Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เนื้อหาดนตรีพื้นบ้าน

เนื้อหาดนตรีพื้นบ้าน

Published by Vinai Ngamthongkhong, 2019-09-01 00:56:53

Description: เนื้อหาดนตรีพื้นบ้าน

Search

Read the Text Version

ดนตรีพ้นื เมอื งภาคตา่ งๆ ดนตรพี นื้ บา้ นเปน็ เสียงดนตรีทถี่ ่ายทอดกนั มาด้วยวาจาซ่ึงเรียนรู้ผ่านการฟังมากกว่าการอ่านและเป็น สิ่งท่ีพูดต่อกันมาแบบปากต่อปากโดยไม่มีการจดบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรจึงเป็นลักษณะกาสืบทอดทาง วัฒนธรรมของชาวบ้านตัง้ แตอ่ ดีตเร่อื ยมาจนถึงปัจจบุ นั ซึ่งเป็นกิจกรรมการดนตรีเพื่อผ่อนคลายความตึงเครียด จากการทางานและช่วยสร้างสรรค์ความรื่นเริงบันเทิงเป็นหมู่คณะและชาวบ้านในท้องถ่ินนั้นซึ่งจะทาให้เกิด ความรักสามัคคีกันในท้องถ่ินและปฏิบัติสืบทอดต่อมายังรุ่นลูกรุ่นหลาน จนกลายเป็นเอกลักษณ์ทางพื้นบ้าน ของท้องถิ่นนนั้ ๆ สบื ต่อไป ในประเทศไทยมวี ฒั นธรรมที่แตกตา่ งกนั ออกไป ไมว่ า่ จะเป็นดนตรีในราชสานกั หรือดนตรีของแตล่ ะภมู ิภาค ซง่ึ แตเ่ ดมิ นนั้ วงดนตรีท่ีเกดิ ขนึ ้ ก็เกิดขนึ ้ เพราะต้องการทจ่ี ะใช้บรรเทาความเหนอื่ ยล้า ในการตรากตราทางานของคนไทยในชนบทแตล่ ะ ภมู ิภาคเพอื่ ความสนกุ สนานร่ืนเริงในเทศกาลงานตา่ งๆ ดนตรีท่ใี ช้บรรเลงจะเป็นการบรรเลง ด้วยทานองแบบง่ายๆ จงั หวะสนกุ สานเร้าใจ ดนตรีพนื ้ เมอื งในแตล่ ะวฒั นธรรมล้วนแล้วแตม่ ีความแตกตา่ งกนั ไปอนั เนอื่ งมาจาก ภาษาท่ใี ช้พดู วิถีชวี ิต ความ เป็นอยู่ การประกอบสมั มาอาชีพตลอดจนภมู ิศาสตร์และภมู ิอากาศก็เป็นปัจจยั หนง่ึ ท่ที าให้เกิดการแสดงในรูปแบบตา่ งๆ ประเทศไทยแบง่ เขตวฒั นธรรมทางดนตรีออกเป็น 4 เขตวฒั นธรรม 4 ภมู ภิ าค ได้แก่

ดนตรพี ื้นเมอื งภาคเหนอื ดนตรีพืน้ บ้านเป็นดนตรชี าวบ้านสรา้ งสรรคข์ ึ้นด้วนการร้องหรือบรรเลงโดยชาว บ้านและชาวบา้ น ด้วนกันเปน็ ผฟู้ งั ดนตรีพน้ื บา้ นมลี ักษณะดังนี้ 1.เป็นดนตรีของชาวบา้ น สว่ นมากเกิดขน้ึ และพฒั นาในสงั คมเกษตรกรรม มีลกั ษณะท่ีไมม่ ีระบบ กฎเกณฑช์ ัดเจนตายตัว ประกอบกบั ใชว้ ิธีถา่ ยทอดด้วนปากและการจดจา จงึ เปน็ เหตใุ ห้ไม่มีใครเอาใจใส่ศึกษา หรอื จดบนั ทกึ ไว้เปน็ หลกั ฐานดังเช่น ดนตรสี ากล 2.เป็นดนตรที ี่มเี อกลักษณ์เฉพาะถ่ิน แตล่ ะทอ้ งถิ่นจะมีดนตรีท่ีมีสาเนยี ง ทานอง และจังหวะลีลาของ ตนเอง ดนตรีพนื้ บา้ นสว่ นใหญ่มีทานองที่ประดษิ ฐด์ ัดแปลงมาจากทานองของเสยี งธรรมชาติ ตัวอยา่ งเช่น ซอ ของดนตรีภาคเหนือ คือ เพลงจะปุ มที านองอ่อนหวานตามสาเนียงพูดของคนไทยชาวเมอื งจะปุในแควน้ สบิ สองปนั นาหรอื ซอลอ่ งนา่ น ของจงั หวัดน่านมีทานองเหมือนกระแสนา้ ไหล มขี ้อสังเกตว่า เคร่ืองดนตรีพืน้ บ้านผลติ ด้วยฝีมือชา่ งชาวบา้ น รูปแบบเคร่ืองดนตรี เครื่องดนตรีที่ทาเพ่อื ไวต้ คี นทุกคนไหนปะเทศไทย

ดนตรีพื้นเมอื งภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ (อีสาน) ดนตรพี นื้ บา้ นภาคอีสาน เปน็ ดนตรีประจาภูมิภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ มีประวัติความเป็นมานับพันปี และสบื ต่อกันมาจนถึงปจั จบุ ัน โดยยังดารงเอกลักษณ์ของวฒั นธรรมพืน้ บ้านไวอ้ ยา่ งมั่นคง ในการศึกษาอาจ สบื คน้ จากการใชค้ าว่า “ดนตรี” ในวรรณกรรมพื้นบา้ นได้บันทกึ ไว้เป็นหลักฐาน 1. ประวตั กิ ารปรากฏคาว่า “ดนตรี” ศัพทท์ ่ีใชอ้ ยู่ในภาษาไทยกลางและไทยอสี านในปัจจุบันนี้ เดิมเป็นคา ภาษาสนั สกฤต “ตนั ตริ” หรอื จากภาษาบาลีวา่ “ตุริยะ” หรอื “มโหรี” คาวา่ “ตันตริ” ที่ปรากฏใน วรรณกรรมพ้ืนบ้านอีสานเขยี นว่า “นนตรี” ซึ่งก็คือ “ดนตรี” นั่นเอง นอกจากนยี้ ังมคี าท่ีมีความหมาย คล้ายคลึงกันดังนี้ 1.1 คาว่า “นนตรี” พบในวรรณกรรมพืน้ บ้านอสี า่ นหลายเร่ือง ได้แก่ สนิ ไช แตงอ่อน การะเกด ดงั ตัวอยา่ งดังนี้ - บัดน้ีจักกลา่ วเถิงภชู ยั ท้าว เสวยราชเบง็ จาล กอ่ นแหลว้ ฟงั ยนิ นนตรีประดบั กลอ่ มซอซุง 1.2 คาวา่ “ตุรยิ ะ” อาจเขยี นในรูป “ตุรยิ ะ” “ตุรยิ า” “ตุริเยศ” หรอื “ตุรยิ างค์” เชน่ - เมื่อนน้ั ภูบาลฮู้ มุนตรขี านชอบ ฟังยนิ ตรุ ิเยศย้าย กลองฆ้องเสพเสยี ง 1.3 คาวา่ “มโหรี” อาจมาจาก “มโหรี” ทเ่ี ปน็ ช่อื ป่ี หรือมาจากคาวา่ “โหรี” ซึ่งหมายถึงเพลงพ้ืน เมืองชนดิ หนึ่งของอนิ เดีย คาวา่ “มโหรี” พบในวรรณคดีของอสี านดังนี้ - มที ัง้ มโหรเี หล้น ทังละเม็งฟ้อนมา่ ยสิงแกวง่ เหลอ้ื ม โขนเต้นใสส่ าว (สิง = นางฟ้อน นางร้า) จะเห็นไดว้ า่ คาวา่ “นนตรี” “ตุรยิ ะ” และ “มโหรี” เปน็ คาทน่ี ยิ มใช้ในวรรณคดแี ละหมายถึง ดนตรี ประเภท บรเลงโดยทวั่ ไป แต่ในปัจจุบันคาวา่ ดนตรี หมายถึง ดนตรีของราชสานักภาคกลางหรือดนครีไทยสากล ส่วน ดนตรพี นื้ บ้านของชาวอีสานจะมีช่อื เรียกเป็นคาศัพท์เฉพาะเปน็ อยา่ ง ๆ ไป เช่น ลา (ขบั ร้อง) กล่อม สวดมนต์ ส่ขู วัญ เซิ้ง เว้าผญา หรอื จา่ ยผญา สวดสรภญั ญะและอา่ นหนังสือผกู เปน็ ต้น การที่จะสบื ค้นประวัติความเป็นมาของดนตรีอีสานให้ได้ข้อมูลทเี่ ป็นข้อเท็จจรงิ น้นั ทา ได้ยาก เพราะ ไมม่ ีเอกสารใดท่ีบันทึกเรือ่ งราวทางดนตรีโดยเฉพาะ จะมีกลา่ วถึงในวรรณคดีก็เป็นส่วนประกอบของท้องเรื่อง เท่านนั้ เอง และที่กลา่ วถงึ ส่วนมากก็เปน็ ดนตรใี นราชสานัก โดยกลา่ วถึงชือ่ ดนตรตี า่ ง ๆ เช่น แคน พณิ ซอ ไค้ (แคนของชาวเขา) ขลุ่ย กลอง ตะโพน พาทย์ (กลอง ระนาด ฆ้อง สไนง์ (ป่ีเขาควาย) สวนไล (ชะไล-ป่ใี น) ปี่อ้อ หรือปห่ี อ้ เป็นต้น ส่วนการประสมวงน้ันท่ีเอยกม็ วี งมโหรี สว่ นการประสมอย่างอื่นไม่กาหนดตายตวั แนน่ อน เขัาใจว่าจะประสมตามใจชอบ แมใ้ นปัจจุบันการประสมวงของดนตรีอสี านก็ยังไมม่ มี าตรฐานทแ่ี นย่ อนแตอ่ ย่าง ใด อย่างไรก็ตามดนตรีอสี านในปจั จบุ ันทย่ี ังคงปฏิบตั ิอย่มู ีทั่งดนตรีประเภทบรรเลงและดนตรีประเภทขับร้อง



ดนตรีพืน้ เมอื งภาคใต้ ชนในกลุ่มของภาคใต้ของไทย มีหลายเผ่าพันธุ์และมีหลายกลุ่ม ในอดีตมีการติดต่อค้าขาย มี ความสัมพันธ์กบั อินเดีย จีน ชวา - มลายู ตลอดจนติดต่อกับคนไทยในภาคกลาง ท่ีเดินทางไปค้าขายติดต่อกัน ด้วย ในชนบทความเจริญยังเข้าไปไม่ถึง ลักษณะของ ดนตรีพ้ืนบ้าน จึงเป็นลักษณะเรียบง่าย ประดิษฐ์อย่าง ง่าย ๆ จากวัสดุใกล้ตัวมีการรักษาเอกลักษณ์ และยอมให้มีการพัฒนาได้น้อยมาก ดนตรีพ้ืนบ้านด้ังเดิม น่าจะ มาจากเผ่าพันธ์ุ เงาะซาไก ประเภทเคร่ืองตี โดยใช้ไม้ไผ่ลาขนาดต่าง ๆ กัน ตัดออกเป็นท่อน สั้นบ้างยาวบ้าง ตดั ปากของกระบอกไมไ้ ผ่ ตรงหรือเฉยี ง บา้ งก็หุม้ ดว้ ยใบไม้ กาบของต้นพชื ใช้บรรเลง (ตี) ประกอบการขับร้อง และเต้นรา เคร่ืองดนตรี ค่อย ๆ พัฒนามาเป็นแตร กรับ ซ่ึงล้วนแล้วแต่มีมาแต่เดิมท้ังสิ้น ในระยะต่อมาหลังจากมีการติดต่อ การค้าขายกับอินเดียและจีน การถ่ายโยงวัฒนธรรมย่อมเกิดข้ึน สังเกตได้อย่างชัดเจนจาก ทับ (กลอง) ที่ใช้ประกอบการเล่นโนรา มีร่องรอยอิทธิพลของอินเดียอย่างชัดเจน และการมีอาณาเขตติดต่อกับชวา - มลายู ภาษาและวัฒนธรรมทางดนตรี จึงถูกถ่ายโยงกันมาด้วย เช่น แถบ จังหวัดภาคใต้ทตี่ ดิ เขตแดน อาจกลา่ วได้วา่ ดนตรีพื้นบ้าน ข อ ง ภ า ค ใ ต้ มี อิ ท ธิ พ ล แ บ บ ช ว า ม ล า ยู ก็ ยั ง ไ ม่ ผิ ด เ ช่ น ร า ม ะ น า ( ก ล อ ง ห น้ า เ ดี ย ว ) ในช่วงสมัยกรุงธนบุรี (พระเจ้าตากสินมหาราช) เมืองนครศรีธรรมราช มีความสัมพันธ์กับภาคกลาง อย่างแนบแนน่ และเปน็ ศนู ยก์ ลางความเจริญ ทางศิลปวัฒนธรรมด้านการแสดง และดนตรี จนมีช่ือว่า “เมือง ละคอน” ในสมัยกรุงธนบุรีพระเจ้าตากสินมหาราช โปรดให้นาละครจากเมืองนครศรีธรรมราช ไปฝึกละครให้ นักแสดงในสมัยนั้น จึงเป็นการถ่ายโยงวัฒนธรรม ด้านดนตรีกลับไปสู่ เมืองนครศรีธรรมราชด้วย เช่น ป่ีนอก ซออู้ และซอด้วง

ดนตรีพ้นื เมอื งภาคกลาง ประกอบด้วยเครื่องดนตรปี ระเภท ดีด สี ตี เปา่ โดยเคร่ืองดีดได้แก่ จะเข้และจ้องหน่อง เครอ่ื งสไี ด้แก่ ซอดว้ งและซออู้ เครื่องตีได้แก่ ระนาดเอก ระนาดท้มุ ระนาดทอง ระนาดทุ้มเล็ก ฆ้อง โหม่ง ฉิ่ง ฉาบและกรับ เคร่ืองเปา่ ไดแ้ ก่ ขลุ่ยและป่ี ลกั ษณะเด่นของดนตรีพน้ื บ้านภาคกลาง คือ วงปพ่ี าทย์ของภาคกลางจะมีการ พัฒนาในลกั ษณะผสมผสานกับดนตรหี ลวง โดยมกี ารพฒั นาจากดนตรปี แ่ี ละกลองเป็นหลกั มาเป็นระนาดและ ฆอ้ งวงพรอ้ มท้งั เพ่มิ เครื่องดนตรี มากขนึ้ จนเปน็ วงดนตรีท่มี ีขนาดใหญ่ รวมทัง้ ยังมีการขบั ร้องทีค่ ลา้ ยคลึงกบั ปี่ พาทยข์ องหลวง ซึ่งเป็นผลมาจากการถ่ายโยงทางวฒั นธรรมระหวา่ งวัฒนธรรมราษฎรแ์ ละหลวง

ประเภทของเพลงพื้นเมอื ง เพลงพ้ืนบา้ นแบง่ ได้หลายประเภทขนึ้ อยกู่ บั วิธีการจัดแบง่ ดังนี้ แบง่ ตามเขตพืน้ ท่ี เป็นการแบง่ ตามสถานทที่ ีป่ รากฏเพลง อาจแบง่ กว้างทส่ี ุดเป็นภาค เชน่ เพลงพน้ื บา้ นภาคกลาง เพลงพื้นบ้าน ภาคเหนอื เพลงพนื้ บ้านภาคอีสาน เพลงพนื้ บา้ นภาคใต้ หรืออาจแบ่งย่อยลงไปอกี เป็นเขตจงั หวดั อาเภอ ตาบล เชน่ เพลงพื้นบา้ นตาบลเขาทอง อาเภอพยหุ ะครี ี จังหวัดนครสวรรค์ เพลงพน้ื บ้านของอาเภอพนมทวน จงั หวัดกาญจนบุรี แบง่ ตามกลุ่มวัฒนธรรมของผู้เป็นเจา้ ของเพลง เป็นการแบง่ ตามกลมุ่ ชนท้องถิ่นทีม่ ีวัฒนธรรม หรอื เชือ้ ชาติต่างกนั เช่น เพลงพ้นื บ้านกลมุ่ วฒั นธรรมไทยโคราช เพลงพื้นบ้านกลุ่มวัฒนธรรมเขมร-สว่ ย เพลงพืน้ บา้ นกลุ่มวัฒนธรรมไทย-ลาว เพลงพืน้ บ้านกลุ่มไทยมสุ ลิม แบง่ ตามโอกาสท่ีร้อง กลุ่มหนึ่งเปน็ เพลงที่ร้องตามฤดูกาลหรือเทศกาล เช่น เพลงท่รี ้องในฤดกู าลเกบ็ เกีย่ ว ได้แก่ เพลงเกย่ี วข้าว เพลงสงฟาง เพลงนา และเพลงทรี่ ้องในเทศกาลสงกรานต์ ได้แก่ เพลงบอก เพลงร่อยพรรษา เพลงตรจ๊ อีก กลุ่มหน่ึงเป็นเพลงท่รี ้องได้ทั่วไปไมจ่ ากดั โอกาส เชน่ ซอ หมอลา เพลงโคราช เพลงลาตัด เพลงฉอ่ ย เพลงอี แซว แบ่งตามจุดประสงค์ในการร้อง เชน่ เพลงกล่อมเด็ก เพลงปลอบเด็ก เพลงประกอบการละเล่นของเด็ก เพลงปฏิพากย์ เพลงรอ้ งราพัน เพลง ประกอบการละเลน่ ของผูใ้ หญ่ และเพลงประกอบพิธีกรรม โดยแบ่งตามเขตพนื้ ท่ีเป็นภาค ๔ ภาค คอื ๑. เพลงพนื้ บ้านภาคกลาง ๒. เพลงพืน้ บา้ นภาคเหนือ ๓. เพลงพืน้ บ้านภาคอสี าน ๔. เพลงพ้นื บ้านภาคใต้

ความแตกต่างของดนตรพี ื้นเมืองของไทย เพลงพื้นบ้านภาคกลาง มอี ทิ ธพิ ลมาจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ การประกอบอาชีพวถิ กี ารดาเนนิ ชวี ติ พิธีกรรม และ เทศกาลตา่ ง ๆ โดยสามารถแยกประเภทไดด้ ังน้ีคือ 1.เพลงท่รี ้องเลน่ ในฤดูนา้ มาก ได้แก่เพลงเรือ เพลงร่อยพรรษา เพลงราภาขา้ วสาร เพลงหน้าใย เพลงครง่ึ ท่อน เปน็ ตน้ 2.เพลงที่ร้องเลน่ ในฤดเู กี่ยวข้าวและนวดขา้ ว ได้แก่ เพลงเกี่ยวข้าว เพลงเตน้ รากาเคียว เพลงจาก ซึง่ ใช้ร้องเล่น ระหว่างเกย่ี วข้าว สาหรับเพลงสงฟาง เพลงพานฟาง เพลงโอก เพลงสงคอลาพวน เพลงเตะขา้ ว และเพลงชัก กระดาน ใชร้ ้องเลน่ ระหว่างนวดข้าว 3.เพลงทรี่ ้องเล่นในช่วงตรษุ สงกรานต์ ไดแ้ ก่เพลงสงกรานต์ ได้แก่ เพลง สงกรานต์ เพลงหย่อย เพลงระบาบา้ นไร่ เพลงชา้ เจา้ หงส์ เพลงพวงมาลยั เพลงสันนิษฐาน เพลงคลอ้ งช้าง และเพลงใจหวัง เพลงฮนิ เลเล เพลงกรุ่น เพลงยว่ั เพลงชกั เยอ่ เพลงเข้าทรงตา่ ง ๆ เป็นต้น 4.เพลงทร่ี ้องเลน่ ได้ทุกโอกาส เพือ่ ความเพลดิ เพลนิ สนกุ สนาน และเกิดความสามัคคีในหม่คู ณะ มักจะร้องเล่น กันในโอกาสทางานรว่ มกัน หรือมีงานบญุ และงานรนื่ เริงตา่ ง ๆ โดยเปน็ เพลงในลักษณะพอ่ เพลงแม่เพลงอาชีพ ทใี่ ช้โต้ตอบกันได้แก่ เพลงเทพทอง เพลงปรบไก่ เพลงอีแซว เพลงฉอ่ ย เพลงลาตดั เพลงทรงเครอ่ื ง เปน็ ต้น

เพลงพืน้ บ้านภาคเหนอื สามารถใช้รอ้ งเล่นได้ทุกโอกาส โดยไมจ่ ากดั ฤดูหรือเทศกาลใด ๆซง่ึ ใช้ร้องเพลงเพื่อผอ่ นคลายอารมณ์ และการพักผ่อนหย่อนใจ โดยลักษณะการขับร้องและทว่ งทานองจะอ่อนโยน ฟังดูเนิบนาบนุ่มนวล สอดคลอ้ ง กบั เคร่ืองดนตรีหลัก ได้แก่ ป่ี ซงึ สะล้อ เป็นตน้ นอกจากนี้ยงั สามารถจดั ประเภทของเพลงพ้นื บ้านของ ภาคเหนอื ได้ 3 ประเภท คือ 1.เพลงซอ ใช้ร้องโต้ตอบกัน โดยมกี ารบรรเลงป่ี สะล้อและซงึ คลอไปดว้ ย 2.เพลงจ๊อย เป็นการนาบทประพนั ธข์ องภาคเหนือมาขบั รอ้ งเปน็ ทานองสัน้ ๆ โดยเน้ือหาของคาร้องจะเปน็ การ ระบายความในใจ แสดงอารมณ์ความรัก ความเงียบเหงา มีนักรอ้ งเพยี งคนเดยี วและจะใชด้ นตรบี รรเลงหรอื ไม่ กไ็ ด้ เช่น จ๊อยให้กับคนรักร้คู นในใจ จอ๊ ยประชันกันระหว่างเพ่อื นฝงู และจ๊อยเพ่ืออวยพรในโอกาสตา่ ง ๆ หรอื จ๊อยอาลา 3.เพลงเดก็ มีลักษณะคล้ายกับเพลงเดก็ ของภาคอืน่ ๆ คือเพลงกลอ่ มเดก็ เพลงปลอบเด็ก และเพลงท่ีเด็กใช้ ร้องเลน่ กนั ไดแ้ ก่ เพลงฮ่อื ลกู และเพลงสิกจุงจา

เพลงพน้ื บา้ นตะวันออกเฉียงเหนอื (เพลงพ้นื บ้านของภาคอสี าน) ใชร้ ้องเพื่อความสนุกสนานในงานรงุ่ เรืองต่าง ๆ สามรถแต่งได้ตามกลุ่มวัฒนธรรม 3 กล่มุ ใหญ่ ๆ คือ กลุ่ม วัฒนธรรมหมอลา กลมุ่ วฒั นธรรมเพลงโคราช และกลุ่มวัฒนธรรมเจรียงกนั ตรึม ดังน้ี 1.เพลงพืน้ บา้ นกลุม่ วัฒนธรรมหมอลา ประกอบดว้ ยหมอลาและเซ้งิ โดยหมอลา แบ่งการลาและการร้อง ออกเป็น 5 ประเภทคือ ลาเร่ือง ลากลอน ลาหมู่ ลาเพลนิ และลาผฟี ้า ส่วนเซิ้งหรือคาร้อง จะใชค้ าร้องร่นื เริง เช่น การแห่บง้ั ไฟ การแหน่ างแมว การแหน่ างด้ง โดยเนอ้ื เรื่องในการเซิง้ อาจเป็นการขอบรจิ าคเงินในงานบุญ การเซิ้งอวยชัยใหพ้ ร หรอื การเซ้ิงเล่านิทานชาดกตามแตโ่ อกาส 2.เพลงพนื้ บ้านกลุ่มวฒั นธรรมเพลงโคราช เปน็ เพลงพน้ื บา้ นท่ีเล่นกันมานาน ในจังหวดั นครราชสมี า หรอื โคราช ซงึ่ เน้ือเพลงมลี ักษณะเด่นมนการเลน่ สมั ผัสอักษรและสัมผัสสระทาให้เพลงนา่ ฟังยิ่งขน้ึ และยงั มีเสียง รอ้ ง ไช ชะ ชะ ชิ ชาย พรอ้ มทัง้ การราประกอบแบบเยาะตัวตามจงั หวะข้นึ ลง ซึ่งเพลงโคราชนน้ี ยิ มเล่นทุก โอกาสตามความเหมาะสม 3.เพลงพ้ืนบา้ นกลมุ่ วฒั นธรรมเจรยี งกันตรมึ ที่นิยมร้องเล่นกนั ในแถบจังหวัดทีม่ เี ขตติดตอ่ กบั เขมร ได้แก่ บุรรี ัมย์ สุรนิ ทร์ และศรษี ะเกษ โดยคาวา่ กนั ตรมึ น้นั หมายถงึ กลองกันตรึม ซึ่งเป็นเคร่ืองดนตรีหลกั เวลาตจี ะใช้ จังหวะเสียงดัง โจะ๊ กนั ตรึม โจ๊ะตรึม ๆ และเจรยี งหมายถึง การขับหรือการร้องเพลงมี 2 แบบคอื เจรียงใช้ ประกอบการบรรเลงดนตรีกันตรมึ ซงึ่ เม่ือขับร้องไปท่อนหน่ึง ดนตรกี ันตรมึ กจ็ ะรบั และบรรเลงยาว ต่อไปเป็น เจรียงดนตรีใชร้ ้องในงาน โดยจะขบั ร้องไปเร่ือย ๆ และมีดนตรีบรรเลงคลอไปเบา ๆ ซึง่ ในการรอ้ งเจรยี งน้นั สามารถร้องเลน่ ไดท้ ุกโอกาส โดยไมจ่ ากดั ฤดหู รือเทศกาล

เพลงพ้ืนบ้านภาคใต้ มอี ยู่ประมาณ 8 ชนดิ มรท้ังการอ้ งเดีย่ วและการร้องเปน็ หมู่คณะ โดยสามารถแบ่งเป็น 2 กลมุ่ ใหญ่ ๆ คือ 1.เพลงท่ีรอ้ งเฉพาะโอกาสหรือในฤดูกาล ได้แกเ่ พลงเรือ เพลงบอก เพลงนาคาตัก เพลงกล่อมนาคหรือเพลงแห่ นาคเป็นต้น 2.เพลงทร่ี ้องไมจ่ ากดั โอกาส ไดแ้ ก่เพลงตันหยง ซง่ึ นยิ มร้องในงานบวช งานอตางงาน งานข้นึ ปีใหม่ และงาน มงคลตา่ ง ๆ เพลงเดก็ ทรี่ ้องกลอ่ มเด็กให้หลับ และเพลงฮูลู หรือลเิ กฮลู ู ที่เปน็ การร้องคล้าย ๆ ลาตดั โดยมี รามะนา เป็นเคร่อื งดนตรีประกอบจงั หวะกับบทขับรอ้ งภาษาทอ้ งถ่นิ คือภาษามลายูเป็นกลอนโต้ตอบก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook