Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยสังเคราะห์ ครูสราวุธ

วิจัยสังเคราะห์ ครูสราวุธ

Published by สราวุธ แก้วมณีวรรณ, 2021-12-12 06:58:56

Description: วิจัยสังเคราะห์ ครูสราวุธ

Search

Read the Text Version

การการสังเคราะห์งานวิจยั ที่เก่ยี วข้องกบั การใช้ตารางกิจกรรม นายสราวธุ แก้วมณวี รรณ ตาแหน่ง พนักงานราชการ ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวดั ลาปาง สานักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๖๔ บว.งานวจิ ัยชัน้ เรยี น ...../๒๕๖๔

ก ช่อื ผู้วิจัย นายสราวธุ แก้วมณีวรรณ ชือ่ เรอื่ งวิจยั การการสงั เคราะห์งานวจิ ยั ที่เก่ยี วขอ้ งกบั การใช้ตารางกิจกรรม บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์งานวิจัยของหน่วยงาน วิทยานิพนธ์ ปริญญา นิพนธ์ของนิสิต นักศึกษาระดับมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่ ศึกษารูปแบบงานวิจยั เก่ียวกับการการใชต้ ารางกจิ กรรม ในการทากิจกรรมของนักเรยี น ในชว่ งปี พ.ศ. ๒๕๕๔ – พ.ศ. ๒๕๖๔ จานวน ๕ เรอ่ื ง การวิจัยคร้ังน้ี สรุปผลการสังเคราะห์สถิติเชิงปริมาณ และ เชิงคุณภาพเก่ียวกับการใช้ตาราง กิจกรรมเพือ่ พัฒนาการเรียนรู้สาหรบั ผูเ้ รียนที่มคี วามต้องการจาเป็นพิเศษ ดงั นี้ ๑) ความสามารถปฏบิ ตั ิอยา่ งอิสระตามตารางกจิ กรรมของเด็กปฐมวัยท่ีมคี วามบกพร่องทาง สตปิ ญั ญาระดบั เลก็ นอ้ ย สอดคลอ้ งกบั สมมตฐิ านทต่ี ง้ั ไว้ หลงั ไดร้ บั การสอนโดยใชต้ ารางกจิ กรรมทม่ี ี ภาพประกอบร่วมกับเบ้ียอรรถกรสงู ขน้ึ จานวน ๒ เรอื่ ง โดยมเี ชิงคณุ ภาพดงั นี้ ๒) พฤติกรรมการไม่ให้ความร่วมมือในชั้นเรียนลดลง คือนักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ สาเร็จ แสดงให้เห็นว่านักเรียนมีพฤติกรรมในการปฏิบัติงานดีขึ้น สามารถปฏิบัติงานหรือกิจกรรมท่ี กาหนดให้สาเรจ็ เพ่มิ ขน้ึ จานวน ๒ เร่อื ง ๓) เด็กออทิสติกท่ีได้รับการปรับพฤติกรรมไม่อยู่นิ่งในชั้นเรียน โดยใช้วิธีการชี้แนะด้วยภาพ สญั ลักษณค์ วบคู่กบั การเสริมแรงด้วยเบยี้ อรรถกร มพี ฤติกรรมไม่อย่นู งิ่ ลดลง จานวน ๑ เร่ือง

ข กติ ตกิ รรมประกาศ การวิจัยคร้ังนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ด้วยความกรุณาและเอาใจใส่อย่างย่ิง จากผู้เก่ียวข้อง หลายฝ่าย ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณ นางสุรัญจิต วรรณนวล ผู้อานวยการ ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดลาปาง ที่กรุณาให้คาแนะนาและข้อคิดท่ีมีคุณค่าในการทาวิจัย ผู้วิจัยซาบซ้ึงในความ กรุณาท่ไี ดร้ บั เป็นอยา่ งย่ิง ขอขอบพระคณุ นางสาวเยาวทวิ า นามคณุ อ า จ า ร ย์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ ล า ป า ง นางอ่อนแก้ว จรัสดารงค์วัฒน์ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนเชียงรายปัญญานุกุล และ นางพวงผกา ปวีณบาเพญ็ อาจารย์ มหาวิทยาลยั สวนดุสิต ศูนย์การศกึ ษานอกทตี่ ้ังลาปาง ผู้เชีย่ วชาญ ท้ัง 3 ท่าน ที่ได้สละเวลาตรวจสอบเคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษา และให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะเป็น อย่างดี ขอขอบคุณกรณีศึกษา และผู้ปกครองของกรณีศึกษา ผู้อานวยการ คณะครู และบุคลากร ของศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดลาปาง ที่ให้ความร่วมมือและอนุเคราะห์ในการ เก็บรวบรวม ข้อมูลการวจิ ัยครง้ั นี้ ผู้วิจัยระลึกถึงน้าใจอันดีงามของท่านอยู่เสมอ ที่สุดน้ีผู้วิจัยขอน้อมระลึกถึงพระคุณของ บิดา มารดา ที่ได้อบรมเล้ียงดู และหล่อหลอม ให้ผู้วิจัยมีความเพียร มีกาลังใจ และประสบผลสาเร็จ ในการศกึ ษาคร้งั น้ี นายสราวุธ แก้วมณวี รรณ

ค สารบัญ หนา้ บทคดั ย่อ........................................................................................................................................... ก กติ ตกิ รรมประกาศ............................................................................................................................ ค สารบัญ............................................................................................................................................. ง สารบญั ตาราง................................................................................................................................... ฉ บทท่ี ๑ บทนา.......................................................................................................................... 1 ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา.............................................................................. 1 วัตถุประสงคข์ องการวจิ ยั ..................................................................................................... ๒ สมมุตฐิ านการวิจัย............................................................................................................... ๓ ขอบเขตของการวจิ ยั ........................................................................................................... ๓ นิยามศัพทเ์ ฉพาะ................................................................................................................ ๔ ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้....................................................................................................... ๔ บทท่ี ๒ เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวขอ้ ง.................................................................................. 5 ความหมายของการวิจยั ............................................................................................. 5 ประเภทของการวจิ ัย.................................................................................................. ๗ ตวั แปรที่ใช้ในการวจิ ัย................................................................................................ ๗ เอกสารที่เกี่ยวกบั การสังเคราะห์งานวิจัย............................................................................ 8 ความหมายการสงั เคราะหง์ านวิจัย........................................................................... ๘ ประเภทของการสงั เคราะหง์ านวิจยั ...................................................................... ๙ ลกั ษณะของการสงั เคราะหง์ านวิจัย........................................................................... ๙ บทที่ ๓ วิธีดาเนนิ การวจิ ัย........................................................................................................ กล่มุ เปา้ หมายทีใ่ ช้ในการวจิ ัย............................................................................................ ๑๙ เครอ่ื งมือที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล.............................................................................. 1๙ วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมูล .................................................................................................. 1๙ การวิเคราะห์ข้อมูล............................................................................................................ ๒๐ บทท่ี ๔ ผลการสังเคราะห์งานวิจัย......................................................................................... 22 บทท่ี ๕ สรปุ ผลการวจิ ยั อภปิ ราย และข้อเสนอแนะ............................................................... 25 สรุปผลการวิจัย................................................................................................................. 25 อภิปรายผล........................................................................................................................ 25 ข้อเสนอแนะเพ่ือการวิจยั ครั้งตอ่ ไป................................................................................... 26 บรรณานุกรม............................................................................................................................ 27 ภาคผนวก................................................................................................................................. 28 ประวตั ิผู้วจิ ัย............................................................................................................................ 54

สารบญั ตาราง ง ตารางท่ี หน้า ตารางที่ ๑ ปีทท่ี า/เผยแพร่งานวจิ ัย ๒๒ ตารางที่ ๒ ประเทศท่ที าการวิจัย ๒๒ ตารางที่ ๓ สถาบันการศึกษาทผ่ี ู้วิจยั ทาการวิจยั กบั กลมุ่ เปา้ หมาย ๒๓ ตารางที่ ๔ ประเภทของงานวิจัย ๒๓ ตารางที่ ๕ ระดบั ของงานวิจยั ๒๔ ตารางที่ ๖ ระดบั ของงานวจิ ยั ๒๔ ตารางท่ี ๗ ประเภทความพิการของกลุม่ เป้าหมาย ๒๔ ตารางท่ี ๘ กลุ่มเป้าหมาย ๒๕ ตารางที่ ๙ ระดับช่วงช้นั ท่ีทาวจิ ยั ๒๕ ตารางที่ ๑๐ เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการวิจยั ๒๖ ตารางที่ ๑๑ การตรวจสอบคณุ ภาพเครอ่ื งมือ ๒๖ ตารางที่ ๑๒ รูปแบบการวิจัย ๒๖ ตารางที่ ๑๓ การวเิ คราะหข์ ้อมูล ๒๗

บทที่ ๑ บทนำ ๑. ควำมเป็นมำและควำมสำคญั ของกำรวจิ ัย พฤติกรรมให้ความร่วมมือในการทากิจกรรมของนักเรียน เป็นปัญหาของครู ผู้ปกครอง ใน การจัดการเรียนรู้ ไม่ว่าจะเป็นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีไม่ดีนัก พฤติกรรมหรือคุณลักษณะอันไม่พึง ประสงค์ของนักเรียน ทักษะต่างๆ ท่ีนักเรียนควรปฏิบัติได้ เม่ือนักเรียนมีพฤติกรรมไม่ให้ความรว่ มมอื ในการทากิจกรรม ครู ผู้ปกครอง ควรทบทวนการจัดการเรียนการสอน หรือ การจัดกระบวนการ เรียนรู้ ว่าสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ได้น่าสนใจ กระตุ้นความต้องการเรียนรู้ของนักเรียนหรือไม่ ตอบสนองความต้องการของนักเรียนหรือไม่ โดยเฉพาะในเด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษประเภท ต่าง ๆ ท่ีต้องได้รับการจัดการเรียนรู้ ฝึกทักษะต่างๆ ท่ีถูกต้อง และเหมาะสมกับความต้องการจาเป็น พิเศษของแต่ละบคุ คล สวุ รรณา มีวฒั นะ (๒๕๕๔) ได้ทาการศึกษาวิจยั เกยี่ วกับการศกึ ษาความสามารถในการปฏิบัติ อย่างอิสระตามตารางกิจกรรม ของเด็กปฐมวัยท่ีมีความบกพรอ่ งทางสติปัญญาระดับเล็กน้อยจากการ สอนโดยใช้ตารางกิจกรรมที่มภี าพประกอบรว่ มกบั เบี้ยอรรถกร ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการ ปฏิบัติอย่างอิสระตามตารางกิจกรรมของเด็ความบกพร่องทางสติปัญญาระดับเล็กน้อย จากการสอน โดยใช้ตารางกจิ กรรมทีม่ ีภาพประกอบกปฐมวัย รว่ มกับเบี้ยอรรถกรอยใู่ นระดับดี ความสามารถในการ ปฏิบัติอย่างอิสระตามตารางกิจกรรมของเด็ความบกพร่องทางสติปัญญาระดับเล็กน้อย หลังจากการ สอนโดยใช้ตารางกิจกรรมท่มี ภี าพประกอบ ร่วมกบั เบีย้ อรรถกรสูงข้นึ อรทัย แสงทอง (๒๕๕๘) ได้ทาการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมไม่ให้ความร่วมในชั้นเรียน ของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา โดยใช้กลวิธีการเรียนรู้ผ่านการมอง โดยจัดการเรียน การสอน ผ่านการจัดกิจกรรม ๓ กิจกรรม ผลการวิจัยพบว่า ก่อนการใช้กลวิธีการเรียนรู้ผ่านการ มอง นักเรียนไม่สามารถทากิจกรรมสาเร็จได้เลย หลังการใช้กลวิธีการเรียนรู้ผ่านการมอง นักเรียน สามารถทากิจกรรมได้สาเร็จ ๒ กิจกรรม แสดงให้เห็นว่านักเรียนมีพฤติกรรมไม่ให้ความร่วมมือใน ช้ันเรียนลดลง ปฏิบัติงานได้ดีขึ้น หลังการใช้กลวิธีการเรียนรู้ผ่านการมอง ภาพเป็นสื่อวัสดุความหมายที่มีอิทธิพลมากในการนามาใช้การเรียนการสอน เพราะภาพเป็น สื่อ หรอื สญั ลกั ษณ์สาคัญเช่นเดียวกับภาษาพูดและภาษาเขียน ที่ใช้ในการสอื่ สารและสือ่ ความหมายได้ เป็นอย่างดี และเป็นรูปธรรมอธิบายความหมายได้ สามารถทาให้เด็กเรียนรู้ความหมายต่าง ๆ ได้ดี และเข้าใจมากข้ึนกว่าการฟังเพียงอย่างเดียว ซึ่งเด็กจะเกิดการเรียนรู้ได้โดยการรับรู้ได้ทางสายตา (Visual Perception) เป็นการรับรู้ตั้งแต่แรกเกิด และจะมีการพัฒนาตามลาดับขั้น ตามอายุและวุฒิ ภาวะ ถ้าจะให้การรับรู้ทางสายตามีประสิทธิภาพดี ต้องได้รับการฝึกให้มีการพัฒนาความพร้อมสาม ประการ คือ วิธีการรับรู้ทางสายตา ความต้ังใจ และความสนใจ ซ่ึงเป็นการนาไปสู่การใช้สายตาอยา่ ง สมบรู ณ์ (มาศพร แกล้วทะนง . ๒๕๕๑: ๓) จากการวิจยั ในช้นั เรยี นท่ีผา่ นมา ยงั ไม่มีการสรุปรวบรวมผลงานวจิ ยั ในชั้นเรียนของครูอย่าง เปน็ ระบบ ดังนั้นเพอ่ื จะทาใหเ้ หน็ ถงึ การพัฒนาการในดา้ นการวิจัยของครแู ละทราบถงึ สภาพปญั หาใน

๒ การทาวิจัยของครู ผ้วู ิจัยจงึ มีความสนใจในการสงั เคราะห์งานวจิ ัยในช้นั เรียน เพือ่ ศึกษาเกย่ี วกบั ระเบยี บวิธีวิจัย ซ่งึ ไดแ้ ก่ ด้านการต้ังคาถามการวิจยั และการเลือกใชน้ วัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ ของนักเรยี นทมี่ ีความจาเป็นพิเศษ การศึกษาเอกสารและผลงานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ้ งการ ออกแบบการวิจัย การกาหนดกล่มุ เปา้ หมาย เคร่อื งมือและนวัตกรรมทใ่ี ชเ้ พอ่ื พฒั นาการเรยี นรู้การ เก็บรวบรวมขอ้ มลู การวเิ คราะห์ข้อมลู และการสรปุ ผลการใช้นวัตกรรมรวมท้งั ความตรงของการวจิ ยั ซ่ึงผลการศกึ ษาท่ี ได้จากการวิจัยนีน้ อกจากสามารถนาไปใชเ้ ปน็ ข้อมูลเพื่อพฒั นางานวจิ ยั ของครตู ่อไปแล้ว ยังสามารถ นาไปใช้เป็นแนวทางสาหรบั ครูที่ประสบปัญหาหรือต้องการพฒั นาการเรียนการสอนให้ดียงิ่ ขึ้น รวมทง้ั เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาการทาวจิ ัยในช้นั เรียนให้มีประสิทธภิ าพต่อไป ๒. วัตถุประสงค์ของกำรวจิ ัย เพือ่ ศึกษารูปแบบงานวจิ ัยท่ีศึกษาเก่ยี วกบั การใช้ตารางกจิ กรรม ๓. ขอบเขตของงำนวจิ ยั ๓.๑ ประชากรทใี่ ชใ้ นการวจิ ัยครงั้ น้ี ได้แก่ งานวจิ ัยของหนว่ ยงาน วิทยานิพนธ์ ปรญิ ญานิพนธ์ ของนิสิต นักศึกษาระดับมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่ศึกษา รูปแบบงานวิจัยเกี่ยวกับการส่งเสริมพฤติกรรมการให้ความร่วมมือในการทากิจกรรมของนักเรียนที่มี ความบกพรอ่ งทางรา่ งกาย ในชว่ งปี พ.ศ. ๒๕๕๔ – พ.ศ. ๒๕๖๔ ๓.๒ ตัวแปรท่ีศึกษา ๑) ตวั แปรต้น คือ ตวั แปรทีเ่ กย่ี วกับคุณลกั ษณะงานวิจัย ไดแ้ ก่ ข้อมลู พ้ืนฐาน และ คุณภาพงานวจิ ัย ข้อมลู คณุ ลักษณะงานวจิ ยั คุณภาพของเครือ่ งมือ และคา่ คุณภาพของผลการ ประมาณคา่ เคร่ืองมือ ๒) ตัวแปรตาม คือ ค่าขนาดอิทธิพลของการวจิ ัยด้านการใช้ตารางกิจกรรม ๔. นยิ ำมศพั ทเ์ ฉพำะ ๔.๑ งำนวิจัย หมำยถึง เอกสารการรายงานผลการศึกษาเพื่อมาแสดงความรู้ความจริงด้วย วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ งานวจิ ยั ทน่ี ามาสงั เคราะห์ในการวิจยั ครัง้ น้ี คอื วทิ ยานพิ นธ/์ ปรญิ ญานิพนธท์ ่ี ทาโดยนิสติ นกั ศึกษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา ๔.๒ กำรสังเครำะห์งำนวิจัย หมำยถึง การวิเคราะห์ รวบรวม และสรุปเน้ือหา ของงานวิจัย ทางด้านระเบียบวิธีวิจัย ซึ่งได้แก่ วัตถุประสงค์ในการวิจัย ประเภทของการบกพร่องทางร่างกาย กลุ่มเป้าหมาย เคร่ืองมือ ที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นวัตกรรมที่ใช้ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการรวบรวมข้อมูล และการตรวจสอบคุณภาพ เคร่ืองมือ รูปแบบการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล และการ สังเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพการ วิเคราะห์เนื้อหาของงานวิจัย โดยศึกษาประเด็นข้อค้นพบจากการ วจิ ัย และข้อเสนอแนะ ในการทาวจิ ยั ๔.๓ งำนวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับกำรใช้ตำรำงกิจกรรม หมำยถึง วิทยานิพนธ์ท่ีเกี่ยวข้องกับการ ใช้ภาพสัญลักษณ์ในการส่ือความหมาย การทากิจกรรมตามขั้นตอนประจาวัน เพื่อปรับพฤติกรรม นักเรียน ในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ถงึ พ.ศ. ๒๕๖๔ ทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ

๓ ๕. ควำมสำคญั ของงำนวิจยั /ประโยชน์ท่ีคำดวำ่ จะได้รับ การศกึ ษางานวิจัยในครัง้ น้ที าให้ไดอ้ งค์ความรู้ท่เี ป็นข้อสรปุ จากการสังเคราะหง์ านวิจัยทาให้ ได้รปู แบบงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับการใชต้ ารางกิจกรรม ของนักเรยี นทีม่ ีความบกพร่องทางร่างกาย

บทที่ ๒ วรรณกรรมและงานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ้ ง ในการวจิ ัยในคร้ังนีเ้ ปน็ การศกึ ษาวจิ ัยเร่อื ง การสงั เคราะห์งานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการใชต้ าราง กิจกรรม ผู้วจิ ัยได้ศกึ ษา เอกสาร ตารา และงานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วข้อง โดยการนาเสนอหวั ข้อดังตอ่ ไปน้ี ๑. เอกสารทเ่ี ก่ียวกับการวิจัย ๑.๑ ความหมายของการวจิ ัย ๑.๒ ประเภทของการวจิ ยั ๑.๓ ตัวแปรท่ีใชใ้ นการวจิ ัย ๒. เอกสารทเี่ กีย่ วกับการสังเคราะหง์ านวิจัย ๒.๑ ความหมายการสังเคราะห์งานวิจยั ๒.๒ ประเภทของการสงั เคราะห์งานวจิ ัย ๒.๓ ลักษณะของการสงั เคราะห์งานวจิ ยั ๓. งานวิจัยทเ่ี ก่ียวข้อง

๗ เอกสารทเี่ ก่ยี วกบั งานวิจัย ความหมายของการวิจัย สุพิตร สมาหิโต (๒๕๓๗ , หน้า ๕๕) กล่าวถึงการวิจัยว่า การวิจัยเป็นกระบวนการของ การศึกษา คนั ควา้ หาความรู้และเปน็ ขั้นตอนของการหาข้อเท็จจริง โดยอาศยั วิธกี ารทางวิทยาศาลตร์ เพ่ือนามาวิเคราะห์ปัญหาอย่างมีระบบ ระเบียบ และนาเอาแนวความคิดเดิมท่ีมีอยู่ผสมผสานกับผล ของการวเิ คราะห์ สรปุ ผลออกมาให้ได้คาตอบที่ถูกต้องมากที่สดุ การวจิ ยั จะชว่ ยทาให้ผู้วิจยั มโี อกาสได้ แสวงหาความรู้ใหม่ๆ เพ่ือนาผลไปใช้ประโยชน์ให้มาก ท้ังในแง่ของการช่วยตัดสินใจ แก้ปัญหา หรือ นาไปปรบั ปรุงงานบางประการ วีวรรณ ชินะตระกูล (๒๕๓๘, หน้า ๑) ได้กล่าวว่า การวิจัยหมายถึง กระบวนการศึกษาหา ความรู้ใหม่ๆ และเป็นข้ันตอนของการหาข้อเท็จจริงโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ แล้วนามา วิเคราะห์อย่างมีระบบ ยึดหลักการสรุปท่ีใช้ข้อเท็จจริงและตรรกวิทยา เป็นแนวทางแสดง ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความคดิ ท่ีเกี่ยวขอ้ งเพ่ือใหไ้ ด้คาตอบทีถ่ ูกต้องมากทสี่ ดุ ซงึ่ ผ้วู จิ ยั อาจศึกษาปัญหา เพอ่ื แสวงหาความรู้ใหม่ หรอื เพื่อนาผลการวิจัยไปใชป้ ระโยชน์อย่างใดอย่างหน่งึ โดยสรุปได้วา่ การวิจัยคอื กระบวนการแสวงหาความรู้ ความจรงิ ด้วยวธิ กี ารศกึ ษา คน้ ควา้ ที่ เป็นระบบ โดยอาศยั วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ เพอื่ ให้ได้มาซึง่ ข้อความรู้ใหม่ หรอื กฎ ทฤษฎี ที่เชือ่ ถือได้ เพอ่ื เปน็ ประโยชน์ในการอธิบาย ทานาย หรอื นาไปใชใ้ นการแกไ้ ขปัญหาต่างๆ ประเภทของการวจิ ยั งานวิจยั สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็นประเภทตามคุณลักษณะของงานวิจัย การจดั ประเภท เป็นไปตามการจัดจาแนกตามเกณฑ์ตา่ ง ๆ ๑. พิจารณาจากประโยชน์ หรอื ความตอ้ งการทีจ่ ะไดร้ ับจากการวิจัยแบง่ เป็น 3 ประเภท ๑.๑ การวิจัยบริสุทธ์ิ (Pure Research) หรือ การวิจัยพื้นฐาน (Basic Research) เป็นการวิจัยเพื่อหาทฤษฎี สูตร หรือสร้างกฎ เพ่ือเป็นพ้ืนฐาน ในการศึกษา เร่ืองอื่น ๆ ต่อไป ๑.๒ การวิจัยประยุกต์ (Applied Research) เป็นการวิจัยเพ่ือนาผลไปทดลอง ใช้ แก้ไขปญั หาอ่นื ๆ ต่อไป เช่น การวจิ ัยทางแพทย์ ๑.๓ การวิจัยเชิงปฎิบัติ (Action Research) เป็นการวิจัยประยุกต์ในลักษณะ หนึ่ง ที่มุ่งแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเป็นเร่ือง ๆ ไป ผลของการวิจัยน้ีใช้ได้ใน ขอบเขตของปัญหาน้ัน ๆ เท่านั้น ไม่สามารถนาไปใชใ้ นสถานการณ์ อืน่ ๆ ๒. พิจารณาจากลักษณะของข้อมูล ซึ่งสามารถแบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ ๒.๑ เชิงปริมาณ (Quantitative Research) เป็นการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์ และ สถิติ ๒.๒ เชิงคุณภาพ (Wualitative Research) เป็นการใช้ข้อมูลเชิงคุณลักษณะ และ ไม่ได้ใชค้ ณติ ศาสตร์ หรือสถติ ิเขา้ มาชว่ ย การเก็บข้อมลู ทาไดโ้ ดย การใช้การสงั เกต การสัมภาษณ์ การ บันทึก วิเคราะหโ์ ดยการพรรณนา และสรปุ เป็นความคิดเหน็ มกี ารใชัคา่ สถิติได้เล็กน้อยในเชิงร้อยละ เปน็ ตน้ ส่วนใหญใ่ นงานศลิ ปกรรมจะใช้การวจิ ยั ลกั ษณะน้ี ๓. พิจารณาจากระดบั ของการศกึ ษาตวั แปร แบ่งออกได้เป็น

๘ ๓.๑ การวิจัยเพื่อการสารวจ (Exploratory Study) เป็นการวิจัยเพื่อสารวจตัวแปร และปรากฎการณ์ของตัวแปร เพื่อนาผลมาอธิบายการเกิดข้ึนของปรากฎการณ์น้ัน ๆ ซึ่งแบ่งเป็น ๒ ประเภท คอื ๑) การวจิ ัยเพ่อื ตรวจสอบตวั แปร (Identified Variable) ๒) การวจิ ยั เพอื่ หาความสัมพันธข์ องตวั แปร (Discovery of Reiationship Between Variables) ๓.๒ การวิจัยเพื่อตรวจสอบสมมุติฐาน ( Hypothesis Testing Study) เป็น การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎี เพื่อที่จะนาไปใช้ในการทานาย การวิจัยชนิดน้ีมีทางต้ังสมมุติฐาน และ ตรวจสอบดวู า่ สมมุติฐานทตี่ ง้ั ขน้ึ วา่ ถูกตอ้ งหรอื ไม่ ๔. พจิ ารณาจากชนดิ ของขอ้ มลู แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ๔.๑ เชงิ ประจกั ษ์ (Empirical Research) เป็นการวจิ ัยทีห่ าความจรงิ จากข้อมูลปฐม ภูมิ โดยมกี ารเกบ็ ข้อมูล และใช้สถิตใิ นการวิเคราะห์ ๔.๒ เชิงไมป่ ระจักษ์ (Nonempirical Research) เป็นการวิจัยที่หาความรู้ความจริง จากขอ้ มูลเอกสาร และวรรณกรรม ไม่การใช้สถิตมิ าวเิ คราะห์ ๕. พจิ ารณาจากลกั ษณะการศึกษาตวั แปร แบง่ ออกได้เปน็ 3 ประเภท ๕.๑ เชิงสารวจ (Survey Research) เชน่ การสารวจทศั นคติ เพ่ือหาข้อเทจ็ จรงิ ๕.๒ การศึกษาย้อนหลังในส่ิงที่เกิดขึ้นแล้ว (Expost Factor Research) เป็น การศึกษาหาความสัมพันธ์ของตัวแปร จากเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนอยู่ก่อน ส่วนใหญ่ใช้ในการศึกษา เช่น การศึกษาวา่ เด็กสอบตกเกดิ จากเหตุใด หรอื มบี ุคลกิ ภาพต่างกันอย่างไร ๕.๓ เชงิ ทดลอง (Experimantal Research) เป็นการศึกษาตัวแปร โดยการควบคุม โดยมุง่ วิจยั และสังเกตผลทเ่ี กิดขนึ้ สว่ นใหญใ่ ชใ้ นการทดลองทางวทิ ยาศาสตร์ ๖. พิจารณาจากระเบยี บการวิจัย ซึ่งแบ่งออกไดเ้ ปน็ 3 ประเภท คอื ๖.๑ วิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (Historical Research) เป็นการศึกษาหาข้อเท็จจริงที่ เปน็ เรื่องราวในอดีต เพื่อใช้ความรู้มาอธิบายเหตุการณใ์ นปัจจบุ นั และอนาคต ๖.๒ วิจัยเชิงพรรณนา (Description Research) เป็นการศึกษาเพ่ือบรรยาย ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึน้ ๖.๓ วิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) เป็นการศึกษาตัวแปร เพ่ือทราบ สาเหตุท่ีทาให้เกิดผล ตวั แปรทใ่ี ชใ้ นการวิจยั ในการทาวิจัยน้ันต่างก็มุ่งท่ีจะศึกษาหาความรู้ความจริงในส่ิงใดสิ่งหน่ึง หรือปรากฎการณ์ใด ปรากฏการณ์หนึ่งซ่ึงมีท้ังในลักษณะท่ีคงท่ีและเปลี่ยนแปลงได้ สิ่งใดหรือปรากฏการณ์ใดท่ีเรานามา ศึกษาและสามารถปล่ียนแปลงได้นั้นเราเรียกว่าตัวแปร วีวรรณ ชินะตระกูล (2533, หน้า 33 ) ได้ ให้ความหมายของตัวแปรไว้ว่า ตัวแปร (Variables) หมายถึง ส่ิงที่ผู้วิจัยสนใจท่ีจะวัดเพ่ือให้ได้ข้อมูล ออกมาในรูปใดรูปหนึ่ง และ ชิดชนก เชิงเชาว์ (2532, หน้า 30-33) ได้แบ่งประเภทของตัวแปร ออกเป็น 5 ประเภทคือ

๙ 1. ตวั แปรอิสระ หรอื ตวั แปรต้น (Independent variable) ตวั แปรอสิ ระนับวา่ เป็นตัวแปรที่ เขา้ ไปกระต้นุ ตอ่ บคุ คล หรอื สิ่งแวดลอ้ มของบุคคลน้ันเพ่ือให้มีผลกระทบต่อพฤติกรรมที่เกดิ ข้นึ ตามมา ฉะนั้นตัวแปรอิสระจึงเป็นประเกทที่วัดได้ และได้รับการคัดเลือกจากผู้วิจัยให้เข้าไปมีบทบาทใน การศกึ ษาผลของตัวแปรดังกลา่ วที่มีต่อปรากฏการณ์ท่ีเกิดขนึ้ นกั วจิ ัยอาจศึกษาความสมั พันธร์ ะหว่าง 2 ตัวแปรดังกล่าวว่าอะไรเกิดข้ึนกับ B เม่ือ A เพ่ิมขึ้นหรือลดลง ในกรณีผู้วิจัยกาหนดว่า A เป็นตัว แปรอิสระ และเป็นตัวแปรที่ผวู้ ิจัยกาหนดให้เกิดข้ึนเพ่ือศึกษาอิทธิพลของตวั แปรน้ีท่ีมีต่อตัวแปรอ่นื ๆ และผู้วิจัยสนใจแต่วา่ ตัวแปรนจ้ี ะมีอทิ ธิพลตอ่ ตวั แปรอนื่ อย่างไรเท่าน้ัน ไม่สนใจว่ามตี วั แปรอ่ืนหรือไม่ ทีม่ ีผลต่อตวั แปรอิสระตัวน้ี 2. ตัวแปรตัวตาม (Dependent variable) จัดเป็นตัวแปรที่ตอบสนองต่อผลท่ีเกิดจากการ กระต้นุ ของตวั แปรอิสระ และเป็นตวั แปรทตี่ อ้ งวัดได้เช่นกัน ตัวแปรตามเป็นตัวแปรท่ถี ูกสังเกตและวัด เพื่อรกั ษาผลที่เกิดขน้ึ จากตวั แปรอิสระ 3. ตัวแปรขยวย (Modernor variable) ตวั แปรขยายเปน็ อีกประเกทหนึ่งของตวั แปรอิสระ ซ่งึ นกั วิจัยได้เลอื กขึ้นมาเพือ่ ขวยให้การศึกษาอิทธิพลของตวั แปรอสิ ระทีแ่ ท้จริงมคี วามชัดเจนมากข้ึน 4. ตัวแปรเกิน บางคร้ังอาจเรียกว่า ตัวแปรควบคุม (Control variable) หมายถึง ตัวแปร อื่นๆ นอกเหนือจากตัวแปรอิสระที่อาจมีอิทธิพลต่อตัวแปรตาม แต่ตัวแปรควบคุมไม่ใช่ตัวแปรหลักท่ี ผู้วิจัยต้องการศึกษาอิทธิพลจึงต้องพยายามควบคุมตัวแปรดังกล่าวให้มีลักษณะเป็นกลางหรือไม่ให้มี อิทธิพลต่อตัวแปรตาม ซึ่งจะช่วยให้การศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามมี ความแม่นยาและเที่ยงตรงยิ่งขึ้น ตัวแปรควบคุมในการวิจยั เร่ืองหนึ่งอาจกลายเป็นตัวแปรขยายในอีก การวิจัยหน่ึงก็ได้ ขึ้นกับจุดประสงค์ของผู้วิจัยเป็นหลัก ถ้าผู้วิจัยต้องการศึกษาอิทธิพลของตัวแปร ดังกล่าวไปพร้อมๆ กับอิทธิพลของตัวแปรอิสระท่ีเรียกว่า ตัวแปรขยาย แต่ถ้าผู้วิจัยต้องการศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระต่อความสัมพันธ์ตัวน้ี ก็ต้องใช้วิธีควบคุมตัวแปรอื่นๆ ไว้ ไม่ให้มี อทิ ธิพลตอ่ ตัวแปรตาม ตัวแปรตัวนั้นก็กลายเปน็ ตวั แปรควบคมุ เพราะถกู ควบคุมไว้ไม่ให้แสดงอิทธิพล ออกมา 5. ตัวแปรแทรกช้อน (Extraneous variable) ตัวแปรท่ีกล่าวมาทั้ง 4 ประเภทนั้น เป็นตัว แปรซ่ึงผู้วิจัยสามารถวัดสังเกต และควบคุมให้อยู่ในช้ันตอนต่างๆ ของการวิจัยได้ แต่มีตัวแปรบาง ประเภทซงึ่ อาจมผี ลต่อตวั แปรตามแตไ่ ม่สามารถวัดหรอื สงั เกตได้ หรอื ถา้ ทาไดก้ ย็ าก ตัวแปรเหลา่ น้ีทา ใหต้ วั แปรตามต้องเปลี่ยนแปลงไปโดยมิใช่มีสาเหตุมาจากตวั แปรอิสระเพียงอย่างเดยี ว และอาจทาให้ ข้อสรปุ ของการวิจยั ขาดความเทย่ี งตรงได้ ตัวแปรแทรกมกั เกดิ จากตวั แปรอสิ ระหรือตัวแปรขยายก่อน แลว้ มผี ลกระทบตอ่ ตวั แปรตามอีกตอ่ หนงึ่ เอกสารท่เี กยี่ วกบั การสังเคราะหง์ านวจิ ัย ความหมายของการสังเคราะหง์ านวจิ ัย ปัจจุบันมีการศึกษาค้นคว้า และสร้างสรรค์งานวิจัยจานวนมากมาย บางครั้งงานวิจัยท่ีมากก มายนั้นมักจะศึกษาในปัญหาเดียวกัน หรือคล้ายคลึงกัน แต่ผลการวิจัยอาจจะขัดดังนั้นจึงเป็นปัญหา ต่อผู้ที่ต้องการนาผลการวิจัยไปใช้ เพื่อให้ได้ข้อสรุปท่ีแน่นอนการสังเคราะห์งานวิจัยจึงได้รับความ นยิ มมากขนึ้ มีนกั วิชาการหลายทา่ นไดใ้ ห้ความหมายของการสงั เคราะห์งานวิจัยไวด้ ังต่อไปน้ี

๑๐ อุทุมหร จามรมาน (2527, หน้า 1) การสังเคราะห์ (Synthesis) เป็นการนาเอาหน่วยย่อย หรอื สว่ นต่างๆ มาประกอบใหเ้ ปน็ เร่ืองเดียวกนั โดยไมเ่ คยมกี ารนาสิง่ ตา่ งๆ เหลา่ นัน้ มารวมเขา้ ด้วยกนั มาก่อน นงลักษณ์ วิรัชชัย (2529, หน้า 26) ได้ให้ความหมายของการสังเคราะห์งานวิจัยไว้ว่าการ สงั เคราะหง์ านวจิ ัย (Synthesis of Research) เป็นระเบยี บวธิ ีการศึกษาหาขอ้ เท็จจริงเพื่อตอบปัญหา ใดปัญหาหนึ่ง โดยการรวบรวมงานวิจัยเกี่ยวกับปัญหานั้น ๆ หลาย ๆ เร่ืองมาศึกษาวิเคราะห์และ นาเสนอข้อสรปุ อยา่ งมีระบบให้ได้คาตอบปญั หาท่ีเปน็ ข้อยุติ มาเรียม นิลพันธ์ (2543, หน้า 21/ ได้สรูปความหมายของการสังเคราะห์งานวิจัยว่า เป็น การรวบรวมงานวิจัยท่ีมีลักษณะคล้ายคลึง หรือเป็นเร่ืองราวทานองเดียวกันหลายๆ เล่มมาทาการ วเิ คราะห์ และลงั เคราะห์ โดยอาศัยระเบียบวิธีทางการวิจยั เพ่ือก่อให้เกดิ ข้อสรปุ ใหม่ หรือข้อสรุปบาง ประการ แล้วนาเสนอขอ้ สรุปใหม่ หรือขอ้ เท็จจรงิ น้นั ฯ อย่างมรี ะบบ สรุปได้ว่า การสังเคราะห์งานวจิ ัยคือการรวบรวมงานวิจยั ท่ีศึกษาปัญหาคล้วยคลึงกันหลายๆ เรื่องมาศึกษาวิเคราะห์ และสังเคราะห์อย่างมีระบบ เพ่ือให้ได้ข้อสรุปใหม่ แล้วนาเสนอข้อสรุปอย่าง เป็นระบบ ประเภทของการสังเคราะหง์ านวิจัย การสังเคราะห์งานวิจัย (research synthesis) จาแนกได้ 2 ประเภทคือ การสังเคราะห์ งานวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research synthesis) และการสังเคราะห์งานวิจัยเชิงปริมาณ (quantitativeresearch synthesis) 1. การสังเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการอ่านวิเคราะห์รายงานวิจัยในประเด็นหัวข้อที่ เก่ียวข้องแล้วนามาเขียนสรุปเข้าด้วยกันเป็นองค์ความรู้ของผู้วิจัย Gilson (2014) กล่าวว่า การ สังเคราะห์งานวจิ ัยด้วยวิธีเชิงคุณภาพ จะช่วยให้เข้าใจการวิจัยเชิงระบบและนโยบายดา้ นสุขภาพได้ดี ขึ้นผ่านกระบวนการที่ได้เห็นมุมมองและการตัดสินใจของผู้เชี่ยวชาญเพื่อท่ีจะสรุปทิศทาง แนวโน้ม หรอื ขอ้ เสนอทค่ี วรจะเปน็ และเหมาะสมกับบริบท 2. การสังเคราะห์งานวิจัยเชิงปริมาณ เป็นการวิเคราะห์จานวน ตัวเลข หรือค่าสถิติใน ประเด็นหัวข้อที่เก่ียวข้องท่ีปรากฏอยู่ในงานวิจัย แล้วนามาจัดกลุ่มและหมวดหมู่ทาให้ได้ข้อสรุปใหม่ การสงั เคราะห์เชิงปริมาณจงึ เป็นการวิเคราะห์ผลวเิ คราะห์ (analysis ofnalysis)หรอื การวเิ คราะห์เชิง ผสมผสาน(integrative analysis) หรอื การวจิ ัยงานวิจยั (research of research) เอกสารงานวิจยั ท่เี ก่ยี วข้อง อนุชิต วัฒนาพร(๒๕๔๗) การสังเคราะห์วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษาปี การศกึ ษา 2539-2545 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ การวิจยั ครั้งนมี้ วี ัตถุประสงค์เพื่อ สงั เคราะห์วิทยานิพนธ์ของสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ปี การศึกษา 2539-2545 จานวน 46 เร่ือง ในเชิงปริมาณ และเชิงคุณลักษณะโดยวิธีการวิเคราะห์ เน้ือหา (Content Analysis) เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยคือ แบบวิเคราะห์วิทยานิพนธ์ที่ผู้วิจัยสร้างข้ึน ดาเนินการสังเคราะห์เชิงปริมาณ โดยการจาแนกข้อมูล แจกแจงความถี่ คานวณค่าร้อยละ และ

๑๑ สังเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณลักษณะ โดยใช้วิธีการบรรยายสรุปผลการวิจัยของวิทยานิพนธ์ที่มีเนื้อหาใน หมวดหมู่เดียวกันมาสังเคราะห์เข้าด้วยกันผลการสังเคราะห์ชิงปริมาณ พบว่า มีวิทยานิพนธ์มากท่สี ดุ ในปีการศึกษา 2545 จานวน 16 เรื่อง โดยที่เป็นงานวิจัยเชิงบรรยายมากที่สุดจานวน 24 เร่ือง กลุ่มที่ศึกษาส่วนใหญ่คือกลุ่มของ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นมากท่ีสุดจานวน 19 เร่ือง เน้ือหาของ วิทยานิพนธ์ส่วนใหญ่เป็น การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาด้วยวิธีสอนจานวน 17 เร่อื ง สานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ (๒๕๕๙) การสงั เคราะห์งานวิจัยในช้นั เรียนสาหรบั ผ้เู รยี นท่ี มีความต้องการจาเปน็ พิเศษ ในโรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ สงั กัดสานกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ ๑. ผลงานวจิ ัยในคร้ังนที้ าให้ได้ข้อสรุปเก่ียวกับผลงานวิจัยในชน้ั เรยี นของครสู าหรับผู้เรียนท่ีมี ความตอ้ งการจาเปน็ พิศษ สงั กัดสานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ ขอ้ คน้ พบทไ่ี ด้จากการสังเคราะห์ทา ให้เห็นภาพท่ีชัดเจนเกี่ยวกับงานวิจัยในช้ันเรียน ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อสานักบริหารงานการศึกษา พิเศษ ในการวางแผนกิจกรรมการดาเนินงานเพอื่ พัฒนาศกั ยภาพของครูด้านการวิจยั ต่อไป 2. ผลการวิจัยนี้ทาให้ได้ ข้อมูลเกี่ยวกับผลการวิจัยที่เก่ียวข้องกับการใช้นวัตกรรมในการ จัดการเรียนการสอนสาหรับผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อการนาไปใช้ ในการพัฒนาการศึกษา เพือ่ ให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ ต่อไป 3. สถานศึกษาควรมีการพัฒนาครูให้มีความรู้ด้านการทาวิจัยในช้ันเรียนให้มากย่ิงข้ึน และ ควรมีการสร้างฐานข้อมูลงานวิจัยในชั้นเรียน เทคนิคการสอนเฉพาะสาหรับผู้เรียนที่มีความต้องการ จาเป็นพิเศษ พราะข้อมูลจากงานวิจัยในชั้นเรียน มีประโยชน์ หากมีการวางระบบท่ีดีก็จะเป็นแหล่ง ความรทู้ ีม่ ีคม่ าก 4. หนว่ ยงานต้นสงั กัดควรจัดให้มีระบบพ่ีเลีย้ งที่เข้มแข็งสาหรับการจดั ทางานวจิ ัยในชั้นเรียน สาหรับผู้เรียนทม่ี ีความต้องการจาเป็นพิเศษ 5. หน่วยงานที่เก่ียวข้องควรให้ความสาคัญเกี่ยวกับการจดั ทาวิจัยในช้นั เรียนสาหรบั นักเรยี น ทีม่ ีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษเป็นระยะและจัดระบบการนเิ ทศ ติดตามผลอย่างต่อเนอ่ื ง 6. หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง/สถานศึกษาควรมีการสร้างขวัญกาลังใจสาหรับผู้ท่ีทางานเก่ียวข้อง กับนกั เรยี นท่ีมคี วามต้องการจาเปน็ พเิ ศษ จริยา สงวนรตั น(์ ๒๕๕๔) การสงั เคราะห์งานวิจยั เกี่ยวกบั เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ในประเทศไทย การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการสังเคราะห์งานวิจัยมีวัตถุประสงค์หลักคือ 1) เพื่อศึกษา สถานภาพงานวิจัย ท่ีเก่ียวข้องกับเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ปีพุทธศักราช 2542 – 2552 ในประเทศไทย 2) เพื่อสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ งานวิจัย ที่ศึกษาเก่ียวกับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ปี พุทธศักราช 2542 – 2552 โดยใช้เคร่ืองมือท่ีเป็นแบบสรุปรายละเอียดงานวิจัยเป็นเครื่องมือการ วเิ คราะห์ข้อมูล ใชก้ ารวิเคราะห์เชิงอภิมานกับงานวจิ ัยท่ีมีข้อมูลเพยี งพอ ประกอบการวเิ คราะห์ข้อมูล เชิงเนื้อหา และสรุปรายงาน ผลการวิจัยพบว่า สถาบันท่ีศึกษาเกี่ยวกับเด็กที่มีความบกพร่องทางการ เรียนรู้มากท่ีสุดคือ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ร้อยละ 39.18) ปีการศึกษาที่ผลิตงานวิจัยมาก ที่สุดคือ ปีการศึกษา 2550 (ร้อยละ 25.77) สาขาท่ีศึกษาเกี่ยวกับเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการ เรียนรู้มากเป็นอันดับทีห่ น่ึง คือ สาขาการศึกษาพิเศษ (ร้อยละ 44.33) ระเบียบวิธีวิจัยในงานวจิ ยั ใช้

๑๒ รูปแบบ One Group Pretest Posttest Design มากท่ีสุด (ร้อยละ 75.26) และกลุ่มตัวอย่างท่ี ศึกษาเป็นนักเรียนท่ีเรียนอยู่ในช่วงชั้นท่ี 1 มากที่สุด (ร้อยละ 60.82)วิธีสอนโดยใช้แบบฝึก/ชุดการ สอน และภาพ เป็นวิธีสอนเด็กท่ีมีความบกพร่องทางด้านการอ่านและการเขียนมากที่สุด บทเรียน คอมพิวเตอร์ และเกม เปน็ วิธสี อนเด็กท่มี คี วามบกพร่องทางด้านคณิตศาสตร์มากทส่ี ดุ ศิริสขุ ถนาวรณ(๒๕๕๙) การสังเคราะหง์ านวิจัยที่เกีย่ วขอ้ งกบั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบ ผสมผสาน การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือสังเคราะห์งานวิจัยท่ีเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบผสมผสาน โดยมีประเด็นการสังเคราะห์ 3 ด้าน คือ ด้านวัตถุประสงค์ ด้านวิธีการวิจัย และด้าน ผลการวิจัย กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีเป็นงานวิจัยระดับปริญญาเอกและปริญญาโท จานวน ทั้งหมด 24 เรื่อง เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยเป็นแบบบันทึกข้อมูลการสังเคราะห์งานวิจัย สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ผลการวิจัย ด้านวัตถุประสงค์ พบว่า วัตถุประสงค์ส่วน ใหญเ่ ป็นการศึกษาและพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน จานวน 17 เรื่อง คิดเปน็ ร้อย ละ 70.83 ดา้ นวธิ ีการวจิ ัย พบว่า รายวิชาที่ใชใ้ นการทาวจิ ยั มากที่สุด คือ กลมุ่ วชิ าเทคโนโลยี จานวน 14 เร่ือง คิดเป็นร้อยละ 58.33 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้มากที่สุดในการวจิ ยั อยู่ในระดับอุดมศึกษา จานวน 15 เร่ือง คิดเป็นร้อยละ 62.50 สถิติที่ใช้ในการวิจัยส่วนใหญ่ คือ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t-test จานวน 18 เร่ือง คิดเป็นร้อยละ 75.00 เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยส่วนใหญ่ใช้แบบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จานวน 24 เร่ือง คิดเป็นร้อยละ 100.00 และใช้แผนการจัดการเรียนรู้ รองลงมา จานวน 15 เร่ือง คิดเป็นร้อยละ 62.50 และการสอนแบบผสมผสานยังมีการนาเอา เทคนิคการสอนอ่ืนมาสอนร่วมด้วยถึง 12 เร่ือง คิดเป็นร้อยละ 50.00 ด้านผลการวิจัย พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรยี นหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรยี น จานวน 24 เรื่อง คิดเป็นรอ้ ยละ 100.00 มี งานวิจัยอีกส่วนหนึ่งท่ีเป็นงานวิจัยท่ีศึกษารูปแบบ และพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบ ผสมผสาน จานวน 17 เร่ือง คิดเป็นร้อยละ 70.83 หลังจากน้ันผู้วจิ ัยนาเอางานวจิ ัยทั้ง 17 เร่ืองมา สังเคราะห์ในส่วนของการพัฒนารูปแบบการสอนแบบผสมผสาน ส่วนใหญ่สนใจศึกษารูปแบบการ สอน บริบทของสถานศึกษา บริบทของผู้เรียน จานวน 17 เร่ือง คิดเป็นร้อยละ 100.00 จากนั้นทา การพัฒนารูปแบบการเรียนให้เหมาะสมกับบริบทที่ได้ศึกษามาเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ของ รูปแบบผสมผสาน จานวน 16 เรอื่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ 94.12 ในส่วนขององคป์ ระกอบของรปู แบบการ เรียนรู้แบบผสมผสาน ส่วนใหญ่สนใจศึกษาเร่ืองขั้นการเตรียมความพร้อม การกาหนดปัญหาร่วมกัน กจิ กรรมการเรียนรู้ การสร้างองคค์ วามรู้ การนาเสนอองคค์ วามรู้ และการประเมินผล จานวน 7 เร่ือง คดิ เป็นร้อยละ 41.18

บทที่ ๓ วธิ ดี ำเนนิ กำรวิจัย การศกึ ษางานวิจยั ในครั้งนท้ี าใหไ้ ดอ้ งคค์ วามรู้ทเี่ ปน็ ข้อสรปุ จากการสงั เคราะหง์ านวิจยั ทาให้ ไดร้ ูปแบบงานวิจัยท่ีศึกษาเก่ียวกบั การใช้ตารางกิจกรรม ๑. กลุ่มเป้าหมาย ๒. เคร่อื งมือที่ใช้ในการวจิ ัย ๓. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ๔. การวเิ คราะหข์ อ้ มูล กลมุ่ เป้ำหมำยทใ่ี ชใ้ นกำรวิจัย คอื งานวิจยั ของหน่วยงาน วิทยานิพนธ์ ปริญญานิพนธ์ของนิสิต นักศึกษาระดับมหาบัณฑิตและ ดุษฎีบัณฑิตในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่ศึกษารูปแบบงานวิจัยเกี่ยวกับการการใช้ตาราง กิจกรรม ในการทากจิ กรรมของนกั เรียน ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๔ – พ.ศ. ๒๕๖๔ จานวน ๕ เรื่อง เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นกำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล ๑) แบบคดั เลอื กงานวิจยั ท่ผี ู้วิจยั สรา้ งขึน้ ๒) แบบสรปุ การสังเคราะห์รายละเอียดงานวิจัยท่ผี วู้ จิ ัยสร้างขน้ึ วิธีกำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู ๑) คน้ หาและรวบรวมงานวจิ ัยท่ีเก่ยี วข้องกับการการใช้ตารางกิจกรรมในการปรับพฤติกรรม ของนักเรียน ๒) ศึกษางานวิจยั ในเบื้องตนั เพ่ือตรวจสอบเนื้อหา และใช้แบบคดั เลอื กงานวจิ ยั เพอื่ คดั เลือก งานวจิ ัยที่จะนามาสังเคราะห์ มคี ุณสมบัติตามเกณฑท์ จ่ี ะศกึ ษาตามที่ได้กาหนดไว้หรือไม่ ๓) ใช้แบบสรปุ สังเคราะหร์ ายละเอียดงานวิจยั กับงานวจิ ยั ที่ผ่านการคัดเลอื กจากแบบ คดั เลอื กงานวจิ ัย ๔) จาแนกงานวิจยั ตามประเภทของงานวจิ ัยและเตรยี มวิเคราะหข์ ้อมลู กำรวเิ ครำะหข์ ้อมลู การวเิ คราะห์ข้อมูลในการวจิ ัยครง้ั นี้ ผ้วู จิ ัยได้แบง่ การวิเคราะห์ข้อมลู ดังต่อไปน้ี ตอนท่ี ๑ การสังเคราะห์งานวิจัยในชั้นเรียน จากแบบตรวจสอบรายการเพื่อสรุปงานวิจัยใน ประเด็นข้อมูลพื้นฐาน ได้แก่ ชื่องานวจิ ัย ช่ือ - สกุล ผู้ทาการวิจยั ปีทที่ า/เผยแพรง่ านวิจัย ประเทศที่ ทาการวิจัย สถาบันการศึกษาท่ีผู้วิจัยทาการวิจัยกับกลุ่มเป้าหมาย ประเภทของงานวิจัย ระดับของ งานวจิ ยั

๒๐ ตอนท่ี ๒ การสังเคราะห์งานวิจัยในช้ันเรียน เกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัย ได้แก่ วัตถุประสงค์ใน การวิจัย ประเภทความพิการของกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ รูปแบบการวิจัย การวิเคราะห์ ข้อมูล ข้อค้นพบในงานวิจัย / ผลการวิจัย การอภิปรายผล และ ข้อเสนอแนะในการวิจัย ใช้การ วิเคราะหเ์ ชิงปรมิ าณ ( Quantitative Analysis) สถติ ิทใ่ี ช้ ได้แก่ ความถี่ และร้อยละ

๒๒ บทท่ี ๔ ผลการสังเคราะห์งานวิจัย การวิจยั ครง้ั น้มี ีวัตถุประสงค์เพ่อื สงั เคราะห์งานวจิ ัยของหนว่ ยงาน วทิ ยานิพนธ์ ปรญิ ญานพิ นธข์ อง นิสิต นักศึกษาระดับมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่ศึกษารูปแบบ งานวิจัยเก่ียวกับการการใช้ตารางกิจกรรม ในการทากิจกรรมของนักเรียน ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๔ – พ.ศ. ๒๕๖๔ จานวน ๕ เรอ่ื ง ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ไดน้ าเสนอเป็น ๒ ตอน ดังน้ี ตอนท่ี ๑ ข้อมูลพน้ื ฐานของงานวจิ ัยในชนั้ เรยี น ตอนที่ ๒ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ระเบียบวิธวี จิ ัย ตอนท่ี ๑ ผลการสังเคราะห์งานวิจยั ขอ้ มูลพื้นฐานของงานวิจัย ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปน้ี ตารางที่ ๑ ปที ี่ทำ/เผยแพรง่ ำนวจิ ยั ซ่งึ มีรำยละเอยี ดในตำรำงที่ ๑ ดงั น้ี ปที ่ีทำ จำนวนงำนวิจัย รอ้ ยละ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ 1 ๒๐.๐๐ ๒๕๕๗ 1 ๒๐.๐๐ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ 2 ๔๐.๐๐ ๒๕๖๐ 1 ๒๐.๐๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ รวม ๑๐๐.๐๐ จำกตำรำงท่ี ๑ พบว่ำ ปีทที่ ำ/เผยแพรง่ ำนวจิ ยั ส่วนใหญเ่ ป็นปี พ.ศ. ๒๕๕๙ จำนวน ๒ เร่ือง คิด เป็นร้อยละ ๔๐ ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ จำนวน ๑ เรือ่ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ จำนวน ๑ เรื่อง คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒๐ และ ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ จำนวน ๑ เรอ่ื ง คิดเป็นรอ้ ยละ ๒๐

๒๓ ตารางที่ ๒ ประเทศที่ทำกำรวจิ ยั ซึง่ มีรำยละเอียดในตำรำงท่ี ๒ ดงั น้ี ประเทศ จำนวน ร้อยละ ประเทศไทย ๕ ๑๐๐.๐๐ ตำ่ งประเทศ - - รวม ๕ ๑๐๐.๐๐ จำกตำรำงท่ี ๒ พบว่ำ ประเทศท่ที ำกำรวจิ ยั มำกท่ีสดุ คือ ประเทศไทย จำนวน ๕ เรื่อง คิดเป็นร้อย ละ ๑๐๐ ตารางท่ี ๓ สถำบันกำรศึกษำทผ่ี วู้ ิจยั ทำกำรวจิ ยั กบั กลุ่มเปำ้ หมำย ซง่ึ มรี ำยละเอยี ดในตำรำงที่ ๓ ดังนี้ สถำบนั จำนวน ร้อยละ โรงเรียนรัฐบาล ๓ ๖๐.๐๐ โรงเรียนเอกชน - - ศนู ย์การศึกษาพิเศษ ๒ ๔๐.๐๐ อื่นๆ ระบุ - รวม ๕ ๑๐๐.๐๐ จำกตำรำงท่ี ๓ พบวำ่ สถำบันกำรศกึ ษำทผี่ ู้วจิ ัยทำกำรวิจัยกบั กลุ่มเปำ้ หมำยมำกทสี่ ดุ ไดแ้ ก่ โรงเรยี นรฐั บาล จานวน ๓ เรอ่ื ง คิดเป็นร้อยละ ๖๐ และ ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษจานวน ๒ เรอื่ ง คิดเปน็ ร้อย ละ ๔๐ ตารางที่ ๔ ประเภทของงำนวิจยั ซงึ่ มีรำยละเอยี ดในตำรำงที่ ๔ ดังน้ี ประเภทของงำนวิจัย จำนวน รอ้ ยละ การวจิ ยั เชิงสารวจ - - การวิจยั เชงิ ความสัมพนั ธ์ - - การวจิ ัยเชงิ พฒั นา ๓ ๖๐.๐๐ การวจิ ัยเชิงทดลอง ๒ ๔๐.๐๐ รวม ๕ ๑๐๐.๐๐ จำกตำรำงท่ี ๔ พบว่ำ ประเภทของงำนวิจยั ทม่ี ำกที่สุด ไดแ้ ก่ การวจิ ยั เชิงพัฒนา จานวน ๓ เร่ือง คดิ เป็นร้อยละ ๖๐ และ การวิจยั เชงิ ทดลอง จานวน ๒ เรือ่ ง คิดเปน็ ร้อยละ ๔๐

๒๔ ตารางท่ี ๕ ระดับของงำนวจิ ัย ซึ่งมรี ำยละเอยี ดในตำรำงท่ี ๕ ดังนี้ ระดับของงำนวจิ ัย จำนวน ร้อยละ รายงานวิจยั ๓ ๖๐.๐๐ ปริญญานิพนธ์ ๑ ๒๐.๐๐ วทิ ยานิพนธ์ ๑ ๒๐.๐๐ อื่นๆ ระบุ -- รวม ๕ ๑๐๐.๐๐ จำกตำรำงท่ี ๕ พบวำ่ ระดับของงำนวิจยั รายงานวจิ ยั จานวน ๓ เรอ่ื ง คิดเป็นร้อยละ ๖๐ ปรญิ ญานิพนธ์ จานวน ๑ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๒๐ และ วิทยานิพนธ์ จานวน ๑ เรื่อง คิดเปน็ ร้อยละ ๒๐ ตอนท่ี ๒ ผลการสงั เคราะห์งานวจิ ัยข้อมูลเกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัย ซึ่งมีรายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้ ตารางที่ ๖ ระดับของงำนวิจัย ซงึ่ มรี ำยละเอยี ดในตำรำงที่ ๖ ดังน้ี วัตถุประสงค์ในการวิจยั จำนวน ร้อยละ เพ่อื พฒั นาผลสัมฤทธ์ิ ๓ ๖๐.๐๐ เพื่อพฒั นาพฤติกรรม ๑ ๒๐.๐๐ เพอ่ื พฒั นาทักษะ/ กระบวนการ ๑ ๒๐.๐๐ เพ่อื ลดพฤติกรรม - - อน่ื ๆ รวม ๕ ๑๐๐.๐๐ จำกตำรำงท่ี ๖ พบวำ่ วตั ถปุ ระสงค์ในการวิจยั ทม่ี ีการจดั ทามากทีส่ ุดคือ เพอ่ื พัฒนาผลสมั ฤทธิ์ จานวน ๓ เรอ่ื ง คิดเป็นร้อยละ ๖๐ เพอ่ื พฒั นาพฤติกรรม จานวน ๑ เรอ่ื ง คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒๐ และ เพ่อื พฒั นาทักษะ/ กระบวนการ จานวน ๑ เรื่อง คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๐ ตารางท่ี ๗ ประเภทความพิการของกล่มุ เป้าหมาย ซ่ึงมรี ำยละเอยี ดในตำรำงที่ ๗ ดังน้ี ประเภทความพิการของ จำนวน รอ้ ยละ กล่มุ เปา้ หมาย ความพิการทางการเห็น - - ความพิการทางการไดย้ ิน ๑ ๒๐.๐๐ ความพิการทางการเคล่ือนไหว ๑ ๒๐.๐๐ หรอื ทางรางกาย ความพิการทางจิตใจหรือ - - พฤติกรรม

๒๕ ประเภทความพกิ ารของ จำนวน รอ้ ยละ กลมุ่ เป้าหมาย ความพิการทางสตปิ ัญญา ๑ ๒๐.๐๐ ความพิการทางการเรียนรู้ ๑ ๒๐.๐๐ ออทสิ ตกิ - ออทิสติก ๑ ๒๐.๐๐ รวม ๕ ๑๐๐.๐๐ จำกตำรำงที่ ๗ พบว่ำ ประเภทความพิการของกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ความพิการทางการได้ยิน จานวน ๑ เรื่อง คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒๐ ความพิการทางการเคล่อื นไหวหรอื ทางรางกาย จานวน ๑ เรอื่ ง คิดเป็น ร้อยละ ๒๐ ความพิการทางสติปัญญา จานวน ๑ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๒๐ ความพิการทางการเรียนรู้ จานวน ๑ เรื่อง คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๐ และ ออทสิ ตกิ จานวน ๑ เรื่อง คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๐ ตารางที่ ๘ กลุ่มเปา้ หมาย ซ่ึงมรี ำยละเอยี ดในตำรำงที่ ๘ ดังนี้ จานวนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน รอ้ ยละ จำนวน 1 - 5 คน ๓ ๖๐.๐๐ จำนวน 6 - 10 คน - - จำนวน 11 - 15 คน ๑ ๒๐.๐๐ จำนวน 16 - 20 คน ๑ ๒๐.๐๐ มำกกว่ำ จำนวน 20 คน - - รวม ๕ ๑๐๐.๐๐ จำกตำรำงท่ี ๘ พบวำ่ จานวนกลุ่มเป้าหมาย ไดแ้ ก่ จำนวน 1 - 5 คน จานวน ๓ เรือ่ ง คิดเป็นรอ้ ย ละ ๖๐ จำนวน 11 - 15 คน จานวน ๑ เร่ือง คิดเป็นร้อยละ ๒๐ และ จำนวน 16 - 20 คน จานวน ๑ เรือ่ ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๐ ตารางท่ี ๙ ระดบั ชว่ งช้ันท่ีทาวจิ ัย ซง่ึ มีรำยละเอยี ดในตำรำงท่ี ๙ ดังน้ี ระดบั ชว่ งชน้ั ท่ที าวิจัย จำนวน รอ้ ยละ ๒๐.๐๐ เตรียมความพรอ้ ม ๑ - อนบุ าล - ๖๐.๐๐ ๒๐.๐๐ ประถมศึกษา ๓ - มัธยมศึกษา ๑ ๑๐๐.๐๐ มหาวิทยาลยั - รวม ๕

๒๖ จำกตำรำงท่ี ๙ พบว่ำ ระดับชว่ งชัน้ ที่ทาวิจัย ไดแ้ ก่ ระดบั ช้ันประถมศึกษา จานวน ๓ เร่อื ง คดิ เปน็ ร้อยละ ๖๐ ระดับช้ันเตรียมความพร้อม จานวน ๑ เร่ือง คิดเป็นร้อยละ ๒๐ และ ระดับชั้นมัธยมศึกษา จานวน ๑ เร่อื ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๐ ตารางที่ ๑๐ เครื่องมือที่ใช้ในการวจิ ัย ซงึ่ มรี ำยละเอียดในตำรำงท่ี ๑๐ ดังน้ี เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการรวบรวมข้อมูล จำนวน รอ้ ยละ แบบสมั ภาษณ์ -- แบบสังเกต ๓ ๖๐.๐๐ แบบสอบถาม -- แบบวัดเจตคติ -- แบบทดสอบ ๒ ๔๐.๐๐ อืน่ ๆ - - รวม ๕ ๑๐๐.๐๐ จำกตำรำงท่ี ๑๐ พบว่ำ เครื่องมอื ที่ใช้ในการรวบรวมข้อมลู ได้แก่ แบบสังเกต จานวน ๓ เรื่อง คิด เปน็ ร้อยละ ๖๐ และ แบบทดสอบ จานวน ๒ เร่อื ง คิดเป็นร้อยละ ๔๐ ตารางที่ ๑๑ การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ ซง่ึ มรี ำยละเอียดในตำรำงท่ี ๑๑ ดังนี้ การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ จำนวน ร้อยละ ไมผ่ ่านการตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมอื - - ผ่านการตรวจสอบคุณภาพเครอ่ื งมือ ๕ ๑๐๐.๐๐ รวม ๕ ๑๐๐.๐๐ จำกตำรำงที่ ๑๑ พบว่ำ การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ ผ่านการตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ จานวน ๕ เรื่อง คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐ ตารางท่ี ๑๒ รูปแบบการวจิ ยั ซงึ่ มรี ำยละเอยี ดในตำรำงที่ ๑๒ ดงั นี้ รูปแบบการวิจัย จำนวน รอ้ ยละ ๒๐.๐๐ กรณีศึกษา ๑ ๔๐.๐๐ ๔๐.๐๐ ศึกษากลุม่ เดยี ววดั เฉพาะทดลอง ๒ ๑๐๐.๐๐ ศกึ ษากล่มุ เดยี ววดั ก่อนและหลงั ทดลอง ๒ รวม ๕

๒๗ จำกตำรำงท่ี ๑๒ พบว่ำ รูปแบบการวจิ ยั ศึกษากลุ่มเดยี ววัดเฉพาะทดลอง จานวน ๒ เรื่อง คิดเป็น ร้อยละ ๔๐ ศึกษากลุ่มเดียววัดก่อนและหลังทดลอง จานวน ๒ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๔๐ และ กรณีศึกษา จานวน ๑ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๒๐ ตารางท่ี ๑๓ การวิเคราะห์ขอ้ มูล ซึง่ มรี ำยละเอียดในตำรำงท่ี ๑๓ ดังน้ี ข้อมลู เชงิ ปรมิ าณ จำนวน ร้อยละ ไม่ใชส้ ถติ ิ ๒ ๔๐.๐๐ ใชส้ ถติ ิพื้นฐาน ๓ ๖๐.๐๐ ใช้สถิตอิ ่นื ๆ -- รวม ๕ ๑๐๐.๐๐ จำกตำรำงที่ ๑๓ พบว่ำ ขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณ ใชส้ ถิตพิ ้ืนฐาน จานวน ๓ เรือ่ ง คิดเป็นร้อยละ ๖๐ และ ไม่ใชส้ ถติ ิ จานวน ๒ เรือ่ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ ๔๐ การสงั เคราะห์ข้อมลู เชงิ คณุ ภาพ ๑) ควำมสำมำรถปฏบิ ัติอย่ำงอสิ ระตำมตำรำงกจิ กรรมของเด็กปฐมวัยทีม่ คี วำมบกพร่องทำง สติปัญญำระดบั เล็กนอ้ ย สอดคล้องกับสมมติฐำนท่ีต้งั ไว้ หลงั ไดร้ บั กำรสอนโดยใชต้ ำรำงกิจกรรมที่มี ภำพประกอบรว่ มกบั เบี้ยอรรถกรสูงขึน้ จำนวน ๒ เรื่อง ๒) พฤติกรรมกำรไม่ให้ควำมร่วมมือในชนั้ เรยี นลดลง คือนักเรียนสำมำรถปฏิบัติกิจกรรมได้สำเร็จ แสดงให้เห็นว่ำนักเรียนมีพฤติกรรมในกำรปฏิบัติงำนดีขึ้น สำมำรถปฏิบัติงำนหรือกิจกรรมท่ีกำหนดให้ สำเรจ็ เพม่ิ ขน้ึ จำนวน ๒ เรือ่ ง ๓) เดก็ ออทิสติกท่ีได้รับกำรปรับพฤติกรรมไมอ่ ยู่น่ิงในช้ันเรียน โดยใชว้ ธิ กี ำรช้แี นะด้วยภำพ สัญลกั ษณค์ วบคู่กับกำรเสริมแรงดว้ ยเบย้ี อรรถกร มีพฤติกรรมไม่อยู่นงิ่ ลดลง จำนวน ๑ เร่ือง

๒๕ บทที่ ๕ สรุปผลการวิจัย อภิปราย และข้อเสนอแนะ การวิจัยครง้ั น้มี วี ตั ถปุ ระสงค์เพ่ือสงั เคราะหง์ านวจิ ัยของหนว่ ยงาน วทิ ยานิพนธ์ ปริญญานพิ นธข์ อง นิสิต นักศึกษาระดับมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ท่ีศึกษารูปแบบ งานวิจัยเก่ียวกับการการใช้ตารางกิจกรรม ในการทากิจกรรมของนักเรียน ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๔ – พ.ศ. ๒๕๖๔ จานวน ๕ เรือ่ ง โดยกลมุ่ ตวั อย่างทใี่ ชใ้ นการวิจัยในครัง้ น้เี ปน็ การเลือกแบบเจาะจง เคร่ืองมือที่ใช้ใน การวิจัยครั้งน้ี คือ แบบตรวจสอบรายการเพื่อสรุปงานวิจยั ท่ีคณะผู้วิจัยสร้างข้ึน การสังเคราะห์งานวิจยั ใน ช้ันเรียน จากแบบตรวจสอบรายการเพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ได้แก่ ช่ืองานวิจัย ชื่อ - สกุล ผู้ทาการวิจัย ปี ท่ีทา/เผยแพร่งานวิจัย ประเทศที่ทาการวิจัย สถาบันการศึกษาท่ีผู้วิจัยทาการวิจัยกับกลุ่มเป้าหมาย ประเภทของงานวิจยั ระดบั ของงานวจิ ัย และ การตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมือรูปแบบการวจิ ัย สถติ ิทใี่ ช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล และการสรปุ ผลการใช้นวตั กรรมเพ่ือพัฒนาการเรียนรใู้ ช้การวเิ คราะห์เชงิ ปริมาณ สถิติ ท่ีใช้ ไดแ้ ก่ ความถ่ี และรอ้ ยละ สรปุ ผลการวิจัย การวิจัยคร้ังนี้ สรุปผลการสังเคราะห์สถิติเชิงปริมาณ และ เชิงคุณภาพเกี่ยวกับการใช้ตาราง กิจกรรมเพ่อื พฒั นาการเรยี นรู้สาหรบั ผ้เู รียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ดงั นี้ ผลการสังเคราะห์งานวจิ ัย ปีที่ทา/เผยแพร่งานวิจยั ส่วนใหญ่เป็นปี พ.ศ. ๒๕๕๙ จานวน ๒ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๔๐ ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ จานวน ๑ เร่ือง คิดเป็นร้อยละ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ จานวน ๑ เร่ือง คิดเป็นร้อยละ ๒๐ และ ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ จานวน ๑ เรอ่ื ง คดิ เปน็ ร้อยละ ๒๐ ประเทศทีท่ าการวิจัยมากทสี่ ุดคือ ประเทศไทย จานวน ๕ เร่ือง คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ สถาบันการศึกษาที่ผู้วิจัยทาการวิจัยกับกลุ่มเป้าหมายมากที่สุด ได้แก่ โรงเรียน รัฐบาล จานวน ๓ เรือ่ ง คดิ เปน็ ร้อยละ ๖๐ และ ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษจานวน ๒ เรอ่ื ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๔๐ ประเภทของงานวิจัยท่ีมากท่ีสุด ได้แก่ การวิจัยเชิงพัฒนา จานวน ๓ เร่ือง คิดเป็นร้อยละ ๖๐ และ การ วิจัยเชิงทดลอง จานวน ๒ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๔๐ ระดับของงานวิจัย รายงานวิจัย จานวน ๓ เร่ือง คิด เป็นร้อยละ ๖๐ ปริญญานิพนธ์ จานวน ๑ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๒๐ และ วิทยานิพนธ์ จานวน ๑ เร่ือง คิด เปน็ รอ้ ยละ ๒๐ วตั ถุประสงค์ในการวจิ ยั ทมี่ กี ารจดั ทามากท่สี ุดคือ เพ่ือพฒั นาผลสัมฤทธิ์จานวน ๓ เร่ือง คดิ เป็นร้อยละ ๖๐ เพื่อพัฒนาพฤติกรรม จานวน ๑ เร่ือง คิดเป็นร้อยละ ๒๐ และ เพ่ือพัฒนาทักษะ/ กระบวนการ จานวน ๑ เร่ือง คิดเป็นร้อยละ ๒๐ ประเภทความพกิ ารของกลุ่มเป้าหมาย ไดแ้ ก่ ความพกิ าร ทางการได้ยินจานวน ๑ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๒๐ ความพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางรางกาย จานวน

๒๖ ๑ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๒๐ ความพิการทางสติปัญญา จานวน ๑ เร่ือง คิดเป็นร้อยละ ๒๐ ความพิการ ทางการเรยี นรู้จานวน ๑ เรอื่ ง คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒๐ และ ออทสิ ติก จานวน ๑ เร่อื ง คิดเป็นร้อยละ ๒๐ จานวนกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ จานวน 1 - 5 คน จานวน ๓ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๖๐ จานวน 11 - 15 คน จานวน ๑ เรื่อง คิดเปน็ ร้อยละ ๒๐ และ จานวน 16 - 20 คน จานวน ๑ เรอื่ ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๐ ระดับช่วงชั้นท่ีทาวิจัย ได้แก่ ระดับช้ันประถมศึกษา จานวน ๓ เร่ือง คิดเป็นร้อยละ ๖๐ ระดับชั้นเตรียม ความพร้อม จานวน ๑ เรื่อง คดิ เปน็ ร้อยละ ๒๐ และ ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษา จานวน ๑ เรอ่ื ง คดิ เป็นร้อยละ ๒๐ เครื่องมือท่ีใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสังเกต จานวน ๓ เร่ือง คิดเป็นร้อยละ ๖๐ และ แบบทดสอบ จานวน ๒ เร่ือง คิดเป็นร้อยละ ๔๐ การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ผ่านการตรวจสอบ คุณภาพเครื่องมือจานวน ๕ เร่ือง คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ รูปแบบการวิจัย ศึกษากลุ่มเดียววัดเฉพาะทดลอง จานวน ๒ เร่ือง คดิ เป็นรอ้ ยละ ๔๐ ศึกษากลุ่มเดยี ววัดกอ่ นและหลงั ทดลอง จานวน ๒ เรื่อง คดิ เปน็ ร้อยละ ๔๐ และ กรณีศึกษาจานวน ๑ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๒๐ ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติพ้ืนฐาน จานวน ๓ เร่ือง คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๖๐ และ ไม่ใช้สถติ ิ จานวน ๒ เรอ่ื ง คิดเปน็ รอ้ ยละ ๔๐ ๑) ความสามารถปฏบิ ตั อิ ย่างอสิ ระตามตารางกจิ กรรมของเด็กปฐมวัยท่ีมคี วามบกพร่องทาง สติปัญญาระดับเล็กนอ้ ย สอดคลอ้ งกับสมมติฐานท่ตี ง้ั ไว้ หลงั ไดร้ ับ การสอนโดยใช้ตารางกิจกรรมทีม่ ี ภาพประกอบรว่ มกับเบี้ยอรรถกรสูงข้นึ จานวน ๒ เร่ือง โดยมเี ชงิ คุณภาพดังนี้ ๒) พฤติกรรมการไม่ให้ความร่วมมือในชนั้ เรยี นลดลง คือนักเรียนสามารถปฏิบัตกิ ิจกรรมได้สาเรจ็ แสดงให้เห็นว่านักเรียนมีพฤติกรรมในการปฏิบัติงานดีขึ้น สามารถปฏิบัติงานหรือกิจกรรมที่กาหนดให้ สาเรจ็ เพ่มิ ขนึ้ จานวน ๒ เรือ่ ง ๓) เด็กออทิสติกท่ีได้รับการปรับพฤติกรรมไม่อยู่น่ิงในชั้นเรียน โดยใช้วิธีการชี้แนะด้วยภาพ สญั ลกั ษณ์ควบคู่กับการเสรมิ แรงด้วยเบ้ยี อรรถกร มพี ฤตกิ รรมไม่อยูน่ ิง่ ลดลง จานวน ๑ เรื่อง พฤตกิ รรมทีส่ ่งเสริมการเรียนรู้ของผูเ้ รยี น 1) การจัดทาแผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคล (IEP) 2) การสอนนกั เรียนกลมุ่ ท่ีมคี วามบกพร่องควรสอนจากส่ิงทงี่ ่ายท่ีสุดก่อน 3) การเสริมแรงอย่างสม่าเสมอ 4) ใหเ้ ด็กเรียนจากเพื่อน (เพื่อนชว่ ยเพอ่ื น) 5) จัดห้องเรยี นใหเ้ ออ้ื ต่อการเรยี น 6) สอนโดยการเนน้ ย้าซ้า เช่น ใหเ้ ดก็ ทากจิ กรรมน้ันซ้าบอ่ ยๆ ดว้ ยวธิ กี ารรับรู้ทหี่ ลาก หลากจากการดู การฟังการสัมผสั ใชค้ าส่งั ที่สนั้ และเขา้ ใจ พยายามให้ความ 7) ครผู ู้สอนควรใหค้ วามชว่ ยเหลอื ใหเ้ วลามากขน้ึ กว่าเด็กท่ัวไป มอบงานให้เหมาะสม 8) การใชอ้ ุปกรณช์ ่วย เชน่ เครื่องคดิ เลข สือ่ ตา่ งๆ มาชว่ ยอานวยความสะดวกและการ ฝกึ ให้เดก็ เรยี นรูจ้ ากการปฏิบัติ

๒๗ ข้อเสนอแนะในการทาวจิ ยั ครง้ั ตอ่ ไป ๑) ควรมีการสังเคราะห์งานวิจัยท่ีเกี่ยวกับการใช้นวัตกรรมในการพัฒนานักเรียน เพื่อจะสามารถ นาผลการสังเคราะห์มาจัดทางานวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนานักเรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษได้อย่าง เหมาะสม ๒) ควรมีการสังเคราะห์งานวิจัยในช้ันเรียนของครูท่ีรับผิดชอบเก่ียวกับนักเรียนที่มีความต้องการ จาเป็นพิเศษในสังกัดอื่น ๆ เพ่ือให้ได้ข้อความรู้ ที่กว้างข้ึนและเป็นประโยชน์แก่หน่วยงานในการช่วยกัน พัฒนาการศึกษาต่อไป

บรรณานกุ รม ผดุง อารยะวิญญู. 2542. การศึกษาสาหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ. กรุงเทพมหานคร :สานักพิมพ์ แว่นแกว้ . สำนักบรหิ ำรงำนกำรศึกษำพเิ ศษ (๒๕๕๙) การสังเคราะหง์ านวจิ ยั ในชัน้ เรียนสาหรบั ผ้เู รยี นทม่ี ี ความตอ้ งการจาเป็นพิเศษ ในโรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์ สังกัดสานักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ จรยิ า สงวนรัตน์ (๒๕๕๙) การสังเคราะหง์ านวิจัยเกี่ยวกับเดก็ ทีม่ ีความบกพร่องทางการเรยี นร้ใู น ประเทศไทย ศิรสิ ขุ ถนาวรณ์ (๒๕๖๐) การสังเคราะห์งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วข้องกบั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ ผสมผสาน นางสาวฉตั รปราวณี อาภา(๒๕๕๕)การสงั เคราะห์งานวิจัยทีเ่ กยี่ วข้องกับการสอนอานภายาองั กฤษ ระดับช้นั มัธยมศึกษา อนุชติ วฒั นนาพร (๒๕๔๗)การสงั เคราะหว์ ทิ ยานิพนธ์ สาขาวชิ าการสอนสงั คมศึกษา ปีการศกึ ษา 2539-2545 คณะศึกษาศาสตรม์ หาวิทยาลยั เชยี งใหม่

๒๘ ภาคผนวก

๒๙ ภาคผนวก ก รายนามผูเ้ ชยี่ วชาญ

๓๐ รายนามผเู้ ช่ยี วชาญ ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบ การสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวกับการใช้ตารางกิจกรรม โครงร่างการวิจัย จานวน ๓ ทา่ น ดงั มรี ายนามตอ่ ไปน้ี ๑. นางสาวเยาวทวิ า นามคุณ อาจารย์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏลาปาง ๒. นางอ่อนแก้ว จรสั ดารงคว์ ฒั น์ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรียนเชียงรายปญั ญานกุ ลุ ๓. นางพวงผกา ปวณี บาเพ็ญ อาจารย์ มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต ศูนยก์ ารศึกษานอกทต่ี ้งั ลาปาง

๓๑ ภาคผนวก ข แบบตรวจสอบรายการเพื่อสรุปการวเิ คราะหง์ านวจิ ยั เก่ยี วกบั การใชต้ ารางกิจกรรม

๓๒ ภาคผนวก ค - ตวั อยา่ งแบบประเมินความสอดคลอ้ งและความเหมาะสม ของเครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการเก็บข้อมูลการศึกษา

โครงร่างการสังเคราะหง์ านวิจัยในชั้นเรยี น ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ๑. ชื่อโครงการวิจยั การสงั เคราะห์งานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการใช้ตารางกจิ กรรม ๒. ช่อื ผู้วิจัย นายสราวธุ แก้วมณวี รรณ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ ๓. ความสาคญั และความเป็นมาของวิจยั พฤติกรรมให้ความร่วมมือในการทากิจกรรมของนักเรียน เป็นปัญหาของครู ผู้ปกครอง ในการจัดการ เรียนรู้ ไม่ว่าจะเป็นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีไม่ดีนกั พฤติกรรมหรือคุณลักษณะอันไม่พึงประสงค์ของนักเรยี น ทักษะต่างๆ ที่นักเรียนควรปฏิบัติได้ เม่ือนักเรียนมีพฤติกรรมไม่ให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม ครู ผู้ปกครอง ควรทบทวนการจัดการเรียนการสอน หรือ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ว่าสามารถจัดกระบวนการ เรยี นรูไ้ ด้นา่ สนใจ กระตุ้นความตอ้ งการเรยี นรู้ของนักเรยี นหรือไม่ ตอบสนองความต้องการของนกั เรียนหรือไม่ โดยเฉพาะในเด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษประเภทต่าง ๆ ท่ีต้องได้รับการจัดการเรียนรู้ ฝึกทักษะต่างๆ ท่ถี ูกตอ้ ง และเหมาะสมกับความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษของแต่ละบุคคล อรทัย แสงทอง (๒๕๕๘) ได้ทาการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมไม่ให้ความร่วมในชั้นเรียน ของ นักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา โดยใช้กลวิธีการเรียนรู้ผ่านการมอง โดยจัดการเรียนการสอน ผ่านการจัดกิจกรรม ๓ กิจกรรม ผลการวิจัยพบว่า ก่อนการใช้กลวิธีการเรียนรู้ผ่านการมอง นักเรียนไม่ สามารถทากิจกรรมสาเร็จได้เลย หลังการใช้กลวิธีการเรียนรู้ผ่านการมอง นักเรียนสามารถทากิ จกรรมได้ สาเร็จ ๒ กิจกรรม แสดงให้เห็นว่านักเรียนมีพฤติกรรมไม่ให้ความร่วมมือในชั้นเรียนลดลง ปฏิบัติงานได้ดี ข้ึน หลังการใช้กลวิธีการเรียนรู้ผ่านการมอง ภาพเป็นสื่อวัสดุความหมายท่ีมีอิทธิพลมากในการนามาใช้การเรียนการสอน เพราะภาพเป็นส่ือ หรือ สัญลักษณส์ าคัญเช่นเดียวกับภาษาพูดและภาษาเขยี น ทใ่ี ชใ้ นการส่ือสารและส่ือความหมายได้เป็นอย่างดี และ เป็นรูปธรรมอธิบายความหมายได้ สามารถทาให้เด็กเรียนรู้ความหมายต่าง ๆ ได้ดี และเข้าใจมากข้ึนกว่าการ ฟังเพียงอย่างเดียว ซ่ึงเด็กจะเกิดการเรียนรู้ได้โดยการรับรู้ได้ทางสายตา (Visual Perception) เป็นการรับรู้ ตั้งแต่แรกเกิด และจะมีการพัฒนาตามลาดับข้ัน ตามอายุและวุฒิภาวะ ถ้าจะให้การรับรู้ทางสายตามี ประสิทธิภาพดี ต้องได้รบั การฝึกให้มีการพฒั นาความพร้อมสามประการ คอื วธิ กี ารรับรทู้ างสายตา ความต้ังใจ และความสนใจ ซง่ึ เปน็ การนาไปสู่การใช้สายตาอยา่ งสมบรู ณ์ (มาศพร แกลว้ ทะนง . ๒๕๕๑: ๓) จากการวิจยั ในชั้นเรียนทผ่ี ่านมา ยังไม่มีการสรุปรวบรวมผลงานวจิ ัยในชน้ั เรียนของครูอยา่ งเปน็ ระบบ ดังน้ันเพื่อจะทาให้เห็นถึงการพัฒนาการในด้านการวิจัยของครูและทราบถึงสภาพปัญหาในการทาวิจัยของครู ผวู้ ิจัยจึงมคี วามสนใจในการสังเคราะห์งานวิจัยในช้ันเรียน เพือ่ ศึกษาเก่ยี วกบั ระเบียบวิธีวิจยั ซง่ึ ไดแ้ ก่ ดา้ นการ ตั้งคาถามการวิจัย และการเลือกใช้นวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนท่ีมีความจาเป็นพิเศษ การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องการ ออกแบบการวิจัย การกาหนดกลุ่มเป้าหมาย เคร่ืองมือและ นวัตกรรมท่ีใช้เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้การ เก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการสรุปผลการใช้ นวตั กรรมรวมท้ังความตรงของการวจิ ัย ซงึ่ ผลการศึกษาทไ่ี ดจ้ ากการวิจัยนนี้ อกจากสามารถนาไปใช้เปน็ ข้อมูล

เพื่อพัฒนางานวิจัยของครูต่อไปแล้ว ยังสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางสาหรับครูท่ีประสบปัญหาหรือต้องการ พัฒนาการเรียนการสอนให้ดียิ่งขึ้น รวมทั้งเป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการพัฒนาการทาวิจัยในช้ันเรียนให้มี ประสิทธภิ าพตอ่ ไป ๔. วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจัย เพอื่ ศึกษารูปแบบงานวิจัยท่ีศึกษาเกี่ยวกบั การใช้ตารางกจิ กรรม ๕. ความสาคัญของงานวจิ ัย/ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ การศึกษางานวิจัยในคร้งั นี้ทาให้ไดอ้ งคค์ วามร้ทู ่ีเป็นข้อสรปุ จากการสังเคราะหง์ านวจิ ยั ทาให้ไดร้ ูปแบบ งานวจิ ยั ทศ่ี กึ ษาเกี่ยวกบั การใชต้ ารางกิจกรรม ของนักเรียนทม่ี ีความบกพร่องทางร่างกาย ๖. ขอบเขตของงานวิจัย ๖.๑ ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี ได้แก่ งานวิจัยของหน่วยงาน วิทยานิพนธ์ ปริญญานิพนธ์ของ นิสิต นักศึกษาระดับมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ท่ีศึกษารูปแบบงานวิจัย เกีย่ วกบั การส่งเสริมพฤตกิ รรมการให้ความร่วมมือในการทากจิ กรรมของนักเรียนท่ีมคี วามบกพร่องทางร่างกาย ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๔ – พ.ศ. ๒๕๖๔ ๖.๒ ตวั แปรทีศ่ ึกษา ๑) ตวั แปรต้น คอื ตวั แปรทเี่ ก่ยี วกบั คุณลกั ษณะงานวจิ ัย ไดแ้ ก่ ข้อมูลพื้นฐาน และคณุ ภาพงานวจิ ัย ขอ้ มลู คณุ ลักษณะงานวิจัย คุณภาพของเคร่ืองมอื และคา่ คุณภาพของผลการประมาณคา่ เคร่อื งมือ ๒) ตวั แปรตาม คือ ค่าขนาดอิทธิพลของการวจิ ัยด้านการใช้ตารางกิจกรรม ๗. วธิ ดี าเนินการวิจัย ไดแ้ ก่ ๗.๑ เครอื่ งมอื ท่ใี ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ๑) แบบคดั เลือกงานวิจยั ทีผ่ ู้วิจัยสร้างข้นึ ๒) แบบสรุปการสงั เคราะหร์ ายละเอียดงานวิจยั ท่ผี วู้ ิจัยสร้างขึ้น ๗.๒ การเก็บรวบรวมข้อมลู ๑) คน้ หาและรวบรวมงานวิจัยทเี่ กีย่ วข้องกับการการใช้ตารางกจิ กรรมในการปรบั พฤติกรรม ของนักเรยี น ๒) ศึกษางานวจิ ัยในเบื้องตัน เพือ่ ตรวจสอบเน้ือหา และใช้แบบคดั เลอื กงานวจิ ยั เพื่อคัดเลือก งานวิจัยที่จะนามาสังเคราะห์ มคี ณุ สมบัติตามเกณฑ์ทีจ่ ะศึกษาตามที่ได้กาหนดไว้หรือไม่ ๓) ใชแ้ บบสรปุ สังเคราะหร์ ายละเอียดงานวจิ ยั กบั งานวจิ ัยที่ผ่านการคัดเลอื กจากแบบ คัดเลอื กงานวิจัย ๔) จาแนกงานวิจยั ตามประเภทของงานวิจยั และเตรียมวิเคราะห์ข้อมลู ๗.๓ การวเิ คราะหข์ อ้ มูล การวิเคราะห์ขอ้ มลู ในรายงานการสงั เคราะห์งานวจิ ัยนจ้ี าแนกตามรปู แบบงานวจิ ัย

๘. นิยามศัพท์เชงิ ปฏิบตั ิการ ๙.๑ งานวจิ ัย หมายถึง เอกสารการรายงานผลการศึกษาเพื่อมาแสดงความรคู้ วามจรงิ ด้วยวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ งานวิจัยท่ีนามาสังเคราะห์ในการวิจัยคร้ังนี้ คือ วิทยานิพนธ์/ ปริญญานิพนธ์ที่ทาโดยนิสิต นกั ศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา ๙.๒ การสงั เคราะห์งานวิจัย หมายถงึ การรวบรวมงานวิจยั มาวิเคราะห์และบรรยายสรุปเปน็ ภาพรว มของงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้ตารางกิจกรรม ในระหว่างปี พ.ศ. 2555 ถึง พ.ศ. 2564 โดยพิจารณาจาก งานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับการใชต้ ารางกจิ กรรม ๙.๓ งานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการใช้ตารางกิจกรรม หมายถึง วิทยานิพนธ์ท่ีเก่ียวข้องกับการใช้ภาพ สัญลกั ษณ์ในการส่ือความหมาย การทากิจกรรมตามข้ันตอนประจาวัน เพ่ือปรับพฤติกรรมนักเรียน ในระหว่าง ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ถึง พ.ศ. ๒๕๖๔ ทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ ๙. กรอบแนวคดิ การวจิ ัย ตวั แปรตาม คา่ ขนาดอิทธพิ ล ตัวแปรตน้ ข้อมลู พืน้ ฐานและคณุ ภาพงานวิจัย ข้อมลู คณุ ลกั ษณะงานวิจยั ค่าคุณภาพของเคร่ืองมือและ ค่าคุณภาพของผลการประมาณคา่ เครื่องมือ ๑๐. ระยะเวลาและแผนการดาเนนิ งาน กิจกรรม เดือน มิ.ย. ก.ค ส.ค ก.ย ๑. กาหนดหัวขอ้ วจิ ัย/ประเด็นวิจัย ๒. ทบหวนวรรณกรรมท่เี กย่ี วขอ้ ง ๓. เขียนโครงร่างวจิ ัย ๔. รวบรวมขอ้ มูล ๕. วเิ คราะหข์ อ้ มลู ๖. เขียนรายงานการวจิ ยั ๗. จัดพมิ พร์ ายงานวิจัย

๑๑. ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะได้รบั ๑. ทาให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับผลงานวิจัย ข้อค้นพบที่ได้รับการสังเคราะห์ จะทาให้เห็นภาพท่ีชัดเจน เก่ียวกับงานวิจัย ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนกิจกรรมการดาเนินงานเพ่ือพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ต่อไป ๒. ทาให้ได้ข้อมูลความรู้เก่ียวกับผลการวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการใช้ตารางกิจกรรม ท่ีมีต่อพฤติกรรมให้ ความรว่ มมือในการทากิจกรรม ของนกั เรียนท่ีมีความบกพร่องทางร่างกาย ซ่ึงจะเปน็ ประโยชน์ต่อการนาไปใช้ ในการพัฒนาการศกึ ษาตอ่ ไป ๑๒. เอกสารอา้ งอิง อนชุ ิต วัฒนาพร. (๒๕๔๗). การสังเคราะห์วิทยานิพนธ์ สาขาวชิ าการสอนสังคมศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๓๙ – ๒๕๔๕ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สวุ รรณา มวี ฒั นะ. (๒๕๕๔). การศกึ ษาความสามารถในการปฏิบตั ิอยา่ งอสิ ระตามตารางกิจกรรมของเด็ก ปฐมวยั ทีม่ ีความบกพร่องทางสติปญั ญาระดบั เล็กน้อยจากการสอนโดยใช้ตารางกจิ กรรมทีม่ ีภาพประกอบ รว่ มกบั เบี้ยอรรถกร อรทยั แสงทอง. (๒๕๕๘) ผลการใช้กลวธิ กี ารเรียนรผู้ า่ นการมองท่ีมตี อ่ พฤตกิ รรมไมใ่ ห้ความร่วมมือในช้นั เรยี น นกั เรียนทมี่ ีความบกพรอ่ งทางสติปัญญา นางสาวรดาธร นลิ ละออ. (๒๕๔๘) ผลการใชก้ ลวธิ กี ารเรยี นรผู้ ่านการมองท่ีมตี ่อพฤติกรรมไม่ให้ความรว่ มมือ ในชั้นเรียน นกั เรยี นที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ. (๒๕๕๘) การสงั เคราะห์งานวิจัยในชน้ั เรยี นสาหรบั ผ้เู รยี นที่มีความต้องการ จาเป็นพเิ ศษ ในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ สงั กัดสานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ ฉัตรปวณี อาภา. (๒๕๕๕) การสังเคราะห์งานวิจัยที่เก่ยี วข้องกบั การสอนอา่ นภาษาอังกฤษ ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษา ลงชอื่ .............................................................ผวู้ ิจัย (นายสราวธุ แกว้ มณวี รรณ)

แบบพิจารณาความตรงของเคร่อื งมือโดยผทู้ รงคุณวฒุ ิ/ผูเ้ ชย่ี วชาญ คาชแี้ จง ด้วย นายสราวุธ แก้วมณีวรรณ ตาแหน่ง พนักงานราชการ ผู้วิจัยเป็นครูผู้สอนของศูนย์การศึกษา พิเศษประจาจังหวัดลาปาง ศึกษาวิจัย เร่ือง การสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ตารางกิจกรรม โดย ได้สร้างแบบตรวจสอบคุณภาพงานวิจัย ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการสร้างแบบทดสอบฉบับน้ีเพ่ือ สารวจ และ รวบรวมงานวจิ ัยทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการใชต้ ารางกิจกรรมในการปรับพฤติกรรมของนักเรยี น ผวู้ จิ ยั พิจารณาแล้วเห็น ว่าท่านเป็นผู้ท่ีมีความรู้และประสบการณ์ทางด้านการสอนกิจกรรมบาบัด และ/ หรือด้านการศึกษาพิเศษ และ/หรือด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา จึงขอความอนุเคราะห์จากท่านได้ พิจารณาและข้อเสนอแนะ เพิม่ เตมิ ในประเด็นต่อไปนี้ 1. ตรวจสอบนิยามศพั ท์ มีความชดั เจนถกู ตอ้ งหรอื ไม่ 2. ตรวจสอบแบบตรวจสอบคณุ ภาพงานวจิ ัย เหมาะสมท่ีจะนาไปรวบรวมขอ้ มลู ได้หรือไม่ ตรวจแลว้ ( …………………………………...... ) ผทู้ รงคุณวุฒิ …………/……………/………….

แบบพิจารณาความตรงของเครือ่ งมือโดยผู้ทรงคณุ วุฒิ ตอนที่ 1 โปรดพจิ ารณานยิ ามศัพทว์ ่า มคี วามชัดเจนถูกต้อง ครอบคลุม และเหมาะสมทจี่ ะนาไปใช้ในการ การสังเคราะหง์ านวิจยั ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการใช้ตารางกิจกรรม หรือไม่ นยิ ามคาศัพท์ ความคิดเหน็ ของผเู้ ชีย่ วชาญ ชัดเจน ไม่ ไม่ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม แน่ใจ ชดั เจน การสังเคราะห์งานวิจัย หมายถึง การ รวบรวมงานวิจัยมาวิเคราะห์และบรรยายสรุปเป็น ภ า พ ร ว ม ข อ ง ง า น วิ จั ย ที่ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร ใ ช้ ต า ร า ง กิจกรรม ในระหว่างปี พ.ศ. 2555 ถึง พ.ศ. 2564 โดย พิ จ า ร ณ า จ า ก ง า น วิ จั ย ที่ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร ใ ช้ ต า ร า ง กจิ กรรม งานวิจัยที่เก่ียวข้องกับ การใช้ตาราง กิจกรรม หมายถึง วิทยานิพนธ์ท่ีเก่ียวข้องกับการใช้ ภาพสัญลักษณ์ในการสื่อความหมาย การทากิจกรรม ตามข้ันตอนประจาวัน เพ่ือปรับพฤติกรรมนักเรียน ใน ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ถึง พ.ศ. ๒๕๖๔ ท้ังในประเทศ และต่างประเทศ

แบบตรวจสอบคณุ ภาพงานวิจัย ตอนท่ี ๑ ข้อมลู พ้นื ฐานของงานวิจัย ๑. ชอ่ื สกุล ผวู้ ิจยั ........................................................................................................................................ ๒. ช่ืองานวิจัย................................................................................................................. ............................ ๓. ปที ท่ี างานวิจัยเสร็จ................................................................................................................................ ๔. สถาบันที่ผลติ งานวิจัย …………………………………………………………………………………………………………….. ๕. คณะทผี่ ลติ งานวจิ ัย …………………………………………………………………………………………………………….. ๖. สาขาทผี่ ลิตงานวจิ ัย …………………………………………………………………………………………………………….. ๗. ระดับการศกึ ษา  ๗.๑ มหาบณั ฑติ  ๗.๒ ดษุ ฎบี ัณฑิต ๘. จานวนหน้าทัง้ หมด................................................................................................................................ ๙. จานวนหนา้ ไมร่ วมภาคผนวก................................................................................................................. ๑๐.วตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั  ๑๐.๑ เพ่ือบรรยาย  ๑๐.๒ เพ่ือศึกษา  ๑๐.๓ เพ่ือเปรยี บเทยี บ  ๑๐.๔ เพ่ือหาความสมั พันธ์  ๑๐.๕ เพื่ออธบิ าย  ๑๐.๖ เพ่ือประเมนิ  ๑๐.๗ เพื่อวจิ ยั และพฒั นา  ๑๐.๘ เพื่อวิเคราะห์  ๑๐.๙ เพื่อนาเสนอ  ๑๐.๑๐ เพอ่ื ประมวล ๑๑.สมมติฐานของการวิจยั  ๑๑.๑ มที ิศทาง  ๑๑.๒ ไม่มีทิศทาง  ๑๑.๓ มีทิศทางและไม่มีทิศทาง  ๑๑.๔ ไม่มีการตั้งสมมติฐาน ๑๒.กลุม่ ตวั อยา่ ง ๑๒.๑ วธิ กี ารเลอื กกลมุ่ ตวั อย่าง  ๑๒.๑.๑ ไมร่ ะบุ  ๑๒.๑.๒ เจาะจง

 ๑๒.๑.๓ สุม่ ประชากร  ๑๒.๑.๔ สมุ่ แบบงา่ ย  ๑๒.๑.๕ ส่มุ แบบเปน็ ระบบ  ๑๒.๑.๖ สุม่ แบบแบ่งกลมุ่  ๑๒.๑.๗สุม่ แบบแบง่ ชน้ั  ๑๒.๑.๘ สมุ่ แบบหลายข้นั ตอน  ๑๒.๑.๙ ส่มุ ตัวอย่างความนา่ จะเปน็ ไม่เท่ากัน ๑๒.๒ ประเภทของกลุ่มตวั อย่าง  ๑๒.๒.๑ บุคคลที่มคี วามบกพร่องทางการเหน็  ๑๒.๒.๒ บคุ คลท่มี คี วามบกพร่องทางการไดย้ นิ  ๑๒.๒.๓ บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางด้านสติปญั ญา  ๑๒.๒.๔ บุคคลทม่ี ีความบกพร่องทางร่างกาย เคล่ือนไหวหรอื สขุ ภาพ  ๑๒.๒.๕ บุคคลท่มี คี วามบกพร่องทางการเรียนรู้  ๑๒.๒.๖ บคุ คลทม่ี ีความบกพร่องทางการพูดลาษา  ๑๒.๒.๗ บคุ คลที่มคี วามบกพร่องทางพฤติกรรมหรอื อารมณ์  ๑๒.๒.๘ บคุ คลออทสิ ติก  ๑๒.๒.๙ พกิ ารซ้อน  ๑๒.๒.๑๐ สมาธสิ ัน้ ๑๒.๓ ประเภทของสถานศึกษา  ๑๒.๓.๑ ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ  ๑๒.๓.๒ โรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน  ๑๒.๓.๓ โรงเรยี นเอกชน  ๑๒.๓.๔ โรงเรยี นของรัฐระดบั ประถมศึกษา  ๑๒.๓.๕ โรงเรียนของรัฐระดับมัธยมศึกษา  ๑๒.๓.๖ ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็  ๑๒.๓.๗ มูลนิธิเพอื่ เดก็ พิการ ๑๔. การวิเคราะห์ขอ้ มูล สถติ ิท่ใี ช้  ๑๔.๑ ������̅  ๑๔.๒ S.D.  ๑๔.๓ T-test  ๑๔.๔ F-test  ๑๔.๕ One-way Anova  ๑๔.๖ ความถี่

 ๑๔.๗ ร้อยละ  ๑๔.๘ คา่ E.I.  ๑๔.๙ Scheffe’s method  ๑๔.๑๐ LSD  ๑๔.๑๑ วิเคราะหเ์ ชงิ เนื้อหา (content analysis)  ๑๔.๑๒ ดัชนีความตอ้ งการจาเป็น (Priority Needs Index : PNI) ตอนท่ี ๒ แบบการสงั เคราะห์งานวจิ ัยท่เี กย่ี วข้องกับการใช้ตารางกิจกรรม สาหรบั นักเรยี นทีม่ ีความต้องการจาเปน็ พิเศษ ชือ่ ผวู้ ิจยั (พ.ศ.).......................................................................รหัสงานวิจยั ..................................... ช่ือเร่ืองงานวจิ ยั ................................................................................................................................ สาระจากงานวจิ ัย ผลการวิเคราะหเ์ น้อื หา หมายเหตุ ผลการวิจยั ประเภทกจิ กรรมบรู ณาการประสาท ความรู้สกึ ทีใ่ ช้ ........................................................................ ............................................................. ........................................................................ ............................................................. ........................................................................ ............................................................. ข้อเสนอแนะจากการวจิ ัย ............................................................. ........................................................................ ............................................................. ........................................................................ ............................................................. ........................................................................ ............................................................. ........................................................................ ............................................................. ข้อเสนอแนะในการวิจยั ครงั้ ต่อไป ............................................................. ........................................................................ ............................................................. ........................................................................ ............................................................. ........................................................................ ………………………………………………..

ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม หากทา่ นมขี ้อเสนอแนะเพ่ิมเติมนอกเหนือจากทรี่ ะบุไว้ข้างตน้ การสังเคราะห์งานวจิ ัยท่เี กี่ยวข้อง กับการใช้ตารางกิจกรรม มีความสมบรู ณ์มากข้ึน โปรดเขียนข้อเสนอแนะของท่าน เพอื่ จะได้นามาเปน็ แนวทาง ในการปรับปรุงแกไ้ ข ต่อไป …………………………………………………………………………………………………………………………..……………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………….………………... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….... ………………………………………………………………………………………………………………………………..……………..........….. ……………………………………………………………………………………………………………………………….………………... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….... ………………………………………………………………………………………………………………………………..……………..........….. ……………………………………………………………………………………………………………………………….………………... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….... ………………………………………………………………………………………………………………………………..……………..........….. ………………………………………………………………………………………………………………………………..……………..........….. ……………………………………………………………………………………………………………………………….………………... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….... ………………………………………………………………………………………………………………………………..……………..........….. ………………………………………………………………………………………………………………………………..……………..........….. ……………………………………………………………………………………………………………………………….………………... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….... ………………………………………………………………………………………………………………………………..……………..........….. ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณท่านที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ตรวจสอบความตรงของเคร่ืองมือการ สังเคราะห์งานวิจยั ทเ่ี กย่ี วข้องกับการใชต้ ารางกิจกรรม และให้คาแนะนาที่เป็นประโยชน์ใน การนาไปปรับปรุง แกไ้ ขให้ถกู ต้องสมบูรณ์ต่อไป นายสราวธุ แก้วมณวี รรณ ตาแหน่ง พนักงานราชการ ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจงั หวัดลาปาง

ก ประวตั ผิ วู้ ิจยั ชื่อ นายสราวุธ แก้วมณวี รรณ วัน เดอื น ปเี กิด 9 ธันวาคม 2535 ภูมิลาเนา 24 หมทู่ ี่ 7 ตาบลนาแก้ว อาเภอเกาะคา จงั หวัดลาปาง ประวตั ดิ า้ นการศึกษา โรงเรยี นบ้านป่าแขอดุ มศรทั ธานุกุล ระดบั ประถมศึกษา โรงเรยี นเกาะคาวทิ ยาคม ระดับมธั ยมศึกษา วิทยาลัยการอาชีพเกาะคา อิเล็กทรอนกิ ส์ ประกาศนยี บตั รวิชาชพี วทิ ยาลยั การอาชีพเกาะคา สาขาเทคนิคคอมพวิ เตอร์ ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชนั้ สูง มหาวิทยาลยั ราชภฏั ลาปาง สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ระดบั อดุ มศกึ ษา อุตสาหกรรม ประวัติการปฏบิ ัตงิ าน ศู น ย์ ก า ร ศึ ก ษ า พิ เศ ษ ป ร ะ จ า จั ง ห วั ด ล า ป า ง 15 ธนั วาคม 2560 – 30 กนั ยายน 2561 ตาแหนง่ พี่เลยี้ งเดก็ พิการ ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวัดลาปาง 1- ตลุ าคม 256๔ – ปจั จุบนั ตาแหนง่ พนกั งานราชการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook