Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 004-อบรม ศธ

004-อบรม ศธ

Published by IKANOKll Suchartsoonthorn, 2021-08-15 09:36:19

Description: 004-อบรม ศธ

Keywords: อบรม ศธ byKruKanok

Search

Read the Text Version

รายงานการเข้ารับชมการถา่ ยทอดสด “การเตรยี มการจดั การเรียนการสอน ของโรงเรียนในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปกี ารศึกษา 2564” สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน นางสาวกนกนาถ สชุ าติสุนทร ตำแหน่ง ครู โรงเรียนบ้านพลวง (พรหมบำรงุ ราษฎร์) สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารช้ันเรยี นลำดับที่ 004/2564

คำนำ รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการรับชมถ่ายสด ตามที่ได้มีการเลื่อนการเปิดเทอมเนื่องจาก สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ทำให้มีการเลื่อนเปิดเทอมจากเดิมวันที่ วันที่ 17 พฤษภาคม 2564 เป็นวันท่ี 1 มิถนุ ายน 2564 และในการน้เี พ่ือการเตรยี มความพร้อมกระทรวงศึกษาธิการได้ มีการถ่ายทอดสด การแถลงข่าวการเตรียมการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน ในสังกัด ศธ. โดย นางสาวตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะ เพื่อให้ครูได้รับฟังแนวทางการ ปฏิบัติ ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง วิทยากรผู้ให้ความรู้ และได้แลกเปลี่ยนความ คิดเห็น วิธีการดำเนนิ การ รวมทั้งแลกเปลี่ยนข้อเสนอแนะอันเป็นประโยชน์ท่ีสามารถนำไปปรับใชใ้ นการ ประเมินผลการเรยี นการสอนได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ผู้จดั ทำหวงั ว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้ และเป็น ประโยชน์แกผ่ ้อู ่านทุก ๆ ท่าน กนกนาถ สุชาติสนุ ทร ครู ค.ศ.1 โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์

เรอ่ื ง สารบญั แบบรายงานผลการอบรมสัมมนา หนา้ สรปุ ใจความการประชมุ ประโยชน์ท่ไี ด้รับจากการอบรม 1 ภาคผนวก 3 15 17

1 แบบรายงานการเข้ารับชมการถ่ายทอดสด การเตรียมการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนในสงั กดั กระทรวงศึกษาธกิ าร ปีการศึกษา 2564 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ระหว่าง วันที่ วันองั คารที่ 11 พฤษภาคม 2564 1. ขอ้ มลู ทว่ั ไป 1.1 ผู้รายงาน : นางสาวกนกนาถ สชุ าติสุนทร ตำแหน่ง ครู สงั กัด โรงเรียนบา้ นพลวง (พรหมบำรุงราษฎร)์ สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสรุ นิ ทรเ์ ขต 3 1.2 หัวข้อการประชุม : ถ่ายทอดสดการเตรียมการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ ปีการศึกษา 2564 สำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน หนว่ ยงานทจ่ี ดั : กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ชอ่ งทางการประชุมทางไกล : 1) https://www.youtube.com/obectvonline 2) https://www.facebook.com/obectvonline 1.3 ระยะเวลา : วนั อังคาร ที่ 11 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2564 เวลา 08.30 น. 1.4 เอกสารประกอบ (  ) มี ( ) ไมม่ ี 1.5 ประกาศนียบัตร / วุฒิบัตร ( ) มี (  ) ไมม่ ี

2 2. เนอ้ื หาการอบรม มดี ังน้ี ความเป็นมา นางสาวตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร (รมว.ศธ.) กล่าวภายหลงั การประชุม รว่ มกับผู้บริหารองค์กรหลกั ศธ.ถึงการเตรียมความพร้อมก่อนการเปดิ ภาคเรียนท่ี 1/2564 ในวันท่ี 1 มถิ นุ ายน ว่า ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ประกาศเลื่อนการเปิดภาคเรียนจากกำหนดการเดิมในวันที่ 17 พฤษภาคมเปน็ วันที่ 1 มถิ นุ ายนน้ัน ซึง่ ทำให้นกั เรยี นมชี ่วงระยะเวลาว่าง 11 วันก่อนการเปดิ ภาคเรียน ดังนั้น ตนจึงคิดว่าจะมีวิธีการใดบ้างที่อยากจะเติมเต็มการเรียนรู้ของนักเรียนแม้โรงเรียนหยุดแต่การเรียนของเด็ก ตอ้ งไมห่ ยุดการเรยี น ดังนัน้ ท่ีประชมุ จึงมีข้อสรปุ ว่าจะแบ่งการเตรียมความพร้อมช่วงเวลา 11 วันของนักเรียน แยกเป็นการเรียนรู้ในช่วงวันดังกล่าว 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มกิจกรรมแบบออนไลน์ โดยเป็นการเรียนรู้ของกลุ่ม เด็กที่มีความพร้อมในการเข้าถึงสื่อออนไลน์ในรูปแบบต่างๆ และ กลุ่มกิจกรรมแบบออฟไลน์ สำหรับกลุ่ ม นักเรียนที่ไม่สามารถเข้าถึงสื่อออนไลน์ได้ ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายใน ศธ.ได้ร่วมจัดการเรียนรู้ให้ เหมาะสมกับผ้เู รียนแตล่ ะชว่ งวยั รมว.ศธ.กล่าวต่อไปว่า ทั้งนี้ในส่วนกิจกรรมออไลน์จะมีคลังสื่อการเรียนรู้ต่างๆแขวนไว้บนเว็บไซต์ ของศธ. โดยส่วนหนึ่งได้รับการสนับสนุนสื่อการเรียนจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) ขณะที่กลุ่มกิจกรรมออฟไลน์ มอบหมายให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (สพท.) ทำหน้าที่ออกแบบ กิจกรรมรว่ มกับศูนยบ์ ริหารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ระดับจังหวัด เพ่ือ ออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับสถานการณ์ เช่น การฝึกทักษะอาชีพ หรือการเรียนรู้เรื่องการออมเงินของ เด็กแตล่ ะคน เป็นต้น อย่างไรก็ตามกิจกรรมทง้ั ออนไลนแ์ ละออฟไลนไ์ มไ่ ดเ้ ปน็ การบังคับวา่ โรงเรียนจะต้องทำ ทกุ แหง่ เพราะเรายังต้องคำนึงถงึ มาตรการความปลอดภยั ด้านสุขภาพของนักเรียนด้วย อยา่ งไรกต็ าม ตนจะมี การแถลงขา่ วเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเปดิ ภาคเรียนอยา่ งเป็นทางการอีกครงั้ ในวันท่ี 11 พฤษภาคมนี้ ด้านนายอัมพร พินะสา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (เลขาฯ กพฐ.) กล่าวว่า ใน สว่ นของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน (สพฐ.) จะทำภาระกจิ ใหเ้ ชื่อมโยงกับนโยบายของรมว. ศธ. คือ ช่วงแรกการเตรียมความพร้อมของครูเรื่องอุปกรณ์สือ่ การเรียนการสอน เพื่อให้การเปิดภาคเรียนไป แล้วทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะไม่เกิดความเครียด เนื่องจากเรามีบทเรียนมาแล้ว 1 ปีพบว่าการจัดการเรียนการ สอนผ่านออนไลน์เดก็ ยังไม่มีความพร้อมด้านอุปกรณ์การเรียนท่ดี ีพอ แตป่ นี ี้เราจะสำรวจความพร้อมของเด็ก แต่ละคนว่ามีความพร้อมสำหรับการเรียนในรูปแบบไหนได้บ้าง โดยเบื้องต้นจากการสำรวจพบว่าร้อยละ 50 เด็กต้องการมาเรียนที่โรงเรียน และเป็นพื้นที่สีขาว ซึ่งเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ดังนั้นครูผู้สอนจะเป็นผู้จดั การ เรียนการสอนให้ตามความเหมาะสม โดยคำนึงถึงความปลอดภัยด้านสุขภาพเด็ก นอกจากนี้จะลดกระแส ความกังวลของผู้ปกครองที่ไม่เข้าใจว่าสาเหตุใดถึงต้องมาเปิดเรียนในวันที่ 1 มิถุนายน โดยสพฐ.ได้เตรียม

3 กิจกรรมเสริมทักษะอาชีพเป็นหน่วยการเรียนอย่างหลากหลายให้แก่นักเรยี นในชว่ ง 11 วันกอ่ นเปดิ ภาคเรียน เพื่อเป็นทางเลือกให้แก่นักเรียน พร้อมประกาศให้เขตพื้นที่เป็นศูนย์การรับนักเรียนสำหรับเด็กที่พลาดจาก การสอบเข้าโรงเรียนดังและยังไม่มีที่เรียน โดยเขตพื้นที่จะจัดลำดับโรงเรียนที่ว่างไว้ให้ ซึ่งยืนยันว่าเด็กมีท่ี เรียนทุกคนอย่างแน่นอน ทั้งนี้ในวันที่ 11 พฤษภาคมรมว.ศธ.จะชี้แจงทำความใจให้แก่ครูทั่วประเทศได้ รบั ทราบนโยบายการเปดิ ภาคเรยี นดว้ ย สรปุ ผลการประชมุ สว่ นที่ 1 โดยรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ นางสาวตรีนุช เทยี นทอง จากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค COVID-19 ทำให้ตอ้ งมกี ารประกาศเลอ่ื นการเปิดภาคเรียนจาก เดมิ วันที่ 17 พฤษภาคม 2564 เปน็ วันท่ี 1 มถิ นุ ายน 2564 จึงมีการดำเนินการแบ่งเปน็ 2 ระยะ ดงั นี้ ในระยะท่ี 1 ในชว่ ง วันท่ี 17 - 31 พฤษภาคม ระยะเวลา 11 วัน เปน็ ช่วงเตรยี มความพรอ้ มให้กบั ผเู้ รยี น มกี ารเตรยี มพร้อมใน 2 รูปแบบ 1. เตรียมความพรอ้ มในรูปแบบออนไลน์ โดย ครูพร้อม “เรียนรเู้ พื่อการสอน สอนเพื่อการเรียนรู้” ดว้ ย ความสมัครใจ

4 2. เตรยี มความพร้อมในรปู แบบออฟไลน์ ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ทกั ษะชวี ิต ในระยะท่ี 2 ในชว่ งการเปิดภาคเรียนโรงเรียนสามารถจัดการศกึ ษาได้อย่างหลากหลายรปู แบบโดยเน้น ความปลอดภัยตามมาตรการโดยสามารถจัดการเรียนการสอนไดห้ ลายรูปแบบ ดังน้ี ON-SITE คือการจดั การเรยี นการสอนทโ่ี รงเรยี น ONLINE คือการเรยี นการสอนผ่านระบบเครือข่ายอินเตอรเ์ น็ต ON-DEMAND คอื การเรยี นการสอนผา่ น Application ต่างๆ ON-AIR คือการเรยี นการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ON-HAND คอื การเรียนการสอนโดยครนู ำใบงานไปให้นักเรียนทบ่ี า้ น 12 นโยบายการจดั การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ 1. การปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ให้ทันสมัย และทันการเปลี่ยนแปลงของโลกใน ศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งพัฒนาผ้เู รยี นทกุ ระดับการศกึ ษาใหม้ คี วามรู้ ทกั ษะและคุณลกั ษณะทเ่ี หมาะสม กบั บริบทสังคมไทย

5 2. การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและอาจารย์ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและ อาชีวศึกษา ให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล เพื่อให้ครูและอาจารย์ใด้รับการพัฒนาให้มี สมรรถนะทั้งด้านการจดั การเรยี นรู้ ด้วยภาษาและดิจิทัล สามารถปรับวิธกี ารเรียนการสอนและการ ใช้สอ่ื ทันสมัย และมีความรบั ผดิ ชอบต่อผลลัพธ์ทางการศึกษาท่เี กดิ กบั ผเู้ รียน

6 3. การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจทิ ัลฝานแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ (NDLP) และการ ส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน เพื่อให้มีหน่วยงานรับผดิ ชอบพัฒนาแพลตฟอร์มการ เรียนรู้ดว้ ยดิจทิ ัลแห่งชาติ ที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและเข้าถงึ แหล่ง เรียนรู้ได้อย่างกว้างขวางผ่านระบบออนไลน์ และการนำฐานข้อมูลกลางทางการศึ กษามาใช้ ประโยชน์ในการพัฒนาประสิทธภิ าพการบรหิ ารและการจัดการศึกษา

7 4. การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา โดยการส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาให้มี ความเป็นอิสระและคล่องตัว การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็น ฐาน โดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายการศึกษาแห่งชาติที่ได้รับการปรับปรุงเพื่อกำหนดให้มีระบบบริหาร และการจัดการ รวมถึงการจัดโครงสร้างหน่วยงานให้เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ สถานศึกษาให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว การบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็นฐาน มี ระบบการบริหารงานบคุ คลโดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล 5. การปรับระบบการประเมินผลการศกึ ษาและการประกันคุณภาพ พร้อมจดั ทดสอบวดั ความรู้ และ ทกั ษะท่ีจำเปน็ ในการศึกษาตอ่ ระดบั อุดมศกึ ษาทง้ั สายวิชาการและสายวิชาชีพ เพ่ือให้ระบบการ ประเมินผลการศึกษาทุกระดับและระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา ได้รับการปรับปรงุ ใหท้ ันสมยั ตอบสนองผลลัพธท์ างการศกึ ษาได้อย่างเหมาะสม

8 6. การจัดสรรและการกระจายทรัพยากรให้ทั่วถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการระดมทรัพยากรทาง การศึกษาจากความร่วมมือทุกภาคส่วน เพ่ือใหก้ ารจัดสรรทรพั ยากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม และสร้างโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพทัดเทียมกลุ่มอื่น ๆ กระจาย ทรัพยากรทงั้ บุคลากรทางการศกึ ษา งบประมาณและส่ือเทคโนโลยีได้อยา่ งทั่วถึง 7. การนำกรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาติ (NQF) และกรอบคุณวุฒิอา้ งอิงอาเซียน (AQRF) สู่การปฏบิ ัติ เป็น การผลิตและการพัฒนากำลังคนเพื่อการพัฒนาประเทศ โดยใช้กรอบคณุ วุฒแิ ห่งชาติ เช่อื มโยงระบบ การศกึ ษาและการอาชพี โดยใช้กลไกการเทยี บโอนประสบการณด์ ้วยธนาคารหนว่ ยกิตและการจัดทำ มาตรฐานอาชพี ในสาขาท่สี ามารถอา้ งอิงอาเซยี นได้

9 8. การพฒั นาเด็กปฐมวัยใหไ้ ด้รับการดแู ลและพัฒนาก่อนเข้ารบั การศึกษาเพื่อพฒั นาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย เพื่อเป็นการขับเคลื่อนแผนบูรณาการการพัฒนา เด็กปฐมวัย ตามพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 สู่การปฏิบัติเป็นรูปธรรม โดย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปเป็นกรอบในการจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย และมีการ ติดตามความกา้ วหน้าเปน็ ระยะ 9. การศกึ ษาเพอ่ื อาชีพและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพื่อใหผ้ จู้ บการศกึ ษา ระดับปริญญาและอาชวี ศกึ ษามีอาชพี และรายไดท้ เี่ หมาะสมกบั การดำรงชีพและคุณภาพชีวิตทดี่ มี ี สว่ นชว่ ยเพมิ่ ขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทโี ลกได

10 10. การพลิกโฉมระบบการศึกษาไทยด้วยการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัด การศึกษาทุกระดับการศึกษา เพ่อื ให้สถาบันการศึกษาทุกแหง่ นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีทันสมัย มาใช้ในการจัดการศกึ ษาผา่ นระบบดิจิทลั 11. การเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา และ ผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ เพื่อเป็นการเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ ของกล่มุ ผ้ดู อ้ ยโอกาสทางการศกึ ษา และผูเ้ รียนท่ีมีความต้องการจำเป็นพเิ ศษ

11 12. การจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั โดยยดึ หลักการเรียนรตู้ ลอดชีวติ และการ มีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่ม ผูด้ ้อยโอกาสทางการศึกษาและผเู้ รียนทีม่ คี วามต้องการจำเปน็ พิเศษ 7 วาระเร่งด่วน (Quick Win) ของกระทรวงศึกษาธกิ าร • วาระที่ 1 เรื่องความปลอดภัยของผู้เรียน โดยจัดให้มีรูปแบบ วิธีการ หรือกระบวนการในการดูแล ช่วยเหลือนกั เรยี น เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรยี นรอู้ ย่างมีคุณภาพ มีความสุข และได้รบั การปกป้องคุ้มครอง ความปลอดภัยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงการสร้างทักษะให้ผู้เรียนมีความสามารถในการดูแล ตนเองจากภยั อนั ตรายต่าง ๆ ทา่ มกลางสภาพแวดลอ้ มทางสังคม • วาระที่ 2 หลักสูตรฐานสมรรถนะ มุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายโดยยึดความสามารถของ ผเู้ รยี นเปน็ หลัก และพฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ กดิ สมรรถนะทตี่ อ้ งการ • วาระที่ 3 Big Data พัฒนาการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบและไม่ซ้ำซ้อน เพื่อให้ได้ข้อมูลภาพรวม การศึกษาของประเทศทีม่ ีความครบถ้วน สมบูรณ์ ถกู ต้องเปน็ ปัจจบุ ัน และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ อย่างแทจ้ ริง • วาระที่ 4 ขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) สนับสนุนการ ดำเนินงานของศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ตามความเลิศของแต่ละ สถานศึกษาและตามบริบทของพื้นที่ สอดคล้องกับความต้องการของประปัจจบุ ันและอนาคต ตลอดจน มีการจดั การเรียนการสอนด้วยเครือ่ งมือท่ที ันสมยั สอดคล้องกับเทคโนโลยีปัจจบุ ัน • วาระที่ 5 พัฒนาทักษะทางอาชีพ ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่เน้นพัฒนาทักษะอาชีพของผู้เรียน เพื่อ พัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างอาชีพและรายได้ที่เหมาะสม และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ • วาระที่ 6 การศึกษาตลอดชีวิต การจัดเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนทุกช่วงวัยให้มีคุณภาพและ มาตรฐาน ประซาชนในแต่ละช่วงวัยได้รับการศึกษาตามความต้องการอย่างมีมาตรฐาน เหมาะสมและ เตม็ ตามศักยภาพต้งั แตว่ ยั เด็กจนถงึ วัยชรา และพฒั นาหลักสูตรท่เี หมาะสมเพื่อเตรียมความพรอ้ มในการ เขา้ สู่สงั คมผู้สงู วยั • วาระที่ 7 การจัดการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้ที่มี ความต้องการจำเป็นพิเศษได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพสามารถดำรงชีวิตในสังคมอย่างมีเกียรติ ศักดิ์ศรีเท่าเทยี มกับผู้อื่นในสงั คม สามารถชว่ ยเหลือตนเองและมีส่วนรว่ มในการพัฒนาประเทศ

12 ส่วนท่ี 2 คณุ หญงิ กัลยา โสภณพนิช รฐั มนตรชี ่วยวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร ถึงจะมีสถานการณ์การแพรร่ ะบาด COVID-19 แต่การเรียนรู้ของเด็กหยุดไม่ได้ ในช่วงการเลื่อนการ เปิดเทอมจึงอยากจะมีกจิ กรรมทส่ี นุกใหเ้ ด็กไดร้ ่วมกิจกรรม คณุ หญิงกัลยากล่าวว่า “เรยี นแล้วต้องนำไปใช้ใน ชวี ิตประจำวนั ให้ได้” ไมว่ ่าจะเปน็ การเรียนร้รู ปู แบบใดก็ได้ กระทรวงศึกษาธกิ ารจะไมท่ ้ิงใครไว้ข้างหลงั รวมไป ถงึ เดก็ พิการ เดก็ ด้อยโอกาสจะต้องไดร้ ับการศึกษาทเ่ี ท่าเทยี ม เท่าทนั การพฒั นา

13 สว่ นที่ 3 ดร.กนกวรรณ วิลาวัลย์ รฐั มนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เราควรใช้โอกาสนี้ช่วยกันเพิ่มพลังบวกอย่างสร้างสรรค์ เราจะต้องจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับ บริบท ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของโลกและสถานการณ์โดยการจัดการศึกษาให้เข้าใจ เข้าถึงในทุกมิติทุก ช่วงวยั เรยี นรู้ ปรบั ใช้ พฒั นา ตอ่ ยอด เพอื่ ใชค้ วามรพู้ ฒั นาประเทศของเราต่อไป

14 สว่ นที่ 4 นายอมั พร พินะสา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน สพฐ. ได้เตรียมความพร้อมในการเปิดเรียนในวันที่ 1 มิถุนายน 2564 โดยโรงเรยี นสามารถเลือกจัดการ เรียนการสอนไดต้ ามความเหมาะสม ตามบรบิ ท เช่น ON-SITE มาเรยี นทโ่ี รงเรียน ON-AIR เรียนผ่านระบบ DLTV ONLINE เรียนทบ่ี ้านผ่านอินเตอร์เน็ต ON-DEMAND เรียนผ่านเว็บไซต์ หรอื Application ต่างๆ ON-HAND เรียนทบ่ี ้านโดยใบงาน สง่ิ ท่คี ำนึงถึง ดังนี้ 1. ความปลอดภัย 2. พ้ืนทข่ี องโรงเรียนเปน็ หลกั วา่ อยูใ่ นพ้นื ทเ่ี สี่ยงหรอื ไม่ 3. ความพร้อมของผู้เรียน 4. ความพรอ้ มของสือ่

15 5. ความสมคั รใจของผ้ปู กครองและนักเรียน 6. ความร่วมมือระหวา่ งครแู ละผ้ปู กครองและประชาชน สรุปคอื “ครตู ้องปลอดภัยแตเ่ ด็กไทยต้องไดเ้ รยี น” 3. วธิ ีการอบรม มดี ังน้ี การประชุมทางไกลบรรยายใหค้ วามรหู้ ัวข้อที่กำหนด /ข้อสอบความรู้หวั ข้อท่ีกำหนด อบรมออนไลน์ผา่ นช่องทาง ดังตอ่ ไปนี้ 1. https://www.youtube.com/obectvonline 2. https://www.facebook.com/obectvonline/ 4. ความรตู้ า่ ง ๆ ที่ไดร้ ับจากอบรม ในครงั้ นี้  ต่อตนเอง ได้แก่ 1. มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการแก้ไขปัญหาการจัดการเรียนการสอนทางไกล ใน สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรน่า (COVID-19) 2. มีความรู้ความเข้าใจในการช่วยแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กที่ประสบปัญหาการมีครูไม่ ครบช้นั ครสู อนไมต่ รงสาขาวิชาเอก 3. มคี วามรู้ความเข้าใจในขยายผลโครงการการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมไปยังพื้นท่ีอ่ืน ๆ ให้มผี ลเปน็ รูปธรรมโดยเร็ว 4. ผูเ้ ขา้ รบั การอบรมได้รับทราบแนวทางในการเตรียมพร้อมสำหรับการเปดิ ภาคเรียน 5. ผเู้ ข้ารับการอบรมมีความเข้าใจในระบบวธิ ีการสอนทางไกล 6. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถจัดการเรียนการสอนได้ตรงตามนโยบายของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร  ตอ่ หนว่ ยงาน ได้แก่ 1. ประชาสัมพันธ์ถ่ายทอดความรู้ต่อเพื่อนครู และบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองและ นักเรียนให้มีความเข้าใจ ให้รับทราบถึงทราบแนวทางในการเตรียมพร้อมสำหรับการเปิดภาคเรียน และการ จัดการเรียนการสอนผ่านระบบทางไกล

16 2. ได้แนวทางในการประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบ ทางไกล 5. ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ 1. การอบรมนี้มีประโยชน์มาก สามารถทำให้ผู้บริหาร คณะครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และนักเรียน มีความใจเข้าในแนวทางการจดั การศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ ารได้ตรงกัน 2. เน่ืองจากหัวขอ้ การอบรมมีความคลา้ ยคลึงกัน ทำใหผ้ ู้บรรยายในแตล่ ะหวั ขอ้ พูดบรรยายซำ้ ซ้อน 3. ระยะเวลาในการจดั อบรมมคี วามเหมาะสมรายละเอยี ดของเน้อื หา 4. แนวนโยบายที่กระทรวงศึกษาธิการได้วางเอาไว้อาจไม่สามารถเอามาปฏิบัติได้ ด้วยบริบทที่ แตกต่างกนั ในแตล่ ะสถานศึกษา 5. ฝ่ายบริหารควรมีการประชุมคณะครูในโรงเรียนเพื่อหาแนวทางในการดำเนินการในการจัดการ เรียนการสอน หากไมส่ ามารถปฏิบัติตามแนวนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการได้ 6. ระบบเว็บไซตใ์ นการเข้าทำแบบทดสอบวดั ความร้คู วรมีการพฒั นาให้มีความเสถียรมากย่งิ ขน้ึ

17 ภาคผนวก

18 เอกสารประกอบ แนวปฏบิ ตั กิ ารรับสมัครเด็กเข้าเรียนและการสอบคดั เลือกการรายงานตัวและการมอบตัวในสถานการณก์ าร แพร่ระบาดของโควิด -19

19

20 งบประมาณบคุ ลากรและงบเงนิ อุดหนนุ ปงี บประมาณ พ.ศ.2564

21

22

23

24 \\

25

26

27

28

29

30 การดำเนนิ การภายใต้ ครูพรอ้ ม การบูรณาการการเรยี นรู้

31 การเตรียมความพร้อมเปิดภาคเรยี รท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 1 มิย 64 ทกุ รร ต้องพร้อมในการจัดการเรียนการสอน โดยการเรียน

32 การจัดการเรียนรโู ดยการใชก้ ารเรยี นรู้ 5 รูปแบบ

33 มาตรการปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 การอำนวยความสะดวกจากหน่วยงานต่างๆท่ีมาชว่ ยโรงระยะเวลาในการเตรยี มความพร้อม

34 ช่องทางเลอื กในการเรยี นรู้ Online ในช่วงเตรยี มความพรอ้ มก่อนเปดิ ภาคเรยี น \\ \\

35 ตารางการอบรม

36

37

38

39

40

41

42

43

44

45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook