Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการป้องกันภัยในสถานศึกษา 2565 โรงเรียนบ้านพลวง

แผนปฏิบัติการป้องกันภัยในสถานศึกษา 2565 โรงเรียนบ้านพลวง

Published by IKANOKll Suchartsoonthorn, 2022-05-03 15:03:58

Description: แผนปฏิบัติการป้องกันภัยในสถานศึกษา 2565 โรงเรียนบ้านพลวง

Keywords: แผนปฏิบัติการป้องกันภัยในสถานศึกษา 2565 โรงเรียนบ้านพลวง

Search

Read the Text Version

คำนำ เอกสารมาตรการรักษาความปลอดภัย การดูแลช่วยเหลอื และคุ้มครองนักเรียน โรงเรียนบา้ นพลวง (พรหมบำรุงราษฎร์) เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการดูแลความปลอดภัย นักเรียนทุกคนในโรงเรียน ด้านการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ เช่น 1) ภัยที่เกิดจากการใช้ความรุนแรงของมนุษย์ (Violence) การล่วง ละเมิดทางเพศ การทะเลาะวิวาทการกล่ันแกล้งรงั แก การชมุ นุมประทว้ งและการจลาจล การลอ่ ลวง ลกั พาตัว 2) ภัยที่เกิดจากอุบัติเหตุ (Accident) ภัยธรรมชาติ ภัยจากอาคารเรียน สิ่งก่อสร้าง ภัยจากยานพาหนะ ภัยจากการจัดกิจกรรม ภัยจากเครื่องมืออปุ กรณ์ 3) ภยั ท่เี กิดจากการถกู ละเมิดสิทธ์ิ (Right) การถกู ปล่อยปละ ละเลย ทอดทิ้ง การคุกคามทางเพศ 4) ภัยที่เกิดจากผลกระทบทางสุขภาวะทางกายและจิตใจ (Unhealthiness) ภาวะจติ เวช ตดิ เกม ยาเสพติด โรคระบาดในมนษุ ย์ การพนัน การดำเนินงาน อาศัยนโยบายตามคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัย การ ดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และคุ้มครองนักเรียนของสถานศึกษา ของสำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ขอขอบพระคุณ ท่านผู้บริหาร คณะกรรมการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน คณะกรรมการส่งเสริมความประพฤตินักเรียน นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องที่ทำให้การ จดั ทำมาตรการรักษาความปลอดภยั ในสถานศึกษา ของโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) สำเร็จลุล่วงไป ไดด้ ว้ ยดี โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์

สารบญั เน้ือหา หนา้ คำนำ 1 สารบัญ 2 บทท่ี 1 ขอ้ มลู ท่วั ไป 5 บทที่ 2 วสิ ัยทศั น์ พันธกจิ และเป้าประสงค์ ในการป้องกันภยั ในสถานศกึ ษา 5 บทที่ 3 แผนงานในการปอ้ งกนั ความไมป่ ลอดภัยในสถานศึกษา 9 12 1. ภัยท่เี กดิ จากความรุนแรงของมนษุ ย์ (Violence) 14 2. ภยั ทีเ่ กดิ จากอุบัตเิ หตุ (Accident) 19 3. ภยั ทเี่ กดิ จากการถูกละเมดิ สทิ ธ์ิ (Right) 20 4. ภัยทเี่ กดิ จากผลกระทบทางสขุ ภาวะทางกายและจิตใจ (Unhealthiness) 21 บทท่ี 4 การขบั เคล่อื นแผนส่กู ารปฏบิ ตั ิ 22 บทที่ 5 การติดตามและประเมินผล 23 ภาคผนวก - ประกาศแตง่ ตงั้ คณะกรรมการความปลอดภยั โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ 24 - คำสง่ั แต่งตัง้ คณะกรรมการความปลอดภัยโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) - คำสัง่ แต่งต้งั เจ้าหนา้ ที่ดแู ลระบบMOE Safety Center ของโรงเรยี นบา้ นพลวง 26 (พรหมบำรุงราษฎร)์ - แบบมอบหมายเจ้าหน้าท่ดี แู ลระบบMOE Safety Center ของโรงเรยี นบา้ นพลวง (พรหมบำรงุ ราษฎร์)

1 บทที่ 1 ข้อมูลท่ัวไป 1. ท่ีต้ัง ตัง้ อย่เู ลขที่ 80 หมู่ 14 ตำบลบา้ นพลวง อำเภอปราสาท จังหวัดสรุ นิ ทร์ 32140 2. แผนที่ ห่างจากอำเภอ 4 กม. ถนนปราสาท - ชอ่ งจอม อำเภอปราสาท โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) 3. เขตบรกิ าร ช่อื หมบู่ า้ น/ตำบล/อำเภอ/จงั หวดั หมทู่ ่ี บา้ นพลวงเหนอื ตำบลบ้านพลวง อำเภอปราสาท จงั หวดั สรุ ินทร์ บา้ นพลวงใต้ ตำบลบา้ นพลวง อำเภอปราสาท จังหวัดสุรนิ ทร์ 1 บ้านกันจาน ตำบลบ้านพลวง อำเภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์ 2 บ้านโคกตะเคยี น ตำบลบ้านพลวง อำเภอปราสาท จงั หวดั สรุ นิ ทร์ 3 บา้ นโคกเพชร ตำบลบา้ นพลวง อำเภอปราสาท จงั หวัดสรุ นิ ทร์ 6 บ้านกมุ พะเนยี ง ตำบลบา้ นพลวง อำเภอปราสาท จงั หวดั สรุ นิ ทร์ 11 บ้านหนองพลวง ตำบลบ้านพลวง อำเภอปราสาท จังหวดั สรุ นิ ทร์ 12 14 4. สถานท่ีเสยี่ ง และไม่ปลอดภัย ในชุมชนและหม่บู า้ น - สระน้ำในหมู่บ้านหนองพลวง - จดุ กลบั รถหน้าบ้านพลวงใต้ - จุดกลับรถหนา้ ปตท. บา้ นพลวง

2 5. ประวตั กิ ารเกิดภัยความไมป่ ลอดภัย พ.ศ. ประเภทของภัย จำนวน (คร้งั ) พนื้ ที่เกิดเหตุ ผลกระทบ 2561 อบุ ัตเิ หตุจากยานพาหนะ 3 หน้าโรงเรยี น ได้รบั บาดเจบ็ 2562 อุบตั เิ หตจุ ากยานพาหนะ 2 หนา้ โรงเรียน ไดร้ ับบาดเจ็บ 2563 อบุ ัติเหตุจากยานพาหนะ 2 หนา้ โรงเรยี น ไดร้ ับบาดเจบ็ 2564 อบุ ตั ิเหตจุ ากยานพาหนะ 4 หน้าโรงเรียน ได้รบั บาดเจบ็

3 บทท่ี 2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเปา้ ประสงค์ ในการปอ้ งกนั ภัยในสถานศกึ ษา 1. การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ ม (SWOT analysis) การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม (SWOT Analysis) คอื การวเิ คราะหส์ ำรวจสภาพแวดลอ้ มภายใน และ สภาพแวดลอ้ มภายนอกองคก์ ร เพ่อื นำมาสงั เคราะหว์ ่าองคก์ รมี จดุ แข็ง (Strengths) ,จดุ อ่อน (Weaknesses) , อุปสรรค (Threats) และโอกาส (Opportunities) อยา่ งไร ซง่ึ สภาพแวดล้อมดงั กลา่ ว ประกอบไปดวั ยปจั จัย ดงั ต่อไปนี้ 1.1 ปัจจยั ภายใน คอื ส่งิ ทเ่ี ราควบคุมได้ ได้แก่ จดุ แขง็ หมายถึง ความสามารถและสถานการณภ์ ายในองคก์ รทเ่ี ปน็ บวก ซงึ่ นำมาเปน็ ประโยชนใ์ นการทำงานเพอ่ื บรรลวุ ตั ถุประสงค์ จดุ ออ่ น หมายถงึ ความสามารถและสถานการณ์ภายในองคก์ รท่ีเปน็ ลบและดอ้ ยความสามารถ ซง่ึ ไมส่ ามารถ นำมาใช้เปน็ ประโยชน์ในการทำงานเพอื่ บรรลุวัตถุประสงค์ 1.2 ปัจจัยภายนอก คอื สิ่งทเ่ี ราควบคมุ ไม่ได้ ไดแ้ ก่ อุปสรรคหรืออนั ตราย หมายถงึ ปจั จัยและสถานการณภ์ ายนอกที่ไม่เอ้ืออำนวยใหก้ ารทำงาน ขององค์กรบรรลุ วตั ถปุ ระสงคห์ รอื สภาพแวดลอ้ มภายนอกทเี่ ป็นปญั หาตอ่ องค์กร ซึง่ ในทน่ี ี้ คอื อันตรายจากสาธารณภยั ต่างๆ โอกาส หมายถงึ ปจั จยั และสถานการณ์ภายนอกที่เออื้ อำนวยให้การทำงานขององคก์ รบรรลวุ ตั ถุประสงคห์ รอื สภาพแวดลอ้ มภายนอกท่เี ปน็ ประโยชนต์ ่อการดำเนินการขององคก์ ร จดุ แข็ง จดุ อ่อน โอกาส อุปสรรค/อนั ตราย 1. สถานศกึ ษาอยใู่ กล้ 1. จำนวนบุคลากรใน 1.โรงเรียนตงั้ อยใู่ น 1. มคี วามเสี่ยงด้านการ โรงพยาบาลปราสาท สถานศึกษามจี ำนวนจำกดั ชุมชน การคมนาคม เดนิ ทางสญั จรข้ามถนน 2. สถานศึกษาตดิ ถนน 2. บคุ ลากรในสถานศกึ ษาสว่ น สะดวก 2. ผู้ปกครองมฐี านะทาง หมายเลข 214 มีความ ใหญ่ไมไ่ ดอ้ ยูใ่ นเขตพน้ื ที่ 2. โรงเรยี นตัง้ อยู่ใกล้ เศรษฐกจิ จำกดั ต้อง สะดวกงา่ ยต่อการ 3.หมู่บา้ นในเขตบรกิ ารของ แหล่งเรยี นร้แู ละ ประกอบอาชพี ไมม่ เี วลา สัญจร โรงเรียนสว่ นใหญ่ อยู่ตรงข้าม สถานท่ีทางราชการ ดแู ลบุตรหลาน โรงเรียนและติดกบั ถนน 4 เลน 3. สถานศกึ ษาติดถนน 214 4.ถนนหนา้ โรงเรยี นไมม่ ีปา้ ย มีความเสี่ยงจากมจิ ฉาชพี จราจรเตอื น ไมม่ ที างม้าลายหรอื และเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ สะพานลอย

4 2. วิสัยทัศน์ (Vision) การกำหนดวิสยั ทศั นใ์ นการปอ้ งกันภยั ในสถานศกึ ษา ปรารถนาจะบรรลุในอนาคต ดังนน้ั การกำหนดวิสยั ทศั น์ การปอ้ งกนั ภยั ในสถานศกึ ษา จะเนน้ เรอ่ื งอะไรใหพ้ จิ ารณาจากจดุ แขง็ จุดอ่อน โอกาส และ อปุ สรรคท่ีเกิดขึน้ ในโรงเรยี น “โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) มีความพรอ้ มในการปอ้ งกนั ภยั ใน สถานศกึ ษา เพ่ือให้เป็นโรงเรยี นปลอดภัย ผปู้ กครองวางใจ และนักเรียนมคี วามสขุ ” 3. พนั ธกจิ (Mission) คือ กรอบ หรือขอบเขตการดำเนินงานของหน่วยงาน การกำหนดพันธกิจ สามารถทำได้โดย นำภารกิจ หรือหน้าที่ความรับผิดชอบ แต่ละข้อที่หน่วยงานได้รับมอบหมายมาเป็นแนวทาง ทั้งน้ี ต้องกำหนดให้ชัดเจนว่า พันธกิจแต่ละข้อมีความหมายครอบคลุมขอบเขตแค่ไหน และแต่ละข้อ มีความแตกต่างกันอย่างไร เพื่อให้การ จัดทำแผนยุทธศาสตร์ในขั้นตอนต่อไปเป็นไปอย่างสะดวกและถูกต้อง จึงนำพันธกิจทั้งหมด มาพิจารณาใน ภาพรวมว่าหน่วยงานจักต้องดำเนินการในเรื่องใดบ้าง และเพื่อใหห้ น่วยงานสามารถบรรลุพันธกิจได้ครบถ้วนทุก ขอ้ หนว่ ยงานตอ้ งมคี วามเป็นเลศิ ในด้านใด หรอื ควรมุ่งเนน้ ไปในทิศทางใด เช่น 3.1 ดำเนนิ การจดั ทำนโยบายแนวทางและวางมาตรการในการป้องกนั ภัยในสถานศกึ ษา 3.2 ส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ มของผู้ปกครองในการสร้างเครือข่ายปอ้ งกนั ภยั เผชญิ เหตุ และปอ้ งปราม 3.3 สรา้ งความตระหนักและเตรียมความพรอ้ มของผปู้ กครองในการปอ้ งกนั ภัย 3.4 ประสานความช่วยเหลือในการป้องกนั ภัย การชว่ ยเหลอื การบรรเทาและฟ้ืนฟูกับเครือขา่ ยและสห วิชาชพี 4. เป้าประสงค์ (Goals) คอื สง่ิ ทห่ี น่วยงานปรารถนาจะบรรลุ โดยต้องนำพนั ธกิจมาพิจารณาว่า หากสามารถดำเนินการจน ประสบความสำเรจ็ ตามประเด็นแต่ละขอ้ แลว้ ใครเป็นผู้ไดร้ ับผลประโยชน์ และได้รบั ประโยชนอ์ ยา่ งไร 4.1 เพ่ือใหผ้ ้บู รหิ ารโรงเรียน ครู มีความพรอ้ มในการปอ้ งกนั ภัยในสถานศึกษา 4.2 เพื่อให้นักเรียน บุคลากรทางการศึกษาผู้ประสบภัยได้รับการช่วยเหลือ ฟื้นฟู และเยียวยา อย่าง ทันทว่ งที

5 5. ขอบขา่ ยความปลอดภัยในสถานศึกษา ขอบข่ายความปลอดภยั ของสถานศึกษา 4 กลุ่มภัย ดังนี้ 1) ภัยที่เกิดจากการใช้ความรุนแรงของมนษุ ย์ (Violence) 2) ภัยที่เกิดจากอุบัติเหตุ (Accident) 3) ภัยที่เกิดจากการถูกละเมิดสิทธิ์ (Right) 4) ภัยที่เกิดจาก ผลกระทบทางสุขภาวะทางกายและจิตใจ (Unhealthiness) มอี งค์ประกอบดงั น้ี 5.1 ภัยทีเ่ กิดจากการใชค้ วามรนุ แรงของมนุษย์ (Violence) 5.1.1. การล่วงละเมดิ ทางเพศ 5.1.2. การทะเลาะววิ าท 5.1.3. การกล่ันแกลง้ รงั แก 5.1.4. การชุมนุมประทว้ งและการจลาจล 5.1.5 การล่อลวง ลกั พาตวั 5.2 ภัยที่เกิดจากอุบัติเหตุ (Accident) 5.2.1 ภยั ธรรมชาติ 5.2.2 ภยั จากอาคารเรียน ส่ิงกอ่ สร้าง 5.2.3 ภยั จากยานพาหนะ 5.2.4 ภัยจากการจดั กจิ กรรม 5.2.5 ภัยจากเคร่ืองมอื อปุ กรณ์ 5.3 ภัยทเี่ กิดจากการถูกละเมิดสทิ ธิ์ (Right) 5.3.1 การถกู ปล่อยปละ ละเลย ทอดทงิ้ 5.3.2 การคุกคามทางเพศ 5.4 ภยั ที่เกิดจากผลกระทบทางสุขภาวะทางกายและจิตใจ (Unhealthiness) 5.4.1 ภาวะจิตเวช 5.4.2 ตดิ เกม 5.4.3 ยาเสพติด 5.4.4 โรคระบาดในมนษุ ย์ 5.4.5 การพนนั

6 บทท่ี 3 แผนงานในการปอ้ งกนั ความไม่ปลอดภัยในสถานศกึ ษา 1. ภัยที่เกดิ จากความรนุ แรงของมนษุ ย์ (Violence) 1.1 การลว่ งละเมดิ ทางเพศ แนวปฏบิ ัติ การปอ้ งกัน 1. คดั กรองเด็กนักเรยี นกลุ่มเสีย่ ง และสำรวจพน้ื ทใ่ี นโรงเรียน และในชมุ ชนที่มคี วามเสยี่ ง 2. เฝ้าระวงั สังเกต เดก็ นักเรยี นทีม่ พี ฤตกิ รรมไมพ่ งึ ประสงค์ รวมทง้ั พัฒนาพนื้ ท่ีในโรงเรียน และ ร่วมมือกบั ชุมชนในการสร้างพื้นทปี่ ลอดภยั 3. ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ผูน้ ำชุมชน เพอ่ื รว่ มกันเฝา้ ระวังและสอดสอ่ งความประพฤติ ของนักเรยี นและพฤติกรรมของบุคลากรในชุมชน 4. มีระบบการสอื่ สารระหวา่ งผปู้ กครองกับโรงเรียน เพอ่ื รบั สง่ ข้อมูลดา้ นพฤติกรรมของนกั เรยี น การปลกู ฝัง 1. จัดกิจกรรมรักและเหน็ คุณค่าในตวั เอง ในชวั่ โมงโฮมรูม 2. บรู ณาการกจิ กรรมทักษะชวี ิตรว่ มกับกล่มุ สาระการเรยี นรใู้ นการสร้างภมู คิ มุ้ กนั ใหก้ ับเดก็ นกั เรียน 3. จัดกจิ กรรมดา้ นทักษะการเอาตวั รอด และการปฏิเสธ การปราบปราม 1. แต่งตัง้ คณะกรรมการเฉพาะกจิ เพอื่ ให้การดูแลชว่ ยเหลอื ไดท้ ันเหตกุ ารณ์ 2. ประชาสมั พนั ธใ์ หช้ มุ ชนได้รับทราบถึงการแจง้ เหตุ และการให้ความชว่ ยเหลอื 3. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งในการส่งตอ่ และดูแลชว่ ยเหลอื ไดอ้ ยา่ งทว่ งที 1.2. การทะเลาะววิ าท แนวปฏบิ ตั ิ การป้องกนั 1. สร้างความตระหนกั ถึงความเสยี หายทจ่ี ะเกดิ จากการทะเลาะววิ าท 2. เปดิ โอกาสให้เดก็ วยั รนุ่ ไดท้ ำกจิ กรรมสร้างสรรค์ 3. การใช้หลักธรรมในการอบรมบ่มเพาะ 4. ความเปน็ แบบอย่างของครู อาจารย์ 5. ความเสมอตน้ เสมอปลายของการทำกิจกรรมพัฒนาจติ ใจเดก็ เยาวชน

7 การปลูกฝัง 1. นักเรียนนกั ศกึ ษาตอ้ งฝกึ การควบคุมอารมณ์ของตนเองใหไ้ ด้ 2. เปลี่ยนทัศนะในการมองเพ่ือนใหมร่ บั ฟงั เหตุผลใหม้ ากขน้ึ 3. เพื่อนควรหา้ มปรามเพอ่ื น และแนะ ให้ใช้ปัญญามากกวา่ การใชแ้ รงในการ ตดั สนิ ปัญหา 4. โรงเรียนควรจดั กจิ กรรมเพอื่ ละลายพฤตกิ รรม การปราบปราม 1. แต่งตง้ั คณะกรรมการเฉพาะกจิ เพอ่ื ใหก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือได้ทันเหตุการณ์ 2. มมี าตรการ และบทลงโทษสำหรบั นกั เรยี นท่ที ะเลาะววิ าท 3. ประสานหนว่ ยงานท่เี กยี่ วข้องในการส่งตอ่ และดูแลช่วยเหลือไดอ้ ย่างท่วงที 1.3 การกล่นั แกล้งรังแก แนวปฏบิ ตั ิ การปอ้ งกนั 1. การปรบั ปรุงความเข้าใจเรอื่ งการกลนั่ แกลง้ รงั แก 2. ใหค้ ำปรกึ ษากับเด็กนกั เรียน 3. การสนับสนุนใหน้ กั เรียนช่วยแก้ปัญหา 4. การจดั ให้เดก็ นักเรยี นไดม้ าพบปะพูดคุยกัน 5. การสรา้ งความสัมพนั ธท์ ีเ่ คารพซ่งึ กันและกนั ระหวา่ งครกู ับนักเรยี น การปลกู ฝัง 1. สอนนกั เรยี นให้รวู้ ่าการรังแกผู้อ่ืนคอื พฤติกรรมรนุ แรงที่ไมไ่ ดร้ บั การยอมรบั ท้งั จากผู้ปกครองและ สังคมภายนอก 2. สอนใหน้ กั เรียนเคารพสทิ ธ์ิของผอู้ ื่นและปฏบิ ัตติ ่อผู้อ่ืนอยา่ งเหมาะสม 3. หาขอ้ มูลเกี่ยวกับเหตุที่ทำใหน้ กั เรียนรงั แกเพอ่ื นทงั้ ในดา้ นครอบครวั และสง่ิ แวดลอ้ มทโ่ี รงเรียน 4. ชมเชยหรอื ให้รางวลั เม่อื เดก็ มีพฤตกิ รรมทีส่ ามารถแกไ้ ขความขัดแย้งโดยใชว้ ธิ ีทางบวกและ สร้างสรรค์ 5. เป็นตวั อย่างท่ดี ีใหเ้ ด็ก ไตรต่ รองให้ถีถ่ ว้ นกอ่ นท่จี ะพูดหรือกระทำการใด ๆ

8 การปราบปราม 1. ครอบครัว ตอ้ งสรา้ งความรักและความเข้าใจต่อนักเรียนใหเ้ หมาะสมกับวยั 2. ครสู อดสอ่ งดแู ลความประพฤตขิ องเด็ก 3. โรงเรยี นตอ้ งมีมาตรการในการปอ้ งกันการรังแกกันอยา่ งเครง่ ครดั 4. ชุมชนต้องชว่ ยกนั สอดส่องดแู ลความประพฤติของสมาชิกในชมุ ชน 1.4 การชมุ นุมประทว้ ง และการจลาจล แนวปฏบิ ตั ิ การป้องกัน 1. ให้คุณครูทกุ ทา่ นที่รบั ผิดชอบในการปอ้ งกัน ระงบั การชมุ นมุ ประทว้ งและก่อการจลาจล สบื เสาะ แสวงหา ข้อมูลขา่ วสาร ติดตามสถานการณ์ ตรวจสอบเงอื่ นไขประเดน็ ปญั หาความเดอื ดรอ้ น ความขัดแยง้ ที่มี ในพืน้ ที่ เพอื่ เตรยี มการป้องกนั การแก้ปัญหา รวมท้ังจดั เตรยี มแผนปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั ระงับ การชมุ นมุ ประท้วง และกอ่ การจลาจล 2. ฝา่ ยอาคารสถานที่ดำเนนิ การจัดเตรยี มกำลงั เจา้ หนา้ ท่ีอปุ กรณเ์ ครอ่ื งมอื เคร่อื งใชร้ ะบบการ สอ่ื สาร ยานพาหนะ และมอบหมายหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิการไวใ้ หพ้ ร้อม 3. ใหม้ กี ารดำเนินการประชาสมั พันธอ์ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพื่อเปน็ การปฏิบัตกิ ารทางจติ วิทยาขจัดเง่ือนไข ปัญหาความขัดแยง้ ระหว่างสถานศึกษากบั นกั เรียน ผปู้ กครอง หรอื ประชาชนในพนื้ ท่ี 4. ทุกคนในสถาศึกษาทำการซักซ้อมความเข้าใจ เตรียมบุคลากรทมี่ หี นา้ ทีใ่ หพ้ รอ้ มรับเหตกุ ารณ์อยู่ เสมอ การปลกู ฝัง 1. สรา้ งความรกั ความเขา้ ใจอันดี ของนกั เรียน ผปู้ กครองและชุมชนตอ่ สถานศกึ ษา 2. จดั กิจกรรมทีเ่ ปน็ การสรา้ งความสัมพนั ธอ์ นั ดรี ะหว่างนกั เรยี น ครู ผปู้ กครอง 3. ติดต่อประสานงานกบั หนว่ ยงานภายนอกหากเกดิ สถานการณร์ นุ แรง เชน่ องค์การบริหารสว่ น ตำบลบา้ นพลวง หม่บู ้านหนองพลวง หมู่บา้ นพลวง หม่บู า้ นกันจาน ตำบลบา้ นพลวง โรงพยาบาล ปราสาท สถานตี ำรวจอำเภอปราสาท เป็นตน้

9 การปราบปราม - เหตกุ ารณ์ไมร่ ุนแรง สามารถปฏบิ ัตงิ านในหนว่ ยงานได้ 1. ใหด้ ำเนนิ การตรวจสอบข้อมูล แล้วรายงานผู้บังคับบัญชาให้ทราบตามลำดับ 2. ดำเนนิ การจดั เจ้าหน้าท่คี อยดสู ถานการณ์และเฝา้ ระวัง 3. ติดตอ่ ประสานงานกบั หนว่ ยงานภายนอกทีเ่ กี่ยวขอ้ ง เชน่ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านพลวง หม่บู า้ นหนองพลวง หมู่บา้ นพลวง หมบู่ า้ นกันจาน ตำบลบ้านพลวง โรงพยาบาลปราสาท สถานตี ำรวจ อำเภอปราสาท เป็นตน้ 4. หนังสอื เวยี นแจ้งภายในสถานศึกษา ให้ทราบถงึ สถานการณ์ - เหตุการณ์รนุ แรง ไมส่ ามารถปฏิบตั ิงานในหนว่ ยงานได้ 1. ให้ตรวจสอบข้อมูลแล้วรายงานผู้บริหารให้ทราบถึงเหตุการณ์ ข้อเรียกร้อง วัตถุประสงค์ความ ต้องการของการเรียกร้อง ผู้ชุมนุมเรียกร้อง จำนวน แนวโน้มแล้ว รายงานผู้บังคับบัญชาให้ทราบ ตามลำดบั ช้นั 2. ผู้บงั คบั บญั ชาประชมุ /หารอื เพ่อื พจิ ารณาแก้ไขปญั หา 3. ดำเนินการจดั เจ้าหนา้ ที่คอยดสู ถานการณแ์ ละเฝา้ ระวงั 4. ติดต่อประสานงานขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภานนอก เช่น ตำรวจ ทหาร และส่วน ราชการอื่น ๆ เพื่อจัดเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ทำหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อย ความ ปลอดภยั จดั การจราจร เพื่อป้องกัน การเกดิ การจลาจลบริเวณที่มกี ารชุมนมุ ประทว้ ง 5. ประชาสมั พันธ์ ให้เจา้ หน้าทท่ี ปี่ ฏบิ ัติงานภายในอาคาร รวมท้งั บุคคลภายนอก ที่มาติดต่องานได้ ทราบและเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเมื่อมีการชุมนุม ประท้วง ตลอดจนคำแนะนำในการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุด (จัดแถลงข่าว , เตรียมผู้แถลง/โฆษก , เตรียมเอกสาร/ข้อมูลให้ ครบถว้ น) 6. ใหป้ ระสานให้มีการจดั เตรียมพ้นื ทีส่ ำรองสำหรับการปฏิบตั ิงานหากเกิดเหตุ ฉุกเฉินยืดเย้ือ 7. เตรยี มการอพยพ กรณีเกิดความเสียหายรนุ แรง เพ่ือจดั เจ้าหนา้ ทร่ี ักษาความปลอดภัย ทำหน้าท่ี รกั ษาความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัย

10 1.5 การล่อลวง ลักพาตวั แนวปฏบิ ัติ การปอ้ งกนั 1. จัดระบบรกั ษาความปลอดภัยท่ีมีประสิทธิภาพ จดั เวรยาม เจา้ หน้าทีร่ กั ษาความ ปลอดภยั ใน สถานศกึ ษา 2. ประสานงานกบั ชมุ ชน เครอื ข่ายผูป้ กครอง เพอื่ สอดสอ่ งนกั เรยี นอยา่ งทัว่ ถึงและ สมำ่ เสมอ 3. ประสานงานกบั เจ้าหน้าทท่ี ีเ่ กี่ยวขอ้ งช่วยสอดส่องดแู ลเพ่ือปอ้ งกนั การถูกล่อลวง หรอื ลักพาตวั 4. ขอความร่วมมอื จากครู ผ้ปู กครอง ชุมชน หรอื ผทู้ ี่เกย่ี วขอ้ งในการแจง้ เบาะแส 5. ประสานแจ้งผู้ปกครองนกั เรียนรบั ทราบเมื่อเกดิ เหตุ โดยรายงานให้ ผู้บงั คับบญั ชา รบั ทราบ ตามลำดับ 6. ประสานงานเจา้ หน้าที่ตำรวจ ผ้ปู กครอง เพ่อื ดำเนนิ การตดิ ตามคน้ หา การปลกู ฝัง 1. จดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะการคิด วเิ คราะห์ การแก้ปญั หาเฉพาะหนา้ การตดั สนิ ใจ การให้ คำปรกึ ษา รวมไปถึงทักษะการปอ้ งกนั ตัวเองให้พ้นจากการถกู ล่อลวงและลักพา 2. ให้มีการประชาสมั พันธข์ ่าวสารเกี่ยวกบั การล่อลวงและลักพาตัว และวธิ ีการ ปอ้ งกนั ให้นกั เรยี น ทราบทุกระยะ 3. แนะนำ ใหค้ วามรกู้ บั นกั เรยี นไม่พดู คยุ หรือไปกบั คนแปลกหนา้ การปราบปราม 1. ตรวจสอบ และบันทกึ ขอ้ มลู บุคคลภายนอกท่ีเขา้ มาในสถานศึกษา 2. หลีกเล่ยี งการอยู่ในจดุ ทเ่ี สย่ี งตอ่ การลอ่ ลวง และลกั พาตวั 3. แจ้งเจ้าหน้าทต่ี รวจสอบบคุ คลต้องสงสัย หรือมพี ฤติกรรมไมน่ า่ ไวว้ างใจ

11 2. ภัยทีเ่ กิดจากอบุ ตั เิ หตุ (Accident) 2.1 ภยั ธรรมชาติ แนวปฏบิ ัติ การปอ้ งกนั 1. ใหค้ วามรู้ในการปฏิบัติตนแก่นกั เรียนให้พน้ จากอนั ตราย 2. จัดให้มกี ารอย่เู วรรักษาสถานทรี่ าชการ 3. ตรวจสอบสภาพอาคารต่าง ๆ อย่างสม่ำเสมอ 4. ตดั แต่งกิ่งไมท้ ่อี ยู่ใกล้อาคาร 5. ตดิ ตามขา่ วพยากรณ์อากาศสม่ำเสมอ 6. จัดใหม้ เี วชภณั ฑ์ท่จี ำเป็นในการปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ 7. จดั ใหม้ เี ครอื ขา่ ยองค์กรภาครัฐเอกชนเพือ่ สามารถติดตอ่ ขอความชว่ ยเหลอื ทนั ที การปลูกฝงั 1. จดั กจิ กรรมการฝกึ เตรยี มความพรอ้ มซกั ซอ้ มท่ใี ห้นกั เรยี น บคุ ลากร ชมุ ชน และหน่วยงาน 2. สรา้ งความเข้าใจและความรู้ใหน้ กั เรียน บคุ ลากร ชุมชน สามารถรับมอื จากภัยธรรมชาติ 3. จดั ต้ังบุคคลท่รี บั ผิดชอบ เพอ่ื ตดิ ตอ่ ประสานงานกับหน่วยงานทส่ี ามารถชว่ ยเหลอื ไดท้ นั ที การปราบปราม 1. นกั เรยี น บุคลากร ชุมชน และหนว่ ยงานปฏบิ ัติตามสถานการณท์ ี่ไดซ้ กั ซ้อมมา เมอื่ เกดิ เหตุ 2. เขา้ ถึงจดุ ทีเตรียมไวเ้ พอ่ื ใหเ้ กดิ ความปลอดภัย 3. ตดิ ต่อประสานงานกับเจา้ หน้าที่ ชุมชน หรอื หนว่ ยงาน 2.2 ภยั จากอาคารเรียน สง่ิ ก่อสร้าง แนวปฏบิ ตั ิ การปอ้ งกัน 1. ตรวจสอบโครงสรา้ งและส่วนประกอบอาคารอย่างสมำ่ เสมอ 2. แต่งต้งั บคุ ลากรในการดแู ลรกั ษาอาคารสถานท่ี 3. สร้างความตระหนกั และใหค้ วามรกู้ ารรกั ษาความปลอดภยั แกน่ กั เรียน 4. จัดทำป้ายขอ้ ควรระวังดา้ นความปลอดภัยในจดุ อันตราย

12 5. ซอ่ มแซมสว่ นประกอบอาคารให้อย่ใู นสภาพทปี่ ลอดภยั 6. จัดใหม้ แี ผนการปอ้ งกนั และการเคลื่อนยา้ ยกรณเี กดิ เหตุฉกุ เฉิน การปลกู ฝงั 1. สร้างความตะหนกั ให้นกั เรยี น และบคุ ลากรทางการศึกษาระมดั ระวงั ในอาคารสถานท่ี 2. ใหม้ กี ารตรวจสอบอาคารสถานทอี่ ยา่ งสำ่ เสมอ 3. แนะนำและสรา้ งความเข้าใจในการใชอ้ าคารสถานทีใ่ หก้ ับนกั เรียน และบุคลากรทีก่ ารศึกษา การปราบปราม 1. ห้ามนักเรยี นหรอื ผูท้ ่ไี มม่ สี ว่ นเก่ียวข้องเข้าใกลห้ รอื อยใู่ กล้บรเิ วณอาคารทีช่ ำรุดหรอื เสย่ี ง 2. แจ้งทำการรื้อถอน ซอ่ มแซมอาคาร หรอื สถานที่ท่ีชำรดุ 3. แต่งตัง้ เจ้าหนา้ ทตี่ รวจสอบบรเิ วณอาคารและสถานท่ี 2.3 ภัยจากยานพาหนะ แนวปฏบิ ตั ิ การป้องกนั 1. สถานศกึ ษา ผปู้ กครอง และชุมชน รว่ มมอื กันกำหนดมาตรการ รับ-สง่ นกั เรียนตอนเช้าและเลิก เรยี นกำกบั 2. ดูแลนกั เรยี นท่ีใชจ้ กั รยานใหช้ ดิ ทางซ้ายและเป็นแถว 3. จัดครูเวรประจำวันตรวจเชค็ นักเรียนทมี่ ีผูป้ กครองมารบั 4. แนะนำการเดนิ แถวกลบั บา้ นและใหพ้ ี่ดแู ลนอ้ ง 5. ทำกิจกรรมเก่ียวกับการฝึกปฏบิ ตั ิตามกฎจราจร 6. จัดครเู วรและนักเรียนคอย รับ-ส่ง นักเรยี นทปี่ ระตเู ขา้ ออก การปลกู ฝงั 1. จัดกิจกรรมเรอ่ื งความปลอดภัยในการจราจร 2. แนะนำ ตักเตอื น การปฏบิ ตั ิในการจราจร 3. สร้างวนิ ยั ให้เกดิ กับนกั เรยี นอย่างทว่ั ถึงและเป็นระบบ

13 การปราบปราม 1. สอดส่องดแู ลนักเรยี นที่ปฏบิ ตั ิไม่ถกู ระเบียบในการใชร้ ถใชถ้ นน 2. มเี จ้าหนา้ ท่ีคอยใหค้ วามปลอดภัยบริเวณจดุ ทเ่ี ส่ยี ง 3. ให้ผปู้ กครองเพม่ิ ความระมัดระวงั ในการในรถใช้ถนนใหม้ ากขึน้ 2.4 ภยั จากการจดั กจิ กรรม แนวปฏบิ ตั ิ การปอ้ งกัน 1. ควรคำนึงถึงความปลอดภยั ของเด็กก่อนเปน็ อนั ดบั แรกไม่ควรมคี วามรุนแรงอันก่อใหเ้ กดิ อันตราย 2. ถ้ามีการแข่งขนั ระหวา่ งกนั ควรคำนึงถงึ ความสามารถและพฒั นาการของเดก็ เช่น ไม่ควรใหเ้ ดก็ โตแขง่ กีฬากับเดก็ เล็ก เป็นตน้ 3. ควรคำนึงถึงความเหมาะสมตามความสามารถและพฒั นาการของเด็ก การปลูกฝงั 1. แนะนำใหน้ กั เรยี นและบุคลากร สงั เกต และเฝา้ ระวงั ในกิจกรรมทกุ คร้ังเพราะอาจเกดิ เหตุได้ เสมอ 2. นักเรยี น ครู และบุคลากร คอยชว่ ยเหลอื และดแู ลในกจิ กรรม 3. จดั ทีมงานหรือเจา้ หนา้ ทคี่ อยดแู ลสำรวจความปลอดภยั ในทุก ๆ กิจกรรม การปราบปราม 1. มีการจดั ต้ังคณะทีมสำรวจความปลอดภยั ในโรงเรยี น ซงึ่ ควรประกอบดว้ ยกลุม่ คุณครู กลุม่ ผปู้ กครองและกลมุ่ เดก็ นักเรยี นเพอ่ื ทำหนา้ ทใี่ นการสำรวจความปลอดภัยทางด้านสิง่ แวดลอ้ มใน โรงเรยี น สำรวจความปลอดภยั ของอปุ กรณ์สอื่ การเรียนการสอน 2. มีการเดนิ สำรวจและบนั ทึกขอ้ มูลเพอื่ ค้นหาจดุ เสยี่ งและจุดอันตรายทงั้ ในและนอกโรงเรยี นโดย การสำรวจตามหอ้ งเรยี น ระเบียง บนั ได สนามกฬี า อปุ กรณ์สื่อการเรยี นการสอน สำรวจการจดั ระเบยี บของวัตถสุ ่ิงของ ฯลฯ 3. มกี ารจดบนั ทกึ รายงานอบุ ตั เิ หตทุ เ่ี กดิ ขึน้ ในโรงเรียนจะทำให้ทราบขอ้ มลู เกีย่ วกบั การเกิด อบุ ตั ิเหตุซ่ึงจะช่วยค้นหาสาเหตุของการเกิดอบุ ัตเิ หตุได้

14 4. เมื่อได้ข้อมูลจากการเดินสำรวจเรียบร้อยแล้ว ควรมกี ารประชมุ คณะทีมฯ เพอ่ื ร่วมกันวเิ คราะห์ และหาแนวทางการแกไ้ ขและป้องกันปญั หา 5. จดั ให้มีการสรปุ รายงานอบุ ตั ิเหตแุ ละแจง้ ขา่ วอุบัติเหตทุ ี่เกิดข้นึ ใหน้ กั เรยี นทุกคนทราบ 2.5 ภยั จากเครอื่ งมอื อปุ กรณ์ แนวปฏบิ ัติ การปอ้ งกัน 1. สำรวจ ตรวจสอบเครือ่ งมอื อุปกรณอ์ ย่างสมำ่ เสมอ 2. จดั วางเครอ่ื งมืออุปกรณใ์ นสถานที่ ท่ีเหมาะสมและปลอดภัย 3. จดั ทำข้อเสนอแนะและขอ้ ควรระมัดระวงั ในการใช้ 4. ให้มีการจัดอบรมและจัดทำค่มู อื ในการใชเ้ ครอ่ื งมืออุปกรณ์อยา่ งถูกวิธีและเหมาะสมกับงาน 5. ผูร้ ับผิดชอบต้องดแู ลอยา่ งใกล้ชดิ ในขณะท่มี กี ารปฏบิ ัติงาน 6. ปรับปรุงซ่อมแซมเครื่องมอื อปุ กรณใ์ ห้อยใู่ นสภาพพร้อมใช้งานอย่างปลอดภยั 7. หา้ มใช้เครอ่ื งมอื อุปกรณ์ทช่ี ำรุดเด็ดขาด 8. เมื่อเกิดเหตุฉกุ เฉิน ให้ดำเนนิ การตามแผนฉกุ เฉนิ สำหรบั สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา การปลกู ฝงั 1. ใหแ้ นะนำนกั เรยี น ก่อนมีการใช้เครอื่ งมืออปุ กรณ์ 2. มีการฝึกฝนและปฏิบตั จิ รงิ ให้กบั นักเรียน หากมีการใชเ้ คร่อื งมอื อปุ กรณ์ เพ่ือลด หรอื ป้องกัน อันตราย 3. ให้คุณครหู รอื บุคลากรกับกำดูแลหากนกั เรียนตอ้ งใชเ้ ครือ่ งมอื อปุ กรณ์ การปราบปราม 1. ระงับการใชเ้ ครอื่ งมืออุปกรณท์ ันทีหากเห็นวา่ อุปกรณ์นนั้ มีความเสีย่ ง 2. ไมอ่ นญุ าตให้นกั เรยี นใชเ้ ครือ่ งมืออุปกรณท์ ไ่ี ม่เหมาะสมกับวัย 3. สำรวจเครอ่ื งมอื อุปกรณ์ที่เสยี่ งตามห้องหรือจุดท่ีมกี ารใชง้ าน

15 3. ภัยที่เกดิ จากการถูกละเมดิ สทิ ธิ์ (Right) 3.1 การถกู ปลอ่ ยปละ ละเลย ทอดทิ้ง แนวปฏบิ ัติ การปอ้ งกนั 1. ครูรจู้ กั เดก็ นกั เรยี นเปน็ รายบุคคล โดยการเย่ียมบ้าน การคดั กรอง การปอ้ งกัน การแก้ปัญหา และ การใหค้ ำปรกึ ษา 2. ผบู้ รหิ ารสถานศึกษากำกับให้ครทู ีป่ รกึ ษา ครผู ้สู อนหมน่ั สังเกต สภาพร่างกายเด็กนกั เรยี นทกุ ครัง้ ก่อนทำการสอน 3. การส่งเสริมพัฒนาเด็กนักเรียนด้านความสามารถ ตามความถนัด ความสนใจ และความต้องการ ของเด็กนักเรียน ตลอดจน คุณลักษณะที่จะชว่ ยเสริมสร้างให้เด็กนกั เรียนมีคุณภาพ และมีภูมิคุ้มกนั การดำเนินชีวิต เด็กนักเรียนจะต้องมีความสามารถในการปรับตัวต่อ สภาพแวดล้อมทางสังคมที่ เปลย่ี นแปลง การตดั สนิ ใจท่ีเหมาะสม และ สามารถอยใู่ นสงั คมอยา่ งปลอดภัย 4. หน่วยงานของรฐั ใหค้ วามสำคัญกับปัญหา และรว่ มมอื กัน การแกป้ ัญหาอย่างจรงิ จงั 5. ให้ความชว่ ยเหลือเบือ้ งตน้ ได้แก่ เงนิ ทุนการศกึ ษา ปจั จยั พน้ื ฐานในการดำรงชวี ติ ฯลฯ 6. เมื่อสถานการณ์เด็กนักเรียนดีขึ้น สถานศึกษาต้องดำเนินการ ป้องกันและพัฒนาในสภาพปัญหา ต่อไป เช่น การกำหนดบริเวณปลอดภัย การเสริมทักษะการดูแลเด็กนักเรียน ทักษะการจัดการกับ ปญั หา และ ทักษะทางสังคมให้กบั ผูป้ กครองหรอื ผูท้ ี่เกี่ยวขอ้ ง การปลกู ฝัง 1. จดั กจิ กรรมท่ีสร้างความตระหนักใหก้ บั นักเรยี นไดท้ ราบถึงปญั หา และเหตทุ ีอ่ าจเกดิ กับตนเอง 2. สร้างความไวว้ างใจใหเ้ กดิ กับนักเรียน หากเกดิ เหตกุ ารณ์ ให้แจ้งครหู รอื เจ้าหน้าทีใ่ นสถานศึกษา 3. สร้างจติ สำนึกถงึ ความดีในการใชด้ ำเนินชวี ิตที่ไม่ปลอ่ ยปละ ละเลย และทอดท้งิ ในอนาคต การปราบปราม 1. ผู้บริหารสถานศึกษารับแจ้งเหตุหรือประสบเหตุ นำเด็กนักเรียน มาบันทึกข้อเท็จจริง สอบถาม ขอ้ เทจ็ จรงิ และบันทกึ ขอ้ มูลโดยละเอยี ด 2. จัดทำบนั ทึกรับแจ้งเหตุพรอ้ มประวัตแิ ละภาพถ่ายเดก็ นักเรยี น 3. แต่งตั้งคณะทำงานในการตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย ไปเยี่ยมบ้านเด็กนักเรียน สอบถามบุคคล แวดลอ้ ม เช่น เพ่อื นบ้าน ญาติพ่นี อ้ งของเดก็ นกั เรียน หรอื กำนัน ผใู้ หญ่บ้านในพื้นท่ี

16 4. รายงาน ฉก.ชน.สพป./สพม. ทีมสหวิชาชีพ และเจ้าพนักงาน เจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ คมุ้ ครองเดก็ พ.ศ. 2546 3.2 การคกุ คามทางเพศ แนวปฏบิ ัติ การปอ้ งกัน 1. ใช้กระบวนการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ครูที่ปรึกษา เอาใจใส่เด็กนักเรียนอย่างใกล้ชิด และ ตอ้ งทำงานเปน็ ทมี 2. ให้สถานศึกษาดแู ลพิทกั ษ์ปกป้อง และคุม้ ครองเด็กนักเรยี น ไม่ใหถ้ ูกคกุ คามทางเพศจากบุคคลทั้ง ทอ่ี ยู่ภายในและภายนอก สถานศึกษา 3. จดั สถานท่ภี ายในสถานศึกษาใหเ้ หมาะสม เชน่ มกี ล้อง วงจรปิด มกี ารจัดตง้ั เวรยามเพ่ือตรวจตรา พนื้ ที่จดุ เสย่ี ง เพอื่ ไม่ให้เกดิ การคุกคามทางเพศระหวา่ งครกู บั เด็กนกั เรยี น เดก็ นกั เรียนกบั เดก็ นักเรยี น และ จากบุคคลอน่ื การปลกู ฝงั 1. สถานศึกษาสอนเรื่องเพศศกึ ษาในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ สุขศกึ ษาและพลศึกษาเปน็ หลกั โดยเฉพาะ การดูแลการปอ้ งกันตนเอง ของเดก็ นกั เรยี นใหป้ ลอดภยั จากการถูกคกุ คามทางเพศ 2. ให้ความรคู้ วามเขา้ ใจ และความตระหนกั แกค่ รเู ด็กนักเรียน และผู้ปกครอง ในการป้องกนั หาทาง ออกเมอื่ ต้องเผชิญกับเหตกุ ารณ์ การคกุ คามทางเพศ และสร้างกลไกการปอ้ งกนั เด็กนักเรียนจากการ ถูกคกุ คาม การปราบปราม 1. ผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายสอบถาม ข้อเท็จจริง และปรึกษากับผู้เกี่ยวข้องใน สถานศกึ ษาทนั ที 2. ตรวจสอบข้อมูลประวัติเด็กนักเรียนโดยใช้กระบวนการ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การบันทึก ขอ้ มูล และการจดั เกบ็ ข้อมลู 3. จัดผู้ที่ได้รับมอบหมายดำเนินการเกี่ยวข้องกับกรณี ที่เกิดขึ้นกับเด็กนักเรียนตั้งแต่ต้นจนจบ กระบวนการ 4. เชิญผู้ปกครองเด็กนักเรียน หรือผู้ที่เด็กนักเรียน ไว้วางใจ หรือผู้ที่เด็กนักเรียนร้องขอมาพูดคุย รับทราบเหตกุ ารณแ์ ละ ให้คำปรึกษา

17 5. กรณีเด็กนกั เรยี นกบั เด็กนกั เรียน ใหด้ ำเนินการดแู ลชว่ ยเหลอื ทงั้ ผู้ถูกกระทำและผู้กระทำ 6. แจ้งผ้ปู กครองเด็กนกั เรยี น หาแนวทางและวธิ ีการร่วมกัน ในการปรับพฤตกิ รรมเดก็ นักเรยี น 7. ดำเนนิ การโดยเกบ็ ข้อมลู เปน็ ความลบั และพทิ ักษ์สิทธิ ผูถ้ กู กระทำและผกู้ ระทำ 8. กรณีเด็กนักเรียนกับครู หรือบุคลากรทางการศึกษา ตรวจสอบ ประวัติครู เชิญคณะกรรมการ สถานศึกษามาปรึกษา สถานศึกษาแต่งตั้ง คณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงในสถานศึกษา และ รายงานผู้บงั คบั บญั ชา ทราบทันที 9. ดำเนินการทางวินัยแก่ข้าราชการครู และบุคลากร ทางการศึกษาที่กระทำการคุกคามทางเพศ ดำเนินการทางอาญาและทางแพง่ 10. สรปุ และจดั ทำรายงานเสนอผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาทราบ โดยเร่งดว่ น 11. ประสานทีมสหวชิ าชพี และประสานหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง เช่น สพป. สำนักงานพัฒนาสงั คมและ ความมัน่ คงของมนษุ ย์ บา้ นพักเด็กและครอบครวั สถานีตำรวจ องคก์ ารบรหิ ารส่วนทอ้ งถน่ิ ผูม้ หี นา้ ที่ คุม้ ครองสวัสดิภาพเด็กตามพระราชบัญญตั คิ มุ้ ครองเดก็ พ.ศ. 2546 เป็นต้น 12. ติดตามผล/เยีย่ มบ้านเด็กนักเรียนเป็นระยะ ให้คำปรึกษา/ ให้กำลงั ใจ 13. จัดทำเป็นกรณีศึกษาเพื่อเป็นข้อมูลและแนวทางในการปกปอ้ ง คุ้มครอง และดูแลช่วยเหลือเด็ก นกั เรยี นต่อไป 4. ภัยทเี่ กดิ จากผลกระทบทางสขุ ภาวะทางกายและจิตใจ (Unhealthiness) 4.1 ภาวะจติ เวช การป้องกัน 1. ใช้กระบวนการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ให้ครูที่ปรึกษา ดูแล เอาใจใส่เด็กนักเรียนอย่าง ใกลช้ ิดจะทำใหม้ โี อกาสรับรปู้ ัญหา 2. ผู้บริหารสถานศึกษาย้ำให้ครูที่ปรึกษา/ครูผู้สอนประเมิน และสังเกตเด็กนักเรียนในทุกครั้งก่อน การสอนหรอื ทำกจิ กรรม 3. จดั กจิ กรรมทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา การปลกู ฝงั 1. ให้เจา้ หนา้ ท่ี แนะนำ และใหค้ วามรู้ต่อนักเรียน ผู้ปกครอง ครู และบุคลากร เรอื่ งพฤติกรรมที่ อาจนำไปสภู่ าวะจิตเวช

18 2. ทดสอบ ตรวจอาการ สำหรบั นกั เรยี นทม่ี คี วามเสี่ยงดา้ นภาวะจิตเวช 3. ให้นักเรียน สังเกต หรอื แจง้ พฤตกิ รรมของเพอื่ นนักเรียนหากมคี วามผิดปกติ การปราบปราม 1. ครูตรวจสอบข้อมูลประวตั เิ ด็กนักเรียนโดยใชก้ ระบวนการ ระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น การ บันทกึ ขอ้ มลู และการจัดเก็บขอ้ มูล ตามแบบรายงาน ฉก.01 2. รายงานผบู้ งั คับบญั ชา รว่ มปรึกษาหารอื กบั ผเู้ กี่ยวขอ้ ง ในสถานศกึ ษา 3. ผูท้ ่ีไดร้ ับมอบหมายดำเนินการเกย่ี วขอ้ งกับเดก็ นกั เรยี น ตัง้ แตต่ ้นจนจบกระบวนการ 4. เชญิ ผู้ปกครอง/หรอื ผู้ท่ีเดก็ นกั เรียนไวว้ างใจ หรอื ผู้ที่ เด็กนกั เรียนรอ้ งขอมาพูดคุย และให้ คำปรกึ ษา 5. กรณีเดก็ นักเรยี นที่มปี ญั หาสุขภาพจิต จิตเวช กา้ วรา้ ว ความรนุ แรง เสยี่ งตอ่ การทำรา้ ยผอู้ ื่น ทำ ร้ายตนเองหรอื ไดร้ ับอันตราย ประสานทีมสหวชิ าชพี เพอ่ื ชว่ ยเหลอื /ส่งตอ่ เด็กนกั เรยี น 6. สรุปรายงานผลการดำเนินการแก่ผูบ้ ริหาร 7. บันทกึ ในสมุดหมายเหตุประจำวันของสถานศกึ ษา 8. จดั ทำเปน็ กรณศี ึกษาเพือ่ เป็นข้อมูลและแนวทางในการ ปกป้อง คุ้มครอง ช่วยเหลือเดก็ นกั เรยี น ต่อไป 4.2 ติดเกม การป้องกนั 1. สถานศกึ ษามมี าตรการกำกบั ดแู ล กรณเี ดก็ นกั เรียน ติดเกม/อินเทอรเ์ นต็ /เลน่ พนนั 2. ใหค้ วามร้คู วามเขา้ ใจ ประโยชน์และโทษของการเลน่ เกม/ อนิ เทอรเ์ น็ต 3. ครูช่วยดูแลเด็กนักเรียนเพื่อป้องกันปัญหาการติดเกม/ อินเทอร์เน็ต/เล่นพนัน โดยการติดตาม พฤติกรรมของเด็กนักเรียน อาจมอบหมายงาน ให้เด็กนักเรียนได้ใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต เป็นเคร่อื งมอื ในการแสวงหาความรู้ทท่ี ้าทาย เสรมิ สรา้ งความรู้สึกมคี ุณค่า ในตนเอง รวมถึงการสร้าง สมั พันธภาพท่ดี ีในโรงเรยี น 4. ขอความรว่ มมือจากผปู้ กครอง ช่วยดแู ลเด็กนกั เรียน เรอ่ื ง การเลน่ เกม/อนิ เทอรเ์ นต็ /เลน่ พนัน

19 การปลกู ฝงั 1. สถานศึกษาจัดกจิ กรรมทส่ี รา้ งการเรียนรทู้ ่ีนอกเหนือจาการเลน่ เกม 2. สถานศึกษาสรา้ งจิตสำนึกท่ีดใี นการใช้อุปกรณห์ รอื โทรศัพท์ทเ่ี กิดประโยชน์ 3. แนะนำใหน้ กั เรยี น ครู และบุคลากร ตรวจสอบตกั เตือนหากมีนักเรียนทีย่ งั ตดิ เกม การปราบปราม 1. ครูที่ปรึกษา/ครูผู้สอน ให้คำแนะนำ คำปรึกษา วิธีการใช้สื่อ ให้เป็นประโยชน์ในดา้ นการศึกษา หาแหล่งเรียนรู้โดยให้ค้นงานจาก อินเทอร์เน็ตมานำเสนอ เพื่อที่เด็กนักเรียนจะได้มีความรู้ด้านอื่น ดว้ ย จะไดไ้ ม่เลน่ เกมเพียงอย่างเดยี ว 2. เชิญผู้ปกครองพบปะพูดคุยปัญหา หรือใช้วิธีการเยี่ยมบ้าน เพื่อสืบเสาะหาข้อเท็จจริง หา แนวทางการแก้ไขเพื่อสร้างสัมพันธภาพ อันดีระหว่างเด็กนักเรยี น ผู้ปกครอง และสถานศึกษา ปรับ พฤตกิ รรม สง่ เสริมการจัดกจิ กรรมสรา้ งแรงจูงใจ และการเสริมแรงอย่างเหมาะสม และต่อเน่อื ง 3. ปรบั พฤตกิ รรมแบบคอ่ ยเปน็ ค่อยไปอยา่ งสม่ำเสมอ และ ติดตาประเมินผลพฤติกรรมเป็นระยะ 4. หากพบว่าเด็กนักเรียนยังมีพฤติกรรมติดเกม/อินเทอร์เน็ต/ เล่นพนัน ให้สถานศึกษาประสาน ทมี สหวชิ าชพี ใหค้ วามช่วยเหลือต่อไป 4.3 ยาเสพตดิ การปอ้ งกนั 1. เสริมสรา้ งภมู คิ ุ้มกนั และทกั ษะชวี ติ ใหเ้ ดก็ นักเรยี น 2. จัดกิจกรรมการป้องกัน เฝา้ ระวัง และแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ ในสถานศึกษา 3. พฒั นาระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนให้เขม้ แขง็ 4. การดำเนนิ งานในการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพติด ในสถานศึกษาควรใหเ้ ดก็ นกั เรยี นเข้ามา มสี ่วนรว่ มในการดำเนินงาน โดยมีครเู ป็นผคู้ อยใหก้ ารสนบั สนุน ให้คำแนะนำและดแู ล 5.สถานศึกษาต้องดำเนินการตามโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติด และอบายมุขของ กระทรวงศึกษาธิการ และนโยบาย ของ สพฐ. การปลกู ฝัง 1. ให้ความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั ยาเสพติดโดยบูรนาการเข้ากบั การเรียนการสอน 2. เชญิ วทิ ยากรมาใหค้ วามรู้ ถงึ ผลเสีย และโทษของยาเสพติด 3. จัดกิจกรรมรณรงค์เรื่องยาเสพติด

20 การปราบปราม 1. ครทู ่ปี รึกษาคัดกรองเด็กนกั เรียนเป็นรายบคุ คล ใหไ้ ด้ ออกมา 4 กลุ่ม ไดแ้ ก่ กลุ่มปกติ กลมุ่ เส่ียง กลุ่มเสพ/ติด และกล่มุ คา้ 2. หากครูทป่ี รกึ ษาพบเดก็ นกั เรียนกลมุ่ เสยี่ ง กลมุ่ เสพ/ตดิ ใหเ้ ชญิ ผ้ปู กครองพบปะพดู คยุ ปญั หา หรือใช้วธิ ีการเยีย่ มบา้ น 3. กรณีพบเด็กนกั เรียนเสพยาเสพตดิ หรอื มยี าเสพตดิ ไวใ้ น ครอบครองให้ดำเนินการ ดงั น้ี 3.1 ติดตอ่ กบั ผปู้ กครองเพอ่ื หาแนวทางป้องกนั และแกไ้ ข ปญั หารว่ มกนั 3.2 ดำเนนิ การตามแนวทางการดูแลชว่ ยเหลือ เดก็ นักเรยี นกล่มุ เสพ/ตดิ โดยเขา้ สู่ กระบวนการบำบัดรักษา 3.3 ตดิ ตามผลการดำเนินการอย่างตอ่ เนอ่ื ง และรายงานผล การดำเนนิ การให้ผ้บู ริหาร สถานศึกษารบั ทราบ 3.4 สถานศึกษารายงาน สพป. 4. กรณพี บวา่ นกั เรียนเป็นผู้คา้ ให้เจ้าหน้าท่ผี ู้มีอำนาจดำเนนิ การ ตามกฎหมาย 5.กรณเี ดก็ นักเรยี นถกู ควบคมุ ตัวหรือเข้าสกู่ ระบวนการ ยุตธิ รรมใหส้ ถานศกึ ษาดำเนินการออก หนังสอื รบั รองการเป็นนักเรยี น เพ่ือเปน็ หลักฐานประกอบ 4.4 โรคระบาดในมนษุ ย์ การป้องกัน 1. การตรวจรา่ งกายเดก็ นักเรียนกอ่ นรบั เขา้ เรียน ซ่งึ เด็ก นักเรียนทุกคนควรไดร้ บั การตรวจ สขุ ภาพอยา่ งนอ้ ยปีละคร้งั เดก็ นกั เรียน ท่ีมีโรคประจำตวั ควรไดร้ บั การดแู ลจากแพทย์อย่างใกล้ชิด และควรมี สมดุ บนั ทึกประวตั ิการตรวจสุขภาพประจำตัวทุกคน 2. ครเู จ้าหนา้ ทอ่ี ่ืน ๆ ผปู้ ระกอบการอาหาร ผ้ขู ายอาหาร ฯลฯ ควรได้รับการตรวจสขุ ภาพจาก แพทยอ์ ย่างนอ้ ยปลี ะ 2 คร้ัง 3. สถานศกึ ษาตอ้ งมีการจัดการสุขาภบิ าลและสง่ิ แวดลอ้ ม ใหถ้ กู สุขลักษณะโดยปฏิบัตติ ามหลกั สุขาภิบาลสถานศึกษา 4. สถานศึกษาต้องมีการให้ความรเู้ รือ่ งโรคตดิ ต่อโดยตรง รวมถึงการขอความรว่ มมอื จากเจ้าหนา้ ท่ี สาธารณสขุ ในทอ้ งถ่นิ โรงพยาบาล ส่งเสริมสขุ ภาพมาเป็นวิทยากรให้กบั เด็กนักเรยี นตามโอกาสท่ีเหมาะสม

21 การปลกู ฝงั 1. สถานศกึ ษาจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาด 2. สถานศึกษาใหค้ วามรู้ ความเขา้ ใจ และวิธีการป้องกนั การแพร่ระบาด 3. สถานศึกษาเชญิ วทิ ยากรมาใหค้ วามรอู้ ยา่ งนอ้ ยปีละสองครงั้ การปราบปราม 1. คัดกรองนักเรียน แยกเดก็ นักเรียนท่ปี ่วยออก 2. ส่งตอ่ สถานพยาบาลใกลเ้ คียง หรือโทรศพั ทแ์ จ้งศูนยฉ์ กุ เฉิน โทร. 1669 3. ผู้บังคับบัญชาโดยใชช้ อ่ งทางการส่ือสารที่รวดเร็ว ทสี่ ุด 4. แจ้งบิดามารดา ญาติและผูป้ กครองทราบ 5. กรณีเป็นโรคตดิ ต่อใหผ้ ู้บรหิ ารสถานศกึ ษาพิจารณา ปดิ สถานศกึ ษา โดยคำแนะนำจาก สถานพยาบาลในพน้ื ที่ 6. ทำความสะอาด ฆา่ เชอ้ื โรค โดยประสานกับสาธารณสขุ และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ในพ้นื ท่ี 7.ติดตามผลเฝา้ ระวังการระบาดของโรคตดิ ตอ่ และป้องกนั การแพร่ระบาด 4.5 การพนนั การป้องกัน 1. สถานศึกษามมี าตรการกำกบั ดแู ล กรณเี ด็กนกั เรยี น เลน่ พนนั 2. ใหค้ วามรคู้ วามเขา้ ใจ ประโยชนแ์ ละโทษของเล่นการพนนั 3. ครูช่วยดูแลเดก็ นกั เรยี นเพอ่ื ปอ้ งกันปญั หาการเล่นพนัน 4. ขอความรว่ มมอื จากผูป้ กครอง ชว่ ยดูแลเด็กนกั เรยี น เรอื่ ง เลน่ พนัน 5. จดั กิจกรรมสร้างภมู ิคุ้มกันเพือ่ พัฒนาทักษะชวี ติ รว่ มกัน ระหว่างบ้าน สถานศกึ ษา และชมุ ชน ปลูกฝงั 1. สถานศึกษาจดั กจิ กรรมท่สี ร้างการเรยี นรู้ และสร้างความเขา้ ใจเรอื่ งการเลน่ พนนั 2. สถานศึกษาสรา้ งจิตสำนึกทีด่ ใี นการเล่นหรือทำกจิ กรรมทไ่ี ม่ต้องเลน่ การพนัน 3. แนะนำให้นักเรยี น ครู และบคุ ลากร ตรวจสอบตกั เตือนหากมีนกั เรยี นทีเ่ ลน่ การพนนั

22 การปราบปราม 1. ครูทีป่ รกึ ษา/ครผู ู้สอน ให้คำแนะนำ คำปรึกษา ให้เป็นประโยชนใ์ นการไมเ่ ล่นการพนัน 2. เชิญผปู้ กครองพบปะพูดคยุ ปัญหา หรอื ใช้วิธีการเยยี่ มบ้าน เพอื่ สืบเสาะหาขอ้ เทจ็ จรงิ หาแนวทาง การแกไ้ ขเพอื่ สร้างสัมพันธภาพ อนั ดรี ะหว่างเด็กนักเรียน ผู้ปกครอง และสถานศกึ ษา ปรบั พฤติกรรม สง่ เสริมการจดั กิจกรรมสรา้ งแรงจงู ใจ และการเสริมแรงอย่างเหมาะสม และต่อเนอื่ ง 3. ปรับพฤตกิ รรมแบบคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไปอย่างสมำ่ เสมอ และ ตดิ ตามประเมนิ ผลพฤติกรรมเปน็ ระยะ 4. หากพบวา่ เด็กนักเรยี นยังมีพฤติกรรมเล่นการพนนั ใหส้ ถานศกึ ษาความชว่ ยเหลอื ตอ่ ไป

23 บทที่ 4 การขบั เคลื่อนแผนสูก่ ารปฏิบัติ การดำเนินการทุกอย่างเพอื่ ให้นโยบาย บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคท์ ่ีกำหนดไว้ การนำไปสู่การปฏิบตั ิ เปน็ การนำ โครงการ/กิจกรรมที่ไดก้ ำหนดไว้ในแผนไป ดำเนินการใหบ้ รรลตุ ามเปา้ หมายโดยต้องกำหนด องคก์ รหรอื บคุ คลท่ี รบั ผดิ ชอบ และวธิ ีการดำเนนิ การ ชดั เจน 1. การเสริมสรา้ งความเขา้ ใจเกีย่ วกับแผนการป้องกันภยั ในสถานศึกษา 2. การบรู ณาการประสานร่วมกบั แผนอน่ื ๆ 3. การประชาสมั พันธ์สอ่ื ตา่ ง ๆ 4. จัดประชุมเพอื่ สร้างความเขา้ ใจกับหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้อง

24 บทท่ี 5 การตดิ ตามและประเมนิ ผล การเก็บรวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงานตามแผนงานที่กำหนดไว้ เพื่อตัดสินใจแก้ไขปรับปรุงวิธีการปฏิบัติ ให้ผลงานเป็นไปตามแผนงานอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยมุ่งที่จะตอบคำถามหลักว่า ในการดำเนินการน้ัน ได้รับทรัพยากรครบถ้วนหรอื ไม่ ได้ปฏิบตั ติ ามแผนงานทก่ี ำหนดไว้หรือไม่ ข้อมูลทต่ี ิดตามจะเปน็ ประโยชนอ์ ย่างย่ิง ตอ่ การเร่งรดั ใหง้ านหรอื โครงการดำเนนิ ไปตามเปา้ หมายของแผนงานและแล้วเสรจ็ ภายในเวลาทกี่ ำหนด 1. แต่งต้ังคณะกรรมการกำกบั ตดิ ตามและประเมินผลการดำเนินการดา้ นความปลอดภยั ในสถานศึกษา 2. จัดทำเคร่ืองมอื ในการกำกบั ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำเนินการด้านความปลอดภัยในสถานศกึ ษาท่ี สอดคลอ้ งกบั ตวั ชว้ี ัด 3. กำหนดปฏิทินการกำกบั ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำเนนิ การดา้ นความปลอดภัยอยา่ งนอ้ ยภาคเรียนละ 1 ครง้ั 4. สรปุ ผลการดำเนินงานดา้ นความปลอดภัยในสถานศึกษา รวมท้ังขอ้ เสนอแนะ จดุ เดน่ และจดุ ทคี่ วร พัฒนา 5. เผยแพร่ประชาสัมพนั ธผ์ ลการดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา

25 ภาคผนวก

ประกาศโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) ท่ี ๐๐๓ / ๒๕๖๕ เรอ่ื ง แตง่ ต้ังคณะกรรมการความปลอดภยั ในโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) ------------------------------------------ เพื่อให้การบริหารความปลอดภัยโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย มี ประสิทธิภาพในการให้บริการและการแกไ้ ขปัญหา บรรลุวตั ถปุ ระสงคต์ ามนโยบายความปลอดภัยในการเสริมสรา้ ง ความปลอดภยั ให้แก่นกั เรียน ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวง ศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖ และโดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านพลวง (พรหมบำรุง ราษฎร)์ ในคราวประชุมครั้งท่ี ๑ / ๒๕๖๕ เมือ่ วนั ท่ี ๑๒ มกราคม ๒๕๖๕ โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) จงึ แตง่ ตั้งคณะกรรมการความปลอดภัยโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ ประกอบด้วย ๑. คณะกรรมการท่ีปรกึ ษา ๑.๑ นายมติ ร พะงาตนุ ัด ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาฯ ประธานกรรมการ ๑.๒ นายพนม ดวงราษี นายกองค์การบรหิ ารส่วนตำบลบ้านพลวง กรรมการ ๑.๓ นายสุพรรณ ลอยทอง ผอ.รพ.สต.บ้านพลวงฯ กรรมการ มีหนา้ ที่ ให้คำแนะนำทเี่ ป็นประโยชน์ตอ่ การดำเนนิ งาน ๒. คณะกรรมการดำเนนิ การ ๒.๑ นายศกั ดิ์ชยั เลิศอรณุ รัตน์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นพลวงฯ ประธานกรรมการ ๒.๒ นางสาวสรุ ัตยา ลีละพัฒน์ รองผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นพลวงฯ รองประธานกรรมการ ๒.๓ นางสาวกิตตยิ า กมิ าวหา ครชู ำนาญการ กรรมการ ๒.๔ นายราชนพ ลำภู ครูชำนาญการ กรรมการ ๒.๕ นายธรี พงษ์ ดงั คนกึ ครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ ๒.๖ นายชนายุทธ ตรงตามคำ ครชู ำนาญการ กรรมการ ๒.๗ นางสาวกนกนาถ สุชาตสิ นุ ทร ครชู ำนาญการ กรรมการและเลขานุการ มีหนา้ ท่ี เสริมสรา้ งความปลอดภยั จดั ให้มีรปู แบบ หรอื กระบวนการในการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน ใหเ้ กิดการ เรียนรอู้ ย่างมคี ณุ ภาพ มคี วามสขุ และได้รบั การปกปอ้ ง คมุ้ ครองความปลอดภยั ท้งั ดา้ นร่างกายและจิตใจ จัดใหม้ ี กิจกรรมเสริมสรา้ งทกั ษะใหน้ กั เรียนมคี วามสามารถในการดแู ลตนเองจากภัยอันตรายตา่ งๆ ท่ามกลาง สภาพแวดลอ้ มทางสังคมท่ีเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา ท้ังนี้ ต้งั แต่บดั น้ีเป็นต้นไป ส่ัง ณ วนั ท่ี ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕ (นายศกั ดช์ิ ยั เลศิ อรณุ รตั น)์ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)

คำสง่ั โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) ท่ี ๐๐๔ / ๒๕๖๕ เรอ่ื ง แตง่ ต้ังเจา้ หนา้ ท่ดี แู ลระบบ MOE Safety Center ของโรงโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) ------------------------------------------ เพื่อให้การบริหารจัดการระบบ MOE Safety Center ของโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย มีประสิทธิภาพในการให้บรกิ ารและการแก้ไขปัญหาด้านความปลอดภยั อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๓๙ แหง่ พระราชบัญญัตริ ะเบยี บบรหิ ารราชการระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ.๒๕๔๖ โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ จงึ แตง่ ต้ังเจ้าหน้าทีด่ ูแลระบบ MOE Safety Center ของ โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ ประกอบดว้ ย ๑.เจา้ หนา้ ที่ SC – Operator (Safety Center Operator) ๑.๑ นายศกั ด์ิชยั เลิศอรณุ รตั น์ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น หวั หนา้ ๑.๒ นางสาวสรุ ตั ยา ลีละพฒั น์ รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน เจ้าหน้าท่ี ๑.๓ นางสาวกนกนาถ สชุ าติสนุ ทร ครชู ำนาญการ เจ้าหนา้ ที่ มีหนา้ ที่ รับทราบเรอื่ งทแี่ จง้ มายงั MOE Safety Center โดยตรวจสอบท่ี sc”moesafetycenter.com ซง่ึ เปน็ เรอ่ื งที่แจ้งเข้ามายังสถานศึกษา สรุปเหตุการณ์ เลอื กปญั หาความไมป่ ลอดภยั เกดิ ขนึ้ ได้อย่างถูกตอ้ ง และประสาน ส่งต่อขอ้ มูลไปยังเจา้ หน้าที่ SC-Action โดยตอ้ งไดร้ บั ความเหน็ ขอบจากหวั หนา้ SC-Operator ของโรงเรียนกอ่ น ทุกครัง้ ๒. เจา้ หนา้ ท่ี SC-Action :Safety Center Action ๒.๑ นางสาวกมลพร หงษ์สงู ครูอัตราจา้ ง เจา้ หน้าท่ี ๒.๒ นางสาวศรุดา ประไวย์ ครูชำนาญการ เจา้ หนา้ ท่ี ๒.๓ นางกนกวรรณ แสงจง ครชู ำนาญการพเิ ศษ เจา้ หน้าที่ ๒.๔ นางปรยี าพฒั น์ แสนกล้า ครชู ำนาญการพเิ ศษ เจา้ หนา้ ที่ ๒.๕ นางสาวกนกนาถ สชุ าตสิ นุ ทร ครูชำนาญการ เจา้ หนา้ ที่ ๒.๖ นางสาวสพุ รรษา ยาจติ ร ครผู ้ชู ว่ ย เจ้าหน้าท่ี ๒.๗ นายราชนพ ลำภู ครชู ำนาญการ เจา้ หนา้ ที่ ๒.๘ นายธีรพงษ์ ดงั คนึก ครชู ำนาญการพเิ ศษ เจ้าหน้าที่ ๒.๙ นางลดั ดา นสิ สัยดี ครูชำนาญการพเิ ศษ เจา้ หนา้ ท่ี ๒.๑๐ นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ ครชู ำนาญการ เจ้าหน้าที่ ๒.๑๑ นางสาวเอ้ืองนภา คิดสม ครชู ำนาญการ เจ้าหนา้ ที่ ๒.๑๒ นางสาวศศธิ ร เปลี่ยนจนั อัด ครอู ตั ราจา้ ง เจา้ หนา้ ท่ี ๒.๑๓ นางสาวสวุ นันต์ บวั พนั ธ์ ครอู ัตราจา้ ง เจา้ หนา้ ท่ี

๒.๑๔ นางสาวกิตติยา กมิ าวหา ครูชำนาญการ เจ้าหน้าท่ี ๒.๑๕ นางสาวขนิษฐา แกว้ มุงคุณ ครอู ัตราจา้ ง เจ้าหนา้ ท่ี มหี นา้ ท่ี ดูแล รบั ผดิ ชอบในการแกไ้ ขปญั หา Case ท่ีแจง้ เขา้ มายังระบบ MOE Safety Center โดยพิจารณามอบหมายให้ SC-Action เป็นราย Case จะมอบหมายเฉพาะบุคคลหรือในรูปของคณะกรรมการ ลงไปแก้ไขปัญหา เจ้าหน้าที่ SC-Operator ทุกคนเป็นเจ้าหน้าที่ SC-Action โดยตำแหน่ง และข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาทุกคน ในสถานศึกษาควรเป็น SC-Action เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นที่มีความเกี่ยวข้อง เช่น เปน็ ปญั หาทเี่ กิดขึน้ กับนกั เรียนในชน้ั เรยี นท่ีตนเองเป็นครปู ระจำช้ัน) โดยจะต้องดำเนนิ การแก้ไขปัญหาวิเคราะห์ หา ข้อสรุปการแก้ไขปัญหา รายงานผลการดำเนินการ จนถึงการแจ้งปิด Case และการดำเนินการทุกขั้นตอน ต้องทำ การบันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบทาง sc.moesafetycenter.com เพื่อเป็นหลักฐานการดำเนินการ แก้ไขปัญหาอย่าง เป็นรูปธรรม และใช้ในการออกรายงานการดำเนินการสู่หน่วยงานตน้ สังกัดหรือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขัน้ พนื้ ฐานตอ่ ไป ใหข้ ้าราชการครูและบคุ ลากร ทางการศึกษาท่ไี ด้รบั แต่งตง้ั ปฏิบัตหิ น้าท่ดี ว้ ยความรบั ผิดชอบซือ่ สตั ย์ โปรง่ ใส มคี วามเปน็ ธรรม รวดเร็ว และรอบคอบ ส่งั ณ วนั ท่ี ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕ (นายศกั ดชิ์ ยั เลศิ อรณุ รัตน)์ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)

แบบมอบหมายงานเจา้ หนา้ ท่ดี แู ลระบบ MOE Safety Center สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต ๓ โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) เขียนทโ่ี รงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) วนั ท่ี ๑๒ มกราคม ๒๕๖๕ ข้าพเจ้า นายศักดิ์ชัย เลิศอรุณรัตน์ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) รหัสหน่วยงาน ๑๐๓๒๖๕๐๒๖๙ จังหวัด สุรินทร์ ได้มอบหมายงานในหน้าที่ เจ้าหน้าที่ดูแลระบบ MOE Safety Center โรงเรียนบ้านพลวง (พรหมบำรุงราษฎร์) เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ดูแลระบบ MOE Safety Center ของโรงโรงเรียนบ้านพลวง(พรหม บำรงุ ราษฎร์) ลงวนั ท่ี ๑๒ มกราคม ๒๕๖๕ รายชอื่ ดังนี้ ๑.เจา้ หน้าที่ SC – Operator : Safety Center Operator ๑.๑ นายศักด์ชิ ัย เลศิ อรณุ รตั น์ ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา Email: sakchai๐๔๔๖@gmail.com โทร ๐๘-๙๗๑๘-๐๖๐๔ ๑.๒ นางสาวสุรตั ยา ลลี ะพฒั น์ ตำแหน่ง รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษา Email : [email protected] Tel : ๐๘-๗๘๗๑-๓๕๘๑ ๑.๓ นางสาวกนกนาถ สุชาติสนุ ทร ตำแหน่ง ครูชำนาญการ Email : Kanoknart๑๑๑๑@gmail.com โทร ๐๘-๒๓๗๒-๗๐๗๓ มหี นา้ ท่ี รบั ผิดชอบในการแกไ้ ขปัญหา เปน็ ผดู้ ำเนนิ งานตอ่ หลงั จากที่ Operator ได้ทำการรบั เรอื่ งและส่งตอ่ ให้เจา้ หน้าท่ี SC ดำเนนิ การแกไ้ ขปญั หา วเิ คราะห์ หาข้อสรุปการแก้ไขปัญหา รายงาน ผลการดำเนินการจนถงึ การแจ้งปิด Case หรอื ส่งต่อไปยังสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา หากเป็น Case ทอ่ี ยูใ่ น อำนาจหนา้ ที่ของเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา ๒.เจ้าหน้าที่ SC-Action : Safety Center Action ๒.๑ นางสาวกนกนาถ สชุ าตสิ ุนทร ตำแหนง่ ครูชำนาญการ เจา้ หน้าท่ี Email : Kanoknart๑๑๑๑@gmail.com โทร ๐๘-๒๓๗๒-๗๐๗๓ ๒.๒ นางสาวกมลพร หงษส์ ูง ครูอตั ราจา้ ง เจ้าหนา้ ที่ Kaowpot๑@gmail.com โทร ๐๖-๒๔๒๔-๖๓๙๓ ๒.๓ นางสาวศรุดา ประไวย์ ครูชำนาญการ เจา้ หนา้ ที่ [email protected] โทร ๐๙-๒๒๙๕-๑๙๑๔

๒.๔ นางกนกวรรณ แสงจง ครชู ำนาญการพเิ ศษ เจ้าหน้าที่ [email protected] โทร ๐๘-๓๓๗๔-๘๖๘๒ ครชู ำนาญการพเิ ศษ เจ้าหน้าที่ ๒.๕ นางปรียาพัฒน์ แสนกลา้ [email protected] ครผู ้ชู ว่ ย เจา้ หน้าที่ โทร ๐๘-๔๓๖๐-๔๔๐๗ ๒.๖ นางสาวสพุ รรษา ยาจติ ร ครูชำนาญการ เจา้ หนา้ ท่ี Ao๕๒๒๕๘๑@gmail.com โทร ๐๙-๘๐๙๖-๔๔๘๔ ครชู ำนาญการพเิ ศษ เจา้ หน้าท่ี ๒.๗ นายราชนพ ลำภู Noppmusic๔๘@gmail.com ครชู ำนาญการพเิ ศษ เจา้ หนา้ ที่ โทร ๐๘-๐๐๘๖-๘๙๑๓ ๒.๘ นายธีรพงษ์ ดงั คนึก ครูชำนาญการ เจา้ หนา้ ท่ี [email protected] โทร ๐๘-๙๒๘๑-๐๘๖๐ ครชู ำนาญการ เจา้ หน้าที่ ๒.๙ นางลัดดา นสิ สยั ดี [email protected] ครูอตั ราจา้ ง เจ้าหน้าที่ โทร ๐๙-๑๘๒๘-๕๖๗๕ ๒.๑๐ นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ ครอู ัตราจา้ ง เจ้าหนา้ ท่ี [email protected] โทร ๐๘-๙๒๘๑-๙๙๔๘ ครูชำนาญการ เจา้ หน้าที่ ๒.๑๑ นางสาวเออ้ื งนภา คดิ สม Follow๕๓๐๑๒@gmail.com โทร ๐๙-๘๓๐๖-๕๓๑๐ ๒.๑๒ นางสาวศศิธร เปลย่ี นจันอดั Teensasithorn๓๐@gmail.com โทร ๐๖-๓๐๕๓-๕๖๕๕ ๒.๑๓ นางสาวสวุ นันต์ บวั พนั ธ์ [email protected] โทร ๐๖-๒๓๓๘-๒๗๓๐ ๒.๑๔ นางสาวกติ ตยิ า กิมาวหา [email protected] โทร ๐๘-๗๓๗๗-๖๙๗๗

๒.๑๕ นางสาวขนิษฐา แกว้ มุงคุณ ครอู ตั ราจา้ ง เจา้ หน้าท่ี [email protected] โทร ๐๙-๓๕๓๘-๖๑๘๔ มีหนา้ ท่ี รับทราบเร่ืองท่ีแจง้ มายงั MOE Safety Center โดยตรวจสอบที่ sc”moesafetycenter.com ซ่งึ เปน็ เร่ืองท่แี จง้ เข้ามายังสถานศกึ ษา สรุปเหตกุ ารณ์ เลอื กปญั หาความไม่ปลอดภยั เกิดข้ึนไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง และประสาน สง่ ต่อข้อมูลไปยงั เจา้ หนา้ ที่ SC-Action โดยต้องได้รบั ความเห็นขอบจากหวั หนา้ SC-Operator ของโรงเรยี นก่อน ทุกคร้ัง ๒. Sc Action : Safety Center Action โดยมอบหมายให้เจา้ หนา้ ท่ีดแู ลระบบ MOE : Safety Center ปฏิบัตงิ านโดยใช้ Email ส่วนกลางโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ moesc.๑๐๓๒๖๕๐๒๖๙@gmail.com ลงชื่อ (นายศักดิช์ ยั เลศิ อรุณรัตน)์ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์