญหาคอร์รัปชั่น ปัญหาการเอารัด ประเทศไม่ยั่งยืน และปัญหาดังกล่าวยิ่งกลายเป็นความเสี่ยง เอาเปรียบทางสังคม ความไม่ต่ืนตัวท่ีจะปรับตัว และปัญหา ท่ีสาคัญของประเทศไทยในขณะท่ีประเทศต่าง ๆ เร่งปรับตัวเพิ่ม อาชญากรรมตา่ งๆ รวมท้งั การที่คนไทยจานวนไม่น้อยขาดการ ประสิทธิภาพโดยใช้ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม เรยี นรใู้ ห้เท่าทันสถานการณ์จึงปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงไม่ได้ รวมท้ังการบริหารจัดการที่ดีในขณะท่ีประเทศไทยยังติดกับดัก เป็นตน้ ความเหลื่อมล้า ผลิตภาพต่า และความไม่สมดุล รวมทั้งยัง ต้องยกระดับการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและโปร่งใส มากข้ึน แก้ปัญหากฎระเบียบท่ีมีลักษณะหยุมหยิมและล้าสมัย กลายเป็นอุปสรรคสาคัญในการดาเนินธุรกิจ และเร่ง เพิ่มประสิทธิภาพของะบบราชการท่ียังขาดคุณภาพในการ ขบั เคลอื่ นนโยบายสาธารณะและการใหบ้ รกิ ารสาธารณะ ข้ อ จ า กั ด ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ น า ไ ป สู่ กั บ ดั ก ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ ผลติ ภาพ โครงสรา้ ง การใชเ้ ทคโนโลยี แรงงานต่า พื้นฐาน และดจิ ิทลั ต่า ไม่เพียงพอ ประสทิ ธภิ าพ เสถียรภาพทาง ลงทุนวิจัยและ ภาครฐั ตา่ การเมืองต่า พฒั นาต่า Source : IMD (2016) 3 กับดักในปัจจุบัน กับดักผลิตภาพต่า กับดักความเหลื่อมล้า กับดักความไม่สมดุล

ร่างยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 23 ส่วนที่ 1 ดังนั้น ท่ามกลางกระแสการเปล่ียนแปลงในบริบทโลกที่ถาโถมเข้ามาอย่างรวดเร็ว ประเทศไทยจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง อนาคตประเทศไทย ีป พ.ศ. 2579 ทบทวนแนวทางการพัฒนาประเทศทผ่ี ่านมา วเิ คราะหท์ าความเขา้ ใจถึงจุดแข็ง จุดออ่ น โอกาส และความเส่ียง/ภัยคุกคามของประเทศ ภายใต้แนวโน้มกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกในทุกด้านอย่างรอบคอบเพื่อกาหนดเป้าหมายอนาคตประเทศ กาหนดยุทธศาสตร์และ ทิศทางการพัฒนาทีจ่ ะพลิกโฉมประเทศไปส่เู ป้าหมายอนาคตท่ีวางไว้ให้พัฒนาความก้าวหน้า มีความมั่นคงและมีความม่ังค่ังไปได้อย่าง ยั่งยืนในระยะยาว โดยจะต้องปฏิรูปประเทศเพื่อกาจัดจุดอ่อนในหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างย่ิงการปรบั สมดลุ การดาเนนิ งานและการ บริหารจดั การภาครัฐให้มีบรู ณาการ มปี ระสทิ ธิภาพ โปร่งใส มีธรรมาภิบาล ลดปญั หาคอรปั ชนั่ และระบบอปุ ถัมภ์ นัน้ นบั วา่ เป็น เงื่อนไขของความสาเรจ็ ของการขับเคลื่อนพัฒนาประเทศไปสู่อนาคตที่พึงประสงค์ รวมทั้งต้องเร่งกระจายอานาจและการแบ่งความ รบั ผดิ ชอบสอู่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ เพอื่ ใหก้ ารแกป้ ญั หาและการตอบสนองตอ่ เปา้ หมายการพฒั นาในพนื้ ทต่ี า่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิผล ต้องวางระบบและกลไกที่ป้องกันการดาเนินนโยบายประชานิยมที่สร้างค่านิยมการไม่พึ่งพาตนเองให้กับประชาชนบางกลุ่ม และสร้าง ความเสยี หายใหก้ บั ประเทศ รวมทั้งต้องสร้างบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการดาเนินธุรกิจ ปรับปรุงกฎระเบียบให้มีความทันสมัย ลดความ ซ้าซ้อน และมีความชัดเจน โดยมีกระบวนการจัดทานโยบายสาธารณะ กฎระเบียบ และกฎหมายท่ีมีการวิเคราะห์ผลได้เสีย ผลกระทบ ตน้ ทุนต่อกลุ่มผ้มู สี ว่ นได้ส่วนเสยี อย่างรอบคอบ (Regulatory Impact Assessment: RIA) World Thailand Breakthrough Technology Self-Driving Vehicle, Quantum computer, Gene Therapy, (2002 - 2016) : MIT Crypto currency, Robot, Hot Solar Cells, CO2 emissions (metric tons per capita) : World bank Artifiif cialif Intelligence, Reinforcement Learning 3.093 (1960) 0.136 (1960) 4.991 (2013) 4.448 (2013) Natural disaster (USD) : UNISDR 1.4 trillions (2005-2014) 4.2 billion (2005-2014) Average death rate due to natural disas- 0.2 0.3 ters (per 100,000 population) : WHO Terrorist Attacks 1,441 attacks 37 attacks and fatalities (2016) : ESRI 14,356 fatalities 44 fatalities The average number of records exposed in a data breach claim : Net Diligence 1.70 millions (2011) 2.04 millions (2016) Estimate number of drug-related deaths (Persons) : UNODC 207,400 (2014) Asia = 85,900 (2014) ในขณะเดียวกันต้องสามารถป้องกันและบริหารจัดการความเส่ียงที่เกิดจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ๆ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ อาทิ เครอื ขา่ ยการก่อการรา้ ยและอาชญากรรมขา้ มชาตทิ ัง้ ดา้ นยาเสพตดิ และอาชญากรรมไซเบอร์ การเกดิ โรคระบาดอุบตั ิใหม่ทงั้ ตอ่ มนุษย์ สตั ว์ พชื และการเกดิ สภาพแปรปรวนทางธรรมชาตทิ ี่ก่อให้เกดิ ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติทีย่ ากจะคาดการณ์ รวมถงึ ความเสีย่ งตอ่ ความ มั่นคงด้านน้า อาหาร และพลังงาน ซ่ึงสถานการณ์เหล่าน้ีเป็นสถานการณ์ในระดับโลก จึงต้องมีการปรับตัวอย่างพลิกโฉมโดยมี ความรว่ มมือกนั เพอ่ื แกป้ ญั หาเหลา่ นรี้ ว่ มกนั เปน็ กลไกและสญั ญาประชาคมทสี่ าคัญมากขน้ึ ตามลาดบั และประชาคมโลกตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามให้ เกดิ ผลจรงิ จงั มากขนึ้ โดยกาหนดเปน็ วาระการพฒั นาระดบั โลก เชน่ เปา้ หมายการพฒั นาทยี่ งั่ ยนื (Sustainable Development Goal : SDG) ความตกลงปารสี (Paris Agreement) ตามกรอบอนสุ ญั ญาสหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ อนสุ ญั ญา ตอ่ ตา้ นองคก์ รอาชญากรรมขา้ มชาตขิ องสหประชาชาติ เปน็ ตน้ ดงั นนั้ จงึ ถงึ เวลาทปี่ ระเทศไทยในฐานะทเี่ ปน็ สมาชกิ หนงึ่ ของประชาคมโลก จาเปน็ ต้องทบทวนสถานการณแ์ ละหาแนวทางใหมส่ าหรบั การพฒั นาพลกิ โฉมประเทศ เพอ่ื รองรบั การเปลยี่ นแปลงในระดบั โลกดงั กล่าว อยา่ งจรงิ จงั รวมถึงการขับเคลอ่ื นให้ประเทศไทยมีบทบาทสนบั สนนุ การพัฒนาและบทบาทสรา้ งสรรค์ท่โี ดดเดน่ ในเวทีนานาชาติ โดยที่ คนไทยเองอยดู่ มี สี ขุ เปน็ คนคณุ ภาพและมคี วามเปน็ สากล

รา่ งยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 24 สว่ นท่ี 1 ท่ามกลางโอกาสและการมีจุดแข็งจึงต้องเร่งเสริมจุดแข็งให้แข็งแกร่งขึ้น เพื่อให้ประเทศไทยสามารถถใช้โอกาสการพัฒนาที่ อนาคตประเทศไทย ีป พ.ศ. 2579 เกิดขน้ึ ในเชิงรุกในการะยกระดับสู่ประเทศที่พัฒนาแลว้ โดยมีรายไดส้ งู ยกระดับมาตรฐานและบรรทัดฐานสูร่ ะดับสากล และใช้โอกาสใน การพัฒนาทางสังคมให้มีคณุ ภาพและสร้างโอกาสกับคนไทยในทุกภาคส่วน โอกาสใหม่ ๆ ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงที่ประเทศไทย จะต้องก้าวให้ทันคือการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีที่พลิกโฉมโลก อันเกิดจากความก้าวหน้าวิทยาศาสตร์พื้นฐานซึ่งทาให้เกิด เทคโนโลยีใหม่ท่ีส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมสง่ิ แวดลอ้ ม โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในดา้ นการพฒั นาและการใชป้ ญั ญาประดษิ ฐ์ และระบบอัตโิ นมตั ิ การใชร้ ะบบเชอ่ื มต่อทางอินเตอร์เนต็ เทคโนโลยแี ละวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพและแหง่ ชีวติ การพัฒนาพลงั งานทางเลอื ก และการเกบ็ กกั พลงั งาน และการพฒั นาเศรษฐกิจดจิ ิทลั รวมไปถึงการเกดิ ตลาดสินคา้ และบริการใหม่ ๆ ทต่ี อบโจทย์การเปลย่ี นแปลง สภาพภมู อิ ากาศ และการตอบโจทยส์ งั คมสงู วยั ในภาคสว่ นตา่ ง ๆ ของโลก โดยสรุป การวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อมของประเทศในปัจจุบันและแนวโน้มบริบทและเง่ือนไขการพัฒนา ภายนอกประเทศดงั กลา่ วขา้ งตน้ บง่ ชว้ี า่ ประเทศไทยมจี ดุ แขง็ หลายดา้ น ไดแ้ ก่ การมตี าแหนง่ ทต่ี งั้ ทส่ี ามารถเปน็ จดุ เชอ่ื มโยงและกระจาย ความเชอ่ื มโยงทส่ี าคญั ในภมู ภิ าคและเปน็ การประตสู เู่ อเชยี ทสี่ าคญั แหง่ หนง่ึ การเปน็ ฐานการผลติ และบรกิ ารสาคญั ทหี่ ลากหลาย คนไทย โดยเฉลยี่ มกี ารศกึ ษาและสขุ ภาพดขี นึ้ ระบบเกอื้ กลู ในครอบครวั ไทยเขม้ แขง็ และมคี วามหลากหลายเชงิ นเิ วศน์ สาหรบั จดุ ออ่ นของประเทศ ไทยทส่ี าคญั ไดแ้ ก่ การเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งประชากรสสู่ งั คมผสู้ งู อายอุ ยา่ งสมบรู ณ์ ในระยะเวลา 15 – 20 ปตี อ่ จากนไ้ี ป ขอ้ จากดั ดา้ นทรพั ยากรทง้ั แรงงานและทรพั ยากรธรรมชาติ ผลติ ภาพการผลติ ยงั ต่า และการพฒั นาและการใชน้ วตั กรรมมนี อ้ ย การลงทนุ เพอื่ การวจิ ยั และพฒั นามนี อ้ ย และมปี ญั หาความเหลอื่ มล้าในดา้ นตา่ ง ๆ และสง่ ผลใหข้ าดความสามคั คสี มานฉนั ทใ์ นสงั คม ขดี ความสามารถ ของทรพั ยากรยม์ นุษยย์ งั ต่า โครงสรา้ งพนื้ ฐาน ระบบโลจสิ ตกิ ส์ และบรกิ ารทางสังคมยงั ตอ้ งยกระดบั คณุ ภาพอยา่ งทวั่ ถึง รวมทง้ั ความออ่ นแอของการบริหารราชการแผ่นดนิ รวมทั้งยังจาเป็นต้องเร่งปฏิรูประบบราชการและการเมืองเพื่อให้เกิดการบริหาร ราชการแผน่ ดินทีม่ ปี ระสิทธภิ าพและโปรง่ ใส ลดคอรร์ ัปชัน และการปฏริ ปู กฎระเบยี บและกฎหมายใหท้ นั สมยั สาหรับเงื่อนไขภายนอกที่สาคัญและท้าทายต่อการพัฒนาประเทศไทยในอนาคตในระยะ 20 ปีข้างหน้า ที่สาคัญ ประกอบด้วย (1) กระแสโลกาภิวัตน์ท่ีเข้มข้นขึ้นอย่างต่อเนื่องและมีความเสี่ยงและท้าทายต่อการปรับตัวมากข้ึนจากการเคลื่อนย้าย อย่างเสรีและรวดเร็วของผู้คน เงินทุน ข้อมูลข่าวสาร องค์ความรู้และเทคโนโลยี และสินค้าและบริการ (2) การรวมกลุ่มเศรษฐกิจ ในภมู ภิ าคนาไปสคู่ วามเชอ่ื มโยงทุกระบบมีมากขึ้น ในขณะท่ีศูนย์รวมอานาจทางเศรษฐกิจโลกเคล่ือนย้ายมาสเู่ อเชยี (3) การเขา้ สสู่ งั คม สงู วัยของโลกสง่ ผลใหเ้ กดิ โอกาสทางธรุ กจิ ใหม่ ๆ แต่มีความเส่ียงให้เกิดการแย่งชิงแรงงานและเงินทุน (4) เทคโนโลยีที่ก่อให้เกิดการ เปล่ยี นแปลงอยา่ งฉับพลันจะเป็นโอกาสทางธุรกจิ และการดารงชวี ิตของคนได้อย่างมคี ณุ ภาพมากขึ้น แต่ในขณะเดยี วกันก็เป็นเงื่อนไขที่ ทาใหก้ ารแข่งขนั มีความยากลาบากมากขึน้ และหากไม่รเู้ ท่าทันการอาจสง่ ผลเสยี จากการนามาใช้ไมเ่ หมาะสม (5) สภาพแวดล้อมและการ เปล่ียนแปลงภมู ิอากาศโลกมีความผันผวน ความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติเพ่ิมข้ึน รวมท้ังมีความเสี่ยงต่อความมั่นคงด้านอาหาร น้า และพลังงาน กฏระเบียบและข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อมจะมีความเข้มข้นและเข้มงวดขึ้น (6) แนวโน้มความต้องการพลังงานสะอาด และพลังงานทดแทนเพ่ิมข้ึน ต้องสร้างสมดุลความม่ันคงด้านพลังงานและอาหาร (7) ความเป็นเมืองท่ีเติบโตอย่างต่อเน่ืองและมี ข้อกาหนดของรูปแบบและกฎเกณฑ์ท่ีเกี่ยวเนื่องกับลักษณะการใช้พ้ืนท่ี และความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (8) การยึดถือหลักการ บรหิ ารจดั การท่ีดีและระบอบประชาธปิ ไตยและสิทธิมนษุ ยชนที่มีความเข้มขน้ มากข้ึน

รา่ งยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 25 สว่ นท่ี 1 บนพ้ืนฐานการวิเคราะหส์ ถานการณ์และแนวโนม้ ในด้านตา่ ง ๆ ท้ังภายในประเทศและภายนอกประเทศ ท่ีบ่งช้ีถึงจุดแข็ง จุดอ่อน อนาคตประเทศไทย ีป พ.ศ. 2579 โอกาส และความเสี่ยงและภัยคุกคาม รวมทั้งความท้าทายในด้านต่าง ๆ การขับเคล่ือนการพัฒนาให้ประเทศเจริญก้าวหน้าไปใน อนาคตนั้น จาเป็นต้องกาหนดวิสัยทัศน์ในระยะยาวและกาหนดเป้าหมายภาพอนาคตประเทศไทยท่ีต้องบรรลุภายในปี 2579 ทั้งจากมุมมองดา้ นสภาพสังคมไทย คณุ ลกั ษณะของคนไทย ความก้าวหน้าของการพัฒนา ลักษณะปัจจัยพ้ืนฐานเชิงยุทธศาสตร์ ของการพัฒนาระบบบริหารราชการแผ่นดิน รูปแบบทางธุรกิจและฐานะทางเศรษฐกิจ และสาขาการผลิตและบริการที่โดดเด่น ประกอบดว้ ย (1) คนไทยคุณภาพและมคี วามเปน็ สากล (Quality Thais and Global Citizens) มีรายได้สงู มคี วามเป็นอยู่ที่ดีและมี ความสขุ (2) สังคมไทยทมี่ ีคณุ ภาพและเป็นธรรม การพัฒนามีความครอบคลุม ทั่วถึง ไม่ท้ิงใครไว้ข้างหลัง (Inclusive Thailand) (3) ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลก (Competitive Thailand) บนพ้ืนฐานของความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และนวตั กรรม มคี วามโดดเด่นในเศรษฐกิจฐานชวี ภาพและอตุ สาหกรรมและบริการแห่งอนาคต (New S-Curves) เปน็ แหลง่ ทอ่ งเท่ียว และบริการสุขภาพคุณภาพสูง โดยมีลักษณะของสังคมประกอบการที่ผลิตได้ขายเป็น และเศรษฐกิจฐานรากของประเทศมีความ หลากหลาย ครอบคลุม และแข็งแกร่ง (4) พื้นทพี่ ฒั นาพิเศษ ภาค และเมืองมคี วามโดดเดน่ มเี มอื งสีเขยี ว แข่งขนั ได้ และน่าอย่สู าหรบั ทุกคนกระจายท่ัวท้ังประเทศ (5) สังคมและเศรษฐกิจไทยที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Thailand) (6) ประเทศไทยมีความเป็น สากล เป็นหุ้นส่วนการพัฒนาที่มีบทบาทสร้างสรรค์ และมีบทบาทสาคัญในเวทีโลก (7) มีความมั่นคงในด้าน อาหาร น้า และ พลังงาน และเปน็ ประเทศทมี่ คี วามม่ันคงปลอดภัยในทุกระดบั และทกุ ดา้ น (Secured Thailand) และ (8) มีภาครัฐที่กระทัดรัด ทันสมัย โปรง่ ใส มีประสิทธิภาพ Quality Competitive and Global Thais Thailand คนไทยคณุ ภาพและมคี วาม ประเทศไทยในการแข่งขัน เป็นสากลมรี ายไดส้ ูง บนพน้ื ฐานความรู้ มคี วามเป็นอยู่ท่ีดแี ละ ความคดิ สรา้ งสรรค์ มีความสขุ Efficient Global ทนั สมยั กะทัดรดั โปรง่ ใส เป็นหุน้ สว่ นทมี่ ีบทบาท มปี ระสทิ ธภิ าพ สรา้ งสรรค์และสาคญั Livable Cities Inclusive Thailand Green Thailand Secured Thailand สังคมไทยทมี่ ีคณุ ภาพและ การพัฒนาเชงิ พนื้ ท่ี ภาค เปน็ ธรรม การพัฒนา สังคมและเศรษฐกจิ ไทย มีความม่ันคงด้านอาหาร และเมอื งมีความโดดเด่น มีความครอบคลมุ ทัว่ ถึง ทเี่ ปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดล้อม นา้ พลงั งาน ไม่ท้งิ ใครไว้ขา้ งหลัง และปลอดภัย แขง่ ขันได้ นา่ อยู่ ในทกุ ระดบั ทกุ ดา้ น สาระสาคญั ของร่างยทุ ธศาสตรช์ าตฉิ บับน้ี ประกอบดว้ ย วิสัยทศั น์ เปา้ หมายอนาคตของชาติทีค่ นไทยทกุ คนต้องการ บรรลุร่วมกัน รวมท้ังยุทธศาสตร์หลัก/นโยบายแห่งชาติและมาตรการเฉพาะ ซ่ึงเป็นแนวทาง ทิศทาง และวิธีการท่ีทุกองค์กร และคนไทยทกุ คนตอ้ งมุ่งดาเนนิ การไปพรอ้ มกนั อยา่ งประสานสอดคลอ้ ง เพือ่ ให้บรรลซุ ึ่งสิ่งท่ีคนไทยทุกคนต้องการคือ ประเทศไทย มีความม่ันคง ม่ังค่ัง และย่ังยืน ในทุกสาขาของกาลังอานาจแห่งชาติ อันได้แก่ การเมืองภายในประเทศ การเมืองต่างประเทศ เศรษฐกิจ สังคมจติ วิทยา การทหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร และคนไทยทุกคนอยู่ดีมีสุข

ร่างยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 26 ส่วนท่ี 1 ภาพอนาคตประเทศไทยในอนาคตอีก 20 ปีข้างหน้า อนาคตประเทศไทย ีป พ.ศ. 2579 เป้าหมายอนาคตประเทศไทย ปี 2579 : ร่วมมือกันขับเคล่ือนประเทศให้ก้าวไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ประเทศไทยมีความมั่นคงในทุกระดับและทุกมิติ มีความพร้อมในการป้องกันภัยคุกคามทุกรูปแบบจากภายในและภายนอกประเทศ เป็นที่ยอมรับของประชาคมโลก การเมืองมีเสถียรภาพ สังคมมีความสามัคคีปรองดอง ประชาชนมีความสุข และมีความมั่นคงด้านอาหาร น้า และพลังงาน เศรษฐกจิ และสงั คมไทยมกี ารพัฒนาอยา่ งม่นั คงและย่ังยืน โดยสถาบันหลักของชาติดารงอยู่อย่างม่ันคงเป็นจุดยึดเหน่ียวของสังคมมีความ สามัคคีของคนในชาติ มีความสงบและอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในทุกพื้นที่ และมีระดับรายได้ในกลุ่มประเทศรายได้สูง มีความเป็นธรรมในสังคม และความเหลอ่ื มลา้ ลดลงในทุกมิติ ประเทศไทยมบี ทบาทสาคญั ในภมู ิภาคและโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่ผลิตได้ขายเป็น การพัฒนาเศรษฐกิจ ตั้งอยู่บนฐานฟิสิกส์ ฐานดิจิทัล และฐานชีวภาพ มีการเติบโตอย่างมี คุณภาพ กระจายฐานการผลิตและบริการไปในพ้ืนที่ต่าง ๆ อย่างท่ัวถึง มีเสถียรภาพ แข่งขันบนฐานการพัฒนาและใช้นวัตกรรม และมีฐานการ ผลิตบริการ และการลงทุนที่เช่ือมโยงในอาเซียน ซึ่งล้วนเป็นพ้ืนฐานสาคัญให้ประเทศพัฒนาเข้าสู่การมีรายได้สูงภายในปี 2579 แลเป็นประ เทศ พฒั นาแล้ว ภาคเกษตร เป็นฐานการผลิต bio-bases ท่สี าคญั เปน็ ฐานการผลิตอาหารทมี่ น่ั คงและปลอดภยั และเปน็ ฐานการผลติ ท่มี ีผลิตภาพการผลิตสูง มีระบบบรหิ ารจดั การท่ีดดี ้านประมง ภาคอุตสาหกรรม ฐานอุตสาหกรรมเดิมมีศักยภาพสูงขึ้น มีอุตสาหกรรมอนาคตที่ได้รับการพัฒนาให้เป็นฐานรายได้ใหม่ โดยมุ่งสู่การเป็น ศูนย์กลางการผลิต การค้า และการลงทุนในอนุภูมิภาคและภูมิภาคอาเซียน เช่น ศูนย์การผลิตรถยนต์และชิ้นส่วน ศูนย์ทดสอบและวิจัยพัฒนา รถยนตแ์ ละช้ินส่วนเอเซยี ศนู ย์กลางการผลิตพลงั งาน/วสั ดชุ วี ภาพของภูมภิ าคอาเซียน ศนู ยก์ ลางผลติ อตุ สาหกรรมดจิ ทิ ัล เปน็ ต้น ภาคบริการ ธุรกิจบริการเดิมได้รับการพัฒนายกระดับคุณภาพและศักยภาพให้สูงข้ึน เช่น การขนส่ง ท้ังทางบก ทางอากาศ และทางทะเล และส่งเสรมิ ธรุ กจิ บรกิ ารอนาคตใหเ้ ป็นฐานรายด้ใหม่ โดยมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางการลงทุนและการให้บริการของภูมิภาคอาเซียน เช่น ศูนย์กลาง การให้บริการสุขภาพของภูมิภาคอาเซียน เมืองหลวงแห่งการท่องเท่ียวและบริการของอาเซียน ศูนย์บริการทางการเงิน การศึกษานานาชาติ และบรกิ ารด้านโลจสิ ตกิ ส์ วิสาหกิจและการดาเนนิ ธุรกจิ วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ มเข้มแข็ง เปน็ ฐานการผลติ และบรกิ ารท่ีสาคัญของประเทศ คนไทยในอนาคต มีศักยภาพในการร่วมกันพัฒนาประเทศ สามารถปรับตัวรองรับบริบทการพัฒนาในอนาคต มีความพร้อมทั้งกายใจ สตปิ ัญญา มที ักษะในการวิเคราะห์อย่างมเี หตุผล มีการเรียนรู้ตลอดชวี ติ มภี มู ิคมุ้ กันตอ่ การเปล่ียนแปลง มีจิตสานึกวัฒนธรรมท่ีดีงาน คุณค่า ความเปน็ ไทย และมีความรบั ผดิ ชอบ เป็นรากฐานทม่ี นั่ คงของชมุ ชน สังคม รักชาติ และสถาบันพระมหากษัตริย์ สังคมไทยเปน็ สังคมทเ่ี ปน็ ธรรม มีความเหล่ือมล้าน้อย อัตราความยากจนต่า มีการกระจายโอกาสเข้าถึงทรัพยากรสร้างฐานอาชีพ บริการ ทางสงั คมที่มคี ณุ ภาพ และกระบวนการยุตธิ รรมอยา่ งท่วั ถงึ ไมม่ ีคอร์รัปช่นั โดยท่ปี ระชาชนทุกช่วงวัยมคี ุณภาพชวี ิตที่ดี ครอบครวั อยดู่ ีมีสุข เศรษฐกิจและสังคมพัฒนาอย่างเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เป็นประเทศท่ีมีระบบเศรษฐกิจสีเขียว ระดับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่า มพี ื้นที่สีเขยี วใหญ่ขนึ้ ประชาชนมีพฤติกรรมการผลิตและการบรโิ ภคที่เป็นมติ รต่อสิ่งแวดลอ้ ม ระบบการบรหิ ารภาครัฐมีประสิทธิภาพ ทนั สมัย รับผิดชอบ โปร่งใส ตรวจสอบไดแ้ ละประชาชนมีส่วนร่วม กระจายอานาจและมีการกาหนด ภารกจิ ท่เี หมาะสมระหว่างส่วนกลาง ภูมิภาค และท้องถน่ิ ภาครัฐกะทัดรัด โปรง่ ใส มปี ระสิทธิภาพ

รา่ งยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 27 ส่วนท่ี 1 ในการที่จะก้าวเดินไปให้บรรลุเป้าหมายอนาคตประเทศไทยท่ีกาหนดร่วมกัน ทุกภาคส่วน อนาคตประเทศไทย ีป พ.ศ. 2579 อย่างมเี อกภาพและไมท่ ้งิ ใครไวข้ ้างหลัง ประชาชนไทยทุกภาคส่วนจะต้องร่วมมือกัน ต้องร่วมมือกัน ในการขับเคล่ือนการพัฒนาด้านต่างๆ อย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง โดยมีประเด็น เพื่อขับเคลื่อน การพัฒนาสาคญั ท่เี ป็นคานงดั หรือตวั พลิกโฉมประเทศ ประกอบด้วย ป ร ะ เ ด็ น ก า ร (1) การพัฒนาคน/ทรัพยากรมนุษย์ ในทุกช่วงวัย และเป็นการพัฒนาในทุกมิติ ทั้งด้านความรู้ ทักษะ ทัศนคติ สุขภาพกายและจิตใจ และจิตวิญญาณอย่าง พั ฒ น า ท่ี เ ป็ น จรงิ จัง เพื่อใหค้ นไทยเปน็ คนคุณภาพอย่างแทจ้ รงิ ค า น งั ด (2) การแก้ปัญหาความเหลื่อมล้าและสร้างความเป็นธรรมในสังคม โดยเฉพาะ พ ลิ ก โ ฉ ม อย่างยง่ิ จากการใหบ้ ริการทางสงั คมคุณภาพสงู อย่างทว่ั ถึง ประเทศ (3) การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรมให้ (Smart ก้าวหน้าทันโลกที่ตอบโจทย์การผลิตและบริการท่ีมีมูลค่าสูงและแข่งขันได้และมี Thailand คุณคา่ ทท่ี าให้คุณภาพชวี ติ ดี โดยการสร้างสภาวะแวดล้อมและปัจจัยสนับสนุน New Generation) ที่เอื้อต่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม ตลอดห่วงโซ่มูลค่า เพอื่ ก้าวขา้ มกบั ดักการเป็นผู้ซือ้ เทคโนโลยไี ปสกู่ ารเปน็ ผผู้ ลติ และขายเทคโนโลยี (4) การปรับโครงสร้างภาคการผลิตและบริการที่มุ่งสู่คุณภาพ มาตรฐาน และ ความย่งั ยนื รวมถึงการส่งเสริมระบบเศรษฐกิจศักยภาพสูงบนฐานของการ เพ่มิ ผลิตภาพ เพอ่ื สรา้ งมูลคา่ เพ่มิ สาหรับการพัฒนาเศรษฐกิจและคุณค่าเพิ่ม สาหรบั การพฒั นาสังคม (5) การปฎิรูปภาครัฐและกฎหมาย กฏระเบียบ เพื่อสร้างความโปร่งใส มีประสิทธภิ าพ ใหบ้ รกิ ารคุณภาพอย่างทั่วถงึ ทวั่ ถึง และเปน็ ธรรม

รา่ งยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 28 สว่ นที่ 1 อนาคตประเทศไทย ีป พ.ศ. 2579 ท้ังนี้ ภายใต้แต่ละประเด็นหลัก การกาหนดแนวทางและมาตรการในการขับเคลื่อนจาเป็นต้องมีการวิเคราะห์อย่างลุ่มลึก และปัจจัยแวดล้อมรอบด้านท่ีจะนาไปสู่การวางแผนดาเนินการตามลาดับก่อน -หลังของการขับเคล่ือนการพัฒนาด้านต่างๆ อย่างเป็นระบบโดยคานึงถึงความเชื่อมโยงท่ีเป็นเหตุและผล รวมท้ังผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมที่บ่งช้ีถึงทางเลือกทาง นโยบายและการกาหนดแนวทางในการรองรับผลกระทบท่ีไม่พึงประสงค์ พร้อมท้ังกาหนดบทบาทของภาคีท่ีเกี่ยวข้อง โดยกาหนด ผู้มีบทบาทหลักและบทบาทสนับสนุนในการพัฒนาแต่ละประเด็นที่สามารถผลักดันขับเคลื่อนในระดับปฏิบัติได้ชัดเจน นอกจากน้ีการ จัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศตามแนวยุทธศาสตร์ชาติจะต้องมุ่งเน้นประเด็นเชิงบูรณาการท่ีมีลักษณะของ ความเป็นปัจจัยร่วมภายใต้กลุ่มประเด็นพัฒนาสาคัญและยุทธศาสตร์หลักในด้านต่าง ๆ และจะต้องมุ่งเน้นให้สามารถขับเคล่ือนได้ อยา่ งต่อเนื่อง โดยมกี ารกาหนดเปน็ เป้าหมายที่จะตอ้ งบรรลใุ นแต่ละชว่ งเวลา จากความจาเป็นที่จะต้องมีการวางรากฐานที่เข้มแข็งสาหรับการพัฒนาประเทศไทยในอนาคตในระยะยาว โดยต้องมีการ ดาเนินการอย่างต่อเนื่องและมีบูรณาการ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 จึงได้กาหนดให้รัฐพึงจัดให้มี ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนในระยะยาวตามหลักธรรมาภิบาล เพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดทา แผนต่างๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกันเพื่อให้เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมายดังกล่าว “ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579)” จึงเป็นหัวใจหลักของการปฏิรูประบบการบริหารราชการแผ่นดินของประเทศไทย เพื่อให้เป็นกลไกการ ขับเคลื่อนการพัฒนาไปสู่เป้าหมายอนาคตของประเทศที่พึงประสงค์ได้อย่างไม่ชะงักงัน อีกทั้งยังเป็นการกาหนดให้ฝ่ายบริหารมี ความรับผิดชอบร่วมกันท่ีจะต้องขับเคลื่อนประเทศไปสู่เป้าหมายที่กาหนดอย่างมีเอกภาพตามกาหนดช่วงระยะเวลาต่าง ๆ ด้วย ทั้งนี้ ร่างยุทธศาสตร์ชาตฉิ บบั นี้ ไดม้ ีการพจิ ารณาจากทกุ มติ ิ ท้ังในมิติของประเดน็ การพัฒนา (Issue-based) มิติการพัฒนาราย สาขา (Sector-based) และมติ ิการพัฒนาเชิงพนื้ ที่ (Area-based) โดยทป่ี ระชาชนทุกภาคส่วนมีบทบาทสาคัญต้ังแต่ในข้ันตอน การจดั ทา การขับเคลื่อนสู่การปฏิบตั ิ และการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลท่ีเกิดขึ้น เกิดเป็นพลังร่วมในการก้าวไปสู่เป้าหมาย อนาคตประเทศตามยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปนี ้ี สาระสาคัญของยุทธศาสตรช์ าตฉิ บับนี้ ประกอบด้วย วสิ ยั ทศั นแ์ ละเป้าหมายของชาติท่ีคนไทยทุกคนต้องการบรรลุร่วมกัน รวมทง้ั นโยบายแหง่ ชาตแิ ละแนวทางการพัฒนาท่ที กุ องคก์ รและคนไทยทกุ คนต้องมุ่งดาเนินการไปพรอ้ มกนั อย่างประสานสอดคล้อง เพื่อให้บรรลุซ่ึงส่ิงท่ีคนไทยทุกคนต้องการคือ ประเทศไทยม่ันคง ม่ังคั่ง และยั่งยืน ในทุกสาขาของกาลังอานาจแห่งชาติ อันได้แก่ การเมืองภายในประเทศ การเมืองต่างประเทศ เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา การทหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร เป็นตน้

2สว่ นที่ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ก า ร พั ฒ น า แ ล ะ ค ว า ม ท้ า ท า ย ท่ี ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ต้ อ ง พ ร้ อ ม จ ะ เ ผ ชิ ญ

ร่างยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 30 ส่วนท่ี 2 ความท้าทายทปี่ ระเทศไทยตอ้ งพร้อมจะเผชิญ สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา ในอนาคต 20 ปีข้างหน้า บริบทและสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกประเทศมีแนวโน้มท่ีจะเปล่ียนแปลงรวดเร็ว พลวัตรสูง และ ซับซ้อนหลากหลายมิติ ซงึ่ จะส่งผลตอ่ อนาคตการพฒั นาประเทศไทยอย่างมาก ประเทศไทยจึงจาเป็นต้อง “รู้เทา่ ทัน” และ “เข้าใจ” บริบทต่างๆ เหล่านี้อย่างลึกซ้ึง ทั้งโอกาสท่ีจะเกิดขึ้นและความเส่ียงความท้าทายท่ีต้องบริหารจัดการได้อย่างชาญฉลาดและ ทันเหตุการณ์ เพ่ือที่จะกาหนดกลยุทธ์ทั้งเชิงรุกในการใช้ประโยชน์จากโอกาสที่เกิดขึ้นและเชิงรับในการบริหารความเส่ียงบนพื้นฐาน ของความเข้าใจถึง “จุดแข็ง” และ “จุดอ่อน” ของประเทศอย่างรอบด้านโดยเฉพาะอย่างย่ิงลักษณะในเชิงโครงสร้างท้ังทาง เศรษฐกิจและสังคมของประเทศภายใต้ภาพอนาคตประเทศไทยที่กาหนดเป็นเป้าหมายและตาแหน่งเชิงยุทธศาสตร์ของประเทศท่ีชัดเจน ในการทจี่ ะพัฒนาประเทศไทยไปสูค่ วามเป็นประเทศทพ่ี ฒั นาแลว้ ให้ไดภ้ ายในปี 2579 เข้าใจบริบทโลกและสถานการณ์ภายใน สถานการณ์และแนวโน้มโลกในอนาคตมีหลากหลายมิติ และมีความซับซ้อนเก่ียวพันซึ่งกันและกันอย่างมาก คาถามท่ีสาคัญสาหรับประเทศไทย คือ บริบทที่จะเกิดข้ึนเหล่าน้ันจะส่งผลต่อประเทศไทยอย่างไร จะบริหารจัดการ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและลดความเสี่ยงหรือผลกระทบให้ต่าสุดได้อย่างไร สาหรับแนวโน้มการเปล่ียนแปลง ของบริบทโลกท่ีสาคัญท่ีจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศไทยในอนาคตอย่างมากและเป็นแนวโน้มที่มีโอกาสสูงที่จะเกิดข้ึน ในบางเร่ืองนั้นแทบจะกล่าวได้ว่า จะเกดิ ข้ึนอย่างแนน่ อน แนวโน้มบรบิ ทโลกท่สี าคญั อาจจาแนกเปน็ 5 ดา้ น คือ ........ ดา้ นการเมืองและความม่ันคงโลก การพัฒนาอยา่ งก้าวกระโดดดา้ นเทคโนโลยี ด้านโครงสร้างประชากรและกระแสสงั คมโลก แนวโน้มสถานการณแ์ ละระบบเศรษฐกิจโลก และด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศและสงิ่ แวดลอ้ มโลก แนวโน้มบรบิ ทท้งั 5 ดา้ นดังกล่าวจะสง่ ผลอย่างมากตอ่ รปู แบบและเวทกี ารแขง่ ขันทางธรุ กิจ (Business Model and Competition Platform) ระบบและปฏิสัมพันธ์เชิงสังคม (Social System and Interaction) และคุณภาพชีวิตและความมั่นคงของมนุษย์ ซ่งึ จะเปน็ ทั้งโอกาสและความท้าทายสาหรับประเทศไทยในการท่จี ะพัฒนาไปส่เู ป้าหมายท่ีพึงประสงคใ์ นระยะยาว สาหรับปัจจัยและแนวโน้ม ปัจจัยภายในประเทศท่ีเป็นจุดแข็งและจุดอ่อนที่สาคัญประกอบด้วย โครงสร้างทางประชากร และสถานการณ์ทางสังคมไทย ปัญหาความเหล่ือมล้า การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและพัฒนาและนวัตกรรม ส ถ า นก า ร ณ์ แ ล ะ โค ร ง ส ร้ า ง ทา ง เ ศร ษ ฐ กิ จ ขี ด ค ว า ม ส า มา ร ถ ใน ก า รแ ข่ ง ขั น ส ถ า น กา ร ณ์ แ ล ะ แ นว โ น้ ม ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการบริหารจัดการภาครัฐ ซ่ึงปัจจัย และสถานการณ์ภายในประเทศ ดังกล่าวเมื่อเผชิญหรือบรรจบเข้ากับการเปลี่ยนแปลงในบริบทโลกแล้วอาจจะสร้างโอกาสและก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ การพัฒนาประเทศโดยใช้ยุทธศาสตร์เชิงรุกบนพื้นฐานของจุดแข็งที่มี หรืออาจจะกลายเป็นความเส่ียง และภัยคุกคามที่บริหารจัดการเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายจากจุดอ่อนท่ามกลางปัจจัยเสี่ยงและความท้าทายจาก ปัจจัยภายนอกประเทศ

ร่างยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 31 ส่วนที่ 2 ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ก า ร พั ฒ น า ท่ี ต้ อ ง เ ต รี ย ม ตั ว สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา เผชิญในระยะ 20 ปี ข้างหน้า

รา่ งยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 32 ส่วนท่ี 2 1 สถานการณ์และแนวโน้มด้านความม่ันคง สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา สถานการณแ์ ละแนวโนม้ ดา้ นความม่นั คงระดับโลก ระดับภูมิภาค และภายในประเทศ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านความม่ันคง ในแต่ละหว้ งเวลา โดยภัยคุกคามรปู แบบใหม่ที่เกิดขึน้ และภยั คุกคามทางทหารจะส่งผลสาคัญต่อการดาเนินนโยบายและยุทธศาสตร์ ของประเทศไทย เพื่อให้คนในชาติมีภมู คิ ุม้ กนั และมคี วามพรอ้ มในการเผชิญกับปัญหาที่เกิดข้ึน ทั้งน้ี การวิเคราะห์สถานการณ์และ แนวโน้มด้านความม่ันคง ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ สถานการณ์ความมั่นคงในระดับโลก สถานการณ์ความมั่นคงในระดับ ภมู ภิ าค สถานการณค์ วามมั่นคงภายในประเทศ และประเดน็ ทา้ ทายและผลกระทบด้านความมนั่ คงของไทย 1.1 สถานการณ์และแนวโนม้ ดา้ นความมัน่ คงในระดับโลก 1.1.1 การเมืองระหว่างประเทศ ประเทศมหาอานาจโดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน สหพันธรัฐ รัสเซยี ยงั คงมบี ทบาทสาคญั ในเวทีโลกและมกี ารแขง่ ขนั การขยายอิทธิพลทางเศรษฐกจิ และการทหารไปยังประเทศและภูมิภาคต่างๆ เพื่อแสวงหาและรักษาผลประโยชน์ รวมท้ังเปน็ การถว่ งดลุ ระหวา่ งขว้ั อานาจตา่ ง ๆ ยุโรปจะมกี ารปรบั โครงสร้างทางเศรษฐกิจและ ร่วมมือกับสหรัฐฯ ในการต่อต้านการก่อการร้ายและรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ในขณะที่ภูมิภาคตะวันออกกลางยังคง ประสบความขัดแย้งรุนแรง และจะประสบแรงกดดันจากชาติตะวันตกในการรื้อฟ้ืนรัฐเคาะลีฟะฮ์2 เช่นเดียวกับภูมิภาคเอเชียกลางที่ ยังคงขาดเสถียรภาพและเป็นแหล่งอิทธิพลของจีนและรัสเซีย สาหรับแอฟริกาจะกลายมาเป็นพื้นท่ียุทธศาสตร์และตลาดการค้าที่ สาคัญ รองจากเอเชียแมจ้ ะยังคงประสบกับความรุนแรงและการพัฒนาท่ีล่าช้า ในขณะเดียวกัน ยังมีความเส่ียงที่จะเกิดปัญหา ความขัดแยง้ ด้านเขตแดนในหลายพืน้ ทีข่ องโลกโดยยังไม่มีแนวโนม้ ยตุ ิในอนาคตอนั ใกล้และจะส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศ การสะสมอาวุธและการเพ่ิมขีดความสามารถทางการทหาร สถานการณ์และโครงสร้างการเมืองระหว่างประเทศรวม ทั้งความเส่ียงความขัดแย้ง นับเป็นบริบทสาคัญในการกาหนดนโยบาย/ยุทธศาสตร์/ท่าทีของไทยท่ามกลางพลวัตของ ภูมิรัฐศาสตร์โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่าทีของมหาอานาจต่าง ๆ การกลุ่มทางเศรษฐกิจในภาคส่วนต่าง ๆ ของโลก และการเกิด ขว้ั อานาจทางเศรษฐกจิ ใหม่ ๆ 1.1.2 องค์การระหวา่ งประเทศและบรรษัทขา้ มชาติ จะยังมีบทบาทและความสาคญั ในการกาหนดระเบยี บ กติกาและทิศทาง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศรวมท้ังมาตรฐานสากลในด้านต่าง ๆ มากขึ้น โดยท่ีสหประชาชาติเป็นองค์การระหว่างประเทศ ใหค้ วามสาคัญในการรักษาสันติภาพและความมั่นคงของโลก นอกจากนี้ องค์การระหว่างประเทศอื่นๆ ท่ีมีบทบาทสาคัญในการ กาหนดกติการะหวา่ งประเทศที่ส่งผลกระทบต่อการบรหิ ารราชการของประเทศอ่ืนๆ ให้ต้องปฏิบัติตาม อาทิ การกาหนดกฎการ บินปลอดภยั ขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO) องค์การระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน และองค์กรที่เฝ้า ระวงั ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม เป็นตน้ จึงนับเป็นความจาเป็นท่ีประเทศไทยในฐานะท่ีเป็นสมาชิกของประชาคมโลกจะต้องสร้างความ พรอ้ มในการที่จะยกระดบั มาตรฐานและมกี ารปฏิบัตใิ ห้เป็นไปตามระเบียบกติกาสากลในดา้ นต่าง ๆ 1.1.3 ความเสี่ยงปัญหาความมั่นคงโลก ในระยะ 20 ปีข้างหน้าในขณะท่ีประเทศต่างๆ จะยังคงแข่งขันกันเพ่ือขยาย อิทธพิ ลด้านต่างๆ ดงั กลา่ วแล้ว มแี นวโน้มวา่ ตวั แสดงท่ีไมใ่ ช่รฐั จะพยายามเพ่มิ บทบาท ซง่ึ จะส่งผลใหป้ ญั หาความม่ันคงของโลก ขยายขอบเขตจากเดมิ ทม่ี ุ่งเน้นความม่นั คงทางการทหารเป็นหลัก ปญั หาความมั่นคงรูปแบบใหม่ท่ีจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคง ของมนุษย์ได้มากประกอบด้วยประเด็นปัญหาหลักหลายประการ อาทิ ปัญหาการก่อการร้าย ท่ีจะมีความซับซ้อนมากข้ึนทั้ง รูปแบบและวิธกี ารกอ่ การร้าย โดยจะอาศัยช่องทางอนิ เทอรเ์ นต็ ในการชวนเชื่อและบม่ เพาะแนวคิดหวั รนุ แรงกับบุคคล ท้ังนี้เปา้ หมาย การก่อการร้ายจะมุ่งโจมตีสถานที่สาธารณะท่ีส่งผลกระทบต่อความเสียหายจานวนมาก ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ จะมีการ ขยายตัวและทวีความรุนแรงมากขึ้น ซ่ึงเป็นผลมาจากการพัฒนาทางเทคโนโลยีและการเช่ือมโยงระหว่างกัน โดยปัญหา อาชญากรรมขา้ มชาตทิ ส่ี าคญั ในระดับโลก ไดแ้ ก่ ปญั หาการลกั ลอบคา้ อาวธุ ปญั หาอาชญากรรมทางเศรษฐกิจท้ังด้านการเงิน และทรัพย์สนิ ทางปญั ญา ปญั หาอาชญากรรมคอมพวิ เตอรท์ ม่ี คี วามเชือ่ มโยงกับการก่ออาชญากรรมอื่นๆ อาทิ การฟอกเงิน การปลอมแปลงบัตรเครดิต การขโมยหรอื ปลอมแปลงขอ้ มลู สว่ นบุคคล และปญั หาอาชญากรรมสิง่ แวดล้อม อาทิ การลกั ลอบ ค้าสัตว์ป่า การลักลอบค้าไม้ การลักลอบขนส่งแร่ธาตุข้ามแดน และการลักลอบขนย้ายและค้าพลังงานและน้ามันเช้ือเพลิง และปัญหาความมั่นคงทางไซเบอร์ จะมีความรุนแรงมากขึ้นและสร้างความเสียหายที่เป็นวงกว้างในเชิงระบบได้มากขึ้น โดยเฉพาะ ปัญหาการใช้ชอ่ งทางไซเบอร์ในการจารกรรมข้อมูล การโจมตีโครงสรา้ งพน้ื ฐานสาธารณูปโภค *เขตปกครองท่ีมปี ระมขุ ของอาณาจกั รอิสลามปกครอง

รา่ งยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 33 สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา สว่ นท่ี 2 1 สถานการณ์และแนวโน้มดา้ นความมั่นคง นอกจากน้ี ยังมีความเสี่ยงที่จะกระทบคุณภาพชีวิตและความม่ันคงของมนุษย์ในภาพรวมที่จะกดดันให้นานาชาติต้องร่วมมือ เพ่อื บริหารจัดการความเสี่ยงดว้ ยกนั และประเทศไทยเองจะต้องวางระบบการบริหารจัดการความเสย่ี งไว้ลว่ งหน้าอย่างรอบคอบ อาทิ ความเส่ียงจากการเปล่ียนแปลงผนั ผวนของสภาพภูมิอากาศ และภยั ธรรมชาตทิ ีม่ รี ะดับความรนุ แรงมากข้นึ ความเสี่ยงต่อ ความม่ันคงด้านอาหารและแหล่งน้า อันเป็นผลกระทบต่อเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ ที่รุนแรง โดยมีการคาดการณ์วา่ ใน พ.ศ. 2493 จะมีประชากรท่ีประสบภาวะหิวโหยมากถึง 130 ล้านคน รวมท้ังความเส่ียงต่อ ความมั่นคงด้านพลังงาน อันเน่ืองมาจากข้อจากัดของปริมาณพลังงานเทียบกับความต้องการพลังงานท่ีเพิ่มขึ้นของโลก ส่งผลให้มีการแสวงหาพลังงานใหม่ๆ ซ่ึงอาจนาไปสู่ความขัดแย้งระหว่างประเทศได้ และในขณะเดียวกันก็จะนาไปสู่การพัฒนา เทคโนโลยี การวิจัยและการพัฒนาพลังงานทางเลือกและรูปแบบการเก็บกักพลังงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น และการพัฒนา รปู แบบการคมนาคมขนส่งและยานพาหนะทใ่ี ช้พลงั งานทางเลอื กทีส่ ะอาดและประหยดั พลังงานจะมีความก้าวหนา้ อย่างก้าวกระโดด 1.2 สถานการณแ์ ละแนวโนม้ ความมน่ั คงในภมู ิภาค 1.2.1 การรวมกลุ่มความร่วมมือระหว่างประเทศในระดับภูมิภาคเพื่อสร้างพลังทางเศรษฐกิจและรักษาความม่ันคง ร่วมกนั และการขยายอทิ ธพิ ลของมหาอานาจในภมู ิภาค ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วในทุกด้าน กอปรกับจะมกี ารรวมตวั กนั มากข้นึ ผ่านกลไกประชาคมอาเซียน ประชาคมอาเซียนจะมีความเชื่อมโยงและรวมตัวกันในหลากหลาย มิติมากขึ้น ท้ังทางด้านการเมือง ความม่ันคง เศรษฐกิจ และสังคม อันจะนาไปสู่การเสริมสร้างพัฒนาการทางการเมืองและ เศรษฐกิจของประเทศสมาชิก รวมทั้งมีลักษณะเป็นภูมิภาคไร้พรมแดนมากขึ้นจากการเชื่อมโยงผ่านเส้นทางคมนาคมและ ข้อตกลงการขนส่งข้ามแดน การอานวยความสะดวกทางการค้าและความเช่ือมโยงของผู้คนในภูมิภาค อย่างไรก็ตาม การเป็น ประชาคมเปน็ ความทา้ ทายโดยเฉพาะการทป่ี ระเทศสมาชกิ ยงั มลี ักษณะการปกครองและเศรษฐกิจทแี่ ตกตา่ งกัน การสร้างความเป็น ประชาคมและการเปิดกว้างของการติดต่อระหว่างกันอย่างเสรีทาให้มีความเสี่ยงที่จะเกิดผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นการย้ายถ่ินฐานของประชากรในภูมิภาค และการขยายตัวของอาชญากรรมข้ามชาติและเศรษฐกิจ นอกระบบและในขณะเดียวกันก็ส่งผลใหม้ ีแนวโน้มของการแขง่ ขนั และการขยายอิทธพิ ลของชาติมหาอานาจ ทั้งในรูปแบบของการ ใช้พลังอานาจทางทหารและทางเศรษฐกจิ เพื่อให้ไดม้ าซ่ึงประโยชนข์ องตน และการเข้ามาแทรกแซงกิจการภายในของประเทศต่างๆ ในภูมิภาค กอปรกับพื้นท่ีทางทะเลของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีมูลค่าสูงและมีความสาคัญในเชิงภูมิรัฐศาสตร์ โดยเป็น จุดยุทธศาสตร์เส้นทางการเดินเรอื ทสี่ าคญั ของโลกและเปน็ แหล่งทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลท่ีสาคัญ ส่งผลให้มหาอานาจมุ่ง ที่จะรักษาและแผข่ ยายอิทธพิ ลของตนเองในพนื้ ทด่ี งั กล่าว 1.2.2 ความขัดแย้งทางดินแดน ประเทศที่ยังคงมีปัญหาความไม่ชัดเจนของเส้นเขตแดนและอาณาเขตทางทะเลระหว่าง กัน รวมถึงการขยายบทบาทของมหาอานาจที่เข้ามาแสวงประโยชน์ ทาให้ประเทศเอเชียมีการเพิ่มงบประมาณและ ขีดความสามารถทางการทหารอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้การที่ประเทศในภูมิภาคยังขาดแนวทางในการบริหารจัดการความ ขดั แย้งและข้อพิพาทรว่ มกันจะส่งผลให้เกดิ ความเส่ียงตอ่ การใช้ความรุนแรงระหว่างกัน 1.2.3 ปัญหาการย้ายถ่ินฐานของประชากร การย้ายถิ่นฐานของประชากรระหว่างกันและจากประเทศอื่นๆ เข้าสู่ ประเทศไทยยังคงมีอยู่ โดยที่บางส่วนจะมีลักษณะผิดกฎหมายและประสบปัญหาการผลักดันกลับสู่ประเทศต้นทาง ส่งผลให้มีผู้ ย้ายถิ่นจานวนมากยังตกค้างอยู่ในประเทศไทย และเกิดปัญหาอื่นๆตามมา เช่น ปัญหาสาธารณสุข ปัญหาสถานะและสิทธิของ บุคคลตามกฎหมาย ปัญหาการศึกษา ปัญหาความขัดแย้งกับชุมชนชาวไทยซ่ึงหากขยายตัวและมีความรุนแรงมากขึ้นจะส่งผล กระทบตอ่ ความสงบของประเทศและการพฒั นาเศรษฐกิจและความสงบเรียบร้อยของสังคม ดังนั้นจึงความจาเป็นที่จะต้องวาง ระบบป้องกันและแก้ไขปญั หาให้มปี ระสิทธิภาพ รวมทั้งควรมีการกาหนดนโยบายการย้ายถิ่นท่ีชัดเจนเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลน แรงงานภายใตโ้ ครงสรา้ งประชากรสงู อายุ โดยมงุ่ เนน้ กลุ่มแรงงานฝมี อื และมีคุณภาพมากขึน้ สาหรับความเส่ียงต่อความมั่นคงจากปัญหาอ่ืน ๆ น้ันมีความเช่ือมโยงต่อเนื่องจากปัญหาในระดับโลก อาทิ ปัญหา โรคระบาด ภัยพิบัติ ปญั หาการก่อการร้าย ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความม่ันคงด้าน อาหาร น้า และพลังงาน ความมั่นคงและการรักษาผลประโยชนท์ างทะเล และความมัน่ คงปลอดภยั ทางไซเบอร์ เปน็ ตน้

ร่างยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 34 ส่วนที่ 2 1 สถานการณ์และแนวโน้มดา้ นความม่นั คง สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา 1.3 สถานการณ์และแนวโน้มความมน่ั คงภายในประเทศ สถานการณ์ท่ีส่งผลกระทบต่อความม่ันคงภายในประเทศ มีแนวโน้มเป็นปัญหาที่ยังดารงอยู่ โดยบางปัญหามีสาเหตุจาก ปัจจัยแวดล้อมภายนอกประเทศและความเหลื่อมล้าทางสังคมที่ทาให้ปัญหาเหล่าน้ีขยายตัวขึ้นจนเป็นส่ิงท้าทาย ในการบริหารจัดการเพ่ือรักษาความม่ันคงของประเทศ อาทิ การหมิ่นสถาบันหลักของชาติ ความไม่สงบในจังหวัด ชายแดนภาคใต้การทุจริตและประพฤติมิชอบ ความเช่ือมั่นในการบริหารประเทศตามหลกั นติ ิธรรม ยาเสพติด ความไม่มนั่ คง ทางการเมือง ประกอบกับความยากไร้ทางเศรษฐกิจของประเทศทาให้เกิดความขัดแย้งของคนในชาติ ทสี่ ่งผลต่อความสามัคคี เกดิ ความวนุ่ วาย การเมืองขาเสถยี รภาพสง่ ผลใหก้ ารพฒั นาเศรษฐกจิ ชะงดั งันเปน็ ชว่ งๆ ตลอดจนปญั หา อาชญากรรมขา้ มชาติ และสาธารณภัยขนาดใหญ่ นอกจากนี้ การท่ีทาเลที่ต้ังของไทยอยู่ใจกลางภูมิภาค ส่งผลให้ประเทศมหาอานาจต่างๆ พยายามดาเนินนโยบายเพื่อขยายความสัมพันธ์และอิทธิพลต่อไทยเพ่ือผลพวงต่อการแข่งขัน อิทธิพลระหว่างกัน ทงั้ ในระดบั โลกและในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ การปฏิสัมพันธ์และการรักษาดุลยภาพความสัมพันธ์ และความไวเ้นอื้ เชอื่ ใจระหวา่ ง ไทยกบั ประเทศมหาอานาจตา่ งๆ ทาใหไ้ทยตอ้ งดาเนนิ นโยบายดา้ นการตา่ งประเทศทม่ี คี วามออ่ นตวั ดงั น้ี 1.3.1 ความท้าทายต่อความม่ันคงในระดับประเทศ สาหรับความท้าทายต่อความม่ันคงภายในประเทศ ในอนาคตท่ีต้องเฝ้าระวัง ได้แก่ ประเด็นข้อพิพาทด้านเขตแดนและการใช้กาลังทางทหาร การท่ีไทยมีชายแดน ทั้ ง ท า ง บ ก แ ล ะ ท า ง ท ะ เ ล ติ ด กั บ ป ร ะ เ ท ศ เ พื่ อ น บ้ า น ห ล า ย ป ร ะ เ ท ศ ซึ่ ง ยั ง ไ ม่ มี ก า ร แ บ่ ง เ ข ต แ ด น ท่ี ชั ด เ จ น อาจทาให้เกิดปัญหากระทบกระท่ังกัน อย่างไรก็ตาม ความท้าทาย ดังกล่าวสามารถจากัดขอบเขตและระดับความรุนแรง ให้อยู่ในเฉพาะพ้ืนท่ีได้ โดยเป็นผลจากการเสริมสร้างความสัมพันธ์ และความร่วมมือที่ใกล้ชิดกันและการเสริมสร้าง ความสัมพันธ์ทางการทูตเชิงป้องกัน นอกจากน้ีมี ประเด็นความมั่นคงทางทะเล เนื่องจากที่ตั้งของไทย เป็นจุดยุทธศาสตร์ท่ีสาคัญทางทะเล และความซับซ้อนในการกาหนดเขตแดนทางทะเล ส่งผลให้ไทยจะเผชิญกับความท้าทาย ด้านการสร้างดุลยภาพในการรักษาความมั่นคงและผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ท้ังในเรื่อง ปัญหาการอ้างสิทธิ ทับซ้อนทางทะเล ปัญหาการทาลายส่ิงแวดล้อมโดยมนุษย์ กฎหมายและการบังคับใช้ กฎหมายทางทะเล ปัญหาอุตสาหกรรม ที่เก่ียวเน่ืองกับทะเล ปัญหาการลักลอบขนส่งสิ่งผิดกฎหมายทางทะเล โดยเฉพาะสินค้าและวัสดุอุปกรณ์ ท่ีใช้สองทางท่ีมีความเสี่ยงจะนาไปใช้ในการผลิตอาวุธทาลายล้างสูง การลักลอบเข้าเมือง ผิดกฎหมาย และการกระทาอนั เปน็ โจรสลดั 1.3.2 ประเด็นความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ปญั หาความไมส่ งบในจงั หวัดชายแดนภาคใต้เป็นปัญหาท่ีซับซ้อน ละเอียดอ่อน และมีความเช่ือมโยงกันหลายมิติ โดยมีพ้ืนฐานมาจากปัญหาอัตลักษณ์ ชาติพันธ์ุ และการนาปัญหาพ้ืนฐาน ดังกล่าวมาขยายโดยกลุ่มคนท่ีต้องการแบ่งแยกดินแดนไปสู่ความรุนแรง ทาให้เกิดบรรยากาศความไม่ไว้วางใจ ระหว่างรัฐกับประชาชนและระหว่างประชาชนกับประชาชนเพม่ิ มากขนึ้ นอกจากน้ี ในพน้ื ทยี่ งั ปรากฏปญั หาใหมท่ ม่ี แี นวโนม้ เพม่ิ มากขน้ึ อย่างมีนัยสาคัญ ได้แก่ ปัญหายาเสพติด ปัญหาภัยแทรกซ้อน การลักลอบค้าและขนส่งสินค้าผิดกฎหมาย บทบาทของภาคประชาสังคมโดยเฉพาะเยาวชนท่ีเห็นต่างจากรัฐ และถูกดึงเข้ามามีส่วนร่วมในการเคลื่อนไหว รวมถึง ประเด็นความไม่สงบในพื้นท่ีจะเป็นประเด็นที่ประชาคมระหว่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศ และองค์กรพัฒนาเอกชน ระหว่างประเทศให้ความสนใจ ท้ังนี้ การดาเนินการเพ่ือสร้างความเข้าใจและผสานพลังร่วมกับประชาชน เสริมสร้างการยอมรับสังคม พหุวัฒนธรรม และเสริมสร้างความร่วมมือกับมาเลเซียจาเป็นต้องมีความต่อเนื่อง ตามแนวทางสนั ติวิธี และตอ้ งมคี วามเขา้ ใจในบรบิ ทของพ้ืนที่ 1.3.3 ประเด็นความขัดแย้งของคนในชาติส่งผลต่อความสามัคคีของคนในชาติ โดยกลุ่มคนที่มีความคิด/ความเช่ือ ทางการเมืองที่แตกต่างกันยังคงมีการเคล่ือนไหว โดยเฉพาะการเคลื่อนไหวผ่านทาง สื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดความขัดแย้งระหว่างกันได้ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความเช่ือมั่นของนักลงทุนในระยะยาว โดยประเด็นสาคัญที่ถูกหยิบยกขึ้นมาเป็นประเด็นเคลื่อนไหว ได้แก่ ประเด็นสิทธิมนุษยชน เสรีภาพ และประชาธิปไตย นอกจากน้ีประเด็นทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมจะถูกนามาผนวกเป็นประเด็นการเคล่ือนไหวทางการเมืองมากขึ้น ทั้งน้ี การดาเนนิ การโดยภาครฐั ในการแก้ปัญหาการทุจริต การพัฒนาระบบยุติธรรมเพ่ือลดความเหลื่อมล้า และให้บริการทางสังคม ที่มีคุณภาพและการยกระดับรายได้ประชาชนในพ้ืนที่ห่างไกลให้ท่ัวถึง ให้สัมฤทธ์ิผลจะส่งผลให้คนในสังคมมีความเชื่อมั่น ในการบรหิ ารงานของภาครัฐ

ร่างยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 35 ส่วนท่ี 2 1 สถานการณ์และแนวโน้มดา้ นความมน่ั คง สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา 1.3.4 ประเด็นปัญหายาเสพติด สถานการณ์ยาเสพติดของประเทศไทยมีแนวโน้มรุนแรงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะการแพร่ระบาดของยาเสพติดในกลุ่มของเยาวชนซึ่งเป็นกลุ่มเส่ียงที่สาคัญ นอกจากน้ี ปัญหายาเสพติด ยังเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อเน่ืองไปยังปัญหาอื่นๆ อาทิ ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาการทาลายศักยภาพของประชากร และปัญหาการขยายตัวขององค์กรอาชญากรรม ประเทศไทยต้องเผชิญกับการลักลอบค้ายาเสพติดจากประเทศอื่นๆ โดยเป็นประเทศทางผ่านและประเทศปลายทาง โดยกลุ่มนักค้าจากนอกภูมิภาคเข้ามามีบทบาทสาคัญในการ ค้ายาเสพติดระหว่างประเทศ ซ่ึงมีการกระทาในลักษณะท่ีเป็นขบวนการและใช้วิธีการใหม่ๆ ในการลักลอบขนยาเสพติด ทาใหก้ ารจับกมุ กระทาได้ยากขึน้ 1.3.5 ประเด็นปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ แนวโน้มปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติที่มีการขยายตัว ทั้งในระดับโลกและระดับภูมิภาค รวมถึงกลุ่มอาชญากรได้มีการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ และอาศัยช่องว่างทางกฎหมาย ของประเทศต่างๆ เป็นช่องทางในการกระทาความผิด โดยอาชญากรรมข้ามชาติสาคัญที่ส่งผลกับประเทศไทย ได้แก่ การค้ายาเสพติดที่มีแนวโน้มรุนแรงขึ้น จากการที่ไทยอยู่ใกล้แหล่งผลิต การลักลอบผลิตและจัดหาเอกสารปลอม โดยเฉพาะหนังสือเดินทาง อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ อาทิ การลักลอบค้าและขนสินค้าผิดกฎหมาย การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา โดยไทยยังคงเป็นประเทศที่ถูกจับตามองเป็นพิเศษ การฟอกเงิน ซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับ อาชญากรรมข้ามชาติอ่ืนๆ และการที่ไทยไม่สามารถปฏิบัติตามคาแนะนาของคณะทางานต่อต้านการฟอกเงินได้ อาชญากรรมส่ิงแวดล้อม (การค้าสัตว์ป่าและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ป่า การลักลอบตัดไม้พะยูง) และการค้ามนุษย์ โดยไทยมีสถานะเป็นประเทศต้นทาง ทางผ่าน และปลายทางของการค้ามนุษย์ ซึ่งมีแนวโน้มว่าปัญหาดังกล่าวจะยังคงอยู่ต่อไป แตจ่ านวนคดีลดนอ้ ยลงจากการปอ้ งกันและปราบปรามอยา่ งตอ่ เน่ือง 1.3.6 ประเด็นความมน่ั คงทางไซเบอร์ ไซเบอรจ์ ะถูกนามาใช้เป็นโครงสร้างพ้ืนฐาน ระบบการบริหารจัดการสาธารณะ และระบบสาธารณูปโภคมากข้ึนในอนาคต ( Critical Infrastructure) รวมถึงประชาชนจะใช้ช่องทางไซเบอร์ในการ ติดต่อสื่อสาร การทาธุรกรรมทางการเงิน และเคลื่อนไหวในประเด็นต่างๆ มากข้ึน ส่งผลให้การโจมตีและการจารกรรม ทางไซเบอร์มีแนวโน้มซับซ้อนและรุนแรงมากข้ึน โดยที่ประชาคมระหว่างประเทศมีแนวโน้มท่ีจะกาหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ ให้ประเทศต่างๆ ร่วมปฏิบัติ กอปรกับประเทศต่างๆ จะใช้ช่องทางการโจมตีทางไซเบอร์ต่อกันเพ่ิมขึ้น ซึ่งบางส่วน อาจใชไ้ ทยเป็นฐานปฏิบตั ิการ รวมถึงการเฝา้ ระวงั ความเสยี่ งจากปญั หาการใช้ประเทศไทยเปน็ ทางผ่านของกลมุ่ ผูก้ ่อการรา้ ย 1.3.7 ประเด็นทรัพยากรธรรมชาติและแหล่งพลังงาน การบริหารจัดการเพื่อแก้ปัญหาความเสื่อมโทรม ของแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและปัญหาสิ่งแวดล้อม การสร้างความม่ันคงด้านอาหาร น้า และพลังงาน เป็นประเด็นที่มีลาดับความสาคัญ ในการขับเคล่ือนการพัฒนา ประเทศไทยให้มีความม่ันคงและย่ังยืนในระยะยาว ประเด็นส่ิงแวดล้อม ประเทศไทย มีความต้องการพลังงานและทรัพยากรทางธรรมชาติเพ่ือการพัฒนามากขึ้นในอนาคต แต่ต้องเผชิญกับความท้าทาย ท่ีเกิดข้ึนจากการกระจายตัวและการเข้าถึงทรัพยากรท่ีไม่เป็นธรรม และการบริโภค ทรัพยากรธรรมชาติท่ีขาดสมดุล และปัญหาทรัพยากรธรรมชาติเส่ือมโทรม ซ่ึงการบริหารจัดการ ประเด็นดังกล่าว อาจจะส่งผลให้เกิดความขัดแย้งในการแย่งชิงทรัพยากรจนอาจขยายผลไปสู่ ความขัดแย้งระหว่างประชาชน กั บ ห น่ ว ย ง า น ภ า ค รั ฐ ไ ด้ ส า ห รั บ ป ร ะ เ ด็ น ค ว า ม มั่ น ค ง ท า ง พ ลั ง ง า น นั้ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มี ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใช้ พลั งง านเพ่ิมขึ้ นอ ย่า งต่ อ เนื่ อง ได้แ ก่ น้า มันเชื้ อ เพลิง แล ะก๊ าซ ธรรมชา ติ โดยพึ่ง พิง แห ล่ง พลั งง า น จากภายนอกประเทศในสัดส่วนที่สูง และในระยะยาวไทย จาเป็นต้องหา แหล่งพลังงานสารองและการพัฒนา แหล่งพลังงานทางเลือกและสะอาดเพ่ือรองรับความต้องการท่ีเพิ่มขึ้นดังกล่าวและ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ของกระแสโลก รวมถึงการปฏิบัติตามระเบียบ กติกาสากล ในการท่ีจะบรรลุเป้าหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืน นอกจากน้ี การบริหารจัดการน้า เพื่อให้เกิด ความมั่นคงในเร่ืองแหล่งน้ากินและน้าใช้ ก็เป็นอีกประเด็นท้าทายท่ีประเทศไทย ตอ้ งมียุทธศาสตร์การบริหารจัดการทงั้ ระบบอยา่ ง รอบคอบ

ร่างยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 36 สว่ นที่ 2 2 สถานการณ์และแนวโน้มการก้าวกระโดดทางเทคโนโลยี สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา 2.1 สถานการณ์และแนวโน้มเทคโนโลยีในระดบั โลก เทคโนโลยีเปลี่ยนโลกที่มีบทบาทสาคัญในโลกปัจจุบันและ การพัฒนาดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นปจั จบุ ันและอนาคตจะ ในอนาคต อาจแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ (1) กลุ่มเทคโนโลยี พัฒนาอย่างก้าวกระโดดและส่งผลให้เกิดการพลิกโฉมของ ดิจิทัลและคอมพิวเตอร์ มีการพัฒนาไปสู่ระบบที่สามารถ เศรษฐกิจและสังคมโลกขนานใหญ่ เทคโนโลยีท่ีจะทาให้เกิดการ เรียนรู้และวิเคราะห์ด้วยตัวเอง ระบบการรับส่งข้อมูลอัตโนมัติ เปล่ียนแปลงครั้งใหญ่ในโลกมาจากฐานเทคโนโลยีสาคัญ ระหว่างคอมพิวเตอร์ ควอนตัมคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็ว มากกว่าคอมพิวเตอร์ปัจจุบันถึง 100 ล้านเท่า ซ่ึงสามารถ 3 กลุ่ม คือ ฐานชีวภาพ ฐานดิจิทัล และฐานฟิสิกส์ โลกใน นาไปสู่การพัฒนานวัตกรรมที่สร้างประสบการณ์ใหม่ให้แก่ อนาคตจงึ เป็นโลกของนวัตกรรมที่ผสมผสานเทคโนโลยีท้ังสาม กลุ่มนี้ ก่อให้เกิดปรากฏ การณ์ “เทคโนโลยีเปล่ีย น ผู้ใช้งานได้ (2) กลมุ่ เทคโนโลยกี ารแพทย์และเทคโนโลยีชีวภาพ โลก” (Disruptive Technology) เช่น OTT IOT Blockchain มีการพฒั นาวิธหี รือผลติ ภณั ฑใ์ นการรักษาโรคท่ีมีความรุนแรง และยังไม่สามารถรักษาได้ โดยจะค้นพบความลับทางพันธุกรรม ซึ่งเป็นเทคโนโลยีท่ีพัฒนา ต่อยอดจากเทคโนโลยีปัจจุบันท่ียังมี และการบาบัดรักษาโรคติดต่อทางพันธุกรรม ซึ่งจะช่วยให้ ข้อจากัดอยู่ เพ่ือให้มีประสิทธิภาพในการใช้งานมากยิ่งข้ึน สามารถรักษาโรคบางประเภทที่ปัจจุบันรักษาหรือป้องกันไม่ได้ รวมถึงการค้นพบแนวทางหรือเทคโนโลยีใหม่ที่สามารถ ตอบสนองหรือแก้ไขปัญหาของการดาเนินกิจกรรมทาง เช่น โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง เป็นต้น (3) กลุ่มเทคโนโลยี เศรษฐกิจหรือการดารงชีวิตของมนุษย์ ท่ีต้องเอาเทคโนโลยีมา พลังงาน มีการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสร้างพลังงาน ทางเลือกและแหล่งพลังงานใหม่ รวมทั้งระบบการจัดเก็บ ช่วยทางานให้สะดวกขึ้น ปลอดภัย เพ่ิมผลผลิต ปรับ พลงั งานทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพสูง รวมถึงเทคโนโลยีทสี่ นับสนุนการใช้ โครงสร้างเศรษฐกิจ ช่วยทางานที่มีอันตรายและเสี่ยงภัยแต่ไม่ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพสูง นอกจากนี้เทคโนโลยีเหล่านี้ แย่งงานคน ในขณะเดียวกันก็ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง สังคมท้ังในระดับโครงสร้างท่ีก่อให้เกิดปัญหาระยะยาว และระดับ ยังสามารถแตกแขนงใหก้ ลายเป็นเทคโนโลยีท่ีมีบทบาทสาคัญต่อ ปัจเจกบุคคลก็ส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลง ทางสังคมทั้งใน การเปล่ยี นแปลงเศรษฐกิจและสังคมโลกไดอ้ ย่างมหาศาล ระดบั โครงสรา้ ง ทก่ี อ่ ใหเ้กดิ ปญั หาระยะยาว และระดบั ปจั เจกบคุ คล ฐานดจิ ทิ ัล ฐานชวี ภาพ ฐานฟิสิกส์ “ แนวโนม้ ของการเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีต่างๆ ที่กาลังจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตดังกลา่ วจะ สง่ ผลกระทบต่อการเปล่ียนรูปแบบกจิ กรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ของทุกประเทศทัว่ โลกรวมท้งั ประเทศไทย ” ผลกระทบที่คนไทยจะได้สมั ผัสในระยะเวลาอีกไมน่ าน คือ เกิดสาขาการผลติ และบริการใหม่ๆ ประชาชนเข้าถงึ ขอ้ มูลและ เกิดความโปร่งใสและความ บนพ้ืนฐานการใช้เทคโนโลยี มเี ครอื่ งมอื ช่วยตัดสนิ ใจมากขึน้ รับผิดชอบต่อสงั คม สมัยใหมห่ ลากหลาย เกิดการเปล่ียนแปลงโครงสรา้ ง เกิดการปฏิรปู ภาคการศกึ ษา ลดความเหลื่อมล้าใน ความตอ้ งการแรงงานและ ใหร้ องรับเทคโนโลยีและ การเขา้ ถงึ เทคโนโลยี เกิดอาชพี ใหมใ่ นภาคธุรกจิ ความต้องการของผู้เรยี น ของบางกลมุ่ ทม่ี ีรายได้น้อย

ร่างยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 37 ส่วนท่ี 2 2 สถานการณ์และแนวโนม้ การก้าวกระโดดทางเทคโนโลยี สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา 2.1.1 เกิดสาขาการผลิตและบริการใหม่ๆ บนพื้นฐานการใช้ ในด้านโอกาส ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีจะขยา ย เทคโนโลยสี มยั ใหมห่ ลากหลายสาขา เทคโนโลยที เ่ี ปลยี่ นแปลง ทางเลือกท่ีหลากหลายมากขึ้นในการเพ่ิมผลิตภาพและสร้าง รวดเร็วทาให้เวทีการแข่งขันทางธุรกิจพลิกโฉม ธุรกิจที่ใช้การ มูลค่าเพ่ิมของภาคเศรษฐกิจ แต่ต้องอยู่บนเง่ือนไข ดาเนินกิจการในรูปแบบเดิมที่คุ้นเคยในปัจจุบันอาจไม่สามารถ ท่ีภาครัฐและเอกชนต้องเร่งลงทุนและยกระดับศักยภาพทาง แขง่ ขันได้อีกต่อไป ทาให้ผปู้ ระกอบการที่ไม่สามารถปรับตัวได้ทัน เทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างเข้มข้นและต่อเนื่อง นอกจากนี้ อาจต้องเลิกกิจการไป ในขณะที่ผู้ประกอบการบางกลุ่มอาจ จะส่งผลให้มนุษย์มีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน มีความสะดวกสบาย เล็งเหน็ ชอ่ งทางในการใชเ้ ทคโนโลยใี หม่ๆ เพือ่ เข้าสเู่ วทีการแข่งขัน และปลอดภัยมากขึ้น โดยเฉพาะ ในการทางานที่ยากลาบาก ใหม่ท่ีสามารถสร้างรายได้มากข้ึน ด้วยการสร้างรูปแบบทาง และมีความเสี่ยงสูง อาจสามารถ ใช้อุปกรณ์ทางเทคโนโลยี ธุรกิจ (Business Model) ใหม่ๆ ที่อาจไม่เคยมีมาก่อน ซึ่งเป็น หรือหุ่นยนต์ทางานแทนได้และได้ประสิทธิภาพและประสิทธิผล การเปิดโอกาสให้ผ้บู ริโภคมที างเลอื กสินค้าและบริการรูปแบบใหม่ ท่ีดีกว่าทาโดยมนุษย์ รวมทั้งทาให้มนุษย์มีอายุยืนยาว ท่ีหลากหลายมากขึ้น นอกจากนี้ผู้คิดค้นเทคโนโลยีใหม่จะกลาย มากขึ้นด้วย เป็นผนู้ าดา้ นนวตั กรรม ทสี่ ามารถสร้างรายได้จากเทคโนโลยีและ นวัตกรรมเหล่าน้ันได้อย่างมหาศาล จึงเป็นปัจจัยที่กระตุ้นให้ สาหรับด้านความท้าทายหรืออุปสรรคน้ัน ความก้าวหน้าของ ภาคธุรกิจให้ความสาคัญกับการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา “เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก” อาจก่อให้เกิด “ภาวการณ์ว่างงาน มากข้ึน และกระแสการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี ประกอบกับ จากเทคโนโลยี” ได้ด้วย โดยเฉพาะกลุ่มแรงงานที่ยังใช้ทักษะเดิม บทบาทของภาคประชาชนท่ีมากขึ้น จะเป็นปัจจัยกดดันให้ภาครัฐ เช่น พนักงานขับรถ หรือแม้กระท่ังกลุ่มแรงงานที่ใช้ความรู้ ต้องปรับบทบาทอย่างมาก โดยต้องทาความเข้าใจ แต่ลักษณะงานท่ีทาสามารถทาซ้าๆ ได้ เช่น พนักงานโรงแรม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในอนาคตให้มากข้ึน และมีการ เสมียน เลขานุการ พนักงานตรวจปรุ๊ฟ แรงงานกลุ่มน้ี ปรับปรุงกระบวนการในการตอบสนองต่อภาคธุรกิจให้มี จ ะ ถู ก ท ด แ ท น ด้ ว ย ร ะ บ บ เ ท ค โ น โ ล ยี อั จ ฉ ริ ย ะ เ ห ล่ า น้ี ประสิทธภิ าพสงู แ ล ะ ใ น อ น า ค ต จ ะ เ กิ ด ธุ ร กิ จ แ ล ะ อ า ชี พ ใ ห ม่ ๆ ที่ อ า ศั ย ทักษะและองค์ความรู้หลากหลายสาขา ซ่ึงจะมีความแตกต่าง 2.1.2 เ กิ ด ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง โ ค ร ง ส ร้ า ง ธุรกิจหรืออา ชีพที่มีอยู่ในปัจจุบันอย่า งมาก ดังน้ั น ความต้องการแรงงานและเกิดอาชีพใหม่ในภาคธุรกิจ ก า ลั ง แ ร ง ง า น ใ น ภ า ค ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ บ ริ ก า ร ข อ ง โ ล ก ควา ม ก้ า วห น้ า ท า ง เ ท คโน โล ยีด้ า นต่ า ง ๆ โด ยเ ฉพา ะ และ ของประเทศไทยจะต้องมีการปรับตัวอย่างรวดเร็ว เทคโนโลยีดิจิทัล จะนาไปสู่การพัฒนาระบบอัตโนมัติ เพื่อทันต่อการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีเหล่านี้ ความก้าวหน้า และปัญญาประดิษฐ์ (Artififfiicial Intelligence and Automatic ทางเทคโนโลยีจะทาให้มนุษย์มีอายุยืนยาวมากข้ึน ซ่ึงแน่นอน Systems) ท่ีเป็นการเชื่อมโยงทุกส่ิงด้วยอินเทอร์เน็ต (Internet จะส่งผลกระทบท้ังด้านโครงสร้างประชากรท่ีเปลี่ยนแปลงไป of Things: IoT) และจะทวีบทบาทสาคัญในทางธุรกิจและวิถีชีวิต และมีผลสืบเนื่องต่อการลงทุนของภาครัฐ ท่ีต้องเพิ่มข้ึน ของทุกคนในสังคมอย่างใหญ่หลวง เช่น การพัฒนา ท้ังด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การให้บริการสาธารณะ ยานพาหนะไร้คนขับ (Autonomous Vehicles) การพัฒนา และสวัสดิการสังคม เพ่ือรองรับประชากรผู้สูงอายุ หุ่นยนตแ์ ละโปรแกรมอัจฉริยะที่สามารถคดิ และทางานแทนมนุษย์ได้ กา รป รั บโ ครง ส ร้ า ง ขอ ง ภ า ค กา ร ผลิ ต แ ล ะบ ริ กา ร ธุ ร ก ร ร ม ท า ง ก า ร เ งิ น ที่ ใ ช้ ร ะ บ บ ดิ จิ ทั ล เ ป็ น พ้ื น ฐ า น การสร้างความเข้มแขง็ ดา้ นภาวะการออมของประเทศ เป็นต้น เงนิ ท่เี ป็นสอื่ กลางในการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจเปล่ียนรูปแบบ ไปกลายเป็นเงินดิจิทัล เป็นต้น ผลท่ีเกิดข้ึนจะกระทบ ต่อโลกรวมท้ังประเทศไทยจะมีทั้งในด้านการเป็นโอกาสและ ด้านความทา้ ทายหรืออุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ

รา่ งยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 38 ส่วนท่ี 2 2 สถานการณแ์ ละแนวโน้มการก้าวกระโดดทางเทคโนโลยี สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา 2.1.3 ประชาชนเข้าถึงขอ้ มลู และมเี ครือ่ งมอื ช่วยตดั สินใจมากข้ึน ในปัจจุบันการกระจายข้อมูลไปยังคนจานวนมากทาได้ง่ายและ รวดเร็วมากขนึ้ และแนวโน้มในการพัฒนาด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ Cloud Computing และ Big Data ท่ีมีความสามารถในการ ประมวลผลและวเิ คราะหข์ ้อมลู ขนาดใหญ่ไดง้ า่ ยและมคี วามรวดเรว็ แมน่ ยา และเสมือนการวเิ คราะห์โดยสมองมนุษยม์ ากยิง่ ขึ้น จะส่งผล ให้ในอนาคตระบบการกระจายและตรวจสอบข้อมูลจะทรงพลังมีประสิทธิภาพมากขึ้นอย่างเท่าทวีคูณ ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึง ข้อมูลจานวนมหาศาลผ่านทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตบนฐานของบริการท่ีมีการแบ่งปันการใช้ทรัพยากร (Shared Services) ท่ีทาใหต้ น้ ทนุ ตา่ ลง นอกจากนโ้ี ปรแกรมสนบั สนนุ การทางานท่ีซับซ้อนหลายอย่างจะถูกพัฒนาขึ้น ทาให้ผู้ใช้งานมีข้อมูลเพียงพอและ สามารถใชว้ เิ คราะหเ์ พือ่ ตัดสินใจในเร่ืองต่างๆ ได้อย่างแม่นยาและสะดวกรวดเร็ว ทาให้มนุษย์สามารถใช้เวลาไปในการสร้างมูลค่าเพิ่ม ด้านอื่นๆ ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน ในขณะเดียวกันในด้านลบ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีโดยเฉพาะเทคโนโลยีด้านการสื่อสาร มีผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงวิถีชีวิตของมนุษย์ให้มีความเป็นปัจเจกสูง และการเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย อาจทาให้เกิดพฤติกรรมตามกระแส โดยขาดการพิจารณารอบด้าน อาจทาให้เกิดการก่อพฤติกรรมท่ีเป็นภัยต่อสังคมหรือการสร้างค่านิยมที่ไม่ดีให้กับสังคมอันจะ กอ่ ใหเ้ กิดผลกระทบต่อความมน่ั คงของประเทศได้ 2.1.4 ระบบการศึกษาและเรียนรู้ของคนเปลี่ยนไปส่งผลให้ 2.1.5 เทคโนโลยีสารสนเทศและการก่อให้เกิดความโปร่งใส ภาคการศึกษาต้องมีการปรับเปลี่ยน เทคโนโลยีข้ันก้าวหน้า และความรับผิดชอบต่อสังคม การดาเนินกิจกรรม ส่งผลให้มนษุ ย์สามารถเข้าถงึ ขอ้ มลู และเรียนรู้ได้ในทุกท่ี ทุกเวลา บนพ้ืนฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศจะขยายขอบเขตเข้าไปใน และจากหลายช่องทาง เชน่ การเรียนรู้ทางไกล เรียนรู้ตามกลุ่ม กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมมากข้ึน ศักยภาพอันทรงพลัง ความสนใจ เป็นต้น สังคมแห่งการเรียนรู้ จะพัฒนา ของเทคโนโลยีด้านการจัดเก็บและประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล อย่างรวดเร็ว ทาให้ในอนาคตระบบการศึกษา ในสถาบัน (Data Storage and Data Analytics) ทาให้มีการบันทึก การศึกษาท่ีเป็นระบบมาตรฐานอาจไม่สามารถตอบสนองความ เป็นข้อมูลจานวนมากท้ังระดับองค์กรและระดับบุคคลท่ีสามารถ ต้องการในการพัฒนาตนเองของคนรุ่นใหม่ได้ และคน ใช้ประโยชนใ์ นการวิเคราะห์และประมวลผลได้อย่างรวดเร็วและแม่น อาจแสวงหาความรู้เพ่ือยกระดับศักยภาพของตนผ่านระบบอื่น ยา และยังสามารถใช้ในการตรวจสอบธุรกรรมต่างๆ น อ ก เ ห นื อ จ า ก ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า ม า ต ร ฐ า น ดั ง น้ั น ที่เกิดขึ้นด้วยต้นทุนที่ต่าลงและสะดวกมากย่ิงขึ้น ซ่ึงจะเป็น จาเป็นต้องมีการปฏิรูปภาคการศึกษาของประเทศอย่างจริงจัง เครอ่ื งมอื ท่ีชว่ ยปดิ ช่องโหว่ของกิจกรรมท่ีไม่โปร่งใสและบรรเทา และเร่งด่วน ให้สามารถรองรับเทคโนโลยี และความต้องการ ปัญหาคอร์รัปช่ันทั้งในภาคธุรกิจและในภาครัฐให้ลดน้อยลงได้ ของผู้เรียนท่ีจะมีการเปล่ียนแปลงอย่างมากในอนาคตได้อย่าง อย่า งไรก็ต า ม ควา มก้า วหน้ า ทา ง เทคโนโลยีที่ ทา ให้ ทนั ท่วงที การประมวลผลข้อมูลที่มีประสิทธิภาพและแม่นยา อาจนาไปสู่ รูปแบบในการแสวงหาประโยชน์จากข้อมูลในรูปแบบใหม่ๆ ซึ่ ง อ า จ เ ป็ น ท้ั ง ท า ง ที่ ดี เ ช่ น ก า ร เ กิ ด ธุ ร กิ จ ใ ห ม่ ๆ ที่ใช้เทคโนโลยีดา้ นขอ้ มูล และทางทไ่ี มด่ ี เช่น การจารกรรมข้อมูล และอาชญากรรมทางไซเบอร์ เปน็ ตน้

ร่างยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 39 สว่ นที่ 2 2 สถานการณแ์ ละแนวโน้มการกา้ วกระโดดทางเทคโนโลยี สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา 2.1.6 การอุบตั ขิ องความเหลื่อมลา้ ของการเขา้ ถึงเทคโนโลยี ภายใต้บริบทสังคมที่สามารถรับรู้ข้อมูลและเรียนรู้เทคโนโลยีได้มากข้ึน ส่งผลให้การประกอบกิจกรรมต่างๆ ของคนในสังคมมีประสิทธิภาพมากข้ึน ซึ่งช่วยลดช่องว่างระหว่างการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ได้ อย่างไรก็ตาม เงินทุนยังคงเป็นปัจจัยสาคัญในการสร้างโอกาสเข้าถึงเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูง ส่งผลให้คนบางกลุ่ม ในสังคมทย่ี ังมรี ายไดน้ อ้ ยอาจมีขอ้ จากดั ในการเขา้ ถึงเทคโนโลยีขน้ั สูงทีม่ ีประสิทธิภาพแต่มีคา่ ใชจ้ ่ายที่สูง จึงทาให้เกิดเป็นช่องว่าง ระหว่างผู้ใช้เทคโนโลยีทั่วไปและผู้ท่ีใช้เทคโนโลยีระดับสูง ทาให้ต้นทุนในประกอบกิจกรรมต่างๆ ยังมีความแตกต่างกัน และอาจเกิดภาวะที่ผู้ใช้งานจาเป็นต้องแสวงหาเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับเงื่อนไขทางการเงิน จากผลกระทบดังกล่าว ประเ ทศไทยจ ะต้อ งก้า วข้า มกับดักขอ งกา รเป็ น “ผู้ ใช้เทคโ นโล ยี ” ไป สู่กา รเป็ น “ผู้ พัฒน าเท คโน โลยี ” จะต้องพฒั นากลุ่มเทคโนโลยสี าคัญ ซงึ่ อาจจัดไดเ้ ปน็ 2 กลุม่ ใหญต่ ามศักยภาพของไทยในปจั จุบนั ได้แก่ กลุ่มแรก เป็นกลุ่มสาขาเทคโนโลยีที่ประเทศไทยมีพื้นฐานดี ประกอบด้วย 3 กลุ่มเทคโนโลยี คือ (1) กลุ่มเกษตรและอาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพและส่ิงแวดล้อม (2) กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ การออกแบบ วัฒนธรรม (3) เทคโนโลยีท่ีใช้ในการ ยกระดับสาขาบริการให้มีมูลค่าสูง หรือบริการท่ีใช้เทคโนโลยีเป็นพ้ืนฐานสาคัญ โดยกลุ่มนี้ จะต้องมุ่งเน้นการพัฒนาต่อยอด ใหเ้ กิดมูลค่าเพมิ่ และเปน็ ฐานเศรษฐกิจใหม่ในระยะต่อไป กลุ่มที่สอง เป็นกลุ่มที่ไทยอาจยังไม่เข้มแข็งมากนัก แต่มีความจาเป็นอย่างมากต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต ประกอบด้วย 2 กลุ่มเทคโนโลยี คือ (1) กลุ่มเคร่ืองมืออุปกรณ์อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และระบบเครื่องกลที่ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ควบคุม กลุ่มดิจิทัล เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตท่ีเช่ือมต่อและบังคับอุปกรณ์ต่างๆ ปัญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยีสมองกลฝังตัว และ (2) กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ โดยกลุ่มน้ี อาจพัฒนาโดยใช้รูปแบบการพัฒนาในลักษณะ วิศวกรรมย้อนกลับ (Reverse Engineering) การร่วมมือทางเทคโนโลยี และการเข้าครอบครองเทคโนโลยี (Acquire Technology) เพื่อให้สามารถเร่งพัฒนาเทคโนโลยีให้ทันการเปล่ียนแปลงของโลก ในขณะเดียวกัน ภายในประเทศ จะต้องมีสภาพแวดล้อม ที่เหมาะสมต่อวิจัยและพัฒนาและการถ่ายทอดและต่อยอดเทคโนโลยี อาทิ การพัฒนาระบบ และบุคลากรรองรับการถ่ายทอด และพัฒนาเทคโนโลยี การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัยและพัฒนา การสนับสนุนงบประมาณอย่างต่อเน่ือง ใ น โ ค ร ง ก า ร วิ จั ย ท่ี มี ผ ล ก ร ะ ท บ ส า คั ญ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ร ว ม ถึ ง ก า ร ส นั บ ส นุ น ก า ร พั ฒ น า ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ และการนาผลงานวิจัยมาใช้ในการพัฒนาประเทศ เพ่ือให้เกิดการสั่งสมองค์ความรู้ ถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี เ ห ล่ า นั้ น อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง จ น ถึ ง ใ น ร ะ ดั บ ที่ เ พี ย ง พ อ ต่ อ ก า ร ย ก ร ะ ดั บ ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ คุ ณ ภ า พ ชีวิตของประชาชนในประเทศไดอ้ ย่างมนี ัยยะสาคัญ

รา่ งยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 40 สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา สว่ นท่ี 2 จากผลกระทบดงั กล่าว .... ประเทศไทยจงึ จาเป็นต้องพฒั นา วิทยาศาตร์ เทคโนโลยี นวตั กรรม ตลอดหว่ งโซ่มลู ค่า เพ่ือกา้ วข้ามกับดัก “ผู้ซื้อเทคโนโลยี” ไปสู่ การเปน็ “ผู้ผลิตและขายเทคโนโลยี” กลุ่มเกษตรและอาหาร เทคโนโลยีและสง่ิ แวดลอ้ ม กลุ่มท่ไี ทยมพี ้นื ฐานดี กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ การออกแบบ วฒั นธรรม ใหค้ วามสาคญั กับการพฒั นาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีพนื้ ฐานในลกั ษณะเสน้ ตรง สาขาบรกิ ารทม่ี มี ลู ค่าสงู หรือ สาขา บริการท่ใี ช้เทคโนโลยีเปน็ พืน้ ฐาน กลุม่ ทไี่ ทยยงั ไม่เข้มแขง็ พฒั นาต่อยอดให้เกิดมลู คา่ เพม่ิ และเป็นฐานเศรษฐกิจ ใหม่ในระยะตอ่ ไปในลกั ษณะวศิ วกรรมยอ้ นกลบั อุตส่ าหกรรมฐานรายไดใ้ หม่ อาทิ  กลุ่มเคร่ืองมืออปุ กรณอ์ จั ฉริยะ ห่นุ ยนต์ และ ระบบเคร่ืองกลทใ่ี ช้ระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ควบคมุ กล่มุ ดิจิทัล เทคโนโลยี อนิ เตอรเ์ น็ตทเี่ ชอื่ มต่อและ บงั คับอปุ กรณ์ต่าง ๆ ปัญญาประดิษฐ์ และ เทคโนโลยีสมองกลฝังตัว  กลุ่มสาธารณสขุ สขุ ภาพ และ เทคโนโลยที าง การแพทย์ อตุ สาหกรรมฐานรายไดเ้ ดิม อาทิ กลมุ่ อตุ สาหกรรม อิเล็กทรอนกิ ส์ ยานยนต์

ร่างยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 41 สว่ นท่ี 2 2 สถานการณ์และแนวโน้มการก้าวกระโดดทางเทคโนโลยี สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา 2.2 สถานการณ์และแนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยีภายในประเทศ ใ น ปั จ จุ บั น ก า ร พั ฒ น า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ ท่ี ส า ม า ร ถ ถ่ า ย ท อ ด และพัฒนาในข้ันลอกเลียนแบบได้ในระดับหน่ึง แต่ยังมีศักยภาพในการพัฒนาเทคโนโลยีให้เป็นของตนเองได้น้อย จึ ง เ ป็ น ข้ อ จ า กั ด ส า ห รั บ ก า ร พั ฒ น า ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห ม่ ๆ แ ล ะ ส า ห รั บ ก า ร เ พ่ิ ม คุ ณ ภ า พ สิ น ค้ า แ ล ะ บ ริ ก า ร รวมทั้งการพัฒนาและเพ่ิมประสิทธิภาพกระบวนการผลิตและการบริหารจัดการ จึงทาให้ขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศไม่ทันกับการเปล่ียนแปลงในตลาดโลกซึ่งความต้องการสินค้ากลุ่มคุณภาพและรูปแบบจูงใจเพิ่มข้ึนเร็วกว่า และหลายกลุ่มประเทศมีความสามารถในการเข้ามาแข่งขันในตลาดกลางและล่างมากข้ึน ในขณะที่ข้อจากัดด้านทรัพยากร และกาลังคนกดดนั ให้ประเทศไทยเองจะต้องมุ่งเน้นการเพิ่มผลิตภาพการผลิตให้สัมฤทธิ์ผลเพ่ือท่ีจะแข่งขันให้ได้และทาให้คุณภาพ ชีวิตประชาชนดีข้ึนอย่างท่ัวถึงมากขึ้น ซึ่งสะท้อนได้จากการวิเคราะห์ดัชนีชี้วัดความสามารถการแข่งขัน ด้านนวัตกรรมของประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในปี ค.ศ. 2016-2017 โดยสถาบันจัดอันดับนานาชาติ พบว่า ในภาพรวมความสามารถการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมของประเทศไทยยังอยู่ในอันดับคงท่ีค่อนไปทางต่า ส่วนปัจจัยทางด้านเทคโนโลยีมีแนวโน้มปรับตัวดีข้ึน โดยในรายงานของ The World Competitiveness Yearbook 2017 ของ IMD ระบุวา่ โครงสร้างพน้ื ฐานดา้ นเทคโนโลยขี องไทยปรับตวั สูงข้นึ ถงึ 6 อนั ดบั โดยขึน้ มาอยูใ่ นอนั ดบั ที่ 36 จากอันดับท่ี 42 ในปีก่อนหน้า ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นผลจากการเพ่ิมขึ้นของการลงทุนด้านโทรคมนาคม (Investment in Telecommunication) ขณะท่ีโครงสร้างพ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร์ ปรับลดลง 1 อันดับ มาอยู่ในอันดับที่ 48 จากอันดับที่ 47 ในปีก่อนหน้า โดยตัวฉดุ รัง้ ท่สี าคัญ ไดแ้ ก่ จานวนสทิ ธิบัตรทยี่ น่ื ขอภายในประเทศ (Patent Applications) ลดลง 13 อันดับ มาอยู่ในอันดับท่ี 52 จากอันดับท่ี 39 ในปีก่อนหน้า และจานวนสิทธิบัตรต่อประชากร 100,000 คน (Number of Patents in Force) ลดลง 9 อนั ดับ โดยอยู่ในอนั ดับที่ 59 จากอันดบั ท่ี 50 ในปีกอ่ นหน้า (จากทั้งหมด 63 ประเทศ) แม้ว่าปัจจัยย่อยด้านการลงทุนวิจัย และพัฒนาโดยรวม และการลงทุนวิจัยและพัฒนาของภาคธุรกิจ รวมถึงศักยภาพด้านนวัตกรรมผลิตภัณฑ์/ กระบวนการ/บรกิ ารของภาคธุรกจิ จะปรับตัวดีขึ้นมากกต็ าม ขณะที่รายงาน The Global Competitiveness Report (GCR) 2016-2017 ของ World Economic Forum (WEF) ไดจ้ ดั อันดบั ปัจจยั ดา้ น ความพรอ้ มทางเทคโนโลยี ลดลง 5 อันดับ มาอยู่ในอันดับท่ี 63 จากอนั ดับท่ี 58 ในปีกอ่ นหนา้ เนื่องจากการ ลดลงอย่างมากของการลงทุนทางตรงของต่างประเทศและการถ่ายทอดเทคโนโลยี (FDI and Technology Transfer) โดยลดลง 14 อันดับ มาอยู่ในอันดับที่ 42 จากอันดับที่ 28 ในปีก่อนหน้า และจานวนการ จดทะเบียนเช่ือมต่อ สัญญาณอินเทอร์เน็ตแบบเคล่ือนที่ต่อประชากร 100 คน (Mobile Broadband Subscriptions/100 pop.) ลดลง 11 อันดับ มาอยู่ในอันดับที่ 34 จากอันดับที่ 23 ในปีก่อนหน้า ส่วนปัจจัยด้านนวัตกรรมปรับตัวดีข้ึน 3 อันดับ ขึ้นมาอยู่ในอันดับท่ี 45 จากอันดับท่ี 57 ในปีก่อนหน้า โดยเป็นผลมาจากตัวช้ีวัดย่อยด้านการจัดซื้อจัดจ้าง สินค้าเทคโนโลยีขั้นสูงของภาครัฐ ( Government Procurement of Advanced Technology Products, 1-7 (Best)) เพิ่มข้ึนถึง 25 อันดับ มาอยู่ในอันดับที่ 65 จากอันดับที่ 90 ในปีก่อนหน้า (จากท้ังหมด 138 ประเทศ/เขตเศรษฐกิจ) สาหรับดัชนีชี้วัดความสามารถด้านนวัตกรรม The Global Innovation Index (GII) 2016 จัดทาโดยมหาวิทยาลัยคอร์เนล (Cornell University) ร่ ว ม กั บ Institut Europe'é en d'Administration des Affaires\" (INSEAD) แ ล ะ อ ง ค์ ก า ร ทรัพย์สินทางปัญญาโลก (World Intellectual Property Organization: WIPO) พบว่า ประเทศไทยมีความสามารถ ด้านนวัตกรรมในภาพรวมสูงขึ้น 3 อันดับจากปีก่อนหน้า โดยอยู่ในอันดับ 52 จากอันดับที่ 55 ในปีก่อนหน้า (จาก 128 ประเทศ/เขตเศรษฐกิจ) เน่ืองจากอันดับที่เพิ่มข้ึนของปัจจัยด้านสถาบัน ด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน ศักยภาพทางการตลาด ศักยภาพทางธุรกจิ และผลผลติ จากการพัฒนาความรแู้ ละเทคโนโลยี

รา่ งยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 42 ส่วนที่ 2 2 สถานการณ์และแนวโนม้ การก้าวกระโดดทางเทคโนโลยี สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา 2.2 สถานการณ์และแนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยภี ายในประเทศ ส า ห รั บ ดั ช นี ชี้ วั ด ก า ร พั ฒ น า น วั ต ก ร ร ม ที่ ส า คั ญ อ่ื น ๆ 3 อ า ทิ ด้ า น ก า ร ล ง ทุ น วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า ของประเทศไทยมแี นวโน้มเพม่ิ ขึ้น อย่างต่อเน่ือง จาก 12,406 ล้านบาท ในปี ค.ศ. 2000 เป็น 48,671 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 0.62ต่อ GDP ในปี ค.ศ. 2015 เน่ืองจากภาคเอกชนมีการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาเพ่ิมขึ้นถึงร้อยละ 73 คิดเป็นสัดส่วนการลงทุนวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชนต่อภาครัฐ 70:30 อย่างไรก็ดี ประเทศไทยยังมีการลงทุน ด้านการวิจัยและพัฒนา ค่อนข้างต่า เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในเอเชีย เช่น เกาหลีใต้ ญ่ีปุ่น จีน และสิงคโปร์ ซึ่งมีสดั สว่ นระหว่างร้อยละ 2.0-3.0 ต่อ GDP บุคลากรรองรับการพัฒนานวัตกรรม ยังไม่เพียงพอต่อการสร้างฐานกาลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อรองรับการพัฒนาสู่ประเทศนวัตกรรมในอนาคต โดยในปี ค.ศ. 2015 กาลังแรงงานสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีจานวนรวมทั้งส้ิน 3,979,193 คน แบ่งเป็นผู้ที่จบสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยตรงและทางานตรงสายประมาณ 1.8 ล้านคน ผู้ท่ีจบสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแต่ทางานด้านอื่นประมาณ 1.5 ล้านคน และผู้ท่ีจบการศึกษาด้านอื่น แต่มาทางานในสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประมาณ 0.6 ล้านคน และแม้ว่าจานวนบุคลากรวิจัยและพัฒนา ในช่วง 5 ปี ท่ีผ่านมา (2011-2015) มีแนวโน้มเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง โดยในปี ค.ศ. 2015 จานวนบุคลากรวิจัยและพัฒนา ท่ีทางานเทียบเท่าเต็มเวลา (FTE) เพิ่มเป็น 89,617 คน คิดเป็น 13.6 คนต่อประชากร 10,000 คน จากปี ค.ศ. 2014 ท่ีมีจานวน 84,216 คน คิดเป็น 12.9 คนต่อประชากร 10,000 คน อย่างไรก็ดี เม่ือเปรียบเทียบกับประเทศในเอเชีย อาทิ ไต้หวัน เกาหลีใต้ และสงิ คโปร์ จะมีบุคลากรวิจยั และพัฒนาสูงกวา่ ไทย 8-9 เท่า สิทธิบัตร เป็นการคุ้มครองทางทรัพย์สินทางปัญญาที่ช่วยส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพ่ือคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรมใหม่ๆ อย่างไรก็ดี จานวนการย่ืนคาขอรับสิทธิบัตรในประเทศไทยยังมีจานวนน้อย และส่วนใหญ่เป็นการ ย่ืนจดทะเบียนโดยชาวต่างชาติ โดยในปี ค.ศ. 2014 สถิติการยื่นจดทะเบียนสิทธิบัตรในประเทศไทย มีจานวนรวมท้ังสิ้น 12,007รายการ (สิทธิบัตรการประดิษฐ์ 7 ,930 รายการ และสิทธิบัตรการออกแบบ 4 ,077 รายการ) ในจานวนน้ีเป็นของคนไทย 3,789 รายการ (ร้อยละ 31.56) และเป็นของคนต่างชาติ 8,218 รายการ (ร้อยละ 68.44) โดยเฉพาะสิทธบิ ตั รการประดิษฐ์ซ่ึงเป็นการยื่นคาขอรับสิทธิบัตรของชาวต่างชาติเป็นจานวนถึง 6,947 รายการ ขณะที่คนไทย ย่ืนคาขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์เพียง 983 รายการเท่านั้น ดังน้ันจึงมีความจาเป็นต้องเร่งสร้างความตระหนัก ให้คนไทยเห็นความสาคัญและสนับสนุนการนาสิทธิบัตรมาใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์มากข้ึน รวมทั้งปรับปรุงข้ันตอนการ จดสิทธิบตั รใหม้ ีประสทิ ธิภาพและรวดเร็วขน้ึ ดังนนั้ ในอนาคตขา้ งหนา้ ประเทศไทยจงึ มคี วามเส่ยี งท่จี ะสูญเสียขีดความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลกอย่างรวดเร็ว เนื่องจากข้อจากัดทั้งด้านแรงงานและทรัพยากร ต้นทุนการผลิตในประเทศไทยสูงขึ้นตามต้นทุนค่าจ้างแรงงาน ท่ีสูงข้ึนเพราะขาดแคลนแรงงานในภาวะท่ีโครงสร้างประชากรได้เข้าสู่สภาพของสังคมผู้สูงอายุมากข้ึนตามลาดับ เช่นเดียวกับต้นทุนวัตถุดิบท่ีสูงขึ้นเนื่องจากการประกอบธุรกิจ การค้าและการพัฒนาความเป็นอยู่ท่ีผ่านมา ใชท้ รพั ยากรอย่างสน้ิ เปลืองมาอย่างตอ่ เนื่องโดยที่การบังคับใชก้ ฎหมายเพื่อการกากบั ดแู ลขาดประสทิ ธิผลทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมจึงถูกใช้และทาลายร่อยหรอเส่ือมโทรมลงอย่างรวดเร็ว การฟ้ืนฟูและทดแทนมีความล่าช้าไม่ทันการณ์ ขณะที่ต้นทุนด้านบริหารจัดการและโลจิสติกส์ก็สูงขึ้นเนื่องจากการลงทุนเพ่ือการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ ตา่ ง ๆ ยงั ไม่เพยี งพอและขาดคุณภาพในหลายด้านและในหลายพืน้ ท่ีภาคธุรกจิ เอกชนจงึ เผชิญกับแรงกดดนั ดา้ นตน้ ทนุ 3 สานกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ (สวทน.) และ สานักงานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ

รา่ งยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 43 ส่วนที่ 2 3 สถานการณ์และแนวโน้มด้านประชากรและสงั คม สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา 3.1 สถานการณ์และแนวโน้มดา้ นประชากรและสังคมโลก แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของบริบทโลกที่มีนัยสาคัญต่อการกาหนดแนวทางการพัฒนาในอนาคต ได้แก่ การเข้าสู่สังคมสูงวัย จากอัตราการเกิดที่น้อยลงและการมีอายุขัยที่ยืนยาวข้ึน อีกท้ัง ยังมีแนวโน้มของการย้ายถ่ินฐาน ของประชากรท่เี พิ่มขึ้น จากการแสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจและความกดดนั ภายในประเทศ นอกจากนี้ รูปแบบการดาเนินชีวติ และ ควา มสั มพันธ์ขอ ง คน จ ะเปล่ี ยนแ ปล ง ไปจ า กอิ ทธิ พลขอ ง โล กา ภิวัต น์ แ ล ะความก้ า วห น้ า ทาง เ ทคโนโล ยี ขณ ะเ ดี ย วกั นยั ง มี ปั จ จั ย จ า กภ า ว ะโ ล ก ร้ อ น แ ล ะก า ร เ ป ล่ี ย นแ ปล ง ข อ ง ส ภ า พ ภู มิ อ า กา ศท่ี ส่ ง ผล กร ะท บ ต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ของคน สรปุ สาระสาคัญดงั น้ี 3.1.1 โครงสร้างประชากรที่เขา้ สูส่ งั คมสูงวัย การเกดิ ทนี่ อ้ ยลงและอายปุ ระชากรโลกทย่ี นื ยาวขนึ้ สง่ ผลตอ่ โครงสรา้ งประชากรทจ่ี ะมสี ดั สว่ นของผสู้ งู อายเุพมิ่ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง องค์การสหประชาชาติได้ประเมินสถานการณ์ว่า ในช่วงปี 2544-2643 (ค.ศ. 2001-2100) จะเป็นศตวรรษแห่งผู้สูงอายุ จากการเพมิ่ ข้ึนของประชากรผูส้ ูงอายุ โดยประเทศพัฒนาแล้วจะเขา้ ส่สู งั คมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ จานวนประชากรที่อายุมากกว่า 60 ปีจะเพมิ่ จาก 600 ล้านคนในปี ค.ศ. 2000 เป็น 2,100 ลา้ นคนในปี ค.ศ. 2050*4 อายุเฉลี่ยของกลุ่มคนวัยทางานจะสูงขึ้น มีการประมาณการว่าในปี 2050 อายุเฉล่ียแรงงานในยุโรปจะเพิ่มเป็น 52.3 ปี จากอายุเฉลี่ยปัจจุบันท่ี 37.7 ปี *5 รวมถึงประชากรในภาพรวมจะมีอายุยืนยาวขึ้นส่งผลให้ต้องมีการออกแบบ นโยบายด้านการจ้างงาน สาหรับกลุ่มผู้สูงอายุ อย่างเหมาะสม อีกท้ัง การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างประชากร ยังส่งผลต่อภาระงบประมาณภาครัฐที่ต้องเตรียมการ ในอนาคต โดยในปี 2050 คาดการณ์ว่ามีประชากร 1 ใน 3 ของประเทศพัฒนาแล้วท่ีมีการใช้สิทธิเงินบานาญ และในส่วนของการเกิดที่น้อยลงนั้น มีการประมาณการว่า คนทั่วโลกมีบุตรน้อยลงหรือเลือกท่ีจะไม่มีบุตรเลย ตัวอย่างเช่นมีการประมาณว่าสัดส่วนของผู้หญิงอิตาลีร้อยละ 25 ไม่มีบุตร และอีกร้อยละ 25 จะมีบุตรเพียงคนเดียว *6 ซ่งึ ยอ่ มสง่ ผลกระทบต่อโครงสรา้ งของครอบครวั และระบบเกื้อกลู ภายในครอบครวั ทจ่ี ะเปล่ียนไปอย่างหลีกเล่ียงไมไ่ ด้ 3.1.2 การย้ายถนิ่ ฐานและการเคล่ือนยา้ ยประชากร การเคล่ือนย้ายประชากรระหว่างประเทศมีแนวโน้มสูงข้ึนจากการที่ประชากรแสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจที่ดีข้ึน การเปิดเสรีทางการค้า การหลบหนีความขัดแย้ง และสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรมลง ประกอบกับโครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคมขนส่งมีความสะดวกเพ่ิมข้ึน ทั้งนี้ การเคล่ือนย้ายถ่ินฐานจะสร้างความซับซ้อนย่ิงข้ึนท่ีทาให้ต้อง มีการบริหารจัดการเมืองและความหลากหลายทางชาติพันธุ์และวัฒนธรรม รวมถึงประชากรแฝงอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ หากพิจารณาในมิติของเจเนอเรชัน พบว่าประชากรในกลุ่ม Gen Y ที่จะเป็นกลุ่มหลักในอนาคต ให้ความสาคัญกับ การหาประสบการณ์และการใช้ชีวิตให้คุ้มค่า จึงมีแนวโน้มในการเคล่ือนย้ายไปเรียนหรือทางานในท่ัวทุกมุมโลก ท่ีสูงข้ึน อยา่ งไรก็ตาม จากการทีห่ ลายประเทศทั่วโลกไดเ้ คลอื่ นสู่การเป็นสงั คมสูงวยั โดยทม่ี กี าลงั แรงงานลดลง จึงกอ่ ใหเ้ กิดการแย่งชิง ประชากรวัยแรงงาน โดยเฉพาะคนท่ีมศี กั ยภาพสูงเพอ่ื รกั ษาความต่อเนือ่ งการเติบโต ของเศรษฐกิจประเทศนั้นๆ ได้ตอ่ ไป 4 (รา่ ง) แผนบูรณาการการพฒั นาคนไทยตลอดชว่ งวัย ภายใตโ้ ครงกาจัดทาแผนแม่บทกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์ พ.ศ. 2561– 2579 5 Lynda Gratton (2014). The Shift: The Future of Work is Already Here. Great Britain: William Collins. P.37 6 Ibid (2014). P.37

ร่างยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 44 สว่ นท่ี 2 3 สถานการณ์และแนวโนม้ ด้านประชากรและสงั คม สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา 3.1.3 วถิ ชี วี ิตรูปแบบใหมจ่ ากผลของโลกาภิวัตน์ พลังของโลกาภิวัฒน์ทาให้ขอบเขตการดาเนินธุรกิจและการใช้ชีวิตมิได้จากัดอยู่เฉพาะในพื้นที่หรือประเทศของ แต่ละบคุ คลเทา่ นัน้ แต่ทาใหเ้ กิดการเชือ่ มตอ่ ถึงกันท่ัวโลกเกิดแนวโน้มการเคล่ือนยา้ ยประชากรระหวา่ งประเทศเพ่ือแสวงหาโอกาสทาง เศรษฐกิจท่ีดีข้ึน กระแสวัฒนธรรมโลกมีการเลื่อนไหล ส่งผลต่อวิถีชีวิตและรูปแบบการบริโภค โดยเฉพาะเกิดการแลกเปล่ียน เรียนรู้และทางานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยไม่จาเป็นต้องรู้จักตัวตนซึ่งกันและกันได้ทุกท่ีทุกเวลา อีกท้ัง เกิดการผสมผสานกันระหว่างวัฒนธรรม ซึ่งในแง่หนึ่งจะทาให้เกิดการสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ๆ ร่วมกัน และทาให้ การทางานมีประสิทธิภาพและสะดวกยิ่งข้ึน แต่ในอีกแง่หน่ึงอาจส่งผลต่อการเปล่ียนวิถีการทางานไปสู่งาน ที่ เ ร่ ง รี บ แ ล ะ ม า ก ข้ึ น จ า ก ป ริ ม า ณ ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร แ ล ะ ก า ร ติ ด ต่ อ ส่ื อ ส า ร ท่ี เ พ่ิ ม ขึ้ น ส่ ง ผ ล ใ ห้ มี ค ว า ม เ ป็ น ปั จ เ จ ก นิ ย ม มีปฏิสัมพันธ์แบบตัวต่อตัวลดลง และมีโอกาสนาไปสู่พ้ืนฐานจิตใจท่ีมีความโดดเด่ียวสูงข้ึน อีกทั้งอาจก่อให้เกิด วิกฤตทางวัฒนธรรมเนื่องจากขาดการคัดกรองและเลือกรับวัฒนธรรมที่ดีงาม นาไปสู่การสูญเสียคุณค่า ทางวัฒนธรรมดั้งเดิมและพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ นอกจากน้ีโลกาภิวัตน์ยังเป็นปัจจัย ในการเพิ่มความเป็นเมือง ที่ ท า ใ ห้ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ดี ข้ึ น โ ด ย ค า ด ว่ า ใ น ปี 2 0 5 0 ป ร ะ ช า ก ร ถึ ง ร้ อ ย ล ะ 7 2 7 จ ะ อ ยู่ ใ น เ ข ต เ มื อ ง ส่งผลต่อความท้าทายในการจัดทรัพยากรและระบบสังคม ซึ่งหากจัดการไม่ดีก็อาจจะเกิดเป็นสลัมขนาดใหญ่ ( Mega Slum) ซ่ึงมีการคาดการณ์ว่าในปี 2020 ประชากรประมาณ 1.5 พันล้านคนจะอาศัยอยู่ในสลัม 8 อีกท้ังเมือง แต่ ล ะเ มื อ งจ ะมี ระดั บควา มน่ า สนใจ ในการดึ ง ดู ด กลุ่มคนท่ี มี ควา มส า มา รถสู ง ได้ แ ตกต่ า ง กั นซ่ึง จ ะส่ ง ผล ตอ่ การความได้เปรยี บในการแยง่ ชิงแรงงานและการเติบโตทางเศรษฐกิจต่อไป 3.1.4 การเปลีย่ นแปลงของตลาดงานและคณุ ภาพชีวิตจากความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี ปัจจุบันโลกกาลังก้าวเข้าสู่ยุค Disruptive Technology ไม่ว่าจะเป็น Mobile technology, Internet of Things, Cloud, ระบบอัตโนมัติ, หุ่นยนต์, ปัญญาประดิษฐ์ ฯลฯ ท่ีได้สร้างผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมบนเทคโนโลยีรูปแบบใหม่ๆ ซึ่งส่งผลกระทบต่อรูปแบบการดาเนินธุรกิจ การดาเนินชีวิต และรูปแบบการทางาน รวมถึงสร้างโอกาสในชีวิต ของกลุ่มคนรุ่นใหม่อายุน้อยท่ีมีความสามารถ โดยในปัจจุบันพบว่า อายุเฉลี่ยตอนจัดต้ังกิจการท่ีมีมูลค่าเกิน หนึง่ พนั ล้านเหรยี ญสหรัฐอย่ทู ่ีเพยี ง 31 ปเี ท่าน้ัน อีกท้ังจะเกิดอาชีพใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยมีในอดีต เช่น Data scientist, Artiffi ifi cial Intelligence specialist นอกจากนี้ หากสามารถพัฒนาคนและโครงสร้างพ้ืนฐานรองรับได้อย่างเหมาะสม ก็จะสามารถนาเทคโนโลยีนามาใช้แก้ไขปัญหาสังคมและยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิตได้ในหลายด้าน อาทิ การพัฒนาระบบการเรียนรู้โดยอาศัยเทคโนโลยีใหม่ๆ การใช้ปัญญาประดิษฐ์ช่วยวิเคราะห์ข้อมูลจานวนมหาศาล การมีเทคโนโลยีการแพทย์ใหม่ๆ เช่น บริการ Telemedicine การพัฒนา smart medical device สาหรับผู้สูงอายุ กา ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ติ ด ต า ม / ก ล่ั น ก ร อ ง / ก า กั บ ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร ด้ า น สุ ข ภ า พ โ ด ย เ ฉ พ า ะท า ง social media เพื่อให้มีข้อมูลสุขภาพท่ีถูกต้องแก่ผู้บริโภค อย่างไรก็ตาม จะมีการเพิ่มจานวนงานท่ีมีลักษณะไม่ประจามากขึ้น ขณะท่ีหลายอาชีพอาจหายไปจากตลาดงานในปัจจุบัน และบางอาชีพจะถูกทดแทนด้วยระบบอัตโนมัติ เกิดการกดดันให้ค่าจ้าง มีแนวโน้มลดลง ซ่ึงย่อมส่งผลต่อความมั่นคงในชีวิตของแรงงาน โดยเฉพาะกลุ่มแรงงานทักษะต่าและกลุ่มที่ไม่สามารถ ปรับตัวให้เขา้ กับโลกของงานยุคใหม่ได้ และจะทาให้ช่องวา่ งระหวา่ งคนรวยและคนจนเพ่ิมสูงข้นึ 7 World Urbanization Prospects: The 2014 Revision 8 Ibid (2014). P.125

ร่างยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 45 ส่วนท่ี 2 3 สถานการณ์และแนวโน้มด้านประชากรและสงั คม สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา 3.1.5 ผลกระทบเชงิ สงั คมจากภาวะโลกร้อนและการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ องค์การสหประชาชาติได้ประมาณการว่าอุณหภูมิของโลกจะสูงขึ้น โดยเฉลี่ย 2-4 oC ส่งผลให้ระดับน้าทะเลสูงขึ้น 20-50 เซนติเมตร ภายในสิ้นศตวรรษท่ี21เน่ืองจากการละลายของภูเขาน้าแข็งและธารน้าแข็ง ซึ่งภาวะโลกร้อน มีความเช่ือมโยงท่ีทาให้เกิดความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศและการเกิดพายุและภัยธรรมชาติที่รุนแรงและบ่อยคร้ังขึ้น ซ่ึงปรากฏการณ์ดังกล่าวคาดว่าจะส่งผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมมากท่ีสุด โดยจะทาให้ปริมาณผลผลิตการเกษตรที่ลดลง และส่งผลรายได้ของประชากร ในประเทศต่อไปที่จะประสบกับปัญหาความยากจนมากข้ึน มีการย้ายเข้าไปทางานในเมือง ทาให้ครอบครัวข้ามรุ่นมีจานวนเพ่ิมมากข้ึน ซึ่งกระทบต่อความอยู่ดีมีสุขและความมั่นคงทางการเงินของครอบครัวได้ นอกจากน้ี ภาวะโลกร้อนยงั ก่อใหเ้ กดิ ความเสย่ี งทจี่ ะเกิดโรคระบาดและโรคอุบัตใิ หมห่ รอื โรคอบุ ตั ิซ้าเพิม่ มากขนึ้ ดว้ ย 3.2 สถานการณแ์ ละแนวโนม้ ของประชากรและสังคมไทย การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาถัดไปจะเผชิญกับความท้าทายในหลายด้าน ท้ังการเปล่ียนแปลงด้านประชากร ท่ีประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมสูงวัยระดับสุดยอดในปี 2579 สถาบันครอบครัวมีขนาดเล็กลง และมีรูปแบบที่หลากหลายมากขึ้น ปัญหาเชิงคุณภาพของประชากรทุกกลุ่มวัย ทั้งในส่วนของคุณภาพการศึกษา ระดับคุณธรรมจริยธรรม ความเจ็บป่วย จากโรคไม่ติดต่อเรอ้ื รงั ดังนี้ 3.2.1 การเข้าสู่สังคมสงู วัยระดบั สุดยอดในปี 2579 โดยจะมีสัดส่วนของผู้สูงอายุถึงร้อยละ 30 ขณะที่สัดส่วนวัยเด็กและวัยแรงงานมีสัดส่วนลดลงอย่างต่อเน่ือง โดยวยั เดก็ มสี ัดสว่ นคดิ เปน็ ร้อยละ 14 ขณะท่ีวยั แรงงานคิดเปน็ ร้อยละ 56 ท้ังนก้ี ารลดลงของจานวนวัยแรงงานซึง่ เรม่ิ ตั้งแต่ปี 2557 จะเป็นปัจจัยสาคัญท่ีส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เน่ืองจากวัยแรงงานเป็นกลุ่มวัยเดียว ที่มีรายได้มากกว่าค่าใช้จ่าย ดังน้ันการลดลงของจานวนวัยแรงงานจึงส่งผลต่อรายได้ของภาครัฐ ที่จะนามาใช้จ่าย ในการพัฒนาประเทศและการจัดสวัสดิการต่าง ๆ โดยเฉพาะภาระค่าใช้จ่ายในกลุ่มผู้สูงอายุที่จะมีเพิ่มสูงข้ึน ขณะเดียวกัน ยังมีการเปลี่ยนแปลงของเจเนอเรชัน ( Generation) คือ กลุ่มประชากรท่ีเกิดและเติบโต ในแต่ละช่วงเวลา ภายใต้สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน ส่งผลให้มีทัศนคติและวิถีการใช้ชีวิตท่ีแตกต่างกัน โดยประชากรรุ่นใหม่ เกิดมาท่ามกลางความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ส่งผลให้มีแนวความคิดและรูปแบบการใช้ชีวิตต่างไปจากรุ่นก่อน ซึ่งต้องการชุดนโยบายสนับสนุนการเล้ียงดู การเรียนรู้และการทางานในรูปแบบที่ต่างออกไป รวมถึงศักยภาพ ในการใช้และการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและความรู้จะมีความแตกต่างกันในแต่ละเจเนอเรชัน ( Digital Divide) อาจนาไปส่โู อกาสในการมีงานทาที่ดที ่ตี า่ งกัน และสง่ ผลต่อความเหลื่อมลา้ ทางรายไดข้ ้นึ ในอนาคต 3.2.2 คนไทยทุกกลมุ่ วยั ยังมีปญั หาดา้ นคณุ ภาพ โดย กลุ่มเดก็ ปฐมวัย (0-5 ป)ี จานวนเด็กปฐมวัยลดลงอย่างต่อเน่ือง และมีปัญหาพัฒนาการไม่สมวัยกว่าร้อยละ 27.5 สาเหตุส่วนใหญ่ มาจากครอบครัวไม่มีความรู้และเวลาในการเลี้ยงดู อีกท้ังยังมีปัญหาเรื่องคุณภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย ส่วนกลุ่มเด็กวัยเรียนมีปัญหาด้านความสามารถทางเชาว์ปัญญา ( IQ) และความฉลาดทางอารมณ์ ( EQ) ท่ีมีค่าเฉลี่ยต่ากว่ามาตรฐาน โดยมีระดับ IQ เท่ากับ 93.1 ระดับ EQ เท่ากับ 45.12 รวมถึงมีคะแนน O-NET ต่ากว่าร้อยละ 50 มีคะแนน PISA ปี 2015 ต่ากว่าค่าเฉลี่ย OECD ค่อนข้างมาก และตั้งแต่ปี 2000 ถึง 2015 พบว่าคะแนน PISA ในท้ังสามวิชาท่ีใช้ในการสอบมีแนวโน้มลดลง ส่วนวัยรุ่นมีปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ปัญหายาเสพติด สาหรับกลุ่มวัยแรงงานมีปัญหาผลิตภาพแรงงานต่า โดยจากการจัดลาดับของ IMD ในปี 2017 พบว่า ประเทศไทยมีผลิตภาพแรงงานอยู่ลาดับท่ี 57 จาก63ประเทศ มีสาเหตุสาคัญจากทักษะและสมรรถนะไม่สอดคล้อง กับควา มต้ อง การของ ตล า ดแ รงง าน ( Mismatching) แล ะแรง งา นไทยท้ั ง ที่เ ป็นแ รง งา นฝีมื อ แล ะแ รงง า น ก่ึงฝีมือยังมีทักษะต่ากว่าความคาดหวังของผู้ประกอบการ ท้ังทักษะด้านภาษาต่างประเทศ การใช้คอมพิวเตอร์ คณิ ต ศาส ต ร์ แล ะการคา นวณ ทักษ ะกา รส่ื อส า รกา รบริ หา รจั ดกา ร แ ล ะควา มสา มา รถเ ฉพา ะในวิช า ชี พ ในขณะทีก่ ลุม่ ผสู้ ูงอายุมปี ญั หาทางสขุ ภาพและมีแนวโนม้ อยคู่ นเดยี วมากขนึ้

ร่างยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 46 สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา ส่วนท่ี 2 3 สถานการณ์และแนวโนม้ ด้านประชากรและสังคม 3.2.3 ครอบครวั ไทยมขี นาดเลก็ ลงและมรี ปู แบบทห่ี ลากหลายมากขน้ึ ลักษณะครอบครัวไทย “ตามแบบแผน” ท่ีเป็นครอบครัวสามรุ่นท่ีประกอบด้วย พ่อแม่ ปู่ย่าหรือตายาย และเดก็ สองหรอื สามคน มรี ปู แบบทหี่ ลากหลายขนึ้ โดยระหวา่ งปี 2533 – 2553 แมค้ รอบครวั สามรนุ่ จะยงั เพมิ่ ขน้ึ ประมาณ 1.3 เทา่ และเป็นครอบครัว ประเภทหลักแต่รูปแบบ ครอบครัวเด่ียว/ครัวเรือนคนเดียวก็มีสัดส่วนสูงขึ้นเช่นกัน โดยครอบครัวท่ีเป็น คสู่ ามภี รรยาทีไ่ มม่ ีบุตรเพิ่มขนึ้ ถงึ 3 เท่า เชน่ เดยี วกบั ลกั ษณะของการเป็นครัวเรือนคนเดียวเพิ่มข้ึนถึง 2 เท่า ขณะทค่ี รอบครวั พอ่ แม่ ลูก ซึ่งเคยเป็นครอบครัว ประเภทหลักกลับมีสัดส่วนลดลงประมาณคร่ึงหนึ่ง การเปล่ียนแปลงโครงสร้างครอบครัว ไปสูร่ ปู แบบท่ีหลากหลาย อาจส่งผลกระทบต่อบทบาทหนา้ ทีข่ องครอบครัว ในการทาหน้าที่ขัดเกลาทางสังคม การอบรมเล้ียงดู รวมถึงการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้กับคนรุ่นหลัง และยังส่งผลถึงสัมพันธภาพของการอยู่ร่วมกัน ของสมาชิกในครอบครัวที่ลดลง ขณะเดียวกันคุณลักษณะ ของบิดาและมารดาและวิธีการในการเลี้ยงดู เช่น การละเลย ในการเลี้ยงดูบุตร การเลี้ยงดูโดยการตามใจ ขาดการวางกรอบกติกาให้กับเด็ก ยังมีผลต่อพัฒนาการในการเติบโตเป็นคนดี ฉลาด รู้เท่าทัน มีทักษะชีวิตและจิตสานึกท่ีดี อีกท้ังยังมีความเปราะบางในครอบครัวบางประเภท โดยที่ครอบครัวเล้ียงเด่ียว และครอบครัวข้ามรุ่น ถือเป็นครอบครัวที่มีความเปราะบางมากกว่าครอบครัวประเภทอ่ืนเพราะปัญหายากจน และความลาบากในการจัดหาที่อยู่อาศัย อีกทั้งยังต้องรับมือกับทัศนคติในเชิงลบและการตีตราทางสังคม โดยเฉพาะแม่เลี้ยงเด่ียวที่มีอายุน้อย ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการและการศึกษาต่อของเด็ก นอกจากน้ีพบว่า เด็กทีไ่ ด้รับการดแู ลโดยปยู่ า่ ตายายท่ีสูงอายุ มีผลการเรียนที่ด้อยกว่าเด็กทอี่ าศยั อยกู่ บั พอ่ แม่ 3.2.4 คณุ ภาพการศกึ ษาและการเรยี นรขู้ องคนไทยยงั อยใู่ นระดบั คอ่ นขา้ งต่า คนไทยได้รับโอกาสทางการศึกษาสูงขึ้น โดยมีจานวนปีท่ีคาดว่าจะได้รับการศึกษา ( expected years of schooling) เพิ่มจาก 11.2 ปี ในปี 2543 เป็น 13.6 ปี ในปี 2559 นอกจากน้ีผู้หญิงมีสัดส่วนได้เรียนมหาวิทยาลัย มากกว่าผู้ชาย อย่างไรก็ตามการศึกษาไทยทุกระดับ ยังมีปัญหาเชิงคุณภาพที่ต้องเร่งแก้ไข เพราะมีปัญหาเร่ืองหลักสูตร และระบบการเรียนการสอน ที่เน้นการท่องจาไม่สอนกระบวนการคิด ทาให้ขาดความคิดสร้างสรรค์และทักษะที่ จาเป็นอื่น ๆ ปัจจัยสนับสนุน การจัดการเรียนการสอน และครูที่มีคุณภาพยังกระจายไม่ทั่วถึงโดยเฉพาะในพื้นท่ีห่างไกล ขณะเดียวกันคนไทยส่วนใหญ่ ยังไม่ให้ความสาคัญ กับการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยการใช้อินเตอร์เน็ตของคนไทยเพิ่มสูงขึ้นเป็น 26 ล้านคน แต่เป็นการใช้เพื่อการอ่านหาความรู้ เพียงร้อยละ 31.7 และอัตราการอ่านหนังสือของคนไทยอยู่ที่ร้อยละ 81.8 โดยอา่ นเฉลยี่ วันละ 37 นาที แตก่ ลุ่มประชากรวยั สูงอายุ ยังมอี ัตราการอ่านทีต่ า่ คือ ประมาณร้อยละ 57.8

ร่างยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 47 สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา สว่ นท่ี 2 3 สถานการณ์และแนวโนม้ ด้านประชากรและสงั คม 3.2.5 คนไทยมแี นวโนม้ เสยี ชวี ติ จากโรคไมต่ ดิ ตอ่ มากขนึ้ คนไทยมีการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังสาคัญใน 5 โรคเพิ่มขึ้น ได้แก่ โรคหัวใจ เบาหวาน หลอดเลือดสมอง ความดนั โลหติ สงู และมะเรง็ โดยชว่ งปี 2544– 2557 มอี ตั ราเพม่ิ เฉลีย่ กวา่ รอ้ ยละ 12 สาเหตสุ าคัญมาจากการมพี ฤติกรรมเส่ยี ง ทางสุขภาพท่ีไม่เหมาะสม ได้แก่ การสูบบุหรี่ บริโภคเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ การบริโภคอาหารท่ีมีความเส่ียงต่อสุขภาพ ทง้ั อาหารหวานมนั เค็ม เคร่ืองดมื่ รสหวาน การบรโิ ภคผกั ผลไมท้ ไ่ี มเ่ พยี งพอ และการขาดการออกกจิ กรรมทางกาย อยา่ งต่อเนอื่ ง ขณะท่ีปัจจัยสภาพแวดล้อมก็เป็นสาเหตุสาคัญเช่นกัน ได้แก่ ความยากจน ที่อยู่อาศัยและสภาพการทางาน ทสี่ ง่ ผลตอ่ วถิ ชี วี ติ ระดบั การศกึ ษา มลพษิ ในสงิ่ แวดลอ้ ม เปน็ ตน้ 3.2.6 ภาครฐั มแี นวโนม้ รบั ภาระดา้ นสขุ ภาพเพมิ่ สงู ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ งโดยเฉพาะรายจา่ ยของระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพภาครฐั ในปี 2534 มกี ารคาดการณว์ า่ รายจ่ายสขุ ภาพภาครัฐจะสูงข้ึนเปน็ 684,275 ลา้ นบาท และรายจ่ายหลักประกันสุขภาพ ภาครัฐจะสูงข้ึนเป็น 433,664 ล้านบาท จึงอาจส่งผลกระทบต่อความย่ังยืนทางการคลังในอนาคต อีกทั้ง แต่ละระบบหลักประกันสุขภาพยังมีปัญหาด้านการบริหารจัดการที่ยังขาดประสิทธิภาพ กล่าวคือ กลไกการบริหารจัดการ และระบบฐานข้อมูลยงั คงแยกสว่ นกนั ในแต่ละระบบสง่ ผลต่อการจัดบรกิ ารทีเ่ ปน็ เอกภาพ ท้งั ด้านสิทธปิ ระโยชน์ อัตราการเบิกจ่าย และคุณภาพบรกิ าร จงึ เปน็ ความทา้ ทายในการสร้างความสมดุลระหว่างความย่ังยืน ทางภาระการคลังภาครัฐและการจัดบริการ ทมี่ ีคุณภาพภายใตร้ ะบบหลักประกันสขุ ภาพภาครัฐ 3.2.7 คนไทยสว่ นใหญย่ งั มปี ญั หาดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และไมต่ ระหนกั ถงึ ความสาคญั ของการมวี นิ ยั ความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ และการมจี ติ สาธารณะ ค่านิยมในสังคมไทยเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตามกระแสการเปล่ียนแปลงต่างๆ ที่หลั่งไหลเข้าสู่ประเทศไทยในสังคม ที่เป็นยุคดิจิทัลคนไทยยังขาดทักษะในการคัดกรอง และเลือกรับวัฒนธรรมที่ดี จากต่างประเทศมาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน ทาให้ละทิ้งค่านิยมท่ีดีงามอันเป็นเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย และลดคุณค่าของความเป็นไทย นอกจากน้ีมีค่านิยมยึดตนเอง เป็นหลักมากกว่าการคานึงถึงสังคมส่วนรวม รักสนุกและความสบาย เชื่อข่าวลือ ขาดความอดทน ขาดวินัย วัตถุนิยม ยอมรบั คนทฐี่ านะมากกวา่ คนดมี คี ณุ ธรรม

รา่ งยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี 2560 - 2579 48 สว่ นท่ี 2 4 สถานการณ์และแนวโน้มด้านความเหล่อื มล้า สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา 4.1 สถานการณแ์ ละแนวโน้มดา้ นความเหลื่อมล้าระดับโลก ปัจจุบันโลกมีความเหล่ือมล้าหลายด้านท่ีสะท้อนถึงความไม่เสมอภาคระหว่างภูมิภาค และระหว่างประเทศ ทั้งในส่วนของความเหลื่อมล้าทางด้านดิจิทัลและเทคโนโลยีระหว่างประเทศที่ส่วนใหญ่ความก้าวหน้าจะอยู่ในประเทศที่พัฒนาแล้ว และการมีรายได้และความม่ังค่ังของโลกท่ียังค่อนข้างกระจุกตัว ขณะที่ ทรัพยากรมนุษย์ท่ีเป็นปัจจัยสาคัญต่อการขับเคลื่อน การพัฒนาของแต่ละประเทศ ยังมีคุณภาพที่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด ดังน้ัน นานาประเทศต้องมีการบริหารจัดการ ปจั จัยความเหลือ่ ลา้ ดงั กลา่ ว เพื่อไม่ใหป้ ัญหาความเหลือ่ มลา้ ระหวา่ งประเทศทวคี วามรนุ แรงยิง่ ขน้ึ 4.1.1 ความเหลอ่ื มล้าทางดา้ นดจิ ทิ ลั และเทคโนโลยสี ารสนเทศ สังคมโลกในอนาคตจะมีความเช่ือมโยงกับเทคโนโลยีท่ีทันสมัย และมีความเป็นดิจิทัล (Digital) มากข้ึน ซ่ึงหลายประเทศในภูมิภาคโลกได้มีการปรับตัวเพื่อรองรับการพัฒนาที่มีความทันสมัย มากข้ึน อย่างไรก็ตาม แม้ว่ากระแสแห่งการเป็นสังคมดิจิทัลได้ทาให้หลายประเทศมีการปรับตัวรองรับการพัฒนาในยุคดิจิทัล อาทิ E-Commerce และการสื่อสารแบบไรพ้ รมแดน แตย่ งั พบวา่ ยงั มคี วามเหลอ่ื มล้าแหง่ สงั คมยคุ ดิจทิ จั (Digital Divide) เกดิ ขน้ึ โดยความเหล่ือมล้าดังกล่าว เป็นความเหล่ือมจากการมีข้อจากัดในการเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร อินเทอร์เน็ต และการมีข้อจากัด การเข้าถึงอุปกรณ์ต่างๆ เช่น อุปกรณ์ส่ือสาร และคอมพิวเตอร์ เป็นต้น มีผลต่อการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ และสงั คมของแต่ละประเทศ ซ่ึงเห็นได้จากตัวชี้วัดทางด้านการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของโลก (ICT Development Index) ท่ีไม่เท่าเทียมกัน โดยประเทศท่ีมีการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศค่อนข้างสูง จะเป็นประเทศในโซนทวีป อเมริกาเหนือ และยโุรปตะวนั ตก สว่ นประเทศทมี่ กี ารพฒั นาคอ่ นขา้ งนอ้ ยสว่ นใหญอ่ ยใู่นโซนทวปี แอฟรกิ าและเอเซยี ใต้ 4.1.2 ความเหลอ่ื มล้าทางดา้ นรายไดแ้ ละความมงั่ คง่ั ในสังคมโลกปัจจุบัน ปัญหาความเหลื่อมล้าทางด้านรายได้เป็นปัจจัยหนึ่ง ที่ฉุดร้ังการพัฒนาประเทศ โดยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา นานา ประเทศต่างต้องการแก้ไขปัญหาความเหล่ือมล้า ทสี่ ง่ ผลกระทบใหเ้กดิ ชอ่ งวา่ งระหวา่ งคนรวยและคนทม่ี รี ายไดน้ ้อย จนนาไปสู่ความไม่เท่าเทียมกันในโอกาสทางสังคม และความม่ันคง ในชีวิตของประชาชน นอกจากน้ัน ปัญหาความไม่เสมอภาคกนั ทางรายไดย้ ังนาไปสกู่ ารสรา้ งข้อจากัด ในการพัฒนาศกั ยภาพ ของมนษุ ย์ทส่ี าคัญในดา้ นต่างๆ อาทิ การศึกษา สาธารณสุข และเทคโนโลยี ท่ีมคี วามจาเปน็ ตอ่ การพฒั นาประเทศใหม้ คี วามเจริญ อย่างต่อเน่ือง จากข้อมูลค่าสัมประสิทธ์ิความไม่เสมอภาคด้านรายได้ (Gini coeffiffiicient) ปี พ.ศ. 2557 พบว่าแต่ละประเทศ มีระดับความเหลอ่ื มลา้ ท่ีแตกต่างกัน โดยประเทศทมี่ รี ะดับความเหลอื่ มลา้ ทางดา้ นรายได้น้อยทส่ี ดุ คอื ประเทศในทวปี ยโุรป เชน่ ฮงั การี เยอรมนี ฝร่ังเศส และสวิสเซอน์แลนด์ เป็นต้น โดยมีค่าสัมประสิทธ์ิฯ ไม่ถึง 0.3 ในขณะท่ีประเทศในทวีปเอเซีย อาทิ มาเลเซีย อินโดนีเซีย และไทย มีค่าสัมประสิทธ์ิมากกว่า 0.4 ขึ้นไป ขณะเดียวกันพบว่า คนที่รวยมากที่สุดร้อยละ 1 ของโลก ถอื สัดส่วนความมั่งคัง่ กวา่ รอ้ ยละ 50 เมอ่ื เทยี บกบั สดั สว่ น ประชากรทเี่ หลอื ของโลก (รอ้ ยละ 99 ของประชากรทง้ั หมด) กลา่ วคอื ร้อยละ 1 ของคนท่ีรวยท่ีสุดของโลก มีส่วนแบ่งเพ่ิมข้ึนเป็นครึ่งหนึ่งของความมั่งค่ังท้ังหมดของโลก ในขณะท่ี คนทเี่หลอื มสี ว่ นแบง่ ความมง่ั คงั่ ลดลงเหลอื เพยี ง สว่ นครง่ึ หนง่ึ ทเี่หลอื ของโลกเทา่ นน้ั 4.1.3 ความเหลือ่ มล้าด้านการพัฒนามนุษย์ ดัชนีการพัฒนามนุษย์ (HDI) บ่งบอกการพัฒนาใน 3 ด้านคือ สุขภาพ การศึกษา และเศรษฐกิจ ในขณะเดียวกัน จากปัญหาความเหล่ือมล้าที่มีอยู่ในทุกประเทศ ทาให้มีการคานวณ ดัชนีการพัฒนามนุษย์ท่ีมีการปรับลดความเหลื่อมล้า หรือที่เรียกว่า Inequality-adjusted Human Development Index (IHDI) ซึ่งเป็นการนาปัจจัยทางด้านสังคม อาทิ รายได้ อัตราการบริโภค และจานวนปีการศึกษา ที่เป็นสาเหตุ ของความเหลื่อมล้ามาคานวณรวมกับ HDI เพื่อให้ได้ค่าดัชนีการพัฒนามนุษย์ (ปรับลดความเหล่ือมล้า) (IHDI) ออกมาก ซ่ึงค่า IHDI ของแตล่ ะประเทศมกั จะนอ้ ยกว่า HDI เนื่องจากมีการปรับลดค่าความเหล่ือมล้าในการพัฒนาลง ซ่ึงจากข้อมูลในปี พ.ศ. 2558 พบว่า ประเทศไทยมี IHDI อย่ทู ี่ระดบั คะแนน 0.856 ขณะทป่ี ระเทศพัฒนาแล้วบางประเทศ เช่น ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และนอร์เวย์ มีระดับคะแนน IHDI มากถึง 0.791 0.796 และ 0.898 ตามลาดับ จากปัจจัยดังกล่าว สะท้อนให้เห็นถึงปัญหา ความเหล่ือมล้ าในการพัฒนามนุษย์ในระดับโลกเป็นอย่างมาก ซึ่งการพัฒนา มนุษย์เป็นปัจจัยส าคัญยิ่ง ในยกระดบั ประเทศสกู่ ารเปน็ ประเทศพฒั นาแลว้ ในอนาคต

รา่ งยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2560 - 2579 49 ส่วนที่ 2 4 สถานการณ์และแนวโนม้ ด้านความเหลอื่ มล้า สภาพแวดล้อมการ ัพฒนา 4.2 สถานการณ์และแนวโนม้ ดา้ นความเหลื่อมล้าในสังคมไทย ประเทศไทยยังมีความเหลื่อมล้าในหลายปัจจัย ทั้งในส่วนของความเหลื่อมล้าทางด้านรายได้ การถือครองทรัพย์สิน และการเข้าถึงบริการทางสังคมท่ีสาคัญ อาทิ การเข้าถึงบริการสาธารณสุข การศึกษา สวัสดิการสังคม กระบวนการยุติธรรม และโครงสรา้ งพ้ืนฐาน ซง่ึ ความเหลื่อมลา้ ต่างๆ ต้องไดร้ ับการแก้ไขอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและทั่วถึง เพื่อเป็นการสร้างความเสมอภาค ให้เกดิ ขน้ึ ในสงั คมไทยโดย “ไมท่ ิ้งใครไวข้ ้างหลัง” 4.2.1 ความเหลอ่ื มล้าดา้ นรายได้ แมท้ ีผ่ า่ นมา ประเทศไทยจะสามารถลดสัดส่วนคนจนจากร้อยละ 65.17 ในปี 2531 เหลือเพียง ร้อยละ 7.2 ในปี 2558 แต่ความเหล่ือมล้าทางรายได้ที่วัดจากค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาคด้านรายได้ ( Gini coeffiif cient) กลับลดลงเลก็ นอ้ ยจาก 0.478 ในปี 2531 เหลอื 0.445 ในปี 2558 ซ่งึ ยงั คงอย่ใู นระดับสงู อยา่ งไรก็ตาม ยังพบการกระจุกตัว ของรายได้ โดยในปี 2558 ประชากรกลุ่มที่รวยที่สุด 10% แรก มีสัดส่วนรายได้สูงถึงร้อยละ 34.98 ของรายได้คนท้ังประเทศ ขณะที่ประชากรกลุ่มทจี่ นทสี่ ดุ 10% แรก กลบั มีสดั สว่ นรายไดเ้ พยี งร้อยละ 1.58 ของรายไดค้ นทั้งประเทศ 4.2.2 ความเหล่ื อมล้ าด้าน การถือค รองทรัพย์ สิน เ มื่ อ พิ จ า ร ณ า ถึ ง ก า ร ถื อ ค ร อ ง ท รั พ ย์ สิ น ที่ ส า คั ญ ที่จะใช้ในการยกระดับคุณภาพชีวิต พบว่า ประเทศไทย มีความเหลื่อมล้าด้านการถือครองที่ดินท่ีสูงมาก โดยประชากร กลุ่มท่ีรวยท่ีสุด 10% แรก ถือครองที่ดิน ท่ีมีเอกสารสิทธิประเภทโฉนดที่ดินสูงถึง ร้อยละ 61.48 ของการถือครองที่ดิน ของคนไทย ขณะท่ีประชากรกลุ่มท่จี นทสี่ ุด 10% แรก กลับมีการถอื ครองท่ดี นิ เพยี งรอ้ ยละ 0.07 เทา่ นั้น ซึง่ มีความแตกต่างกันถึง 853.64 เท่า นอกจากนี้ เมื่อพิจารณา ถึงบัญชีเงินฝากในประเทศไทย พบว่า บัญชีเงินฝากที่มีจานวน 10 ล้านบาทขึ้นไป มีจานวนเพียงร้อยละ 0.1 ของจานวน บัญชีเงินฝากทั้งหมด แต่กลับมีมูลค่าเงินฝากถึง ร้อยละ 51.3 ของจานวนเงินฝาก ท้ังหมด ขณะเดียวกัน เมื่อพิจารณาถึงการมีหน้ีสิน พบว่า ประชากรกลุ่มที่รวยที่สุด 10% แรก มีหน้ีสินคิดเป็น 13.14 เท่าของรายได้ครวั เรือน ขณะท่ีประชากรกล่มุ ทีจ่ นทสี่ ดุ 10% แรก มหี นสี้ ินสงู ถึง 40.52 เทา่ ของรายไดค้ รัวเรอื น 4.2.3 ความเหลอื่ มลา้ ดา้ นการเขา้ ถงึ บรกิ ารทางสงั คมและโครงสรา้ งพน้ื ฐาน (1) การเขา้ ถงึ บรกิ ารดา้ นสาธารณสขุ หลังจากพระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2548 มผี ลบังคับใช้ เป็นผลให้คนไทยทุกคนท่ีมีเลขบัตรประจาตัวประชาชนมีหลักประกันด้านสุขภาพ ยกเว้นในกลุ่มบุคคลท่ีมีปัญหาสถานะและสิทธิ อย่างไรก็ตาม ยังพบความเหลื่อมล้าในส่วนของการกระจายบุคลากรและทรัพยากรทางการแพทย์ โดยเฉพาะการกระจุก ของบคุ ลากรทางการแพทย์ในเขตเมอื ง ทงั้ ในวชิ าชีพแพทย์ ทนั ตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวชิ าชีพ และพยาบาลเทคนิค (2) การเข้าถึงบริการด้านการศึกษา จากข้อมูลอัตราการเข้าเรียนสุทธิแสดงให้เห็นว่าประชากรกลุ่มที่มีรายได้สูงกว่า จะมีโอกาส ในการเข้าเรียนต่อท่ีสูงกว่าประชากรกลุ่มที่มีรายได้ต่ากว่า โดยเฉพาะเมื่อพิจารณาถึงอัตราการเข้าเรียนสุทธิ ในระดับปริญญาตรีซึ่งในปี 2558 ประชากรกลุ่มท่ีมีรายได้สูงท่ีสุด 10 %แรกมีอัตราการเข้าเรียนสุทธิในระดับ ปริญญาตรีเท่ากับ 62.8 ขณะท่ีประชากรกลมุ่ ที่มีรายได้ต่าสุดกลับมีอัตราการเข้าเรียนสุทธิในระดับปริญญาตรีเพียง 3.6 เท่าน้ัน ขณะเดียวกันงบประมาณอุดหนุนด้านการศึกษาของรัฐบาลต่อหัวนักเรียนยังมีจานวนสูงสุดในระดับปริญญาตรี ซึ่งนอกจาก ความเหลอ่ื มล้า ดา้ นโอกาสในการเขา้ ถงึ แลว้ ยงั พบวา่ มคี วามเหลอ่ื มล้าดา้ นคณุ ภาพการศกึ ษา โดยพจิ ารณาจากผลคะแนนทดสอบ PISA 2015 จาแนกตามกลุ่มประเภทสถานศึกษา พบว่า สถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษามีผลคะแนนเฉลี่ยต่ากว่า 400 คะแนน ขณะทโ่ีรงเรยี นทเ่ีนน้ วทิ ยาศาสตรค์ ณติ ศาสตร์ และกลมุ่ โรงเรยี นสาธติ มผี ลคะแนนเฉลยี่ มากกวา่ คา่ เฉลย่ี ของกลมุ่ ประเทศทพ่ี ฒั นาแลว้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook