Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารราชรถ เดือนกันยายน 2562

วารสารราชรถ เดือนกันยายน 2562

Published by prmottransport, 2021-02-22 02:20:26

Description: วารสารราชรถ เดือนกันยายน 2562

Search

Read the Text Version

วารสาร ฉบับประจำเดอื นกนั ยายน 2562 กระทรวงคมนาคม เดนิ หนาŒ พฒั นา โครงสราŒ งพ�้นฐาน ยกระดับคุณภาพชวี ต� ประชาชน

CONTENTS ถ้อยแถลง 10 เคทมียนบาคทม่า ก้าวเขา้ สูเ่ ดอื นกันยายน เราเดนิ ทางมาด้วยกนั จนเริม่ ศนู ยฝ์ กึ อบรมบคุ ลากรระบบราง รฟม. เขา้ สชู่ ว่ งสนิ้ ปี 2562 แลว้ นะครบั วารสารราชรถฉบบั น้ี พฒั นาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ทร่ี ถไฟฟา้ ดว้ ยมาตรฐานสากล ขอน�ำเสนอนโยบายของกระทรวงคมนาคม ภายใต้ การน�ำของ นายศกั ด์สิ ยาม ชิดชอบ รฐั มนตรวี า่ การ @สถานี MOT กระทรวงคมนาคม ในการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน ด้านการคมนาคมให้มีความหลากหลายไร้รอยต่อ “ประสบการณ”์ กระจายความเจริญสู่ภูมิภาค ยกระดับคุณภาพชีวิต คอื คลังความรู้ที่พรอ้ มรับ ของประชาชน รวมท้ังแนะนำ� ศูนยฝ์ ึกอบรมบุคลากร และถ่ายทอดต่อ ระบบราง รฟม. เพอื่ การพฒั นาเจา้ หนา้ ทรี่ ะบบรถไฟฟา้ อยา่ งยง่ั ยนื สำ� หรบั คอลมั นเ์ อน็ เตอรเ์ ทนเลนซา้ ย จะพา 12 เดินทางโดยรถไฟฟ้า MRT สัมผัสสถานีรถไฟฟ้าที่ สวยทส่ี ดุ พรอ้ มนำ� เทย่ี วพพิ ธิ ภณั ฑม์ วิ เซยี มสยาม นค่ี อื สว่ นหนง่ึ ในวารสารราชรถฉบบั นี้ที่รอผอู้ า่ นอย่คู รับ 4 14 16 คกรมะนทารควมง กระดานขา่ ว รม่ หกู วาง เดนิ หนา้ นโยบายเรง่ ดว่ น ราชรถ พัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐาน ลดภาระคา่ ครองชีพ ยกระดับคุณภาพชีวติ ประชาชน คณะผ้จู ัดท�ำ เอน็ เตอร์เทน 8 ทป่ี รกึ ษา นายชยั วฒั น์ ทองคำ� คณู ปลดั กระทรวงคมนาคม นายพศิ กั ด์ิ จติ วริ ยิ ะวศนิ รองปลดั กระทรวงคมนาคม เลนซ้าย นายจริ ุตม์ วศิ าลจติ ร รองปลดั กระทรวงคมนาคม นัง่ รถไฟฟ้า MRT นายสมัย โชตสิ กลุ รองปลดั กระทรวงคมนาคม สมั ผัสบรรยากาศ เอกลกั ษณ์ความเป็นไทย บรรณาธิการ ผู้อ�ำนวยการกองเผยแพร่และประชาสมั พันธ์ กองบรรณาธิการ ฝ่ายแผนงานและประชาสมั พนั ธ์ โทร.จ0ดั 2ท2ำ� 8โ3ดย30ก2อ4งโเทผรยสขแ่าาพวรรแ่แ0ลละ2ะ2ภป8า1รพะ6กช3จิา0กส0รมั รwพมwนั กwธร์ะ.สmทำ� oรนtว.กัgงคoง.ามthนนปhาลtคtpัดมsก;/ร/wะทwรwวง.fคacมeนbาooคkม.com/ 2 วารสาร

Trick ไมล่ ับ นกั เดินทาง ข้อปฏบิ ัติเพือ่ การขบั รถปลอดภยั ในชว่ งหน้าฝน หนา้ ฝน เปน็ อกี หนงึ่ ฤดทู ค่ี นขบั รถ จะไมค่ อ่ ยชอบ ทง้ั ฝนตก รถตดิ และ 1. เปดิ ไฟหน้าและหลังรถทกุ ครัง้ ทส่ี ำ� คญั อาจจะทำ� ใหเ้ กดิ อบุ ตั เิ หตุ ในขณะที่ขับรถและฝนตก จะท�ำให้สภาพอากาศมืดครึ้ม ท�ำให้ผู้ขับขี่ไม่สามารถมองเห็นทาง ไดง้ า่ ย เราขอแนะนำ� วธิ ปี ฏบิ ตั ิ 8 ขอ้ เพอื่ การใชร้ ถใชถ้ นนอยา่ งปลอดภยั ได้สะดวก การเปิดไฟจะเป็นอกี วิธีหนง่ึ ท่ที ำ� ให้เราเห็นทาง และคนั อื่นกส็ ามารถมองเหน็ เราได้ด้วย ในชว่ งหน้าฝนมาบอกกัน 2. การใช้น�้ำฉีดกระจกลา้ งสงิ่ สกปรกอยา่ งสม่ำ� เสมอ ในบางครงั้ ระหวา่ งทเี่ ราขบั รถในขณะฝนตก ยอ่ มมโี คลน หรอื นำ้� ทก่ี ระเดน็ มา การใชก้ า้ นปดั นำ้� ฝน ก็ไม่สามารถท่ีจะช่วยอะไรได้มาก ดังน้ัน การใช้น�้ำฉีดจึงเป็นวิธีช่วยชะล้างคราบโคลนได้ดีอีกวิธีหน่ึง 3. เปิดใบปดั นำ�้ ฝนให้แรงพอดี ในขณะทเ่ี ราขับรถแล้วฝนตก เราควรปรบั ระดบั ใบปัดนำ้� ฝนให้แรงพอดกี ับปรมิ าณฝนที่ตก 4. ลดความเรว็ ลดโอกาสลน่ื ไถล ในหลายการวิจัยพบว่าช่วงที่ฝนเร่ิมตกใน 10 นาทีแรก เป็นช่วงที่รถมีโอกาสล่ืนไถลมากท่ีสุด เพราะนำ�้ ฝนจะชะลา้ งคราบดนิ และฝนุ่ ละอองทต่ี ดิ อยบู่ นพน้ื ถนนซง่ึ มลี กั ษณะคลา้ ยการละเลงโคลน ดงั นน้ั การลดความเรว็ ของรถ จงึ เป็นการเพ่มิ ความปลอดภยั ในการขบั ขี่ 5. ห้ามเหยียบเบรคจนลอ้ หยดุ หมนุ ทันที ในขณะขบั รถ หากรถมกี ารลนื่ ไถลหรอื เหนิ นำ�้ หา้ มเหยยี มเบรกจนลอ้ หยดุ หมนุ ในทนั ที เพราะอาจ ทำ� ให้เกดิ อนั ตรายได้ 6. ไม่ควรขบั รถชิดคันหน้ามากเกินไป เน่ืองจากในขณะที่ฝนตก สภาพถนนจะเปียกลื่น และอาจไถลไปชนคันหน้าได้ ดังน้ันต้องใช้ ระยะห่างในการหยดุ เพ่มิ ขน้ึ 7. หลกี เลีย่ งบรเิ วณท่ีมีนำ�้ ท่วมขงั ในขณะทข่ี ับรถผ่านเส้นทางทม่ี ีน�ำ้ ท่วมขงั ผู้ขบั ข่คี วรหยดุ รถเพ่ือประเมนิ สถานการณ์ และขบั รถ ผ่านถนนในบรเิ วณที่มนี ำ�้ ท่วมขังน้อยท่สี ดุ 8. หมั่นตรวจสอบ และป้องกนั อบุ ัติเหตุล่วงหนา้ ผขู้ บั ขค่ี วรตรวจสอบสภาพยาง ใบปดั นำ�้ ฝน ระบบสญั ญาณไฟใหอ้ ยใู่ นสภาพใชง้ านไดด้ ี และหมน่ั เติมน้�ำในกระปกุ ฉีดน้�ำฝนอย่างสมำ่� เสมอ

กระทรวงคมนาคม กระทรวงคมนาคม เดนิ หน้านโยบายเรง่ ดว่ นพฒั นาโครงสร้างพ้นื ฐาน ลดภาระคา่ ครองชีพ ยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ประชาชน ในช่วงที่ผ่านมาประเทศไทยได้มีการพัฒนาด้านคมนาคมขนส่งอย่างต่อเน่ือง ซึ่ง ปจั จบุ นั รฐั บาลไดม้ วี สิ ยั ทศั น์ในการพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นการคมนาคมใหม้ ี ความหลากหลายไรร้ อยตอ่ กระจายความเจรญิ สภู่ มู ภิ าค รวมทงั้ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ การบริหารจัดการด้านความปลอดภยั ทางถนนและทุกระบบการเดินทาง ระทรวงคมนาคมภายใตก้ ารนำ� นายศักดส์ิ ยาม ชดิ ชอบ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคม (กลาง) ของนายศักดิ์สยาม ชิดชอบ นายอธริ ฐั รตั นเศรษฐ (ซา้ ย) นายถาวร เสนเนยี ม (ขวา) รฐั มนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงคมนาคม รฐั มนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม มี นโยบายคำ� นงึ ถงึ ดา้ นการบรกิ ารประชาชน เป็นส�ำคัญ เพ่ือให้ประชาชนได้รับความ สะดวกสบาย ปลอดภยั ประหยดั ยกระดบั คณุ ภาพชวี ิต แก้ปัญหาภาระค่าครองชพี โดยลดภาระคา่ ใช้จา่ ยในการเดนิ ทางของ ประชาชน ลดภาระงบประมาณใหร้ ฐั บาล โดยการบริหารจัดการทรัพยากรท่ีมีให้ เกิดประโยชน์เตม็ ประสิทธภิ าพ 4 วารสาร

โดยมนี โยบายเรง่ ดว่ น ประกอบดว้ ย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องศึกษาข้อมูล และ 1) การแก้ไขปญั หาโครงการก่อสรา้ ง น�ำเสนอแผนการแก้ไขปัญหาเร่งด่วน ลา่ ช้า ไม่เป็นไปตามแผนท่กี �ำหนด ก่อให้ ท้ัง 4 เร่ือง และพิจารณาอย่างรอบคอบ เกิดผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตประชาชน ก่อนเป็นแนวทางในการนำ� ไปบงั คบั ใช้ เช่น โครงการปรับปรุงถนนพระราม 2 2) การแกไ้ ขปญั หามลภาวะ ฝนุ่ ละออง พร้อมกันน้ีกระทรวงคมนาคมได้มี ขนาดเลก็ PM 2.5 จากรถบรรทกุ รถโดยสาร แนวทางการสร้างทางเลอื กใหม่ โดยการ สาธารณะ โดยต้องเข้มงวดกับการตรวจ ใหบ้ รกิ ารรถรบั จา้ งโดยสารสาธารณะผา่ น สอบสภาพรถให้ได้เป็นไปตามกฎหมาย แอพพลเิ คชน่ั และกำ� หนดแนวทางมาตรการ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระกอบการรถรบั จา้ งโดยสาร 3) ปรบั เวลารถบรรทุก 10 ล้อขึ้นไป สาธารณะ (TAXI) รปู แบบเดมิ โดยมอบให้ เข้าเขตพื้นที่กรุงเทพฯและปริมณฑล กรมการขนส่งทางบก ด�ำเนินการศึกษา ให้สอดคล้องกับสภาพการจราจรและ รปู แบบ เงอื่ นไขการอนญุ าตบรกิ ารรถรบั จา้ ง การใช้รถใช้ถนนของประชาชนในปัจจบุ นั โดยสารสาธารณะผ่านทางแอพพลิเคชั่น 4) กำ� หนดอัตราความเรว็ ถนน 4 ชอ่ ง ที่ถูกต้องตามกฎหมาย เพื่อให้บริการ ทางจราจรข้ึนไปให้ใช้อัตราความเร็วได้ ประชาชน พรอ้ มศกึ ษาและกำ� หนดมาตรการ ไมเ่ กนิ 120 กโิ ลเมตรตอ่ ชวั่ โมง เพอ่ื ระบาย ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระกอบการรถรบั จา้ งโดยสาร การจราจรให้คล่องตวั ย่งิ ขนึ้ ซ่ึงขณะน้ีให้ สาธารณะ (TAXI) ในปจั จบุ นั ใหไ้ ดม้ กี ารเพมิ่ รายได้ ลดรายจ่าย วารสาร 5

กระทรวงคมนาคม พัฒนาการคมนาคมขนส่งทางราง พัฒนา พัฒนาการคมนาคมขนส่ง ทางน้ำ� พฒั นาการคมนาคมขนส่ง รถไฟทางคู่ เพม่ิ การขนส่งระบบราง 30% ภายในเวลา 3 ปี เพื่อให้ระบบโลจิสติกส์หลักในการขนส่งสินค้า ทางน�้ำให้เป็นการเดินทางและการ สนับสนุนภาคเอกชนเป็นผู้ร่วมให้บริการเดินรถ เพื่อ ขนส่งทางเลือกในกรุงเทพมหานคร ประโยชนส์ งู สดุ แกป่ ระชาชน และศกึ ษา วจิ ยั และพฒั นา และปริมณฑล โดยเชื่อมโยงกับการ การใช้ประโยชน์จากรางที่มีอยู่ในปัจจุบัน สามารถใช้ให้ คมนาคมขนสง่ ระบบอืน่ ๆ ได้ พฒั นา เกิดผลตอบแทนอย่างคุ้มค่าสูงสุดในอนาคต เพ่ือให้ การขนสง่ ทางนำ�้ จากทา่ เรอื บางสะพาน บรกิ ารประชาชนอยา่ งเตม็ ประสทิ ธิภาพ จ.ประจวบครี ขี นั ธ์ ไปทา่ เรอื แหลมฉบงั เพื่อลดปริมาณของรถบรรทุกจาก พฒั นาการคมนาคมขนสง่ ทางอากาศ พฒั นา ภาคใต้เข้าสู่กรุงเทพมหานคร และ ปริมณฑล ระบบการคมนาคมขนส่งทางอากาศ เพ่ิมศักยภาพ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง และทา่ อากาศยานภมู ภิ าค ใหส้ ามารถรองรบั ผ้โู ดยสาร ได้ไม่น้อยกว่า 150 ล้านคน สนับสนุนสายการบิน ต้นทุนต่�ำ (Low Cost Airline) ให้บริการประชาชนใน ภูมิภาคเพ่ิมข้ึน และให้มีคุณภาพการให้บริการตาม มาตรฐานสากล 6 วารสาร

ประกอบดว้ ย 1) ศกึ ษา และจดั ทำ� แผนการ โทลล์เวย์) ตง้ั แต่ 5 – 10 บาท โดยไม่มี ใชบ้ ตั รโดยสารเชอ่ื มโยงรถไฟฟา้ ทกุ ระบบ ผลกระทบต่อสัญญา ซ่ึงได้ให้หน่วยงาน 2) ศึกษา และจัดท�ำแผนแก้ปัญหาด่าน ที่เกีย่ วข้องศกึ ษาแนวทาง พร้อมนำ� เสนอ เก็บเงินทางพิเศษ และทางหลวงพิเศษ แผนงานแนวทางการปฏบิ ตั ิ ให้แล้วเสรจ็ ระหว่างเมือง (Motorway) ให้รถสามารถ โดยเรว็ ผา่ นดา่ นเกบ็ เงนิ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ลดความ แออัดของรถบรเิ วณหน้าด่าน กระทรวงคมนาคม ไดเ้ ดนิ หนา้ พฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานโดยมเี ปา้ หมาย ที่ ส� ำ คั ญ ก ร ะ ท ร ว ง ค ม น า ค ม ไ ด ้ เดียวกัน คือมีการผลักดันยกระดับ ด�ำเนินการตามนโยบายของรัฐบาลใน คุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น การลดภาระค่าครองชีพให้แก่ประชาชน ภายใต้การท�ำงานของทกุ โครงการท่มี ี ด้วยการพัฒนาการมีนโยบายให้บริการ- ความโปรง่ ใส ตรวจสอบไดเ้ ปน็ สำ� คญั การจัดท�ำโครงการก่อสร้างของ ของรถโดยสารประจ�ำทาง ขสมก. และ กระทรวงคมนาคมให้เกิดการพัฒนา รถรว่ มโดยสารประจำ� ทาง ใหเ้ ปน็ รถโดยสาร เศรษฐกจิ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยใชห้ ลกั การ ปรับอากาศทง้ั ระบบ และมกี ารจดั เก็บค่า Thai First คอื ไทยทำ� ไทยใช้ คนไทย โดยสารเป็นระบบบัตรอิเล็กทรอนิกส์ ตอ้ งไดก้ อ่ นเปน็ หลกั สำ� คญั ใชว้ สั ดทุ ดแทน หรอื E–Ticket ระบบตว๋ั รว่ มศกึ ษาแนวทาง ทผ่ี ลติ จากยางพารา ในโครงการตา่ ง ๆ เชน่ การปรบั ลดอตั ราคา่ โดยสารรถไฟฟา้ โดย หลกั เขตบอกทาง หมอนรางรถไฟ เปน็ ตน้ ไม่มผี ลกระทบต่อสญั ญา ศกึ ษาแนวทาง เพอื่ ชว่ ยยกระดบั ราคายางพารา แกป้ ญั หา การปรับลดค่าผ่านทางพิเศษทุกประเภท รายไดข้ องเกษตรกรชาวสวนยาง พรอ้ มทง้ั (ทางพิเศษ ทางหลวงพเิ ศษระหว่างเมอื ง ส่งเสริมให้ท่าอากาศยานภูมิภาคเป็น ศูนย์กลางรวบรวมผลผลิต และกระจาย สนิ ค้าเกษตรออกสู่ตลาด ส�ำหรับการพัฒนาคุณภาพการให้ บริการประชาชน ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล วารสาร 7

เอน็ เตอร์เทน เลนซา้ ย สนมั ่งั ผรสัถบไฟรรฟยM้าากาศRเอTกลักษณค์ วามเปน็ ไทย ถา้ คณุ มวี นั หยดุ เพยี ง 1 วนั คณุ จะเทยี่ วทไ่ี หน ทไ่ี ดช้ น่ื ชมทงั้ บรรยากาศสวยงาม และไดร้ บั ความรอู้ กี ดว้ ย นนเี้ อน็ เตอรเ์ ทน เลนซา้ ยจะพา ท่านน่ังรถไฟฟ้าใต้ดิน (MRT) สายสีน�้ำเงิน (ส่วนต่อขยาย) ที่ขณะนี้เปิดบริการเดินรถฟรี ถึงวันที่ 28 กนั ยายน 2562 โดยขน้ึ จากสถานหี วั ลำ� โพง ไปยงั “สถานสี นามไชย” ซง่ึ ตวั สถานีมี ความวจิ ติ รงดงามทถ่ี อื วา่ เปน็ สถานรี ถไฟฟา้ ทส่ี วยทสี่ ดุ ... เมอื่ ขนึ้ จากชานชาลาไปยงั ชนั้ บนของสถานี จะไดส้ มั ผสั กบั ความวจิ ติ ร อลงั การของการตกแต่งแบบไทย ท่ีได้รับ แรงบันดาลใจจากสถาปัตยกรรมสมัย รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ สามารถหามมุ ถา่ ยรปู สวย ๆ ได้เยอะมาก และเม่ือออกทาง ประตทู างออกท่ี 1 ก็จะได้พบกับความ สวยงามของพิพิธภัณฑ์มิวเซียมสยาม 8 วารสาร

“มวิ เซยี มสยาม” เป็นพพิ ธิ ภณั ฑ์การเรียนรู้ท่สี ร้างสรรค์ความแปลกใหม่ให้กบั การชมพิพธิ ภัณฑ์ กระตุ้นให้ เกดิ การเรยี นรู้ มีการจดั แสดงเรื่องราวผ่านเทคโนโลยสี มัยใหม่ ที่ทำ� ให้ดนู ่าสนใจและเข้าถงึ กบั ผู้เข้าชม มีเทคนิค ในการเล่าเร่อื งพร้อมกบั ต้ังคำ� ถามชวนสงสยั กลับมายังผู้เข้าชม เช่น ไทยรเึ ปล่า? ไทยแค่ไหน? ภายในมวิ เซยี มสยาม จะแบ่งห้องจดั นทิ รรศการออกเป็น 14 ห้อง ท่เี ล่าเรอ่ื งราวเกี่ยวกบั ความเป็นมาของ ประเทศไทยตง้ั แต่อดตี จนถงึ ปัจจุบัน ทงั้ ศลิ ปวฒั นธรรม ความเชอ่ื อาหาร การแต่งกาย ความนิยม รวมไปถึง การแสดงความเป็นไทยในรปู แบบต่างๆ ทำ� ให้เพลดิ เพลนิ สนกุ สนาน กบั การชมเรื่องราวต่างๆ มกี ารเล่นเกมใน แต่ละห้องทำ� ให้การชมพพิ ธิ ภัณฑ์ในคร้งั น้ไี ม่น่าเบ่ือ และทำ� ให้คณุ เพลดิ เพลินกบั วนั หยุดของคณุ ได้อกี ด้วย วารสาร 9

เทียบท่าคมนาคม ศูนย์ฝกึ อบรมบุคลากรระบบราง รฟม. ารพัฒนาระบบขนส่งมวลชน พัฒนาศกั ยภาพเจ้าหนา้ ที่รถไฟฟา้ ทางรางในระบบรถไฟฟ้า คอื หน่ึงในภารกิจส�ำคัญเพื่อให้ ด้วยมาตรฐานสากล ระบบขนส่งมวลชนทางรางโดยเฉพาะ รถไฟฟ้าซ่ึงเป็นการเดินทางท่ีส�ำคัญใน ด้วยภารกิจหลักของกระทรวงคมนาคมในการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและ พนื้ ทเี่ มอื ง มมี าตรฐานความปลอดภยั และ การใหบ้ รกิ ารดา้ นคมนาคมขนสง่ ทงั้ ทางบก ทางนำ้� ทางอากาศ และทางราง การบรกิ ารสงู สดุ การรถไฟฟา้ ขนสง่ มวลชน เพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ รวมถงึ พฒั นาการคมนาคมใหม้ คี วามหลากหลาย แหง่ ประเทศไทย (รฟม.) ไดด้ ำ� เนนิ งานตาม ไร้รอยตอ่ กระจายความเจรญิ สภู่ ูมภิ าคอย่างตอ่ เนอ่ื ง นโยบายกระทรวงคมนาคม จดั ตงั้ ศนู ยฝ์ กึ อบรมบคุ ลากรระบบราง (Training Center) อบรมฯ เปน็ อาคาร 2 ชนั้ ภายในประกอบ ขนึ้ โดยใชพ้ นื้ ทภ่ี ายในศนู ยซ์ อ่ มบำ� รงุ รถไฟ ด้วยห้องฝึกอบรมมีท้ังภาคทฤษฎีและ คลองบางไผ่ ของรถไฟฟ้ามหานครสาย ภาคปฏบิ ตั ิ มอี ปุ กรณจ์ ำ� ลองการขบั เคลอ่ื น ฉลองรชั ธรรม (MRT สายสมี ว่ ง) ทม่ี คี วาม และอุปกรณ์ส�ำหรับฝึกใช้งานเสมือนจริง ทันสมัยและมีความพร้อม โดยศูนย์ฝึก อยู่อย่างครบครนั 10 วารสาร ศูนย์ฝึกอบรมบุคลากรระบบราง รฟม. จดั ตงั้ เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร ของ รฟม. รวมท้ังมีบุคลากรผู้ให้บริการ รถไฟฟา้ ทว่ั ประเทศ ไดแ้ ก่ บรษิ ทั ทางดว่ น และรถไฟฟ้ากรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) (BEM) ผู้ให้บริการรถไฟฟ้า MRT บริษัท รถไฟฟ้า รฟท. จ�ำกดั ผู้ให้บรกิ ารรถไฟฟ้า แอรพ์ อรต์ เรยี ลลง้ิ และบรษิ ทั ระบบขนสง่ มวลชนกรงุ เทพ จำ� กดั (มหาชน) ผใู้ หบ้ รกิ าร รถไฟฟ้า BTS

ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2553 – 2572) เพอื่ บรรลเุ ปา้ หมายการขบั เคลอื่ น และพัฒนาการคมนาคมระบบขนส่งทางรางของประเทศไทย ในระยะยาว ในเบ้ืองต้นได้จัดให้มีหลักสูตรอบรมพนักงานควบคุม รถไฟฟ้าและพนักงานควบคุมการเดินรถ เปิดหลักสูตรเข้มข้น เพม่ิ ความเชยี่ วชาญในการเดนิ รถไฟฟา้ โดยมแี ผนการฝกึ อบรม 2 หลักสูตร หลักสูตรขั้นต้น ระยะเวลาอบรม 6 สัปดาห์ ประมาณ 231 ชว่ั โมง รุ่นละ 30 คน และหลกั สตู รขั้นสูง ระยะ เวลาอบรม 2 สปั ดาห์ ประมาณ 68 ชว่ั โมง รุ่นละ 30 คน รฟม. ใหค้ วามสำ� คญั ในทกุ หลกั สตู รทกุ ขนั้ ตอน มกี ารเรยี น ทฤษฎีที่เข้มข้น แบ่งเป็น 3 ส่วนหลัก คือ ความรู้ทั่วไปเร่ือง รถไฟฟ้า ความปลอดภัย และคุณภาพชีวอนามัย การจัดการ ในเหตกุ ารณภ์ าวะฉกุ เฉนิ การปฏบิ ตั กิ ารของการเปน็ ผคู้ วบคมุ รถ กฎระเบยี บการขบั รถไฟ การปฏบิ ตั งิ านในทกุ ส่วน ในส่วนของ ภาคปฏบิ ตั กิ จ็ ะมกี ารฝกึ ปฏบิ ตั จิ รงิ ทงั้ การเตรยี มรถ การดแู ลรถ การฝึกขับรถ รวมไปถึงการจ�ำลองสถานการณ์ต่าง ๆ เพ่ือให้ ผ้ฝู กึ อบรมได้แก้ไขสถานการณ์เสมอื นจรงิ โดยเฉพาะเรอื่ งของ ความปลอดภยั ส�ำหรับผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมสามารถน�ำใบรับรองผลการ ฝกึ อบรมไปประกอบการขอใบอนญุ าตจากกรมการขนสง่ ทางราง ตามพระราชบญั ญตั ิการขนส่งทางราง พ.ศ. .... ที่จะใช้กำ� กบั ดูแล มาตรฐานความปลอดภยั และการประกอบกจิ การขนส่ง ทางรางในอนาคตต่อไป โดยมุ่งเน้นส่งเสรมิ ความรู้ พัฒนาทักษะและความเช่ยี วชาญ แก่บุคลากรเป็นส�ำคัญ ตลอดจนสามารถออกใบขับข่ีส�ำหรับคน ขับรถไฟฟ้าได้ตามมาตรฐานสากลและสามารถผลิตบุคลากรได้ เพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการภายในประเทศ สอดคลอ้ งกบั แผนแมบ่ ท ระบบขนสง่ ทางรางในเขตกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล (M-MAP) วารสาร 11

@สถานี MOT ค“ปอื ครละงัสคบวกามารรู้ ณ์” ที่พรอ้ มรับ และถา่ ยทอดตอ่ “ทำ� งานอยทู่ น่ี ม่ี า 5 ปี แตเ่ พงิ่ มาเปน็ ครฝู กึ ได้ 1 ปี นบั วา่ ขวัญชนก พิมพกรรณ์ เปน็ ประสบการณท์ ดี่ ี ทไี่ ดม้ าทำ� หนา้ ทน่ี ้ี เพราะกอ่ นทจี่ ะมา พนกั งานบรหิ ารระดบั 6 เปน็ ครฝู กึ กเ็ คยผา่ นการอบรมในหลกั สตู รเชน่ เดยี วกนั นี้ ส่วนงานกองก�ำกับการเดินรถฝ่ายปฏิบัติการ รู้สึกประทบั ใจและมีความคิดวา่ อยากจะเปน็ ครฝู กึ บา้ ง เลยตงั้ ใจและตงั้ มนั่ จนไดเ้ ปน็ ครฝู กึ จนทกุ วนั น”้ี ศูนย์ฝึกอบรมบุคลากรระบบราง วัญชนก พิมพกรรณ์ หรือ “จอย” พนกั งานบรหิ าร เราจะสามารถ จดั การอะไรไดห้ รอื ไม่ ถา้ ไมไ่ ด้ กไ็ มผ่ า่ นกน็ า่ เสยี ดาย ระดบั 6 ส่วนงานกองก�ำกับการเดินรถฝ่ายปฏิบัติการ เพราะมหี ลายคนทอ่ี บรมมาเปน็ เดอื น ๆ แตก่ ม็ าตกในภาคปฏบิ ตั ิ ศนู ยฝ์ กึ อบรมบคุ ลากรระบบราง การรถไฟฟา้ ขนสง่ มวลชน แห่งประเทศไทย (รฟม.) กระทรวงคมนาคม เริ่มด้วยการเล่าถึง ความสนใจในการเป็นครูฝึก “จอย” บอกว่า เร่ิมต้นจาก สง่ิ ทจี่ ดุ ประกายในการกา้ วจากผู้เคยฝึกอบรมสู่การเป็นครฝู ึก การทไี่ ดม้ โี อกาสเรยี นมา ไดเ้ หน็ ไดร้ อู้ ะไรหลาย ๆ อยา่ งจงึ อยาก โดยเส้นทางก่อนเป็นครูฝึกก็ต้องท�ำงานในแผนกเหมือน จะมาถ่ายทอด ให้คนอืน่ ได้รบั รู้เรอื่ งราวจากเราบ้าง มีความสขุ กับเพื่อนๆ คนอน่ื เมอื่ เปิดรบั กไ็ ปสมคั รคัดเลอื ก โดยเรมิ่ ต้นจาก กบั การไดส้ ง่ ตอ่ ความรู้ ไดส้ อนคนรนุ่ ใหม่ ๆ และทส่ี ำ� คญั รสู้ กึ ภมู ใิ จ การเปน็ นกั เรยี นกอ่ น การจะมาเปน็ นกั เรยี นทนี่ ที่ กุ คนจะตอ้ งผา่ น ในตวั เองในการแชร์ และสง่ ตอ่ ความรดู้ งั กลา่ ว ซง่ึ ภารกจิ ของครฝู กึ โอเปอเรเตอรข์ องแตล่ ะหนว่ ยงานมากอ่ น คณุ สมบตั จิ ะคลา้ ย ๆ กนั ในแตล่ ะวนั ไมไ่ ดส้ อนตลอด 8 ชวั่ โมงกต็ อ้ งมาทำ� งานใหแ้ ผนกดว้ ย เบอื้ งตน้ จะตอ้ งมอี ายไุ มต่ ำ�่ กวา่ 25 ปี สญั ชาตไิ ทย สขุ ภาพรา่ งกาย เพราะคนในแผนกจะทำ� หน้าทเ่ี ป็นครูสอนกนั หลายคน แบ่งตาม แข็งแรง ทดสอบเรอื่ งของตาบอดสี มีทักษะด้านการอ่าน เขียน ความถนดั และความเช่ยี วชาญของแต่ละคนไป ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี ผ่านการเป็นโอเปอเรเตอร์ของแต่ละ บริษทั มาก่อน ซง่ึ คุณสมบัตกิ ไ็ ม่น่าจะต่างกนั มาก เพราะทกุ ท่ีจะ เคลด็ ลบั ของ “จอย” จากประสบการณใ์ นการทำ� งานมา 5 ปี มีการคัดเลอื ก การขบั รถ การตรวจสอบจติ วิทยาพนักงาน จงึ จะ และผนั ตวั เองมาเป็นครสู อน 1 ปี คอื การ “แชรป์ ระสบการณ์” ผ่านการคดั เลอื กมาฝึกอบรม เพราะบางคนอายุมากกว่าเรา ผ่านประสบการณ์มามากกว่า ส�ำหรัการบเรียนการสอนท่ีน่ีจะมีทั้งภาคภาคทฤษฎีและ เขากม็ สี ทิ ธท์ิ จี่ ะมาเลา่ เรอื่ ง โดยเฉพาะการจดั การเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ภาคปฏบิ ตั ิ โดยภาคทฤษฎมี ี 3 สว่ นหลกั คอื ความรทู้ วั่ ไปเรอ่ื ง แล้วยิง่ เราต้องประสานงาน หรอื สอนงานกบั คนหลาย ๆ บริษัท รถไฟฟา้ ความปลอดภยั คณุ ภาพและชวี อนามยั การจดั การใน หลายโอเปอร์เรเตอร์ เราก็จะได้รู้มากขึ้น ก็เหมือนเราเป็นคลัง เหตกุ ารณภ์ าวะฉุกเฉิน การปฏิบัติการของการเป็นผู้ควบคุมรถ ความรู้ ท่ีพร้อมจะถ่ายทอดต่อไป และน่จี ึงเป็นเสมอื นคณุ สมบตั ิ ระเบียบ ซง่ึ ส่วนนี้จะมเี กณฑ์อยู่ท่ี 70 เปอร์เซนต์ หลังจากเรยี น ทส่ี ำ� คญั ของคนทจี่ ะมาเปน็ ครฝู กึ ทนี่ ่ี คอื “ตอ้ งมใี จรกั พรอ้ มทจ่ี ะ ทฤษฎแี ล้ว จะพาผฝู้ กึ อบรมไปเรยี นภาคปฏบิ ตั ิ ซง่ึ จะตอ้ งมกี ารพา เปดิ รบั เร่อื งราวต่าง ๆ และรกั ในการแบง่ ปนั ประสบการณ์ ไปขบั รถไฟฟา้ จรงิ ๆ แลว้ จะมกี ารจำ� ลองเหตกุ ารณ์ คนตกไปในราง ความรู้ และส่งต่อให้กับคนอื่นด้วย ถึงจะได้ชื่อว่าเป็นครู อยา่ งแทจ้ รงิ ” 12 วารสาร

Transport Guide การกรรถะไทฟรแวหง่งคปมรนะาเทคศมไทยประกาศ หยุดเปร็นับก-าสร่งทผดู้โดลยอสงขาบรทว่ีนสลถะา1นีบน้าานทโี ป่ง การรถไฟแหง่ ประเทศไทย กระทรวงคมนาคม อำ� นวยความสะดวกใหก้ บั ผโู้ ดยสารทางดา้ นภมู ภิ าค ตะวนั ตก โดยใหข้ บวนรถดว่ นพเิ ศษทกั ษณิ ารถั ย์ ท่ี 31/32 กรุงเทพ - หาดใหญ่ - กรุงเทพ หยุดรับ-ส่ง ผโู้ ดยสารท่ี สถานบี า้ นโปง่ เปน็ การทดลองขบวนละ 1 นาที ตามก�ำหนดเวลาดังน้ี ขบวน 31 จะถงึ สถานเี วลา 16.28 น. และออกจากสถานเี วลา 16.29 น. ขบวน 32 จะถงึ สถานเี วลา 08.42 น. และออกจากสถานเี วลา 08.43 น. ท้ังน้ี ต้ังแต่วันที่ 1 กันยายน 2562 ถึง วันท่ี 29 กุมภาพันธ์ 2563 13 โดยเป็น “การทดลองช่ัวคราว” เวลา 6 เดือน สอบถามข้อมูลการเดินทางได้ที่หมายเลข 1690 ตลอด 24 ชม. หรือ ติดตามข้อมูลได้ที่ https://www.facebook.com/pr.railway/ วารสาร

กระดานขา่ วราชรถ กรมการขนสง่ ทางบก แนะประชาชนเลือกชำ� ระภาษรี ถล่วงหนา้ 90 วัน ได้ทกุ ที่ ทุกเวลา กรมการขนส่งทางบก (ขบ.) กระทรวงคมนาคม ทศ่ี ูนย์การค้าพาราไดซ์ พาร์ค ศนู ย์การค้าธญั ญาพาร์ค ศรีนครนิ ทร์ และได้ท่ีศูนย์บริการร่วมคมนาคมเชิงสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน พัฒนาการให้บริการ รับช�ำระภาษีรถประจ�ำปี เพื่อสร้าง ในวนั จันทร์-วนั ศุกร์ ตง้ั แต่เวลา 08.30 – 15.00 น. มาตรฐานคณุ ภาพการบรกิ ารภาครฐั ทสี่ ามารถเขา้ ถงึ ประชาชน ได้อย่างเท่าเทยี ม ได้หลากหลายช่องทาง เพือ่ ให้ประชาชน สามารถเลือกใช้บริการช�ำระภาษีรถประจ�ำปี ได้ล่วงหน้า ซ่ึงด�ำเนนิ การได้ก่อนครบอายภุ าษี 90 วนั ทงั้ น้ี ขบ. ไดน้ ำ� เทคโนโลยสี ารสนเทศเขา้ มามสี ว่ นสำ� คญั ในการลดขน้ั ตอน ลดระยะเวลา เนน้ การอำ� นวยความสะดวก ให้ประชาชนเลอื กชำ� ระภาษรี ถประจำ� ปี ผ่านอนิ เทอร์เนต็ ที่ เวบ็ ไซต์ https://eservice.dlt.go.th หรอื เลอื กชอ่ งทางการชำ� ระ ภาษรี ถประจำ� ปแี บบ One Stop Service และบรกิ าร “เลอื่ นลอ้ ตอ่ ภาษี (Drive Thru for Tax)” ทส่ี ำ� นกั งานขนสง่ จงั หวดั ทกุ แหง่ ทั่วประเทศ หรือหน่วยบริการรับช�ำระภาษีรถเคลื่อนที่ใน วนั เสาร-์ อาทติ ย์ “ชอ้ ปใหพ้ อ แลว้ ตอ่ ภาษี (Shop Thru for Tax)” ที่ห้างสรรพสินค้าบ๊ิกซีท้ัง 14 สาขา ได้แก่ สาขาลาดพร้าว รามอนิ ทรา รัชดาภเิ ษก บางปะกอก ส�ำโรง(ปู่เจ้า) บางนา อ่อนนุช เพชรเกษม สุขาภิบาล 3 บางบอน สุวินทวงศ์ แจ้งวัฒนะ บางใหญ่ สมุทรปราการ ศูนย์บริการร่วม G-point (เซ็นทรลั เวิลด์ เซน็ ทรัลศาลายา เซ็นทรัลเวสต์เกต) กกอ่รสมรทา้ งาสงะหพลานวคงอชนนกบรตีทขา้ มคลองกะปง ยกระดับคณุ ภาพชวี ิตให้ประชาชน สามารถสญั จรไดอ้ ยา่ งสะดวก กรมทางหลวงชนบท (ทช.) กระทรวงคมนาคม ด�ำเนินการก่อสร้างสะพาน คอนกรตี ข้ามคลองกะปง ในพนื้ ตำ� บลท่านา อ�ำเภอกะปง จงั หวดั พังงา และได้ จดั การประชมุ การมสี ว่ นรว่ มภาคประชาชนชว่ งระหวา่ งการกอ่ สรา้ ง โดยไดม้ มี ตใิ หต้ งั้ ชอ่ื สะพานแห่งนว้ี ่า “สะพาน ประชารฐั ร่วมใจ” การก่อสร้างสะพานคอนกรีตข้ามคลองปะกง เป็นการก่อสร้างเพ่ือทดแทน สะพานเดิมที่เป็นสะพานไม้และช�ำรุดเสียหาย ทช. จึงก่อสร้างสะพานคอนกรีต ข้ามคลองกะปง เพอ่ื บรรเทาความเดอื ดร้อน ยกระดับคุณภาพชวี ิตของประชาชน ให้สามารถสัญจร ไป – มา และขนส่งพืชผลทางการเกษตรไปสู่ปลายทางได้ อย่างสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ตามนโยบายของ นายศักด์ิสยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ปัจจุบันด�ำเนินการ ก่อสร้างแล้วเสรจ็ และเปิดให้ประชาชนได้ใช้สญั จรเรยี บร้อยแล้ว 14 วารสาร

การท่าเรอื แห่งประเทศไทย ลงนามบนั ทกึ ความเขา้ ใจรว่ มกบั ท่าเรือฮมั ปนั โตตาสาธารณรฐั สังคมนิยมประชาธปิ ไตยศรีลังกา การทา่ เรอื แหง่ ประเทศไทย (กทท.) กระทรวงคมนาคม จดั พธิ ลี งนามบนั ทกึ ความเขา้ ใจ บนั ทกึ ความเข้าใจดงั กล่าว เปน็ การสรา้ งความรว่ มมอื ระหวา่ ง (MOU) ระหว่าง กทท. โดยท่าเรอื ระนอง และ Hambantota International Port Group PVT Ltd. ท่าเรอื กบั ท่าเรอื (Port - to - Port ทา่ เรอื ฮมั ปนั โตตา สาธารณรฐั สงั คมนยิ มประชาธปิ ไตยศรลี งั กา ซงึ่ เปน็ หนงึ่ ในทา่ เรอื กลมุ่ ประเทศ Cooperation) เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความ BIMSTEC (บงั คลาเทศ อนิ เดยี ศรลี งั กา พม่า และไทย) เม่อื วนั ท่ี 21 สงิ หาคม 2562 สมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ทา่ เรอื ทงั้ สองแหง่ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารใน การบริหารจัดการท่าเรือ การ- ปฏบิ ตั กิ ารภายในทา่ เรอื การตลาด ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การสอื่ สาร การเชอ่ื มโยงเครอื ขา่ ย ของทา่ เรอื การพฒั นาอตุ สาหกรรม ตา่ ง ๆ ทเ่ี กยี่ วเนอื่ งกบั ธรุ กจิ ทา่ เรอื ซงึ่ ทงั้ สองทา่ เรอื จะตอ้ งจดั ประชมุ การดำ� เนนิ งานเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารรว่ มกนั (Joint Working Group Meeting) เป็นประจำ� ทุก 2 ปี เพ่ือผลักดนั ใหเ้ กดิ การดำ� เนนิ งานและกจิ กรรม ตา่ ง ๆ ภายใตค้ วามรว่ มมอื อยา่ ง เป็นรปู ธรรม รฟม. ประชุมระดมความเห็นในการดำ�เนนิ งาน กอ่ สรา้ งดว้ ยความปลอดภัยสูงสุด ตามข้อสั่งการรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคม การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) กระทรวงคมนาคม พร้อมด้วย กลุ่มบริษัทท่ีปรึกษา และ บรษิ ทั ผรู้ บั จา้ ง/ผรู้ บั สมั ปทานงานกอ่ สรา้ งโครงการรถไฟฟา้ ทกุ สาย ในความรับผิดชอบของ รฟม. ร่วมประชุมระดมความคิดเห็นเป็น กรณีเร่งด่วน เม่ือวันท่ี 22 สิงหาคม 2562 ณ ส�ำนักงานสนาม โครงการรถไฟฟา้ สายสสี ม้ ถนนพระรามเกา้ เขตหว้ ยขวาง กรงุ เทพฯ เพอ่ื ดำ� เนนิ การตามขอ้ สงั่ การของ นายศกั ดส์ิ ยาม ชดิ ชอบ รฐั มนตรี ว่าการกระทรวงคมนาคม ให้หน่วยงานในสงั กดั ซกั ซ้อมการปฏบิ ัติ เกย่ี วกบั การตดิ ตามขา่ วสารและการรายงานเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ โดยเฉพาะเร่อื งของอุบัตเิ หตทุ ่เี กิดความเสยี หายมาก วารสาร 15

ร่มหูกวาง พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรฐั มนตรี เป็นประธานพิธีเปิดทดลองให้บริการเดินรถไฟฟ้า สายสเี ขียว ช่วงหมอชติ – สะพานใหม่ – คูคต จำ� นวน 1 สถานี จากสถานหี มอชติ (N8) ไปยงั สถานี ห้าแยกลาดพร้าว (N9) เมือ่ วนั ท่ี 9 สงิ หาคม 2562 เวลา ณ สถานหี า้ แยกลาดพรา้ ว โดยมี นายศกั ดส์ิ ยาม ชดิ ชอบ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงคมนาคม นายชยั วฒั น์ ทองคำ� คณู ปลดั กระทรวงคมนาคม ร่วมพธิ ี นายศักด์ิสยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง คมนาคม พร้อมด้วยผู้บริหารกระทรวงฯ หัวหน้าหน่วยงาน ในพน้ื ที่ รบั ฟงั ปญั หาการคมนาคมขนสง่ ในพนื้ ที่ อ.ศขี รภมู ิ จ.สรุ นิ ทร์ เมื่อวันท่ี 18 สงิ หาคม 2562 16 วารสาร

นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงคมนาคม รบั ฟังการ บรรยายสรุปการด�ำเนินงานโครงการ ส�ำคัญของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง คมนาคม ณ แขวงทางหลวงสรุ นิ ทร์ เมอ่ื วนั ที่ 18 สงิ หาคม 2562 ณ ห้องประชมุ แขวง ทางหลวงสรุ ินทร์ นายศักดิส์ ยาม ชิดชอบ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงคมนาคม ลงพน้ื ที่ ตรวจจดุ กลบั รถบนทางหลวงหมายเลข 226 ท่ี กม.137+600 และ กม.140+300 ต. สองชน้ั อ.กระสงั จ.บรุ รี มั ย์ เม่ือวันที่ 18 สงิ หาคม 2562 วารสาร 17

ร่มหกู วาง นายอธิรัฐ รัตนเศรษฐ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม มอบนโยบายการด�ำเนินงานให้กับผู้บริหารการท่าเรือแห่งประเทศไทย พรอ้ มทงั้ เยย่ี มการปฏบิ ตั งิ านการทา่ เรอื ฯ ในบรเิ วณเขตรว้ั ศลุ กากร เมอ่ื วนั ที่ 7 สิงหาคม 2562 นายอธิรัฐ รัตนเศรษฐ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ร่วมพิธีเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการระดับภูมิภาคว่าด้วยกรอบงานการ สนบั สนนุ เพอื่ การพฒั นาของสหประชาชาติ เรอื่ งการบรู ณาการดา้ นการขนสง่ ทางน้�ำ (Regional Workshop on “United Nations Assistance Framework : A Process to mainstream the maritime sector”) เม่ือวนั ที่ 19 สิงหาคม 2562 ณ ศูนย์การประชมุ สหประชาชาติ กรงุ เทพฯ 18 วารสาร

นายถาวร เสนเนียม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง คมนาคม รับข้อร้องเรยี นการก่อสร้างสนามบินนครปฐมจาก ประชาชนในพนื้ ทตี่ ำ� บลบางระกำ� อำ� เภอบางเลน จงั หวดั นครปฐม เมื่อวนั ท่ี 19 สงิ หาคม 2562 ณ ห้องประชมุ กระทรวงคมนาคม นายถาวร เสนเนียม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง คมนาคม ตรวจราชการและติดตามแผนพัฒนางานคมนาคม เพ่ือรองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจและส่งเสริมการท่องเท่ียว ในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ในวันที่ 13 สิงหาคม 2562 ณ ท่าอากาศยานนครศรธี รรมราช นายชยั วฒั น์ ทองคำ� คณู ปลดั กระทรวงคมนาคม เปดิ งานสมั มนาเพอ่ื เผยแพรข่ อ้ มลู ของโครงการและการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน ครงั้ ท่ี 8 โครงการศกึ ษาพฒั นาเมอื งกบั ระบบโครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นคมนาคมขนสง่ “TOD คมนาคมสรา้ งเมอื ง เมอื งสรา้ งสขุ สขุ สรา้ งได”้ พร้อมกล่าวปาฐกถาพิเศษเรื่อง “คมนาคมร่วมสร้างเมือง ท้องถ่ินร่วมสร้างสุข” เม่ือวันท่ี 16 สิงหาคม 2562 ณ โรงแรมเซนทารา แกรนด์ มิราจ บีช รสี อร์ท พทั ยา จ.ชลบุรี วารสาร 19

ยกระดับการเดนิ ทางและชวี ต� ในเมอื ง เพ่�อคณุ ภาพชวี �ตของประชาชนในเมอื งและปร�มณฑล และแกไขปญหาการจราจรอยา งย่งั ยนื พัฒนาทาเทียบเร�อโดยสาร กอ สรางถนนและสะพาน พัฒนาสิ�งอำนวยความสะดวกของสถานี ยกระดับมาตรฐานคุณภาพ ในแมนำ้ เจาพระยา แกไขปญหาจราจรในปร�มณฑล และยานพาหนะเพ�่อรองรับการเดนิ ทาง บร�การรถโดยสาร ขสมก. และภมู ภิ าค ของคนทกุ กลมุ ดวยการออกแบบ อารยสถาปตย ยกระดับการพัฒนาสถานีใหเปน ปรับปรุงคุณภาพบร�การ ขยายโครงขา ยรถไฟฟา ผลกั ดนั โครงการพัฒนา ศนู ยก ลางการเดินทาง และพัฒนา และปรบั เสน ทางรถโดยสารสาธารณะ ในเขตกรงุ เทพมหานครและปรม� ณฑล ระบบขนสงสาธารณะในเมอื งหลกั ใหเปน เมืองใหม ภายใตแ นวคดิ เพ�่อเชื่อมตอการเดินทาง ตามแผนแมบทระบบขนสง มวลชน ไดแ ก จ.ภเู กต็ เชยี งใหม นครราชสมี า การพัฒนาพ้�นที่ โดยรอบสถานี ของกับโครงขายระบบราง ทางรางในเขตกรุงเทพมหานคร ขอนแกน และพน้� ทพ่ี เ� ศษใหเ หมาะสม ขนสงมวลชน (TOD) และแนวคิด และปรม� ณฑล และสอดคลอ งกบั ขนาดเศรษฐกิจ เมอื งอัจฉร�ยะนาอยู Smart City และสงั คมของเมือง One Transport for All คมนาคมรวมเปนหนงึ่ เพ�่อความสุขของคนไทยทุกคน กระทรวงคมนาคม 38 ถนนราชดำเนินนอก แขวงวัดโสมนัส เขตปอ มปราบศัตรูพา ย กรุงเทพฯ 10100 โทรศพั ท 0 2281 3000 โทรสาร 0 2281 3959 www.mot.go.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook