Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PA1 แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน กนก 2565

PA1 แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน กนก 2565

Published by IKANOKll Suchartsoonthorn, 2021-10-28 06:25:47

Description: PA1 แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน กนก 2565

Keywords: PA65 byKruKanok

Search

Read the Text Version

2 แบบขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA) สำหรบั ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (วนั ที่ 1 ตุลาคม 2564 - วันท่ี 30 กนั ยายน 2565) นางสาวกนกนาถ สุชาตสิ ุนทร ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาประถมศกึ ษา เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

3 PA1/ส แบบขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรบั ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตำแหนง่ ครู (วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ) โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 3 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระหวา่ งวันท่ี 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถงึ วันที่ 30 เดือน กนั ยายน พ.ศ. 2565 ผู้จดั ทำขอ้ ตกลง ช่ือ นางสาวกนกนาถ นามสกุล สุชาติสุนทร ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการ สถานศกึ ษา โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 3 รับเงินเดือนในอนั ดบั คศ. 2 อัตราเงินเดอื น 23,860 บาท ประเภทห้องเรยี นท่จี ดั การเรยี นรู้ (สามารถระบุไดม้ ากกวา่ 1 ประเภทหอ้ งเรียน ตามสภาพการจดั การเรียนรู้ จริง)  หอ้ งเรยี นวชิ าสามญั หรอื วชิ าพ้นื ฐาน  ห้องเรียนปฐมวยั  ห้องเรียนการศกึ ษาพิเศษ  ห้องเรยี นสายวชิ าชพี  ห้องเรยี นการศกึ ษานอกระบบ / ตามอธั ยาศัย ขา้ พเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการ ซ่ึง เปน็ ตำแหน่งที่ดำรงอย่ใู นปัจจบุ นั กับผู้อำนวยการสถานศกึ ษา ไวด้ ังต่อไปน้ี สว่ นท่ี 1 ขอ้ ตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตำแหนง่ จำนวน 27 ชั่วโมง/สปั ดาห์ 1. ภาระงาน จะมีภาระงานเปน็ ไปตามท่ี ก.ค.ศ. กำหนด จำนวน 5 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ 1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน จำนวน 5 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้/รายวิชา คณติ ศาสตร์ กล่มุ สาระการเรียนรู้/รายวชิ า ภาษาไทย

4 กลุม่ สาระการเรยี นรู้/รายวิชา วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จำนวน 2.5 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ กล่มุ สาระการเรียนร/ู้ รายวชิ า สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม จำนวน 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา ประวตั ศิ าสตร์ จำนวน 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้/รายวชิ า สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา จำนวน 0.5 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้/รายวชิ า ศลิ ปะ จำนวน 0.5 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ กลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ รายวิชา การงานอาชพี จำนวน 0.5 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ กลมุ่ สาระการเรียนรู/้ รายวชิ า ภาษาอังกฤษ จำนวน 5 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้/รายวชิ า หน้าที่พลเมือง จำนวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู/้ รายวชิ า การป้องกนั การทุจริต จำนวน 1 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน - ลกู เสือ/เนตรนารี จำนวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ - กิจกรรมแนะแนว จำนวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ - กิจกรรมชุมนุม/กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ จำนวน 1 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ 1.2 งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนการจดั การเรยี นรู้ จำนวน 7 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ - การจดั ทำแผนการจดั การเรยี นรู้ จำนวน 2 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ - การมสี ว่ นร่วมในชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี จำนวน 2 ชวั่ โมง/สัปดาห์ - งานตรวจการบา้ น/งานนักเรียน จำนวน 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ - โครงการตามแผนงบประมาณกลุม่ งานบริหารวชิ าการ จำนวน 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ 1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 9 ชั่วโมง/สัปดาห์ - หวั หน้างานงบประมาณ จำนวน 3 ชวั่ โมง/สัปดาห์ - งานครทู ป่ี รกึ ษา ประจำช้นั เรียน งานโฮมรูม จำนวน 5 ชวั่ โมง/สัปดาห์ - งานครูเวรประจำวัน (ตามคำสงั่ โรงเรียน) จำนวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเนน้ จำนวน 7 ชัว่ โมง/สปั ดาห์ - งานกิจกรรมลดเวลาเรยี นเพม่ิ เวลารู้ จำนวน 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์ - งานโรงเรยี นคณุ ธรรม/สุจรติ จำนวน 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ - โครงการ 1 โรงเรียน 1 นวัตกรรม โรงเรียนคณุ ภาพประจำตำบล จำนวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ - การเตรียมความพรอ้ ม ตวิ สอบ NT จำนวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

5 2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู(ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้านวา่ จะดำเนนิ การอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการดำเนนิ การด้วยกไ็ ด้) ลกั ษณะงานทีป่ ฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตวั ชวี้ ัด (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหน่ง ทจ่ี ะดำเนนิ การพัฒนา (Outcomes) ที่จะเกิดข้นึ กับผเู้ รยี น ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามขอ้ ตกลง ทแี่ สดงให้เห็นถงึ การ ท่คี าดหวงั ให้เกิดขนึ้ เปลี่ยนแปลงไปในทาง การประเมิน ท่ดี ขี ึ้นหรือมกี ารพัฒนา (โปรดระบุ กับผู้เรียน มากข้ึนหรอื ผลสัมฤทธ์ิ (โปรดระบ)ุ สูงขึ้น (โปรดระบ)ุ 1. ด้านการจัดการเรียนรู้ 1.1 สรา้ งและหรอื พฒั นาหลักสตู ร 1.1 ผู้เรียนได้รับการ 1.1 ผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธิ์ ลักษณะงานที่เสนอให้ มีการจดั ทำรายวชิ าและหนว่ ยการ จัดการเรียนรู้ตาม ทางการเรยี นเฉลย่ี ครอบคลุมถึงการสร้างและ เรยี นรใู้ หส้ อดคล้อง กบั มาตรฐานการ หลักสูตรและมีความรู้ ร้อยละ 70 ตามท่ี หรือพัฒนาหลักสูตร การ เรยี นรู้ และตวั ชว้ี ดั หรอื ผลการเรียนรู้ ต า มมา ต ร ฐานและ สถานศกึ ษากำหนด ออกแบบการจัดการเรียนรู้ ตามหลกั สูตรเพ่ือให้ผ้เู รียนไดพ้ ฒั นา ตัวชวี้ ัด 1.2 ผู้เรียนร้อยละ 80 การจดั กจิ กรรมการเรยี นรกู้ าร สมรรถนะและการเรยี นรู้ เตม็ ตาม 1.2 ผู้เรียนได้รับการ มีคุณลักษณะอันพงึ สร้างและหรือพัฒนาสื่อ ศักยภาพ พัฒนาคุณลักษณะอัน ประสงค์ การอา่ น คิด นวัตกรรมเทคโนโลยี แหล่ง - จัดทำคำอธิบายรายวิชา วเิ คราะห์ พึงประสงค์ การอ่าน วเิ คราะห์ เขียน และ เรียนรู้ การวัดและประเมินผล หลักสตู รสถานศกึ ษาหลกั สตู ร การเขียน คิดวิเคราะห์ สมรรถนะสำคัญของ การจัดการเรียนรู้การศึกษา แกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน และสมรรถนะสำคัญ เรยี นตามทสี่ ถานศกึ ษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพ่ือ มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชวี้ ดั ตาม ผเู้ รยี น กำหนด แก้ปัญหาหรือพัฒนาการ หลกั สูตรแกนกลางการ 1.3 ผู้เรียนมีความสุข 1.3 ผู้เรียนร้อยละ 80 เรียนรู้การจัดบรรยากาศท่ี ศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ในการเรยี นวิชา มีความคิดเห็นเกี่ยวกับ ส่งเสริมและพฒั นาผเู้ รยี นและ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ในรูปแบบ คณิตศาสตร์ และมี การจัดการเรียนการ ก า ร อ บ ร ม แ ล ะ พ ั ฒ น า แผนการจดั การเรยี นรู้แบบ Active ความคิดเหน็ ในทาง สอนของครอู ยู่ในระดับ คุณลักษณะที่ดขี องผเู้ รียน Learning โดยมกี ารปรบั ประยกุ ต์ให้ บวกกับการจดั บรรยาย ดขี ึน้ ไป สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของสถานศึกษา กาศในชนั้ เรียน ผเู้ รียน และท้องถ่ิน 1.4 ผู้เรียนเป็นผู้มี - จัดทำหนว่ ยการเรียนร้แู ละเอกสาร คุณธรรมจริยธรรมและ ประกอบการสอนรายวิชา คุ ณ ล ั กษ ณ ะ อ ั น พึง คณติ ศาสตร์ ประสงค์

6 ลกั ษณะงานทีป่ ฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตวั ช้ีวัด (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหนง่ ท่จี ะดำเนนิ การพัฒนา (Outcomes) ที่จะเกิดขึน้ กบั ผู้เรยี น ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อตกลง ทแ่ี สดงให้เห็นถึงการ ทคี่ าดหวังใหเ้ กิดข้นึ เปลย่ี นแปลงไปในทาง การประเมิน ทีด่ ีข้นึ หรอื มีการพัฒนา (โปรดระบุ กบั ผเู้ รียน มากขึ้นหรือผลสัมฤทธ์ิ (โปรดระบ)ุ สงู ข้นึ (โปรดระบ)ุ 1.2 ออกแบบการจัดการเรยี นรู้ - จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ทม่ี ีผลต่อ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ - วเิ คราะหผ์ ้เู รยี นรายบุคคล เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นมี ความรู้ ทกั ษะ คุณลกั ษณะประจำ วิชา คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ และ สมรรถนะที่สำคญั ตามหลักสตู ร โดย มีการปรบั ประยกุ ต์ใหส้ อดคลอ้ ง กับ บริบทของสานศึกษาผเู้ รยี น และ ทอ้ งถิน่ 1.3 จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ มีการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ทู ี่ เนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญใช้กระบวนการ Active Learning เพื่อใหผ้ ูเ้ รยี นมี ความรู้ ทกั ษะ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และสมรรถนะสำคญั สามารถสรา้ งองค์ความรดู้ ว้ ยตนเอง 1.4 สรา้ งและหรือพฒั นาสื่อ นวตั กรรม เทคโนโลยี และแหล่ง เรยี นรู้ มีการสร้างและพฒั นาสอ่ื นวัตกรรมเทคโนโลยแี ละแหลง่ เรียนรู้ ที่หลากหลายตามความสามารถใน

7 ลกั ษณะงานทีป่ ฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตวั ช้ีวัด (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทีจ่ ะดำเนนิ การพฒั นา (Outcomes) ที่จะเกิดข้ึนกับผูเ้ รยี น ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามขอ้ ตกลง ที่แสดงใหเ้ ห็นถึงการ ทคี่ าดหวังให้เกดิ ขนึ้ เปลยี่ นแปลงไปในทาง การประเมนิ ท่ีดีขน้ึ หรือมีการพัฒนา (โปรดระบุ กบั ผเู้ รยี น มากข้ึนหรอื ผลสัมฤทธิ์ (โปรดระบ)ุ สงู ขึ้น (โปรดระบ)ุ การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นแตล่ ะบคุ คลให้ สอดคลอ้ งกบั แผนการจดั กจิ กรรม การเรยี นรู้ที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั โดยใช้กระบวนการActive Learning ทีเ่ หมาะสมกับนกั เรยี น เชน่ เกม สง่ เสริมการเรยี นรู้ คลิปวดิ ิโอการ สอน สอ่ื การเรยี นรอู้ อนไลน์ เป็นตน้ 1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรู้ มีการวัดและประเมินผลการ เรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ มาตรฐาน การเรียนรู้ ให้ผู้เรียน พัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง รวมท้ังประเมินตามสภาพจรงิ และนำ ผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ มาใชแ้ กป้ ัญหาการจดั การเรยี นรู้ 1.6 ศึกษา วเิ คราะห์ และสงั เคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการ เรียนรู้ นำผลการจัดการเรียนรู้มา ศึกษา และวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาท่ี เกิดขึ้น จากการจัดการเรียนรู้ใน รูปแบบของ วิจัยในชั้นเรียน เพ่ือ แก้ปัญหานักเรียนที่ มีผลการเรียนรู้ ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด โดยมีการ

8 ลกั ษณะงานทีป่ ฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวช้ีวัด (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทีจ่ ะดำเนนิ การพัฒนา (Outcomes) ที่จะเกิดข้ึนกบั ผู้เรยี น ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อตกลง ที่แสดงใหเ้ หน็ ถงึ การ ท่ีคาดหวังให้เกดิ ขึน้ เปล่ียนแปลงไปในทาง การประเมิน ทีด่ ีข้นึ หรอื มกี ารพฒั นา (โปรดระบุ กบั ผเู้ รยี น มากข้ึนหรอื ผลสัมฤทธ์ิ (โปรดระบ)ุ สูงข้นึ (โปรดระบ)ุ บันทึกรายละเอียดไว้ในหลังแผนการ จัดการเรียนรู้ 1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและ พัฒนาผู้เรยี น - มีการจดั บรรยากาศในช้ันเรยี นที่ ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน เพื่อ กระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน กิจกรรมการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนอภิปรายนำเสนอแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และมีการเสริมแรง ทางบวกให้แก่ผู้เรียน - จัดบรรยากาศชนั้ เรยี นตาม มาตรฐานห้องเรียนคณุ ภาพ 1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ ดีของผู้เรยี น - มีการอบรมพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ี คุณธรรม จรยิ ธรรม และคุณลกั ษณะ อันพงึ ประสงค์ - จดั กจิ กรรมทสี ง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เชน่ กิจกรรมทำบญุ กจิ กรรม คุณธรรม

9 ลักษณะงานที่ปฏบิ ัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชวี้ ัด (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหน่ง ท่ีจะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) ทจี่ ะเกิดขนึ้ กบั ผู้เรยี น ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามขอ้ ตกลง ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถึงการ ที่คาดหวงั ให้เกดิ ขึ้น เปลยี่ นแปลงไปในทาง การประเมิน ทด่ี ีขึ้นหรอื มีการพัฒนา (โปรดระบุ กบั ผูเ้ รยี น มากขนึ้ หรือผลสัมฤทธ์ิ (โปรดระบ)ุ สูงข้นึ (โปรดระบ)ุ 2. ด้านการส่งเสริมและ 2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของ สนับสนนุ ผเู้ รียนและรายวิชา ลักษณะงานที่เสนอให้ - มกี ารจดั ทำขอ้ มลู สารสนเทศของ 1. นกั เรียนมี 1. ผลสัมฤทธท์ิ างการ ครอบคลุมถึงการจัดทำข้อมูล ผูเ้ รียนทไี่ ด้รับมอบหมายเป็นที่ พัฒนาการด้านผลการ เ ร ี ย น ใ น ร ะ ด ั บ ช้ั น สารสนเทศของผู้เรียนและ ปรกึ ษาโดยวเิ คราะหผ์ เู้ รียนเป็น เรียนดีขึ้นจากการ ประถมศึกษาปีที่ 3 ปี รายวิชาการดำเนินการตาม รายบุคคล เชน่ สารสนเทศประวัติ สนับสนุนช่วยเหลือ การศึกษา2564 เป็นไป ระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน นักเรียน ผลการวิเคราะหผ์ ูเ้ รยี น และพัฒนาการและ ตามค่าเป้าหมายที่ การปฏิบัติงานวิชาการและ รายบุคคล การเย่ียมบา้ น ผลการ แกไ้ ขในดา้ นวิชาการ สถานศึกษากำหนด งานอื่น ของสถานศึกษา และ ประเมนิ ปพ.5 เพอื่ ใชใ้ นการเรียนรู้ 2. นักเรียนเปน็ ผู้ทมี่ ี 2. นกั เรียนมีผลการ การประสานความร่วมมือกับ และพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คุณลักษณะที่ดีจาก ประเมินคุณลักษณะ ผู้ปกครองภาคีเครือข่าย และ - มีการจัดทำข้อมลู สาสนเทศของ การสนับสนุช่วยเหลือ อันพึงประสงค์ เป็นไป หรอื สถานประกอบการ รายวชิ าคณิตศาสตร์เพอ่ื ใช้ในการ ดูแลและพัฒนาและ ตามค่าเป้าหมายที่ เรียนรู้และพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น แกไ้ ขในด้าน สถานศกึ ษากำหนด 2.2 การดำเนินการตามระบบดูแล คุณลักษณะ 3. นกั เรยี นมผี ลการ ช่วยเหลือผู้เรยี น 3. นกั เรียนสามารถ ป ร ะ เ ม ิ น ก ิ จ ก ร ร ม - ตดิ ตามดแู ลช่วยเหลือผูเ้ รยี น โดยใช้ จดั การตนเองได้ และ พัฒนาผู้เรียน เป็นไปป ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียน อย่รู ว่ มกบั ผ้อู ื่นอย่างมี ตามค่าเป้าหมายที่ รายบุคคล และประสานความรว่ มมือ ความสุข จากการดแู ล สถานศึกษากำหนด กับผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาและ จากระบบดูแล แก้ปัญหาผ้เู รยี น ช่วยเหลอื และการ - ดำเนินกิจกรรมการเยี่ยมบ้านใน ประสานความรว่ มมือ รูปแบบออนไลน์ กับผปู้ กครอง - การวเิ คราะหผ์ เู้ รียนรายบคุ คล - จัดกิจกรรมโฮมรูมนักเรียนทุกวัน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมให้

10 ลกั ษณะงานท่ปี ฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตัวชวี้ ัด (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหน่ง ท่ีจะดำเนนิ การพัฒนา (Outcomes) ทีจ่ ะเกิดข้ึนกับผเู้ รยี น ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อตกลง ท่ีแสดงให้เหน็ ถงึ การ ท่ีคาดหวังใหเ้ กิดข้ึน เปลยี่ นแปลงไปในทาง การประเมิน ทีด่ ีขึน้ หรือมีการพัฒนา (โปรดระบุ กบั ผูเ้ รียน มากข้นึ หรอื ผลสัมฤทธิ์ (โปรดระบ)ุ สูงข้ึน (โปรดระบ)ุ นักเรียน และแจ้งข้อมูลข่าวสารท่ี สำคญั ให้กับนักเรียนทราบ - การจัดกิจกรรมการประชุม ผูป้ กครอง และมีกลมุ่ ไลน์สำหรับแจ้ง ข้อมูลข่าวสารของทางโรงเรยี นใหก้ บั ผปู้ กครอง - จัดทำข้อมูลการดำเนินงานดูแล ช่วยเหลือผู้เรียนด้านการเรียน ด้าน ความประพฤติ ด้านทุนการศึกษา และด้านอื่น ๆ ตามที่สถานศึกษา มอบหมาย 2.3 ปฏิบตั ิงานวิชาการ และงานอ่ืน ๆ ของสถานศกึ ษา - ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าคณะทำงาน การคัดเลอื กหนังสือ แบบเรียนเพอ่ื ใช้ ในสถานศึกษา - ปฏิบัติงานวิชาการ โดยร่วมกับ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ขับเคลื่อนและพัฒนาการดำเนินงาน ของกลุ่มสาระฯ โดยการร่วมกับ คุณครูในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธ กิจ และเป้าหมาย และกำหนด ตัวช้ีวดั ความสำเรจ็ ของกลุ่มสาระฯ มี โครงสร้างการบริหาร และพรรณนา งานที่ชัดเจน ในการดำเนินกิจกรรม

11 ลักษณะงานท่ปี ฏบิ ัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตัวชว้ี ัด (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทีจ่ ะดำเนนิ การพัฒนา (Outcomes) ท่จี ะเกดิ ขน้ึ กับผูเ้ รยี น ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามขอ้ ตกลง ทแ่ี สดงให้เหน็ ถงึ การ ทีค่ าดหวังให้เกิดขน้ึ เปลีย่ นแปลงไปในทาง การประเมนิ ท่ดี ขี ้นึ หรอื มกี ารพัฒนา (โปรดระบุ กับผู้เรยี น มากข้ึนหรือผลสมั ฤทธิ์ (โปรดระบ)ุ สงู ข้นึ (โปรดระบ)ุ ต่าง ๆ และร่วมกับคุณครูจัดการ เรียนรู้ให้กับผู้เรียน โดยใช้ส่ือ นวัตกรรมที่ครูสร้างขึ้น ร่วมกับ เ ทคโน โล ย ี ทา ง กา ร ศึ กษ า ใ ห้ เหมาะสมกับการเรียนรขู้ องผู้เรียน - ร่วมปฏิบัติงานอื่น ๆที่ได้รับ มอบหมาย เพื่อยกระดับการจัด การศึกษาของสถานศกึ ษา 2.4 ประสานความรว่ มมอื กบั ผูป้ กครอง ภาคีเครอื ข่ายและหรอื สถานประกอบการ - ประสานความร่วมมอื กับผูป้ กครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถาน ประกอบการเพื่อร่วมกันพัฒนา ผเู้ รยี น - รว่ มกิจกรรมประชุมผ้ปู กครอง - ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารผ่าน ทางเพจ Facebook ของโรงเรยี น 3. ด้านการพัฒนาตนเองและ 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ 1. นกั เรียนมีพัฒนา 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการ วิชาชีพ และตอ่ เนอ่ื ง การด้านผลการเรียนดี เรยี นในรายวิชา ลักษณะงานที่เสนอให้ เข้าร่วมการประชุม/อบรม/ ขึ้น จากกิจกรรมการ คณิตศาสตร์ระดับชั้น ครอบคลุมถึงการพัฒนา สัมมนาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ เรียนรู้ที่เกิดจากองค์ ประถมศึกษาปีที่ 3 ตนเองอย่างเป็นระบบ และ ภาระหน้าท่ีและความรับผิดชอบ เชน่ ความรู้ที่ได้จากการ ปกี ารศกึ ษา 2564 เป็น ต่อเนื่อง มีส่วนร่วมในการ การทำสอื่ ออนไลน์ การจัดทำเวบ็ ไซต์ พ ั ฒ น า ต น เ อ ง แ ล ะ ไปตามค่าเป้าหมายที่ แลกเปลีย่ น และรายงานผลการประชุม/อบรม/ วชิ าชีพของครู สถานศึกษากำหนด

12 ลักษณะงานท่ีปฏบิ ัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวช้ีวดั (Indicators) ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทจ่ี ะดำเนินการพัฒนา (Outcomes) ที่จะเกิดขึ้นกบั ผ้เู รยี น ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ของงานตามข้อตกลง ทแี่ สดงให้เห็นถงึ การ ท่ีคาดหวังใหเ้ กดิ ขนึ้ เปลย่ี นแปลงไปในทาง การประเมนิ ทีด่ ขี น้ึ หรือมีการพฒั นา (โปรดระบุ กับผเู้ รียน มากข้ึนหรอื ผลสมั ฤทธ์ิ (โปรดระบ)ุ สงู ข้นึ (โปรดระบ)ุ เรยี นรู้ทางวิชาชพี เพื่อพฒั นา สัมมนา อย่างเปน็ ระบบ และเผยแพร่ 2. นักเรียนเป็นผู้ที่มี 2. นักเรียนมีผลการ การจัดการเรียนรู้ และการนำ ความรู้ที่ได้จากการประชุม/อบรม/ คุณลักษณะที่ดี จาก ประเมินคุณลักษณะ ความรู้ ความสามารถ ทักษะ สมั มนา ไปยงั ครทู ่ีมสี ่วนเกี่ยวขอ้ ง กิจกรรมการเรียนรู้ที่ อันพึงประสงค์ เป็นไป ที่ได้ จากการพัฒนาตนเอง 3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยน เกิดจากองค์ความรู้ที่ ตามค่าเป้าหมายที่ และวิชาชีพมาใช้ในการ เรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อแก้ไขปัญหา ไ ด ้ จ า ก ก า ร พ ั ฒ น า สถานศึกษากำหนด พัฒนา การจดั การเรียนรู้ การ และพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ ตนเองและวิชาชีพของ 3. นักเรียนมีผลการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน และ มสี ่วนในการเป็นผ้นู ำชุมชนการ ครู ประเมินด้านการอ่าน การพัฒนานวัตกรรม การ เรยี นรู้ทางวชิ าชพี ในการแลกเปลี่ยน 3. นักเรียนอ่าน คิด คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น จดั การเรียนรู้ เรยี นรู้ทางวชิ าชพี และนำผลจากการ วิเคราะห์ และเขียนสอื่ เป็นไปตามเป้าหมายที่ ประชุม PLC ไปสรา้ งเปน็ สอ่ื ความในเรื่องที่เรียนรู้ สถานศกึ ษากำหนด นวตั กรรม เพอื่ นำมาใช้ในการพฒั นา ได้ จากกิจกรรมการ คณุ ภาพผเู้ รียน หรือแก้ไขนักเรยี นที่ เรียนรู้ที่เกิดจากองค์ มีผลการเรยี นร้ไู มผ่ ่านเกณฑท์ ่ี ความรู้ที่ได้จากการ กำหนด พ ั ฒ น า ต น เ อ ง แ ล ะ 3.3 นำความรู้ ความสามารถ วิชาชีพของครู ทกั ษะทไ่ี ดจ้ ากการพฒั นาตนเอง และวิชาชพี มาใช้ในการพฒั นาการ จดั การเรียนรู้ การพัฒนาคณุ ภาพ ผู้เรยี น และการพฒั นานวัตกรรม การจดั การเรียนรทู้ ม่ี ผี ลต่อคณุ ภาพ ผู้เรยี น นำความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วม ประชุม/อบรม/สัมมนา มาพัฒนาการ จัดการเรียนรู้และสร้าง/พัฒนาส่ือ นวตั กรรมในรายวชิ าที่สอน

13 หมายเหตุ 1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน.ตามแบบ PA1 ให้เป็นไปตามบริบทและสภาพการจัดการ เรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษาและข้าราชการครูผู้จัดทำ ข้อตกลง 2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลักที่ส่งผล โดยตรงต่อผลลัพธ์การเรยี นรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวมของรายวิชา หลักที่ทำการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ โดยจะต้องแสดงให้ เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลงสามารถ ประเมินไดต้ ามแบบการประเมนิ PA2 3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน (Outcomes)และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน ตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA2 จากการปฏิบัติงานจริงสภาพการจัดการเรียนรู้ใน บรบิ ทของแต่ละสถานศกึ ษา และผลลัพธ์การเรียนรูข้ องผู้เรยี นท่ีเกดิ จากการพัฒนางานตามข้อตกลงเป็นสำคัญ โดยไม่ เน้นการประเมินจากเอกสาร สว่ นที่ 2 ข้อตกลงในการพฒั นางานทเี่ ป็นประเดน็ ทา้ ทายในการพัฒนาผลลพั ธ์การเรียนร้ขู องผเู้ รยี น ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบัน ดำรง ตำแหน่งครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการ ต้องแสดงให้เหน็ ถงึ ระดับการปฏบิ ัตทิ ี่คาดหวงั ของวิทยฐานะชำนาญการคือ การ แก้ไขปญั หา การจดั การเรยี นรู้และพฒั นาคุณภาพการเรยี นรู้ของผ้เู รยี น ให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีข้ึนหรือ มกี ารพฒั นามากขน้ึ (ท้ังนี้ ประเด็นทา้ ทายอาจจะแสดงใหเ้ หน็ ถึงระดบั การปฏบิ ตั ทิ ค่ี าดหวงั ท่ีสูงกวา่ ได้) ประเดน็ ท้าทาย เรือ่ ง การแก้ปญั หาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นคณติ ศาสตร์เรื่อง เศษสว่ น ของนกั เรียน ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ โดยใช้กจิ กรรมการเรียนร้แู บบ Active Learning 1. สภาพปัญหาการจัดการเรยี นรู้และคุณภาพการเรยี นรู้ของผเู้ รียน จากการที่ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้สอนวิชาคณิตศาสตร์ ให้แก่นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในเรื่อง เศษส่วน ซึ่งเป็นเนื้อหาใหม่ที่เพิ่มเข้ามาในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จึงทำให้นักเรียนไม่คุ้นเคยกับการเรียน เรื่องนี้และยังไม่เข้าใจความหมายของเศษส่วนและการเปรียบเทียบเศษส่วนเท่าที่ควร ซึ่งจากการที่ข้าพเจ้าได้สังเกต พฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนและจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับนักเรียนแล้วมีการวัดผลและประเมินผลการ เรียนรู้ที่ผ่านมา พบว่า นักเรียนบางส่วนสามารถเขียนเศษส่วนได้แต่ยังไม่เข้าใจความหมายของเศษส่วน รวมทั้งมี นักเรียนบางส่วนยังไม่สามารถเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวเศษเท่ากันได้เนื่องจากมีความสับสนกับการเปรียบเทียบ เศษส่วนที่มตี ัวส่วนเท่ากันซึ่งมีวิธีการเปรียบเทียบที่ตรงกันข้ามกัน โดยมีผลการทดสอบไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด

14 ซึ่งปัญหาดังกล่าว อาจจะเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น นักเรียนบางคนอาจเรียนรู้ได้ช้า มีความสามารถในการเรียนรู้ไม่ เทา่ กนั หรือไม่คนุ้ เคยกับการเรียนเรอื่ งเศษสว่ น ซง่ึ สง่ ผลทำให้ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นไม่เป็นไปตามเป้าหมายทก่ี ำหนด 2. วิธกี ารดำเนนิ การใหบ้ รรลุผล 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวชิ าคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษสว่ น ของนกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 โดยใชก้ ิจกรรมการเรียนรแู้ บบ Active Learning มขี นั้ ตอนการสรา้ งและตรวจสอบคุณภาพ ดงั นี้ 1.1 ศกึ ษาหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง 2560) 1.2 ศึกษารายละเอียดตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560) 1.3 ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และผลงานวิจัยที่ เกีย่ วข้องกบั การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนร้แู บบ Active Learning 1.4 จัดทำตารางวิเคราะห์เนื้อหาและดำเนินการจัดทำแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนคณิตศาสตร์ ตามขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning เรื่องเศษส่วน ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ให้มีความสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ และสาระการเรียนรู้ ใน แตล่ ะแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน คณิตศาสตรป์ ระกอบดว้ ย 1.4.1 ชื่อสาระการเรยี นรู้ 1.4.2 สาระการเรียนรู้ 1.4.3 มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชีว้ ัด 1.4.4 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1.4.5 สาระการเรียนร/ู้ เนอ้ื หาสาระ 1.4.6 กระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยมขี ้ันตอนการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนดังนี้ 1) สร้างบรรยากาศของการมีส่วนร่วมและการเจรจาโต้ตอบที่ส่งเสริมให้ ผู้เรียนมปี ฏิสมั พนั ธท์ ีด่ กี ับผู้สอนและเพือ่ นในชั้นเรียน 2) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหเ้ ปน็ พลวัต ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนมีส่วนรว่ มใน ทุกกจิ กรรมรวมทั้งกระตุ้นให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรยี นรู้ 3) จดั สภาพการเรยี นรแู้ บบร่วมมือ ส่งเสริมให้เกิดการร่วมมือในกลุม่ ผูเ้ รียน 4) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ท้าทายและให้โอกาสผู้เรียนได้รับวิธีการ สอนที่หลากหลาย

15 5) วางแผนเกี่ยวกับเวลาในจัดการเรียนการสอนอย่างชัดเจน ทั้งในส่วนของ เนื้อหาและกจิ กรรมการเรยี นรู้ 6) ยอมรับในความสามารถในการแสดงออก และความคดิ เหน็ ของที่ผเู้ รียน 1.4.7 สอ่ื การเรียนรู้ 1.4.8 การวัดผลและประเมินผล 1.4.9 การบันทึกกจิ กรรมการเรียนรู้ 1.5 เขยี นแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาที่ 3 โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ให้ สอดคล้องกับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ แกนกลางตามตารางวเิ คราะหเ์ นอื้ หา 1.6 นำแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เรือ่ ง เศษส่วน ของนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 โดยใช้กจิ กรรมการเรียนรแู้ บบ Active Learning ทเี่ ขียนข้นึ เสนอตอ่ ผเู้ ชี่ยวชาญและสมาชิกชมุ ชน การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ เพอ่ื พจิ ารณาความสอดคลอ้ งและความเหมาะสม 1.7 นำแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เรอ่ื ง เศษส่วน ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning มาปรบั ปรุงแกไ้ ขตามคำแนะนำ 1.8 ดำเนินการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ตามแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน คณติ ศาสตร์เรื่อง เศษส่วน ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 โดยใช้กิจกรรมการเรียนร้แู บบ Active Learning 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น วชิ าคณิตศาสตร์ เรอื่ งเศษสว่ น มขี ัน้ ตอนการสรา้ งและ ตรวจสอบคณุ ภาพ ดังนี้ 2.1 ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การวัดและประเมินผลวชิ าคณิตศาสตร์ 2.2 ศึกษารายละเอียดตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ แกนกลางตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ 2560) 2.3 สร้างตารางวิเคราะห์ข้อสอบให้สอดคล้องกับตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ และสาระ การเรียนรู้แกนกลาง เรื่องเศษส่วน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) และนำเสนอตอ่ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนคณิตศาสตร์ ตรวจสอบความถูกต้องและ ความสอดคลอ้ งของจดุ ประสงค์การเรียนรกู้ ับระดบั พฤตกิ รรม 2.4 สรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นคณติ ศาสตร์ เร่อื ง เศษส่วน ของนักเรยี น ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ตามตารางวิเคราะห์ข้อสอบที่สร้างขึ้นและนำเสนอตอ่ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และผเู้ ชี่ยวชาญ เพอ่ื พิจารณาและให้ข้อเสนอแนะ 2.5 นำแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นคณิตศาสตร์ เร่ืองเศษสว่ น ของนกั เรียนช้ัน

16 ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ทปี่ รบั ปรงุ แก้ไขตามขอ้ เสนอแนะ 2.6 จดั ทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นคณติ ศาสตรฉ์ บับสมบูรณ์เพอื่ นำไป ทดสอบก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนคณิตศาสตร์เรื่อง เศษส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบ Active Learning โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) 3. การเก็บรวบรวมข้อมลู ในการศึกษาวจิ ัยครง้ั น้ผี วู้ ิจัยไดด้ ำเนนิ การทดสอบตามข้ันตอน ดงั นี้ 3.1 ทดสอบก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (Pre-test) โดยใช้แบบทดสอบวัดผล สัมฤทธท์ิ างการเรยี นคณิตศาสตรท์ ี่สร้างข้ึน 3.2 ดำเนินการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน และใชแ้ ผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน คณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ดำเนินการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนกับนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 3.3 เมื่อส้นิ สดุ การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนตามกำหนดแล้วจงึ ทำการทดสอบหลังการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน (Post-test) โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน ของนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 โดยใช้กิจกรรมการเรยี นรู้แบบ Active Learning 3.4 ตรวจใหค้ ะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นคณติ ศาสตร์ เรือ่ ง เศษส่วน ของนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 โดยใช้กิจกรรมการเรยี นรู้แบบ Active Learning นำผลคะแนนจากการตรวจสอบ วดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นคณิตศาสตรไ์ ปวิเคราะหห์ าคา่ ทางสถิติ 4. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู วิเคราะห์ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นคณติ ศาสตร์เร่ือง เศษสว่ น ของนกั เรียนชน้ั ประถม ศกึ ษาปที ี่ 3 โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ระหว่างกอ่ นและหลงั การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน สถติ ิท่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล คอื สถิตพิ นื้ ฐาน ได้แก่ ค่าเฉลีย่ (Mean:̅X) 3. ผลลพั ธก์ ารพัฒนาทีค่ าดหวงั 3.1 เชงิ ปรมิ าณ - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้กิจกรรมการเรียนร้แู บบ Active Learning ผา่ นเกณฑ์ที่กำหนดคดิ เป็นร้อยละ 70 ข้นึ ไป 3.2 เชงิ คุณภาพ - นักเรียนรอ้ ยละ 70 มคี วามพึงพอใจการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนอยใู่ นระดบั ดีข้นึ ไป - นกั เรียนมเี จตคติท่ีดตี อ่ วิชาคณิตศาสตร์ คิดเปน็ ร้อยละ 70 ขึ้นไป

17 ลงชื่อ........................................................................ (นางสาวกนกนาถ สชุ าติสนุ ทร) ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการ ผจู้ ัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน 1 ตุลาคม 2564 ความเห็นของผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา ( ) เหน็ ชอบใหเ้ ป็นข้อตกลงในการพฒั นางาน ( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อนำไปแก้ไขและเสนอเพื่อพิจารณา อีกคร้ัง ดงั นี้ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ลงช่ือ........................................................................ (นายศักด์ิชยั เลศิ อรุณรตั น์) ตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ ................/.............../..................

18


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook