Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อุทยานแห่งชาติภูกระดึง

อุทยานแห่งชาติภูกระดึง

Published by Intiras58, 2016-02-12 23:50:35

Description: อุทยานแห่งชาติภูกระดึง

Keywords: none

Search

Read the Text Version

อุทยานแห่งชาติภูกระดึง ที่ตั้งและแผนที่ สถานที่ติดต่อ: หมู่ที่ 1 บ้านศรีฐาน ต.ศรีฐาน อ.ภูกระดึง จ.เลย 42180 โทรศัพท์ : 042-810833 จองบ้านพัก : 042-810834 อีเมล์ : [email protected] หัวหน้าอุทยานแห่งชาติ : นายฑิตศักดิ์ สุริยาชัยวัฒนะ ความเป็นมา อุทยานแห่งชาติภูกระดึงได้รับการประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ ล าดับที่ 2 ของประเทศไทย เมื่อ วันที่ 23 พฤศจิกายน 2505 ตั้งอยู่ในท้องที่ต าบลศรีฐาน อ าเภอภูกระดึง จังหวัดเลย ครอบคลุมพื้นที่ 348.13 ตารางกิโลเมตร (217,576.25 ไร่) ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาหินทรายยอดตัด โดยมีที่ราบบนยอดภูกระดึง ประมาณ 60 ตารางกิโลเมตร (37,500 ไร่) ภูกระดึงมีระดับความสูงอยู่ระหว่าง 400 – 1,200 เมตร จุดสูงสุดอยู่ที่บริเวณคอกเมย มีความสูง 1,316 เมตร สภาพทั่วไปของภูกระดึงประกอบไปด้วยพรรณไม้นานาชนิด พันธุ์สัตว์ป่านานาพันธุ์ หน้าผา ทุ่งหญ้า ล าธาร และน ้าตก อีกทั้งยังเป็นพื้นที่ต้นน ้าของล าน ้าพองซึ่งเป็นล าน ้าสายส าคัญสายหนึ่งของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ด้วยความสูง บรรยากาศ และสภาพอากาศที่เย็นสบายตลอดปีบนยอดภูกระดึง โดยเฉพาะในช่วงฤดู หนาวอุณหภูมิอาจลดต ่าจนถึง 0 องศาเซลเซียส จึงเป็นแรงจูงใจให้นักท่องเที่ยวปรารถนาที่หวังจะเป็นผู้ พิชิตยอดภูกระดึงสักครั้งหนึ่งในชีวิต พุธ นักท่องเที่ยวที่ประสงค์จะเข้าไปท่องเที่ยวและพักแรมบนยอดภูกระดึง ขอให้ติดต่อ สอบถาม หรือ ส ารองการเข้าไปใช้บริการล่วงหน้า ทั้งที่พักประเภทเต็นท์ของอุทยานแห่งชาติและพื้นที่กางเต็นท์ส าหรับ นักท่องเที่ยวที่น าเต็นท์มาเองตามแผนผังจุดพักแรม ก่อนเดินทาง ได้โดยตรง ณ อุทยานแห่งชาติภูกระดึง โทรศัพท์หมายเลข 0-4287-1333 (ตลอด 24 ชั่วโมง) และหมายเลข 0-4287-1458 ระหว่างเวลา (07.00 น.-16.30 น.) ขนาดพื้นที่ 217576.25 ไร่

หน่วยงานในพื้นที่ หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ ลย.1 (วังกวาง) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ ลย.2 (อีเลิศ) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ ลย.3 (นาน้อย) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ ลย.4 (พองหนีบ) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ ลย.5 (หนองผักบุ้ง) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ ลย.6 (ภูขี้ไก่) ลักษณะภูมิประเทศ สภาพทั่วไปของอุทยานแห่งชาติภูกระดึง เป็นภูเขาหินทรายยอดตัดอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของ ที่ราบสูงโคราช ใกล้กับด้านลาดทิศตะวันออกของเทือกเขาเพชรบูรณ์ ลักษณะโครงสร้างทางธรณีของภู กระดึงเกิดขึ้นในมหายุค Mesozoic เป็นหินในชุดโคราช ประกอบด้วยชั้นหินหมวดหินภูพานหมวดหินเสา ขัว หมวดหินพระวิหาร และหมวดหินภูกระดึง พื้นที่ส่วนใหญ่ของภูเขาอยู่ที่ความสูงจากระดับน ้าทะเลปาน กลางระหว่าง 400-1,200 เมตร มีพื้นที่ราบบนยอดเขากว้างใหญ่คล้ายรูปใบบอน ประกอบด้วยเนินเตี้ยๆ ยอด สูงสุดคือ บริเวณคอกเมย สูงจากระดับน ้าทะเลประมาณ 1,316 เมตร สภาพพื้นที่ราบบนยอดภูกระดึงมี ส่วนสูงอยู่ทางด้านตะวันตกและตะวันออกเฉียงใต้ พื้นที่ค่อยๆ ลาดเทลงมาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ท า ให้ล าธารสายต่างๆ ที่เกิดจากแหล่งน ้าบนภูเขาไหลไปรวมกันทางด้านนี้ เป็นแหล่งต้นน ้าของล าน ้าพอง ซึ่ง หล่อเลี้ยงเขื่อนอุบลรัตน์และเขื่อนหนองหวาย ในจังหวัดขอนแก่น ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิอากาศของอุทยานแห่งชาติภูกระดึงบริเวณที่ระดับต ่าตามเชิงเขา มีสภาพโดยทั่วไปใกล้เคียงกับ บริเวณอื่นๆ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ ฤดูฝนเริ่มตั้งแต่เดือนเมษายนถึงเดือนตุลาคม ฝนตกชุกที่สุดระหว่างเดือนสิงหาคม- กันยายน อุณหภูมิเฉลี่ยรายปี 26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต ่าสุดในเดือนมกราคม และอุณหภูมิสูงสุดในเดือน เมษายน สภาพอากาศทั่วไปบนยอดภูกระดึง แตกต่างจากสภาพอากาศในที่ราบต ่าเป็นอย่างมาก โดยปริมาณ น ้าฝนจะเพิ่มขึ้นอีกประมาณไม่ต ่ากว่าร้อยละ 30 ของปริมาณน ้าฝนบนที่ต ่า เนื่องจากอิทธิพลของเมฆ/หมอก ที่ปกคลุมยอดภูกระดึงเป็นเนืองนิจ ในช่วงเดือนธันวาคม-มกราคมอุณหภูมิต ่าสุดเฉลี่ยระหว่าง 0-10 องศา เซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยระหว่าง 21-24 องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูร้อนระหว่างเดือนมีนาคม-เมษายน อุณหภูมิต ่าสุดเฉลี่ยระหว่าง 12-19 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยระหว่าง 23-30 องศาเซลเซียส อากาศ บนยอดภูกระดึงมักจะแปรปรวน มีเมฆหมอก ลอยต ่าปกคลุมบ่อยครั้ง อากาศจึงค่อนข้างเย็นตลอดปี ในช่วงฤดูฝน มักเกิดภัยธรรมชาติ เช่น เกิดการพังทะลายของภูเขาและมีน ้าป่า ทางอุทยานแห่งชาติ จึงก าหนดให้ปิด-เปิดการท่องเที่ยวเฉพาะบนยอดเขาภูกระดึง เพื่อความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว และให้

สภาพธรรมชาติและสภาพแวดล้อมได้มีการพักฟื้นตัว หลังจากนักท่องเที่ยวไปเยี่ยมชมอย่างมากในแต่ละปี ดังนี้ ปิดฤดูการท่องเที่ยว ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน - 30 กันยายน ของทุกปี เปิดฤดูการท่องเที่ยว ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม - 31 พฤษภาคม ของทุกปี พืชพรรณและสัตว์ป่ า สังคมพืชของภูกระดึงเป็นป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ที่สุดป่าหนึ่ง มีทั้งป่าผลัดใบ และป่าดงดิบ ที่ ระดับความสูงต่างๆ จ าแนกออกได้เป็น ป่ าเต็งรัง พบบนที่ราบเชิงเขาและบนที่ลาดชันจนถึงระดับความสูงจากระดับน ้าทะเล ประมาณ 600 เมตร ประกอบด้วยพันธุ์ไม้ที่ส าคัญ ได้แก่ เต็ง รัง เหียง พลวง กราด รกฟ้า อ้อยช้าง กว้าว มะกอกเลื่อม มะค่า แต้ ช้างน้าว ติ้วขน ยอป่า ฯลฯ พืชพื้นล่างประกอบด้วย หญ้าเพ็ก ขึ้นเป็นกอหนาแน่น แทรกด้วยไม้พุ่มและ พืชล้มลุก ป่ าเบญจพรรณ พบตั้งแต่บนพื้นที่ราบเชิงเขาและที่ลาดชันตามไหล่เขารอบภูกระดึง จนถึงระดับ ความสูงจากน ้าทะเลประมาณ 950 เมตร พันธุ์ไม้ที่ส าคัญได้แก่ แดง ประดู่ป่า กระบก ตะแบกเลือด ยมหิน มะกอก งิ้วป่า แสมสาร มะค่าโมง ตะคร ้า สมอไทย ส าโรง โมกมัน ฯลฯ พืชพื้นล่างประกอบด้วยหญ้าและ กอไผ่ของไผ่รวก ไผ่ไร่ ไผ่หลวง ไผ่ซางหม่น ไม้พุ่ม เช่น หนามคณฑา กะตังใบ สังกรณี ไผ่หวานบ้าน ฯลฯ ไม้เถา เช่น แก้วมือไว สายหยุด นมวัว ตีนตั่ง หนอนตายหยาก กลอย ฯลฯ พืชล้มลุก เช่น บุกใหญ่ ผักปราบ แห้วกระต่าย ฯลฯ พืชกาฝากและอิงอาศัย เช่น ข้าวก ่านกยูง ดอกดิน ชายผ้าสีดา เป็นต้น ป่ าดิบแล้ง พบตามฝั่งล าธารของหุบเขาที่ชุ่มชื้นทางทิศตะวันออก ตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศ ตะวันตก ตั้งแต่เชิงเขาจนถึงระดับความสูงประมาณ 950 เมตรจากระดับน ้าทะเล พันธุ์ไม้ส าคัญได้แก่ ก่อ ตะเคียนทอง ยางแดง ยมหอม ตะแบกเปลือกบาง หว้า มะม่วงป่า สัตตบรรณ มะหาด คอแลน เชียด ฯลฯ พืช พื้นล่างแน่น เป็นพวกไม้พุ่ม ไม้เถา เช่น สร้อยอินทนิล กระทงลาย เถามวกขาว เล็บมือนาง กระไดลิง ฯลฯ พืชล้มลุก เช่น ข่าคม ก้ามกุ้ง ฯลฯ หวายและเฟินหลายชนิด ป่ าดิบเขา พบตั้งแต่ระดับ 1,000 เมตรจากระดับน ้าทะเลขึ้นไป ทางทิศเหนือและทิศตะวันตกเฉียง เหนือ พันธุ์ไม้ที่ส าคัญได้แก่ ก่วมแดง ทะโล้ สนสามพันปี พะอง จ าปีป่า พญาไม้ ก่อเดือย ก่อหนาม ก่อหมู ส้านเขา รัก เหมือดคนดง เฉียงพร้านางแอ พะวา เดื่อหูกวาง ฯลฯ พืชพื้นล่างประกอบด้วยไม้พุ่ม เช่น กุหลาบแดง มือพระนารายณ์ ฮอมค า จ๊าฮ่อม ฯลฯ ตามหน้าผาริมขอบภูพบปาล์มต้นสูงขึ้นห่างๆ ได้แก่ ค้อ ดอย ไม้เถา เช่น กระจับเขา เครือเขาน ้า แก้มขาว หนามไข่ปู ใบก้นปิด ย่านหูเสือ เป็นต้น ป่ าสนเขา พบเฉพาะบนที่ราบยอดภูกระดึงที่ระดับความสูงประมาณ 1,200-1,350 เมตรจาก ระดับน ้าทะเล พันธุ์ไม้ที่ส าคัญ ได้แก่ สนสองใบ ก่อเตี้ย ทะโล้ สารภีดอย มะเขื่อเถื่อน รัก ฯลฯ พืชพื้นล่าง ประกอบด้วย สนทราย ส้มแปะ กุหลาบขาว เม้าแดง พวงตุ้มหู นางค า ฯลฯ ตามลานหินมีพืชชั้นต ่าพวกไล เคน ประเภทแนบกับหินเป็นแผ่น และประเภทเป็นฟองเรียก ฟองหิน ปกคลุมทั่วไป นอกจากนี้จะพบเอื้อง

ค าหิน ม้าวิ่ง และเขากวาง ซึ่งเป็นกล้วยไม้ที่ออกเป็นกอหนาแน่น พืชล้มลุก เช่น ดาวเรืองภู ว่านคางคก ต่าง หูขาว เนียมดอกธูป แววมยุรา หญ้าข้าวก ่าขาว โสภา เทียนภู เปราะภู ดอกหรีด ขนนกยูง หญ้าเหลี่ยม น ้าเต้า พระฤาษี กูดเกี๊ยะ เป็นต้น บนพื้นดินที่ชุ่มแฉะ มอสจ าพวกข้าวตอกฤาษีหลายชนิดขึ้นทับถมแน่น คล้ายผืน พรม บางแห่งมีพืชล้มลุกขนาดเล็กหลายชนิดขึ้นปะปนกันแน่น เช่น กระดุมเงิน สาหร่ายข้าวเหนียว ดุสิตา และหญ้าข้าวก ่า ภูกระดึง ได้ชื่อว่าเป็นแหล่งที่มีสัตว์ป่าอาศัยอยู่อย่างชุกชุม เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศประกอบ ไปด้วยป่าไม้ ทุ่งหญ้าและล าธาร ซึ่งเป็นแหล่งอาหารที่อุดมสมบูรณ์ สัตว์ป่าภูกระดึงมีหลายชนิดที่พบเห็น ทั่วไป ได้แก่ ช้างป่า เก้ง กวางป่า หมูป่า ลิงกัง ลิงลม บ่าง กระรอกหลากสี กระแต หนูหริ่งนาหางยาว ตุ่น เม่นหางพวง พังพอน อีเห็น เหยี่ยวรุ้ง นกเขาเปล้า นกเขาใหญ่ นกกระปูดใหญ่ นกเค้ากู่ นกตะขาบทุ่ง นก โพระดกคอสีฟ้า นกตีทอง นกหัวขวานสามนิ้วหลังทอง นกนางแอ่นสะโพกแดง นกเด้าดินสวน นกอุ้มบาตร์ นกขี้เถ้าใหญ่ นกกระทาทุ่ง นกพญาไฟใหญ่ นกกางเขนดง นกจาบดินอกลาย นกขมิ้นดง ตุ๊กแก จิ้งจกหาง แบนเล็ก กิ้งก่าสวน จิ้งเหลนบ้าน เต่าเหลือง งูทางมะพร้าว งูลายสอบ้าน งูจงอาง งูเก่า งูเขียวหางไหม้ อึ่งอี๊ด หลังลาย เขียดหนอง คางคก กบหูใหญ่ ปาดแคระ และมีเต่าชนิดหนึ่งซึ่งหาได้ยาก คือ เต่าปูลู หรือ “เต่าหาง” เป็นเต่าที่หางยาว อาศัยอยู่ตามล าธารในป่าเขาระดับสูงของประเทศไทย กัมพูชา และ ลาว การเดินทาง รถยนต์ เดินทางโดยรถยนต์ สามารถเดินทางได้หลายเส้นทาง 1) เดินทางผ่านจังหวัดสระบุรี เพชรบูรณ์ อ าเภอหล่มสัก หล่มเก่า ด่านซ้าย ภูเรือ และอ าเภอเมืองเลย เลี้ยวเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 201 (เลย-ขอนแก่น) และเลี้ยวเข้าทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2019 เข้าสู่ อุทยานแห่งชาติภูกระดึง 2) ใช้เส้นทางผ่านจังหวัดสระบุรี นครราชสีมา จนถึงจังหวัดขอนแก่นเลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 201 ผ่านอ าเภอภูผาม่าน และต าบลผานกเค้า เข้าสู่อุทยานแห่งชาติภูกระดึง 3) เดินทางผ่านจังหวัดสระบุรี อ าเภอปากช่อง เลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 201 ผ่าน จังหวัดชัยภูมิ อ าเภอภูเขียว แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 ผ่านอ าเภอชุมแพ จากนั้น เดินทางเช่นเดียวกับเส้นทางที่ 2 เครื่องบิน เดินทางโดยเครื่องบิน โดยใช้เที่ยวบิน กรุงเทพฯ-ขอนแก่น กรุงเทพฯ-เลย กรุงเทพฯ-อุดรธานี ของ สายการบินต่างๆ ได้ทุกวัน สอบถามข้อมูลเที่ยวบินและสายการบิน โทร. 0-2628-2000, 0-2515-9999, 0- 2267-2999 และ 1318

รถไฟ เดินทางโดยรถไฟ ขึ้นรถไฟที่ที่สถานีรถไฟหัวล าโพงถึงสถานีรถไฟขอนแก่น ต่อรถโดยสารสาย ขอนแก่น-เลย ถึงอ าเภอภูกระดึงแล้วต่อรถสองแถวเข้าอุทยานแห่งชาติภูกระดึง สอบถามข้อมูลรถไฟ โทร. 0-2225-1300 ต่อ 5201 ,0-2223-0341-3 หรือติดต่อสอบถามโดยตรงที่อุทยานแห่งชาติกระดึง โทร. 0-4287- 1333, 0-4287-1458 รถโดยสารประจ าทาง เดินทางโดยรถโดยสารประจ าทาง ขึ้นรถโดยสารที่สถานีขนส่งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (หมอชิต 2) สายกรุงเทพ-เมืองเลย ลงรถที่ผานกเค้า หรือสถานีขนส่งอ าเภอภูกระดึง แล้วต่อรถสองแถวเข้าอุทยาน แห่งชาติภูกระดึง สอบถามข้อมูลรถโดยสาร โทร.0-2936-2852-66 อัตราค่าโดยสาร รถปรับอากาศ VIP 24 ที่นั่ง ราคา 590 บาท รถปรับอากาศ VIP 32 ที่นั่ง ราคา 449 บาท รถปรับอากาศ ชั้น 1 ราคา 258 บาท รถปรับอากาศ ชั้น 2 ราคา 280 บาท ลงรถที่ผานกเค้า *หมายเหตุ -ต่อรถสองแถวจากผานกเค้า ถึงอุทยานแห่งชาติภูกระดึง ราคา 20 บาท/คน สิ่งอ านวยความสะดวก ที่พัก และสถานที่กางเต็นท์ ที่พัก - เต็นท์ ที่พัก - ภูกระดึง 108 (สายน ้าผึ้ง) ที่พัก - ภูกระดึง 109 (ล าดวนดง) ที่พัก - ภูกระดึง 110/1-5 (เทียนน ้า) ที่พัก - ภูกระดึง 111/1-4 (หยาดน ้าค้าง) ที่พัก - ภูกระดึง 112 (แววมยุรา) ที่พัก - ภูกระดึง 113 (ส าเภาเงิน) ที่พัก - ภูกระดึง 115 (สนทราย) ที่พัก - ภูกระดึง 116 (นาคราช) ที่พัก - ภูกระดึง 117 (เอพริล 1) ที่พัก - ภูกระดึง 118 (เอพริล 2) ที่พัก - ภูกระดึง 201/1 (ผกากรอง) ที่พัก - ลานกางเต็นท์ ที่พัก - ภูกระดึง 107 (ทรงบาดาล) ที่พัก - ภูกระดึง 106 (สุพรรณิการ์) ที่พัก - ภูกระดึง 105 (อัมพวา)

ที่พัก - เต็นโดมใหญ่และเต็นเคบิ้นใหญ่ ที่พัก - เต็นท์ยกพื้น ที่พัก - ถุงนอน ที่พัก - ที่รองนอน ที่พัก - หมอน ที่พัก - ภูกระดึง 103 (บ้านกุหลาบขาว) ที่พัก - ภูกระดึง 202 (ศรีฐาน 1) ที่พัก - ภูกระดึง 203 (ศรีฐาน 2) ที่พัก - ภูกระดึง 204 (ศรีฐาน 3) ที่พัก - ภูกระดึง 205 (ศรีฐาน 4) ที่พัก - ภูกระดึง 102 (กระดุมเงิน) ที่พัก - ภูกระดึง 104 (เสลี่ยมดง) ที่พัก - บ้านพักรับรอง (สนสามพันปี) ลานจอดรถ - ที่จอดรถ ห้องน ้า - ห้องน ้า-ห้องส้วม สถานที่ท่องเที่ยว ผานกแอ่น (Pha Nok An) ข้อมูลทั่วไป อยู่ห่างจากศูนย์บริการนักท่องเที่ยววังกวางประมาณ 2 กิโลเมตร และห่างจากหลังแป 2.5 กิโลเมตร ผานกแอ่นเป็นลานหินเล็กๆ มีสนขึ้นโดดเด่นริมหน้าผาต้นหนึ่ง เป็นจุดชมพระอาทิตย์ขึ้นที่งดงามยิ่ง อากาศ สดชื่นเย็นสบาย มองเห็นทิวทัศน์เบื้องล่างซึ่งเป็นท้องทุ่งและเทือกเขา เห็นผานกเค้าได้ชัดเจน ริมทางเดิน

ใกล้ผานกแอ่นเป็นสวนหินมีดอกกุหลาบป่าขึ้นอยู่เป็นดงใหญ่ จะบานสะพรั่งเต็มต้นในเดือนมีนาคม- เมษายน ผู้ที่ไปชมประอาทิตย์ขึ้นที่ผานกแอ่น ควรเตรียมไฟฉายส าหรับใช้ส่องทางไปด้วย สภาพภูมิประเทศ สภาพทั่วไปของอุทยานแห่งชาติภูกระดึง เป็นภูเขาหินทรายยอดตัดอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของ ที่ราบสูงโคราช ใกล้กับด้านลาดทิศตะวันออกของเทือกเขาเพชรบูรณ์ ลักษณะโครงสร้างทางธรณีของภู กระดึงเกิดขึ้นในมหายุค Mesozoic เป็นหินในชุดโคราช ประกอบด้วยชั้นหินหมวดหินภูพานหมวดหินเสา ขัว หมวดหินพระวิหาร และหมวดหินภูกระดึง พื้นที่ส่วนใหญ่ของภูเขาอยู่ที่ความสูงจากระดับน ้าทะเลปาน กลางระหว่าง 400-1,200 เมตร มีพื้นที่ราบบนยอดเขากว้างใหญ่คล้ายรูใบบอน ประกอบด้วยเนินเตี้ยๆ ยอด สูงสุดคือ ภูกุ่มข้าว สูงจากระดับน ้าทะเลประมาณ 1,350 เมตร สภาพพื้นที่ราบบนยอดภูกระดึงมีส่วนสูงอยู่ ทางด้านตะวันตกและตะวันออกเฉียงใต้ พื้นที่ค่อยๆ ลาดเทลงมาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ท าให้ล าธาร สายต่างๆ ที่เกิดจากแหล่งน ้าบนภูเขาไหลไปรวมกันทางด้านนี้ เป็นแหล่งต้นน ้าของล าน ้าพอง ซึ่งหล่อเลี้ยง เขื่อนอุบลรัตน์และเขื่อนหนองหวาย ในจังหวัดขอนแก่น สภาพภูมิอากาศ/ช่วงเวลาในการท่องเที่ยว ภูมิอากาศของอุทยานแห่งชาติภูกระดึงบริเวณที่ระดับต ่าตามเชิงเขา มีสภาพโดยทั่วไปใกล้เคียงกับ บริเวณอื่นๆ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ ฤดูฝนเริ่มตั้งแต่เดือนเมษายนถึงเดือนตุลาคม ฝนตกชุกที่สุดระหว่างเดือนสิงหาคม- กันยายน อุณหภูมิเฉลี่ยรายปี 26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต ่าสุดในเดือนมกราคม และอุณหภูมิสูงสุดในเดือน เมษายน สภาพอากาศทั่วไปบนยอดภูกระดึง แตกต่างจากสภาพอากาศในที่ราบต ่าเป็นอย่างมาก โดยปริมาณ น ้าฝนจะเพิ่มขึ้นอีกประมาณไม่ต ่ากว่าร้อยละ 30 ของปริมาณน ้าฝนบนที่ต ่า เนื่องจากอิทธิพลของเมฆ/หมอก ที่ปกคลุมยอดภูกระดึงเป็นเนืองนิจ ในช่วงเดือนธันวาคม-มกราคมอุณหภูมิต ่าสุดเฉลี่ยระหว่าง 0-10 องศา เซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยระหว่าง 21-24 องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูร้อนระหว่างเดือนมีนาคม-เมษายน อุณหภูมิต ่าสุดเฉลี่ยระหว่าง 12-19 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยระหว่าง 23-30 องศาเซลเซียส อากาศ บนยอดภูกระดึงมักจะแปรปรวน มีเมฆหมอก ลอยต ่าปกคลุมบ่อยครั้ง อากาศจึงค่อนข้างเย็นตลอดปี ในช่วงฤดูฝน มักเกิดภัยธรรมชาติ เช่น เกิดการพังทะลายของภูเขาและมีน ้าป่า ทางอุทยานแห่งชาติ จึงก าหนดให้ปิด-เปิดการท่องเที่ยวเฉพาะบนยอดเขาภูกระดึง เพื่อความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว และให้ สภาพธรรมชาติและสภาพแวดล้อมได้มีการพักฟื้นตัว หลังจากนักท่องเที่ยวไปเยี่ยมชมอย่างมากในแต่ละปี ดังนี้ • ปิดฤดูการท่องเที่ยว ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน - 30 กันยายน ของทุกปี • เปิดฤดูการท่องเที่ยว ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม - 31 พฤษภาคม ของทุกปี สิ่งอ านวยความสะดวก ที่พัก และสถานที่กางเต็นท์ เต็นท์ - ที่พัก เต็นโดมใหญ่และเต็นเคบิ้นใหญ่ - ที่พัก

เต็นท์ยกพื้น - ที่พัก ถุงนอน - ที่พัก ที่รองนอน - ที่พัก หมอน - ที่พัก ภูกระดึง 103 (บ้านกุหลาบขาว) - ที่พัก ภูกระดึง 202 (ศรีฐาน 1) - ที่พัก ภูกระดึง 203 (ศรีฐาน 2) - ที่พัก ภูกระดึง 204 (ศรีฐาน 3) - ที่พัก ภูกระดึง 205 (ศรีฐาน 4) - ที่พัก ภูกระดึง 102 (กระดุมเงิน) - ที่พัก ภูกระดึง 104 (เสลี่ยมดง) - ที่พัก ภูกระดึง 105 (อัมพวา) - ที่พัก ภูกระดึง 106 (สุพรรณิการ์) - ที่พัก ภูกระดึง 107 (ทรงบาดาล) - ที่พัก ภูกระดึง 108 (สายน ้าผึ้ง) - ที่พัก ภูกระดึง 109 (ล าดวนดง) - ที่พัก ภูกระดึง 110/1-5 (เทียนน ้า) - ที่พัก ภูกระดึง 111/1-4 (หยาดน ้าค้าง) - ที่พัก ภูกระดึง 112 (แววมยุรา) - ที่พัก ภูกระดึง 113 (ส าเภาเงิน) - ที่พัก ภูกระดึง 115 (สนทราย) - ที่พัก ภูกระดึง 116 (นาคราช) - ที่พัก ภูกระดึง 117 (เอพริล 1) - ที่พัก ภูกระดึง 118 (เอพริล 2) - ที่พัก ภูกระดึง 201/1 (ผกากรอง) - ที่พัก ลานกางเต็นท์ - ที่พัก ที่จอดรถ - ลานจอดรถ ห้องน ้า-ห้องส้วม - ห้องน ้า บ้านพักรับรอง (สนสามพันปี) - ที่พัก

ผาหมากดูก (Pha Mak Duk) ข้อมูลทั่วไป อยู่ห่างจากศูนย์บริการนักท่องเที่ยว 2.3 กิโลเมตร เป็นผาที่มีลานหินกว้างขวาง เป็นผาส าหรับชม พระอาทิตย์ขึ้นและพระอาทิตย์ตก ในระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงกุมภาพันธ์สามารถชมทิวทัศน์ภูผาจิตใน เขตอุทยานแห่งชาติน ้าหนาว ในช่วงต้นฤดูฝนจะมีดอกกระเจียวขึ้นเต็มทุ่งตามเส้นทางสู่ผาหมากดูก สิ่งอ านวยความสะดวก ที่พัก และสถานที่กางเต็นท์ เต็นท์ - ที่พัก เต็นโดมใหญ่และเต็นเคบิ้นใหญ่ - ที่พัก เต็นท์ยกพื้น - ที่พัก ถุงนอน - ที่พัก ที่รองนอน - ที่พัก หมอน - ที่พัก ภูกระดึง 103 (บ้านกุหลาบขาว) - ที่พัก ภูกระดึง 202 (ศรีฐาน 1) - ที่พัก ภูกระดึง 203 (ศรีฐาน 2) - ที่พัก ภูกระดึง 204 (ศรีฐาน 3) - ที่พัก ภูกระดึง 205 (ศรีฐาน 4) - ที่พัก ภูกระดึง 102 (กระดุมเงิน) - ที่พัก ภูกระดึง 104 (เสลี่ยมดง) - ที่พัก ภูกระดึง 105 (อัมพวา) - ที่พัก ภูกระดึง 106 (สุพรรณิการ์) - ที่พัก ภูกระดึง 107 (ทรงบาดาล) - ที่พัก ภูกระดึง 108 (สายน ้าผึ้ง) - ที่พัก ภูกระดึง 109 (ล าดวนดง) - ที่พัก

ภูกระดึง 110/1-5 (เทียนน ้า) - ที่พัก ภูกระดึง 111/1-4 (หยาดน ้าค้าง) - ที่พัก ภูกระดึง 112 (แววมยุรา) - ที่พัก ภูกระดึง 113 (ส าเภาเงิน) - ที่พัก ภูกระดึง 115 (สนทราย) - ที่พัก ภูกระดึง 116 (นาคราช) - ที่พัก ภูกระดึง 117 (เอพริล 1) - ที่พัก ภูกระดึง 118 (เอพริล 2) - ที่พัก ภูกระดึง 201/1 (ผกากรอง) - ที่พัก ลานกางเต็นท์ - ที่พัก ที่จอดรถ - ลานจอดรถ ห้องน ้า-ห้องส้วม - ห้องน ้า บ้านพักรับรอง (สนสามพันปี) – ที่พัก น ้าตกเพ็ญพบ (Phon Phop Waterfall) ข้อมูลทั่วไป อยู่ทางทิศใต้ของน ้าตกโผนพบ 342 เมตร เป็นน ้าตก 3 ชั้น ที่ไหลลงสู่งแอ่งรองรับน ้าขนาดใหญ่ ด้านล่าง มักจะมีนกออกมาเล่นน ้าเสมอ สิ่งอ านวยความสะดวก ที่พัก และสถานที่กางเต็นท์ เต็นท์ - ที่พัก เต็นโดมใหญ่และเต็นเคบิ้นใหญ่ - ที่พัก เต็นท์ยกพื้น - ที่พัก ถุงนอน - ที่พัก ที่รองนอน - ที่พัก หมอน - ที่พัก

ภูกระดึง 103 (บ้านกุหลาบขาว) - ที่พัก ภูกระดึง 202 (ศรีฐาน 1) - ที่พัก ภูกระดึง 203 (ศรีฐาน 2) - ที่พัก ภูกระดึง 204 (ศรีฐาน 3) - ที่พัก ภูกระดึง 205 (ศรีฐาน 4) - ที่พัก ภูกระดึง 102 (กระดุมเงิน) - ที่พัก ภูกระดึง 104 (เสลี่ยมดง) - ที่พัก ภูกระดึง 105 (อัมพวา) - ที่พัก ภูกระดึง 106 (สุพรรณิการ์) - ที่พัก ภูกระดึง 107 (ทรงบาดาล) - ที่พัก ภูกระดึง 108 (สายน ้าผึ้ง) - ที่พัก ภูกระดึง 109 (ล าดวนดง) - ที่พัก ภูกระดึง 110/1-5 (เทียนน ้า) - ที่พัก ภูกระดึง 111/1-4 (หยาดน ้าค้าง) - ที่พัก ภูกระดึง 112 (แววมยุรา) - ที่พัก ภูกระดึง 113 (ส าเภาเงิน) - ที่พัก ภูกระดึง 115 (สนทราย) - ที่พัก ภูกระดึง 116 (นาคราช) - ที่พัก ภูกระดึง 117 (เอพริล 1) - ที่พัก ภูกระดึง 118 (เอพริล 2) - ที่พัก ภูกระดึง 201/1 (ผกากรอง) - ที่พัก ลานกางเต็นท์ - ที่พัก ที่จอดรถ - ลานจอดรถ ห้องน ้า-ห้องส้วม - ห้องน ้า บ้านพักรับรอง (สนสามพันปี) – ที่พัก

สระอโนดาต (Anodad Pool) ข้อมูลทั่วไป อยู่ห่างจากศูนย์บริการนักท่องเที่ยว 3.4 กิโลเมตร เป็นสระน ้าตามธรรมชาติมีน ้าตลอดปี มีต้นสน สองใบและสามใบขึ้นตามรอบสระ ใกล้กันยังมีลานกินรีซึ่งเป็นสวนหินธรรมชาติที่อุดมไปด้วยพรรณไม้ทั้ง พวกกินแมลงอย่างดุสิตา หยาดน ้าค้าง หรือเฟิน เช่น กระปรอกสิงห์ บนหินยังมีไลเคนขึ้นอยู่เต็มไปหมด สิ่งอ านวยความสะดวก ที่พัก และสถานที่กางเต็นท์ เต็นท์ - ที่พัก เต็นโดมใหญ่และเต็นเคบิ้นใหญ่ - ที่พัก เต็นท์ยกพื้น - ที่พัก ถุงนอน - ที่พัก ที่รองนอน - ที่พัก หมอน - ที่พัก ภูกระดึง 103 (บ้านกุหลาบขาว) - ที่พัก ภูกระดึง 202 (ศรีฐาน 1) - ที่พัก ภูกระดึง 203 (ศรีฐาน 2) - ที่พัก ภูกระดึง 204 (ศรีฐาน 3) - ที่พัก ภูกระดึง 205 (ศรีฐาน 4) - ที่พัก ภูกระดึง 102 (กระดุมเงิน) - ที่พัก ภูกระดึง 104 (เสลี่ยมดง) - ที่พัก ภูกระดึง 105 (อัมพวา) - ที่พัก ภูกระดึง 106 (สุพรรณิการ์) - ที่พัก ภูกระดึง 107 (ทรงบาดาล) - ที่พัก ภูกระดึง 108 (สายน ้าผึ้ง) - ที่พัก

ภูกระดึง 109 (ล าดวนดง) - ที่พัก ภูกระดึง 110/1-5 (เทียนน ้า) - ที่พัก ภูกระดึง 111/1-4 (หยาดน ้าค้าง) - ที่พัก ภูกระดึง 112 (แววมยุรา) - ที่พัก ภูกระดึง 113 (ส าเภาเงิน) - ที่พัก ภูกระดึง 115 (สนทราย) - ที่พัก ภูกระดึง 116 (นาคราช) - ที่พัก ภูกระดึง 117 (เอพริล 1) - ที่พัก ภูกระดึง 118 (เอพริล 2) - ที่พัก ภูกระดึง 201/1 (ผกากรอง) - ที่พัก ลานกางเต็นท์ - ที่พัก ที่จอดรถ - ลานจอดรถ ห้องน ้า-ห้องส้วม - ห้องน ้า บ้านพักรับรอง (สนสามพันปี) – ที่พัก ผาเหยียบเมฆ (Yeab Mek Cliff) ข้อมูลทั่วไป เป็นจุดชมทิวทัศน์ และนั่งพัก เมื่อยืนอยู่บริเวณหน้าผาจะมองเห็นเมฆ หมอก ลอยปกคลุมทั่วหุบเขา ท าให้รู้สึกเหมือนยืนอยู่เป็นก้อนเมฆ สภาพภูมิประเทศ ลักษณะโดยรอบเป็นหินทรายมีลานหินตะปุ่มตะป ่ า คล้ายก้อนเมฆ บริเวณโดยรอบเป็นป่าสน หน้า ผามีความสูง มีความลาดชัน 30-35 องศา สภาพภูมิอากาศ/ช่วงเวลาในการท่องเที่ยว ตุลาคม-พฤษภาคม

สิ่งอ านวยความสะดวก ที่พัก และสถานที่กางเต็นท์ เต็นท์ - ที่พัก เต็นโดมใหญ่และเต็นเคบิ้นใหญ่ - ที่พัก เต็นท์ยกพื้น - ที่พัก ถุงนอน - ที่พัก ที่รองนอน - ที่พัก หมอน - ที่พัก ภูกระดึง 103 (บ้านกุหลาบขาว) - ที่พัก ภูกระดึง 202 (ศรีฐาน 1) - ที่พัก ภูกระดึง 203 (ศรีฐาน 2) - ที่พัก ภูกระดึง 204 (ศรีฐาน 3) - ที่พัก ภูกระดึง 205 (ศรีฐาน 4) - ที่พัก ภูกระดึง 102 (กระดุมเงิน) - ที่พัก ภูกระดึง 104 (เสลี่ยมดง) - ที่พัก ภูกระดึง 105 (อัมพวา) - ที่พัก ภูกระดึง 106 (สุพรรณิการ์) - ที่พัก ภูกระดึง 107 (ทรงบาดาล) - ที่พัก ภูกระดึง 108 (สายน ้าผึ้ง) - ที่พัก ภูกระดึง 109 (ล าดวนดง) - ที่พัก ภูกระดึง 110/1-5 (เทียนน ้า) - ที่พัก ภูกระดึง 111/1-4 (หยาดน ้าค้าง) - ที่พัก ภูกระดึง 112 (แววมยุรา) - ที่พัก ภูกระดึง 113 (ส าเภาเงิน) - ที่พัก ภูกระดึง 115 (สนทราย) - ที่พัก ภูกระดึง 116 (นาคราช) - ที่พัก ภูกระดึง 117 (เอพริล 1) - ที่พัก ภูกระดึง 118 (เอพริล 2) - ที่พัก ภูกระดึง 201/1 (ผกากรอง) - ที่พัก ลานกางเต็นท์ - ที่พัก ที่จอดรถ - ลานจอดรถ ห้องน ้า-ห้องส้วม - ห้องน ้า บ้านพักรับรอง (สนสามพันปี) – ที่พัก

ลานพระศรีนครินทร์ (องค์พระพุทธเมตตา) (Buddha Image) ข้อมูลทั่วไป เป็นที่ประดิษฐองค์พระพุทธเมตตา ทุกวันที่ 18-19 เมษายน ของทุกปี ชาวบ้านจะขึ้นมาสักการะ และสรงน ้า องค์พระ สภาพภูมิประเทศ เป็นลานหินราบ มีหินตะปุ่มตะป ่ าบริเวณรอบ พื้นที่รวมประมาณ 2,500 ตรม. บริเวณโดยรอบประกอบไป ด้วยป่าสนเขา สภาพภูมิอากาศ/ช่วงเวลาในการท่องเที่ยว ตุลาคม-พฤษภาคม สิ่งอ านวยความสะดวก ที่พัก และสถานที่กางเต็นท์ เต็นท์ - ที่พัก เต็นโดมใหญ่และเต็นเคบิ้นใหญ่ - ที่พัก เต็นท์ยกพื้น - ที่พัก ถุงนอน - ที่พัก ที่รองนอน - ที่พัก หมอน - ที่พัก ภูกระดึง 103 (บ้านกุหลาบขาว) - ที่พัก ภูกระดึง 202 (ศรีฐาน 1) - ที่พัก ภูกระดึง 203 (ศรีฐาน 2) - ที่พัก ภูกระดึง 204 (ศรีฐาน 3) - ที่พัก ภูกระดึง 205 (ศรีฐาน 4) - ที่พัก ภูกระดึง 102 (กระดุมเงิน) - ที่พัก ภูกระดึง 104 (เสลี่ยมดง) - ที่พัก

ภูกระดึง 105 (อัมพวา) - ที่พัก ภูกระดึง 106 (สุพรรณิการ์) - ที่พัก ภูกระดึง 107 (ทรงบาดาล) - ที่พัก ภูกระดึง 108 (สายน ้าผึ้ง) - ที่พัก ภูกระดึง 109 (ล าดวนดง) - ที่พัก ภูกระดึง 110/1-5 (เทียนน ้า) - ที่พัก ภูกระดึง 111/1-4 (หยาดน ้าค้าง) - ที่พัก ภูกระดึง 112 (แววมยุรา) - ที่พัก ภูกระดึง 113 (ส าเภาเงิน) - ที่พัก ภูกระดึง 115 (สนทราย) - ที่พัก ภูกระดึง 116 (นาคราช) - ที่พัก ภูกระดึง 117 (เอพริล 1) - ที่พัก ภูกระดึง 118 (เอพริล 2) - ที่พัก ภูกระดึง 201/1 (ผกากรอง) - ที่พัก ลานกางเต็นท์ - ที่พัก ที่จอดรถ - ลานจอดรถ ห้องน ้า-ห้องส้วม - ห้องน ้า บ้านพักรับรอง (สนสามพันปี) – ที่พัก จุดชมทิวทัศน์ผาจ าศีล (Jam Sin Cliff) ข้อมูลทั่วไป เป็นจุดถ่ายภาพวิว และจุดพัก เคยมีพระสงฆ์มาพ านักปฏิบัติวิปัสนากรรมฐานใต้หน้าผา สภาพภูมิประเทศ ระหว่งทางมีต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง และกุหลาบขาวขึ้นเป็นดง ลักษณะเป็นหินมีตะปุ่มต าป ่ า มีหิน บางส่วนแยกออกจากกันเป็นรอยแยกขนาดใหญ่ ใต้หน้าผามีชะง่อนหินยื่นออกมา สภาพภูมิอากาศ/ช่วงเวลาในการท่องเที่ยว ตุลาคม-พฤษภาคม สิ่งอ านวยความสะดวก ที่พัก และสถานที่กางเต็นท์ เต็นท์ - ที่พัก เต็นโดมใหญ่และเต็นเคบิ้นใหญ่ - ที่พัก เต็นท์ยกพื้น - ที่พัก

ถุงนอน - ที่พัก ที่รองนอน - ที่พัก หมอน - ที่พัก ภูกระดึง 103 (บ้านกุหลาบขาว) - ที่พัก ภูกระดึง 202 (ศรีฐาน 1) - ที่พัก ภูกระดึง 203 (ศรีฐาน 2) - ที่พัก ภูกระดึง 204 (ศรีฐาน 3) - ที่พัก ภูกระดึง 205 (ศรีฐาน 4) - ที่พัก ภูกระดึง 102 (กระดุมเงิน) - ที่พัก ภูกระดึง 104 (เสลี่ยมดง) - ที่พัก ภูกระดึง 105 (อัมพวา) - ที่พัก ภูกระดึง 106 (สุพรรณิการ์) - ที่พัก ภูกระดึง 107 (ทรงบาดาล) - ที่พัก ภูกระดึง 108 (สายน ้าผึ้ง) - ที่พัก ภูกระดึง 109 (ล าดวนดง) - ที่พัก ภูกระดึง 110/1-5 (เทียนน ้า) - ที่พัก ภูกระดึง 111/1-4 (หยาดน ้าค้าง) - ที่พัก ภูกระดึง 112 (แววมยุรา) - ที่พัก ภูกระดึง 113 (ส าเภาเงิน) - ที่พัก ภูกระดึง 115 (สนทราย) - ที่พัก ภูกระดึง 116 (นาคราช) - ที่พัก ภูกระดึง 117 (เอพริล 1) - ที่พัก ภูกระดึง 118 (เอพริล 2) - ที่พัก ภูกระดึง 201/1 (ผกากรอง) - ที่พัก ลานกางเต็นท์ - ที่พัก ที่จอดรถ - ลานจอดรถ ห้องน ้า-ห้องส้วม - ห้องน ้า บ้านพักรับรอง (สนสามพันปี) - ที่พัก

เอกสารอ้างอิง ที่มา http://park.dnp.go.th/visitor/nationparkshow.php?PTA_CODE=1002


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook