Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นกแก้ว

นกแก้ว

Published by Patcharaphorn Heebrouy, 2020-01-24 04:26:40

Description: การศึกษา

Search

Read the Text Version

281 4.3.1 ควรใช้อาหารสําหรับนกยงู รุ่นท่ีมีพลงั งาน 2,400 กิโลแคลอรี่ โปรตีน 18% ฟอสฟอรัส 0.8% และเสริมด้วยหญ้าแห้งหรือหญ้าสด นอกจากนีค้ วรควบคมุ นํา้ หนกั ตวั นกยงู อยา่ ให้นํา้ หนกั เพ่มิ เร็วเกินไป เพราะขายงั พฒั นาไมเ่ ตม็ ที่ที่จะรับนํา้ หนกั ตวั นกยงู ที่เพ่ิมขนึ ้ อยา่ งรวดเร็ว 4.3.2 ควบคมุ การระบายอากาศภายในโรงเรือน ส่วนบริเวณภายนอก สําหรับให้ นกยงู เดินเล่นต้องระมดั ระวงั อย่าให้มีเศษวสั ดุ เช่น เศษผ้า และถงุ พลาสติก เป็ นต้น ตกหล่นอยู่ เพราะนกจะจิกกินซง่ึ อาจจะทําให้นกยงู ตายได้ 4.3.3 จดั อตั ราสว่ นพืน้ ที่ให้เหมาะสมกบั จํานวนนกยงู ซง่ึ กําหนดพืน้ ท่ีให้ตวั ละ 1.5 ตารางเมตร สําหรับในโรงเรือน 4.3.4 เพ่ิมภาชนะให้นํา้ และอาหารให้เหมาะสมกบั จํานวนนกยงู และควรทําความ สะอาดภาชนะท่ีให้นํา้ และอาหารเป็นประจําทกุ วนั 4.3.5 ไม่จําเป็ นต้องให้แสงไฟในเวลากลางคืน นกยูงจะได้รับแสงสว่างจาก ธรรมชาตเิ พียงพอแล้ว 4.3.6 จดบนั ทกึ ข้อมลู ตา่ งๆ เก่ียวกบั การให้อาหารอตั ราการตายการเจริญเติบโต และอาการผิดปกตติ า่ งๆ 4.4 การเลีย้ งนกยงู พอ่ -แมพ่ นั ธ์ุ (อายุ 2 ปี ขนึ ้ ไป) นกยงู ที่ได้รับการเลีย้ งดอู ย่างถกู ต้อง จะเร่ิมให้ผลผลิตและผสมพนั ธ์ุได้ เม่ือเพศเมียอายุ 2 ปี ขึน้ ไป และเพศผู้ 2.5 ปี ขึน้ ไป และจะให้ ผลผลิตติดต่อกันนานถึง 30 ปี ดังนัน้ เพื่อให้ได้รับผลผลิตอย่างสมํ่าเสมอจึงควรพิจารณา ดําเนนิ การดงั นี ้ 4.4.1 อาหารท่ีประกอบด้วยโปรตีน 15-17% พลงั งาน 2,300 - 2,600 กิโลแคลอร่ี แคลเซียม 18% ฟอสฟอรัส 0.9% ให้อาหารวนั ละ 0.2 - 0.3 กิโลกรัมตอ่ ตวั และควรเสริมด้วยหญ้า นอกจากนีต้ ้องมีหนิ เกร็ดตงั้ ไว้ให้จกิ กินด้วย เพ่ือจะชว่ ยในการยอ่ ยท่ีกระเพาะบด 4.4.2 ภาชนะที่ให้นํา้ และอาหาร ควรทําความสะอาดทุกวนั และมีนํา้ ตงั้ ให้กิน ตลอดเวลา 4.4.3 อตั ราสว่ นท่ีใช้ผสมพนั ธ์ุ คือ เพศผู้ 1 ตวั ตอ่ เพศเมีย 1 - 3 ตวั 4.4.4 จดั พืน้ ที่ให้เหมาะสม โดยใช้พืน้ ที่ด้านภายในโรงเรือนตวั ละ 5 - 8 ตาราง เมตร และบริเวณลานตวั ละ10 - 20 ตารางเมตร และควรเลีย้ งฝงู ละ 2 - 4 ตวั (เพศผู้ 1 ตวั ตอ่ เพศ เมีย 1 - 3 ตวั ) เทา่ นนั้

282 4.4.5 เก็บไข่ออกทุกวนั และรวบรวมไว้ในห้องควบคมุ อณุ หภูมิ เพื่อเข้าต้ฟู ัก แต่ จะต้องมีไขป่ ลอมวางไว้ เพ่ือให้แม่นกยงู ไข่ติดตอ่ ไปเร่ือยๆ และควรขงั นกยูงไว้ด้านนอกโรงเรือน กอ่ นท่ีจะเก็บไขอ่ อกเพราะนกยงู ชว่ งเวลาผสมพนั ธ์ดุ รุ ้ายทําอนั ตรายได้ 4.4.6 ตรวจสขุ ภาพนกยงู ทกุ วนั หากมีปัญหาหรือผิดปกติ ต้องรีบแก้ไขโดยทนั ที 4.4.7 ตรวจสภาพภายในโรงเรือนเป็นประจําทกุ วนั หากอปุ กรณ์ใดชํารุดจะต้องรีบ ซอ่ มแซมให้อยใู่ นสภาพที่ใช้งานได้ทนั ที หรือแก้ไขให้เหมาะสมที่จะใช้งานได้ตอ่ ไป 4.4.8 จดบนั ทกึ การให้ผลผลิต การตาย การกินอาหาร การให้ยา วคั ซีน และอ่ืนๆ เป็นประจําทกุ วนั ง. วงศ์นกเอีย้ ง - กงิ้ โครง สําหรับวงศ์นกเอีย้ ง – กิง้ โครง รัตนา สาริวงศ์จันทร์ (2557, หน้า 5-6) รายงานว่า นกขนุ ทองจะใช้เวลาในการฟักไข่นาน 14 - 20 วนั ในชว่ งเวลานี ้ จะระแวดระวงั ภยั และต่ืนตวั มาก บางครัง้ มีศตั รูเชน่ นกปี กลายสก๊อท และนกตะขาบดง เข้ามาใกล้รัง จึงถกู เตือนก่อนด้วยเสียงอนั แข็งกร้าว แตเ่ ม่ือผ้บู กุ รุกยงั เฉย จงึ จิกตี จนผ้บู กุ รุก ต้องบินหนีไป แม้ว่านกขนุ ทองจะแยกออกจาก ฝงู มาฟมู ฟักลกู อยู่ แตย่ งั ตดิ ตอ่ กบั สมาชิกในฝงู อยู่ โดยพอ่ แม่นกท่ีออกเวรฟักไข่มาจบั เกาะท่ีก่ิงไม้ นอกรัง จะสง่ เสียงร้องโต้ตอบกับเพื่อนที่มองไมเ่ ห็นตวั อย่ตู ลอดเวลา แสดงถึงความสมั พนั ธ์อนั แนบแนน่ ในฝงู เดียวกนั เมื่อลกู นกแรกเกิด จะมีผิวหนงั เป็ นสีออกชมพู ยงั ไม่มีขนตามตวั อาจมีขน ขาวๆ แซมและจะหลบั ตาอยรู่ าว 7 - 8 วนั จงึ ลืมตาขนึ ้ นบั จากวนั แรกที่ลกู นกออกจากไข่ พอ่ แม่นก จะช่วยกนั เลีย้ งดลู ูก ผลดั กนั ไปเที่ยวหาอาหารมาป้ อน แต่ส่วนใหญ่พ่อนกจะบินไปหาอาหาร บอ่ ยครัง้ กว่าและส่งตอ่ ให้แม่นกป้ อนลกู วนั แรกๆ ลกู นกจะถกู ป้ อนด้วย หนอน ตกั๊ แตน และผลไม้ สกุ เม่ือลกู นกอายุ 2 - 4 วนั สามารถร้องขออาหารจากพอ่ แมไ่ ด้แล้ว พอ่ แมจ่ ะหาอาหารขนาดใหญ่ ขึน้ มาให้ลกู กินเพิ่มวนั ละ 1 - 2 ครัง้ ได้แก่ กิง้ ก่าตวั เล็กๆ โดยนํามาป้ อนให้ทงั้ ตวั บางครัง้ หากหา อาหารได้มาก พ่อแมน่ กก็จะนํามาเก็บสํารองไว้ข้างรัง มลู ท่ีลกู นกถ่ายออกมานนั้ พ่อแม่นกจะ ชว่ ยกนั คาบออกไปทิง้ นอกรังโดยวางไว้บนก่ิงไม้ใหญ่ (ไมท่ ิง้ ลงพืน้ ดินหา่ งรัง หรือ ทิง้ ลงนํา้ เหมือน นกบางชนิด ที่ทํารังใกล้นํา้ หรือในโพรง) ระยะท่ีลกู ยงั เล็กพ่อแม่นกมกั ไม่ค่อยอย่หู ่างรังมากนกั เวลาแดดส่องเข้าไปในรัง ซึ่งจะทําให้ลูกร้อน พ่อนกหรือแมน่ ก จะคอยนง่ั บงั แดดอยทู่ ่ีปากโพรง ยามคํา่ คืน พ่อแมน่ กจะอย่กู บั ลกู ในรังคอยปกป้ องค้มุ ครองลกู น้อย บางทีพ่อนกจะออกมาเกาะก่ิง

283 ไม้เฝ้ ายามอยนู่ อกรัง บางครัง้ มีนกเค้าโมงบนิ มาเกาะใกล้ๆ รัง พอ่ แม่นกรีบบินออกมารุมจิกตีจน นกเค้าโมงต้องบนิ หนีไป เม่ือลกู นกอายไุ ด้ 9 วนั ขนสีดําจะเร่ิมขึน้ และผิวหนงั คอ่ ยๆ เปล่ียนเป็ นสีเหลือง ตดั กบั สี ขนอยา่ งเดน่ ชดั พออายไุ ด้ 14 - 16 วนั มีขนสีดําขนึ ้ ปกคลมุ เตม็ ตวั แล้ว และเมื่ออายไุ ด้ 18 - 20 วนั ก็สามารถอกมารับอาหารจากพอ่ แม่ที่ปากโพรงได้ พอลกู นกอายุ 27 วนั สามารถบนิ ออกจากรังได้ แล้ว หลงั จากลกู นกออกจากรังไปแล้วประมาณ 10 วนั โพรงนีก้ ็จะเป็ นท่ีทํารังของนกคใู่ หม่หรือ อาจเป็ นการวางไขค่ รัง้ ที่ 2 ของนกคเู่ ดิม โดยธรรมชาติพอ่ แม่นกจะไมเ่ ลีย้ งลกู ท่ีออกจากรังไปแล้ว ลกู นกต้องเลีย้ งตวั เองและจะเป็ นสมาชิกในฝงู เดียวกบั พ่อแม่ตอ่ ไป ลกู นกท่ีเพิ่งออกจากรังนีน้ บั ว่า ยงั เป็นวยั รุ่น ขนตามตวั ยงั ไมด่ ําเข้มเป็นมนั แตม่ ีแถบขาวที่ขนปี กบนิ ชนั้ แรกแล้วและเหนียงบริเวณ ใต้ตาถึงข้างคอเป็ นสีเหลืองออ่ น พออายไุ ด้ 3 เดือน นบั วา่ เป็ นหนมุ่ สาวแล้ว ขนจะมีสีดําสนิทเป็ น มนั เงา เหนียงคอเปลี่ยนเป็ นสีส้มสดใส พออายไุ ด้ ประมาณ 1 ปี เหนียงคอจะยาวมากที่สดุ คือ ประมาณ 2 - 3 เซนตเิ มตร นบั เป็ นวยั ที่เจริญพนั ธ์ุมีคไู่ ด้แล้ว นกขนุ ทองป่ ามีอายยุ ืนยาวเพียงใดยงั ไม่เป็ นท่ีทราบกนั แตส่ าหรับนกขนุ ทองท่ีได้รับการเลีย้ งดใู นกรง มีรายงานวา่ อายุยืนนานท่ีสดุ ถึง ประมาณ 20 - 24 ปี แสดงวา่ ในธรรมชาติ จะต้องมีอายยุ ืนยาวกวา่ นีม้ าก การสืบพนั ธ์ุของนกขนุ ทอง มกั ทําในชว่ งท่ีเมื่อลกู นกชดุ ก่อนหน้า ออกจากไขแ่ ล้ว จะเป็ น ชว่ งต้นฤดฝู นพอดี หรือกอ่ นหน้านนั้ เลก็ น้อย เพ่ือจะได้มีอาหารอดุ มสมบรู ณ์ แตม่ ีบางคทู่ ี่ผสมพนั ธ์ุ ลา่ ไปถึงช่วงฤดฝู นมกั ไม่ประสบผลสําเร็จ เนื่องจากไข่เสียบ้าง รังพงั บ้าง โดยทว่ั ไปการหลบั ของ นกขนุ ทองจะเป็ นการหมอบหรือยอ่ ตวั บนคอน รังของมนั มนั จะหดตวั ลงมาท่ีบา่ ใบหน้าตงั้ ตรง และปิ ดตา ถ้าสงั เกตดจู ะพบวา่ มกั จะหลบั ตลอดทงั้ วนั บางครัง้ อาจจะยืนขาเดียวในระหว่างท่ีมนั พกั ผอ่ น นานๆ ครัง้ จะเอาหวั เข้าไปหลบในขน นกขนุ ทองมกั จะงีบหลบั ตลอดทงั้ วนั แตม่ นั จะนอน หลบั ในเวลากลางคืน นกขนุ ทองชอบการอาบนํา้ มาก มกั จะเล่นนํา้ อย่างน้อย 2 ครัง้ ตอ่ 1 วนั หลงั จากอาบนํา้ มกั จะสะบดั ตวั และไซร้ตามขนเพ่ือให้ตวั แห้ง นกขนุ ทองมกั จะสนั่ หวั เพื่อให้นํา้ ที่หู ออกมา พวกมนั จะจามเพ่ือเอานํา้ ออกจากรูจมกู การอาบนํา้ ของนกขนุ ทองมกั เกิดในเวลาวา่ ง อยา่ งไรก็ตามในการเลีย้ งสตั ว์โดยทวั่ ไป สิง่ ท่ีมีความจําเป็ นอีกประการหนึง่ คือ การบนั ทึก ข้อมูล ซ่ึงการบนั ทึกการเลีย้ งเป็ นส่ิงสําคญั ท่ีจะทําให้ทราบถึงข้อมูลทงั้ หมดภายในฟาร์มตงั้ แต่ เร่ิมต้นถึงสิน้ สดุ การเลีย้ ง เชน่ ในการผสมพนั ธ์ุสตั ว์ท่ีมีเชือ้ สายเดียวกนั ซึ่งอาจซือ้ นกจากฟาร์มเมื่อ ปี ท่ีแล้ว และอีก 2 - 3 ปี ตอ่ มา มีการซือ้ เพื่อเลีย้ งเพิ่ม ดงั นนั้ ต้องรู้ว่านกที่ซือ้ ไปใหม่ มีความเก่ียว พนั ธ์ุกับนกท่ีซือ้ ไปปี ก่อนหรือไม่อย่างไร การรักษาสายพันธ์ุเป็ นส่ิงสําคญั วิธีท่ีดีที่สุดที่จะเก็บ

284 รักษาการบนั ทกึ ที่ดี คอื การตดิ แถบหรือหว่ งที่ขานก ควรเป็ นสมาชิกชมรมนกชนิดนนั้ ๆ เพ่ือที่จะได้ นํานกไปขึน้ ทะเบียนบนั ทึกช่ือปี ที่กกไข่ และลกั ษณะเฉพาะที่จะบง่ ชีถ้ ึงนก โดยรัดหว่ งขาหรือแถบ นกจะเขียนวนั เดอื น ปี เกิดของนกลงข้างใต้ ให้ทําหมายเลขสมาชิก เป็นต้น ประเภทของบนั ทึกการ เก็บเป็ นส่ิงสําคญั เมื่อผ่านไปหลายปี เช่น มีลูกนกในรุ่นท่ี 4 และ 5 การรู้ว่านกตัวไหนมี ความสมั พนั ธ์กับตวั ไหน และควรหลีกเลี่ยงผสมพนั ธ์ุ เพราะเป็ นเชือ้ สายที่ใกล้กัน การจดบนั ทึก เป็นการทําให้มน่ั ใจวา่ มีการจบั คใู่ ห้นกอยา่ งเหมาะสมสําหรับในอนาคตตอ่ ไป (พิมพ์กานต์ เหลือง ทองคํา, 2546, หน้า 120 - 121)

285 สรุป ผู้เลีย้ งควรมีความรับผิดชอบ ดูแลสัตว์ปี กสวยงามของตนอย่างดีท่ีสุดเท่าที่จะทําได้ เพื่อให้สตั ว์ปี กสวยงามมีสขุ ภาพกายท่ีดี อยเู่ ป็ นเพื่อนกบั คนเลีย้ งได้ยาวนานขนึ ้ โดยทวั่ ไปผ้เู ลีย้ ง สามารถส่งเสริมสุขภาพของสตั ว์ปี กสวยงามได้โดยการเลีย้ งด้วยอาหารที่ดีมีคุณค่าทางโภชนะ ครบถ้วน ร่วมกับการจดั การดแู ลทวั่ ไปในการเลีย้ ง และการดแู ลพิเศษในสตั ว์ปี กสวยงามบางสาย พนั ธ์ุ เชน่ ไว้สําหรับการประกวดหรือแขง่ ขนั เป็ นต้น การดแู ลโดยทวั่ ไป เชน่ ควรเร่ิมตงั้ แตส่ ตั ว์ปี ก สวยงามเมื่ออายนุ ้อยๆ อย่างสมํ่าเสมอ การดแู ลเหลา่ นีท้ ําให้ผ้เู ลีย้ งใกล้ชิดกบั สตั ว์ เพ่ือให้สตั ว์ปี ก สวยงามเกิดการยอมรับได้ตอ่ ไป

286 คาํ ถามประจาํ บท คําชีแ้ จง: ให้จบั คขู่ ้อความที่มีความสมั พนั ธ์กนั ให้ถกู ต้อง โดยอา่ นคําถามด้านซ้ายมือแล้ว เลือก คําตอบด้านขวามือ ถ้าคดิ ว่าข้อใดถกู ต้องให้นําตวั อกั ษรที่อย่หู น้าคําตอบด้านซ้ายมือมาใส่ หน้า ข้อด้านขวามือ แตล่ ะข้อ ทงั้ 10 ข้อ ……....1. เมื่อลกู นกออกจากไข่ แมจ่ ะขย้อน ก. เป็นการเลีย้ งลกู ไกฟ่ ้ าให้เช่ือง อาหารจากกระเพาะพกั ของตนออกมาให้กิน ข. 12 – 14 วนั ............2. ผิวหนงั บริเวณส่วนหจู ะเปิ ด เมื่ออายุ ค. 3 – 4 สปั ดาห์ ประมาณ 23 วนั ง. นกแก้วมาคอว์ ............3. การปลอ่ ยนกให้หิวเป็นวธิ ียน่ จ. 6 – 7 เดอื น ระยะเวลาการฝึ กให้เช่ืองสนั้ ลง ฉ. นกขนุ ทอง ...........4. ระยะฟักไขข่ องนกกรงหวั จกุ ช. นกแก้ว ...........5. ลกู นกจะเริ่มผลกั ขนเป็นครัง้ แรก ซ. การปลอ่ ยให้นกหวิ ...........6. นกยงู ฌ. ให้ผลผลิตตดิ ตอ่ กนั นาน 30 ปี ...........7. เมื่อนําลกู ไก่ฟ้ าออกจากต้ฟู ักแล้วต้อง ญ. นกยงู ให้ความอบอนุ่ ประมาณ ...........8. ไก่ฟ้ าจะเร่ิมผสมพนั ธ์ุ เมื่อเพศเมีย อายุ 2 ปี ขนึ ้ ไป เพศผ้อู ายุ 2.5 ปี ขนึ ้ ไป ............9. ลกู ไก่ฟ้ าเกิดใหม่ ...........10. โดยธรรมชาติพ่อแม่นกจะไม่เลีย้ ง ลูกที่ออกจากรังไปแล้ว ลกู นกต้องเลีย้ งตวั เอง และจะเป็นสมาชิกในฝงู เดยี วกบั พอ่ แมต่ อ่ ไป

287 ใบงานประจาํ บท การเลือกสัตว์ปี กสวยงามให้เหมาะกับตัวเอง หลักการ ปัจจบุ นั ผ้เู ลีย้ งสตั ว์ปี กสวยงามมีความนิยมที่จะเลีย้ งอย่หู ลากหลายชนิด และสายพนั ธ์ุ ดงั นนั้ สง่ิ ท่ีสําคญั และควรคาํ นงึ ถงึ คือ ความรับผดิ ชอบของผ้เู ลีย้ งวา่ มีวิธีการจดั การเลีย้ งดู การเอา ใจใส่อย่างสมํ่าเสมอหรือไม่ สําหรับการเลีย้ งดโู ดยทวั่ ไปนนั้ ควรเริ่มตงั้ แต่สตั ว์ปี กสวยงามยงั เล็ก ทงั้ นีเ้พื่อให้เกิดความใกล้ชิด ความค้นุ เคย และเกิดการยอมรับผ้เู ลีย้ งได้ตอ่ ไป อุปกรณ์ 1. ใบงานประจําบทท่ี 6 เรื่อง การเลือกสตั ว์ปี กสวยงามให้เหมาะกบั ตวั เอง วิธีการ 1. บรรยายตามเนือ้ หาบทที่ 6 การจดั การเลีย้ งดสู ตั ว์ปี กสวยงาม ประกอบสื่อเพาเวอร์ พอยน์ 2. อธิบายขนั้ ตอนการทําใบงานประจําบท จากนนั้ ให้นกั ศกึ ษาสํารวจความสนใจของผู้ เลีย้ งสตั ว์ปี กสวยงาม และนําเสนอแลกเปล่ียนเรียนรู้ในชนั้ เรียน

288 แบบรายงานผล ช่ือ-สกุล………………………………………….. สาขาวชิ า.................................................... คาํ ชีแ้ จง ให้นกั ศกึ ษาสํารวจผ้เู ลีย้ งสตั ว์ปี กสวยงามว่ามีความสนใจเลีย้ งนกชนิดใดมากที่สดุ พร้อมทงั้ บอกเหตผุ ลที่ชอบ และวธิ ีการเลีย้ งนกมาให้พอเข้าใจ หัวข้อ รายละเอียด 1. ช่ือสตั ว์ปี กสวยงามท่ีชอบ 2. เหตผุ ลท่ีชอบ 3. วธิ ีการเลีย้ ง 4. จดุ ประสงค์ในการเลีย้ ง

289 เอกสารอ้างองิ จิตรกร บวั ปลี. (2547). คู่มือการเพาะเลีย้ งไก่ฟ้ าและนกยูงฉบับสมบูรณ์: ไก่ฟ้ ากับนกยูง. กรุงเทพฯ: นาคา. จําเนียร ทองพนั ชง่ั . (2545). การเลีย้ งไก่ฟ้ า. กรุงเทพฯ: เกษตรสาส์น. ชาติ ไชยณรงค์. (2543). นกคอกคาเทล. กรุงเทพฯ: ฐานเกษตรกรรม. ไชยา อ้ยุ สงู เนิน. (2541). ไก่พนื้ เมือง. นนทบรุ ี: ฐานเกษตรกรรม. ธนากร ฤทธ์ิไธสง. (2545). คู่มือการเพาะเลีย้ งไก่แจ้เชิงธุรกจิ . กรุงเทพฯ: นานาสาล์น. . (2546). คู่มือการเพาะเลีย้ งนกสวยงาม. กรุงเทพฯ: นาคา อนิ เตอร์มีเดยี . นฤมล มานพิ พาน. (2549). สายพันธ์ุ และการเพาะเลีย้ ง นก Lovebird. กรุงเทพ: เพชรกะรัต. บญุ รอด สมหวงั . (2550). นกกรงหวั จุก. สรุ าษฎร์ธานี: ชมรมนกกรงหวั จกุ ตาปี ทกั ษิณ. ประยทุ ธ พาณิชนอก. (2543). นกแก้ว. กรุงเทพฯ: ฐานเกษตรกรรม. พงษ์ศกั ด์ิ พลเสนา. (2541). ไก่ฟ้ า. กรุงเทพฯ: ฐานเกษตรกรรม. พิมพ์กานต์ เหลืองทองคํา. (2543). นกเลฟิ เบริ ์ด. กรุงเทพฯ: ฐานเกษตรกรรม. . (2546). คู่มือนกกระตัว้ . กรุงเทพฯ: ฐานเกษตรกรรม.

290 ฟาร์มเครือขา่ ยศนู ย์วจิ ยั และบาํ รุงพนั ธ์สุ ตั ว์เชียงใหม่. (2555). คู่มือการเลีย้ งไก่ชน. [On-line]. Available: http://www.thainativechicken.com/UserFiles/File/%E0%B8%81%E0%B 8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0 %B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%9E% E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B 7%E0%B8%AD%E0%B8%87.pdf [2557, ตลุ าคม25] มนตรี แสนสขุ . (2545). ไก่เก่ง. กรุงเทพ: Animate Print And Design. วิเชียร สนั ตครี ี. (2542). การเลีย้ งไก่ชน. กรุงเทพฯ: เพื่อนเกษตร. ยงู ไทยฟาร์ม. (2557). โรงเรือนนกยูง. [On-line]. Available: http://www.oocities.org/yoongthai/food.html [2557, ตลุ าคม 15] รัตนา สาริวงศจ์ นั ทร์. (2555). นกแก้วหวั แพรและนกแก้วอ่ืนๆ: การเลีย้ งและอนุบาลลูก นกแก้ว. [On-line]. Available: http://www.dnp.go.th/fca16/file/lev5dabk6mzw27v.pdf [2557, ตลุ าคม 25] . (2557). นกขุนทอง. [On-line]. Available: http://www.dnp.go.th/fca16/file/u8ch7zsh749du45.pdf [2557, พฤษภาคม 15] สเุ ทพ ศภุ มงคล. (2543). การเลีย้ งไก่แจ้. กรุงเทพฯ: เกษตรสาส์น.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook